You are on page 1of 9

ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น

ตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น การตรวจสอบปริมาณของสารทําความ
เย็น มีดวยกัน 2 วิธี
การตรวจสอบปริมาณของสารทําความเย็น
มีดวยกัน 2 วิธี
1. เงื่อนไขในการตรวจเช็ค
ตรวจสอบแรงดันของสารทําความเย็นภาย
ใตเงื่อนไขดังขางลางตอไปนี้
• ติดเครื่องยนตเรงความเร็วรอบ 1,500
รอบ/นาที
• เปดสวิตชพัดลมไปที่ความเร็ว "HI"
• เปดสวิตช A/C
• เลือกปรับตัวควบคุมอุณหภูมิไปที่
"MAX COOL" (เย็นสุด)
• เปดประตูรถทั้งหมด
(1/5)

-1-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น

2. ตรวจดูสารทําความเย็นที่กระจกมอง
น้ํายา
ตรวจเช็คสารทําความเย็นโดยสังเกตการ
ไหลของสารทําความเย็นที่กระจกมอง
น้าํ ยา
A สารทําความเย็นเหมาะสม

มีฟองอากาศเล็กนอย นั่นหมายความวา
ปริมาณสารทําความเย็นในระบบพอดี
B สารทําความเย็นไมเพียงพอ

มีฟองอากาศอยางตอเนื่อง นั่นหมายความ
วาปริมาณสารทําความเย็นในระบบมีนอย
เกินไป
C ไมมีสารทําความเย็น

หรือมีมากเกินไป
ไมมีฟองอากาศ นั่นหมายความวา
ไมมีสารทําความเย็นในระบบหรือเติมสาร
ทําความเย็นมากเกินไป
ขอแนะนํา:
• โดยทั่วไป จํานวนของฟองอากาศ
ที่มากจะยังมองวามีสารทําความเย็น
ไมเพียงพอ แตถาสังเกตุไมพบฟอง
มากไป แสดงวามีสารทําความเย็น
พอดี แตถามองจากกระจกมองน้าํ ยา
แลวไมมีฟอง แสดงวาปริมาณของสาร
ทําความเย็นไมมีหรือมีสารทําความ
เย็นมากเกินไป
• สําหรับคอนเดนเซอร ชนิด sub-
cooling ตองเติมสารทําความเย็นสัก
เล็กนอยหลังจากถึงจุดที่ฟองหายไป
ดวยเหตุนี้อาจทําใหตัดสินไปวาเปน
ปกติได ทั้งๆที่ปริมาณสารทําความ
เย็นนอยกวาคากําหนด
• ฟองอากาศอาจเกิดขึ้นได แมวา
จะมีปริมาณสารทําความเย็นที่เหมาะ
สมแลว ซึ่งนี่เปนผลจากการหมุนและ
สภาพความดันของสารทําความเย็น

1 กระจกมองน้าํ ยา
(2/5)

-2-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น

3. ”ตรวจสอบโดยใชชุดแมนิโฟลดเกจ
ใชชุดแมนิโฟลดเกจ
เพื่อตรวจสอบปริมาณของน้าํ ยาและแรงดัน
(1)ติดตั้งแมนิโฟลดเกจ
ขอแนะนํา:
ไมควรตอขั้วตอตรงกลางของ
แมนนิโฟลดเกจ

(3/5)

ติดตั้งชุดแมนนิโฟลดเกจ
1. คุณลักษณะของชุดแมนิโฟลดเกจ
(1)เกจมี 2 ตัว คือ เกจวัดแรงดันต่าํ
และเกจวัดแรงดันสูง
(2)สับชองทางเติมสารทําความเย็นโดย
เปดและปดวาลว
ขอแนะนํา:
แมนิโฟลดเกจทีอ่ อกแบบมาสําหรับ
HFC-134a (R134a)
ไมสามารถที่จะนําไปใชกับระบบที่เปน
CFC-12 (R12) ได

1 ปดวาลวดาน Lo / ปดวาลวดาน Hi
2 เปดวาลวดาน Lo / ปดวาลวดาน Hi
3 ปดวาลวดาน Lo / เปดวาลวดาน Hi
4 เปดวาลวดาน Lo / เปดวาลวดาน Hi
(1/2)

-3-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น

2. ติดตั้งชุดแมนนิโฟลดเกจ
(1)หมุนปดวาลวดานแรงดันต่าํ (Lo)
และวาลวดานแรงดันสูง (Hi)
ของชุดแมนนิโฟลดเกจใหสนิท
คําเตือน:
• การตอขอตอของสารทําความเย็นจะ
ตองขันขอตอดวยมือใหแนน และหาม
ใชอุปกรณหรือเครื่องมือในการขัน
• ถาขอตอหรือทอสารทําความเย็นเกิด
ความเสียหาย ใหทาํ การเปลีย่ นใหม
• ขนาดของขอตอจะแตกตางกันทั้งดาน
แรงดันสูงและดานแรงดันต่าํ
ซึ่งขอตอจะไมสามารถใสสลับกันได
• เมื่อทําการตอขอตอเขากับทอสารทํา
ความเย็นบนรถยนต ใหตอขอตอแบบ
สวมล็อคติดอยูกับทอของสารทําความ
เย็น และเลื่อนจนกระทั่งไดยินเสียง
ดัง “คลิก”
• เมื่อทําการตอชุดแมนิโฟลดเกจ
อยาทําใหทอคดงอ

1 ปด

-4-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น

(2)ตอปลายสายของทอเติมสารทําความ
เย็นเขาที่ชุดแมนนิโฟลดเกจ และอีก
ขางหนึ่งของปลายทอเขากับวาลว
บริการบนรถยนต
• ทอสีนา้ํ เงิน –> ดานแรงดันต่าํ
• ทอสีแดง –> ดานแรงดันสูง

