You are on page 1of 22

ขัน

้ ตอนการปฏิบัติงานเรือสาครวิสัย แผนกช่างกลเรือ
(เพื่อให้เป็ นคู่มืออ้างอิงในการทำงานที่อู่เรือแนะนำ)
โดยเริ่มจาก Dead ship
โดยภาพรวมวงจรเริ่มจาก
1) เดิน Emergency generator
2) เดิน emergency air compressor
3) เดิน เครื่องไฟฟ้ าพร้อมขนานไฟ 2 เครื่อง
4) เดิน aux boiler
5) เดินชุด F.O. Module
6) เดินเครื่องจักรใหญ่

1) การเดิน emergency generator (เดินแบบใช้


แบตเตอรี่)
*ก่อนเดินต้องตรวจสอบ น้ำหล่อเย็น น้ำมันหล่อ น้ำมันเชื้อ
เพลิงให้อยู่ในระดับใช้การ
1.1 เปิ ดแบตเตอรี่ไปที่ on ที่แผง battery switch panel
(ใช้ประแจบิดเอา) *ต้อง on battery ข้างในตลอด
1.2 ที่ตวั ของ operation switch ให้เลือกที่ manual
(ต้อง on battery switch ไปที่ on)
1.3 ให้กด test reset ที่แผงควบคุมเพื่อทดสอบระบบ
alarm (ไฟทุกดวงต้องติด)
1.4 กดปุ ่ม start
เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน
19 พ.ค.54
1.5 ตรวจสอบ รอบเครื่อง(rpm) แรงดันน้ำมันหล่อ และ
อุณหภูมน
ิ ้ำหล่อเย็น
1.7 ให้บด
ิ battery charger มาที่ on
1.8 การเลิกสามารถเลิกได้โดยกดปุ ่ม start/stop (ต้องกด
ค้างรอจนรอบต่ำคล่อยปล่อย) หรือ ดึงคัน rack น้ำมันเชื้อ
เพลิงค้างเพื่อดับเครื่องก็ได้
1.9 รอบต้องไม่ต่ำกว่า 1500 รอบ/นาที เมื่อเครื่องติดแล้ว

2) การเดิน emergency generator แบบ manual (ใช้


มือหมุน)
2.1 ถอดน๊อตแท่นฐาน 4 ตัวเพื่อเปลี่ยนชุด ไดสตาร์ทมา
เป็ นแบบ manual
2.2 ถอดน๊อต ล็อกของตัวสตาร์ทแบบมือหมุนออก
2.3 สลับชุดตัวสตาร์ททัง้ สองตัว
2.4 ใส่แขนตัวหมุนและหมุนจนรู้สึกว่าตึง เพื่อชาร์จให้
พร้อม
2.5 กดปุ ่มทองเหลืองข้างตัวสตาร์ทค้างแล้วให้ดันคันโยก
ขึน
้ เพื่อสตาร์ท (ต้องกดแล้วรีบดันขึน
้ เลย)