คําเตือน:
• การตอขอตอของสารทําความเย็นจะ
ตองขันขอตอดวยมือใหแนน และหาม
ใชอุปกรณหรือเครื่องมือในการขัน
• ถาขอตอหรือทอสารทําความเย็นเกิด
ความเสียหาย ใหทาํ การเปลีย่ นใหม
• ขนาดของขอตอจะแตกตางกันทั้งดาน
แรงดันสูงและดานแรงดันต่าํ
ซึ่งขอตอจะไมสามารถใสสลับกันได
• เมื่อทําการตอขอตอเขากับทอสารทํา
ความเย็นบนรถยนต ใหตอขอตอแบบ
สวมล็อคติดอยูกับทอของสารทําความ
เย็น และเลื่อนจนกระทั่งไดยินเสียงดัง
“คลิก”
• เมื่อทําการตอชุดแมนิโฟลดเกจ
อยาทําใหทอคดงอ

1 วาลวบริการ (ดานรถยนต)
2 แมนิโฟลดเกจ
3 ขอตอสวมเร็ว
4 ทอยางชารจสารทําความเย็น
(2/2)

-5-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น

(2)ทําการสตารทเครื่องยนตและตรวจ
สอบแรงดันจากเข็มชีข องชุดแมนนิ
โฟลดเกจ
ขณะระบบปรับอากาศทํางานอยู
คาแรงดันที่กาํ หนด:
• ดานแรงดันต่า ํ
0.15-0.25MPa
(1.5-2.5 กก/ซม², 21-36 ปอนด/
นิ้ว²)
• ดานแรงดันสูง
1.37-1.57MPa
(14-16 กก/ซม², 199-228 ปอนด/
นิ้ว²)
ขอแนะนํา:
คาแรงดันทีแสดงทีเกจอาจมีการเปลียน
แปลงเล็กนอยขึนอยูกับอุณหภูมขิ อง
อากาศภายนอก
(4/5)

-6-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น

ขอมูลอางอิง:
สาเหตุของอาการผิดปกติของความดัน
เกินคากําหนด
ตรวจสอบระบบทําความเย็นโดยใช
ชุดแมนนิโฟลดเกจ
1. แรงดันทางดาน LO ต่ํา
• มีความชื้นเขาไปในระบบปรับอากาศ

2. แรงดันที่เกจวัดทั้งสองดานอานคาได
ต่ํา
• ปริมาณสารทําความเย็นในระบบ
ไมเพียงพอ
• ปริมาณสารทําความเย็นในระบบรั่ว

3. แรงดันที่เกจวัดทั้งสองดานจะอานคา
ไดสูง
• มีปริมาณของสารทําความเย็นในระบบ
มากเกินไป
• การระบายความรอนของคอนเดนเซอร
ไมเพียงพอ
4. แรงดันที่เกจวัดดานความดันต่ําจะ
อานคาไดสูง และแรงดันที่เกจ
วัดดานความดันสูงจะอานคาไดต่ํา
• เกิดการรั่วในคอมเพรสเซอรของ
ระบบ ปรับอากาศ
(1/1)

-7-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น

4. ตรวจสอบการรัว ของสารทําความเย็น
(1)ตรวจสอบการรั่วของสารทําความเย็น
โดยใชเครื่องมือทดสอบการรั่ว
(2)จุดตางๆ ที่จะตองทําการเช็คการรั่ว
มีดังนี้

1 ตัวตานทานโบลวเวอร
2 A/C คอมเพรสเซอร
3 คอนเดนเซอร
4 อีวาปอเรเตอร
5 รีซีฟเวอร หรือ โมดูเลเตอร
6 ทอระบาย
7 ตําแหนงการตอทอ
8 EPR (พรอมตัวควบคุม
แรงดันในอีวาปอเรเตอร)
9 เครื่องมือทดสอบรั่ว
(5/5)

ตรวจสอบการรั่วของสารทําความเย็น
ใชเครื่องมือตรวจสอบการรั่วของสารทํา
ความเย็น
1. ลักษณะการทํางาน
• ตรวจสอบการรั่วของสารทําความเย็น
โดยสังเกตจากหลอดไฟจะกะพริบ
และมีเสียงดัง
• เมือ
่ ขยับเครื่องตรวจสอบเขาใกลจุดตํา-
แหนงที่รั่วโดยมีระยะหางพอประมาณ
หลอดไฟจะกะพริบและมีเสียงดังถี่ขึ้น
• การพัฒนาความไวของเครื่องทดสอบ
ทําใหความสามารถตรวจสอบรอยรัว่
เพียงเล็กนอยได
(1/2)

-8-
ชางเทคนิคระดับสูง - เครื่องปรับอากาศ การตรวจสอบปริมาณสารทําความเย็น

2. ขั้นตอนการปฏิบัติ
ตรวจสอบรอยรั่วที่จุดเชื่อมตอของทอ
จุดทอระบายน้าํ ของระบบปรับอากาศ
และตรวจสอบการทํางานของพัดลม อื่นๆ
ขอแนะนํา:
• เครื่องยนตจะตองไมทา
ํ งานขณะตรวจ
สอบ
• สารทําความเย็นจะมีนา ้ํ หนักมากกวา
อากาศจึงเคลื่อนที่ลงดานลาง ดังนั้น
การตรวจสอบการรัว่ จะตองใชเครื่อง
มือตรวจสอบเริ่มจากดานลางและ
เลื่อนไปตามเสนรอบวงทออยางชาๆ
• ทําการตรวจเช็ค
ขณะสั่นทอดวยแรงเบาๆ
(2/2)

-9-

You might also like