3) พอเดิน emergency generator ได้แล้วจะสับ


สะพานไฟเพื่อใช้งาน
เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน
19 พ.ค.54
-ตรวจสอบสถานะของ emergency gen ที่ emergency
gen panel ก่อน ( ไฟ gen running และ ACB open
แสดงโชว์)
-เลือก mode select ที่ Auto (ถ้าเลือก manual ต้องมา
set breaker ข้างในตูเ้ สียก่อน)
3.1 ถ้าใช้ไฟบกอยูใ่ ห้ปลด breaker ของไฟบกก่อน
(shore connection port) โดยต้องเลือก mode select
มาที่ manual ในกรณีตงั ้ ค่าแบบ manual โดยมีด้ามเหล็ก
โยกตัง้ ค่าอยู่ดา้ นใน หลังจากกด trip แล้วในกรณีไม่สามารถ
ทำงานแบบ auto ได้
3.2 สับไฟ emergency gen. เข้าแผง emergency
switchboard
3.3 กดปุ ่มสีเขียว ACB closed เพื่อต่อไฟฟ้ าเข้าใช้งาน
3.4 ถ้า shore MCCB open ไม่ติดสีแดงต้องมาโยกที่
motor operator ข้างในตู้ควบคุม ให้เปลี่ยนเป็ น on
3.5 ให้ตรวจสอบ
-ACB close ไฟต้องติด
ที่ emergency generator panel ให้ on breaker ดังนี ้
1. D/G emerg L.O priming p/p
2. Emergency air comp
3. No.1 MGO booster p/p
4. แล้วกด start p/p ทัง้ หมดที่แผงสวิซบอร์ดนีไ้ ปเลย
เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน
19 พ.ค.54
4) การเดินเครื่องไฟฟ้ า
1. เดิน emergency air comp อัดลมเข้าถัง emergency
air reservoir จนได้แรงดันอย่างน้อย 25 บาร์ (อย่าลืม
ตรวจเช็ควาล์วที่ป๊ ั มลมและถังลมก่อน)
-ที่ถังลมฉุกเฉินจะมี
ก. ลมใช้งานที่กระโปรงน้ำทะเล (sea chest)
ข. Tk guaging system
ค. quick closing v/v
ง. air control for purifiers
จ. ลมคอนโทรลต่างๆในห้องเครื่อง
*ลมใช้งานต่างๆที่กล่าวมาจะไปรวมกับ line ที่ถังลมหลัก
*auto start/stop= 18.5 bar/30 bar
*ก่อนเดินเครื่องไฟฟ้ าต้อง drain น้ำออกจากถังลมให้หมด
ก่อนเสมอ
**ให้เปิ ดลมไปที่ sea chest เพื่อใช้ลมไล่ขีเ้ ลนจาก sea
chest ทัง้ สองกราบก่อน โดยวาล์วลมติดตัง้ อยู่ใกล้กับ high
sea chest
*หลังจากใช้ลมไล่ที่ sea chest แล้วค่อยเปิ ดวาล์ว high
sea chest ทัง้ 2 กราบ
2. ก่อนเดินเครื่องไฟฟ้ าให้ตรวจเช็คระดับของเหลวดังต่อไป
นี ้
เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน
19 พ.ค.54
ก. ระดับน้ำจืดหล่อเย็นที่ expansion tank ของ ME
& GE (อยู่ที่ชัน
้ บน) ทัง้ ถัง High temp และ Low temp
ข. ตรวจสอบระดับของน้ำมันหล่อลื่น
ค. ตรวจสอบวาล์วน้ำมันเชื้อเพลิง
3. ไปที่ ห้องคอนโทรล ( ECR ) เพื่อสับเบรกเกอร์ดังต่อไป
นี ้ เพื่อไปควบคุมการทำงานของเครื่องไฟฟ้ า
- ที่ distribution panel ND4: สับเบรกเกอร์ G1, G2 และ
G3 โดยที่ข้างซ้ายเป็ นไฟ 24 V และข้างขวาเป็ นไฟ 220 V
4. ให้ on breaker ที่ตู้ P44D & DLP GSP Distribution
Panel ดังต่อไปนี ้
- breaker G1, G2 และ G3 ซึ่งเป็ นระบบไฟกำลังของ
MGO booster pump
5. ต้อง on breaker main gen No.1,2,3 ที่ตู้ 220 V
feed panel
6. ต้อง on breaker ไฟ DC main switch board ที่ตู้
ND4
7. ตรวจสอบ แรงดันน้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันหล่อลื่น ฯลฯ ที่
ตัวเครื่องไฟฟ้ า
8. เปิ ด indicator cock ของเครื่องไฟฟ้ า

การเดินเครื่อง

เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน


19 พ.ค.54
1) หมุนเครื่องไฟฟ้ าเพื่อ priming ระบบน้ำมันหล่อลื่น ให้
หมุนหลายๆรอบจนกว่าจะรู้สึกเบาแรงเนื่องจากน้ำมัน
หล่อลื่นไปเลีย
้ งส่วนต่างๆของระบบแล้ว
2) ตรวจสอบ
a. แรงดันน้ำมันหล่อลื่น
b. แรงดันน้ำมันเชื้อเพลิง
c. อุณหภูมิของน้ำจืดหล่อเย็นทัง้ high และ low
temp.
***ถ้าทัง้ 3 ปั จจัยยังไม่ทำงานห้ามเดินเครื่องไฟฟ้ า
3) ตรวจสอบว่าต้องไม่มีอากาศใน L.O. filter และ F.O.
filter
4) เปิ ดวาล์วลมสตาร์ทด้านตรงข้ามแผงเกจควบคุม (วาล์ว
หางปลาใกล้ solinoid v/v) และตรวจสอบแรงดันลม
สตาร์ทที่ฝั่งตรงข้ามแผงเกจหลักด้วยว่ามาหรือยัง
5) บิดตัว selector หน้าแผงควบคุมไปที่ ตำแหน่ง Local
เพื่อเตรียมสตาร์ท
6) ตรวจสอบ แรงดันลมสำหรับสตาร์ท
7) ให้ดันคันโยกมาที่ตำแหน่ง start เพื่อทำการไล่อากาศ
ในกระบอกสูบ(click air)
8) ให้กดปุ ่มสตาร์ท(สีเขียว)ค้างไว้ 3-5 วินาที เพื่อไล่ลมให้
ออกทุกสูบ
9) เสร็จแล้วให้ ปิ ด indicator cock
เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน
19 พ.ค.54
10) ให้โยกคันแร็คน้ำมัน (fuel oil rack) ของแต่ละ
สูบเพื่อตรวจสอบว่าติดขัดหรือไม่ (กรณีนานๆเดินที)
11) Start เครื่องโดยกดปุ ่ม start ค้างไว้ 5-10 วินาที
ให้เครื่องติดรอบเดินเบา (idle speed) แล้วให้ดันคัน
โยกไปที่ตำแหน่ง run รอบจะเพิ่มขึน
้ ตามเกณฑ์ ปกติ
10) พอเครื่องติดแล้วให้ตรวจสอบ
10.1 แรงดันน้ำทะเลหล่อเย็น
10.2 แรงดันน้ำมันเชื้อเพลิง
10.3 แรงดันน้ำจืดหล่อเย็น
11) เดินเครื่องไฟฟ้ าตัวเปล่าจนแน่ใจว่าอุณหภูมิ แรงดัน
ของๆเหลวต่างๆทำงานปกติ แล้วจึงปลดโหลดของ
Emergency gen โดยกดที่ปุ่ม ACB open ของ
emergency gen panel แล้วค่อยกดปุ ่ม ACB closed
ของเครื่องไฟฟ้ าที่ต้องการรับโหลด
*ต้องบิด operation mode standby select มาที่
manual
11) ให้ on breaker ดังต่อไปนี ้
ก. No1 หรือ 2 S.W. cool p/p (ต้องรีบ on breaker
เพราะเป็ นน้ำทะเลหล่อเย็นเครื่องไฟฟ้ า)
ข. Aux L.T. F.W cooling p/p (ต้องรีบ on
breaker เพราะเป็ นน้ำจืดหล่อเย็นเครื่องไฟฟ้ า)
ค. M/E RM supply vent. Fan
เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน
19 พ.ค.54
ง. S.W. p/p for A/C No.1 (แล้วไปเดิน air cond
ในห้อง ECR)

5) การขนานเครื่องไฟฟ้ า (ตัวอย่างขนานเครื่อง # 3
ขนานเข้ากับ เครื่องไฟฟ้ า #1)
1) ที่ operation mode stb select: บิดไปที่ manual
2) ที่หน้าจอ synchro scope: ให้เลือกเครื่องไฟฟ้ า 3
3) ที่ No.3 gen. panel : governor control ให้ปรับ
ลดความถี่ Hz ให้ได้ตรงกับเครื่อง 1
4) ที่ synchronizing panel : synchro scope lamp
ปรับให้ได้ตำแหน่ง ok
5) ที่ No.3 gen panel: พอได้ตำแหน่ง 12 นาฬิกา
แล้วให้กด ACB closed (เวลาขนานเข้าแล้วจะมีเสียง
air circuit breaker ดังขึน

6) บิดที่ synchro scope ไปที่ตำแหน่ง off
7) ที่ operation mode stand by select บิดไปที่
เครื่องไฟฟ้ าที่เราต้องการ standby เมื่อเกิดเหตุการ์ณ
ฉุกเฉิน

การปลดโหลดเครื่องไฟฟ้ าแบบ Auto

เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน


19 พ.ค.54
1) ต้องตัง้ ให้ operation mode standby select ไว้ที่
เครื่องใดเครื่องหนึ่งก่อน (ไม่งัน
้ จะปลด แบบอัตโนมัติ
ไม่ได้)
2) แล้วกด Load shift start เพื่อปลด Load Auto

การขนานแบบ Auto
1) ที่ operation mode stb select: เลือกเครื่องที่
ต้องการขนาน
2) ที่จอ synchro scope: ให้เลือกที่เครื่อง 3
3) กดที่ปุ่ม synchro start: เครื่องไฟฟ้ า 3 (เครื่องจะ
ดำเนินการขนานเอง)
4) บิด synchro scope ไปที่ off
5) ที่ operation mode standby select: เลือกเครื่อง
ใดเครื่องหนึง่ เพื่อ auto share load
6) ต้องตัง้ ที่เครี่องไฟฟ้ าไว้ที่ remote ไม่งน
ั ้ จะไม่ start
auto

6) การเดิน boiler (เดินแบบ Auto)


1. ให้ on breaker ใน ECR ของ Aux boiler
2. ให้ on breaker ของ feed water pump boiler
No.1

เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน


19 พ.ค.54
3. ให้ on breaker ของ feed water pump boiler
No.2
4. ตรวจสอบการทำงานของ feed pump
5. ตรวจสอบระดับของน้ำเลีย
้ งในถัง cascade tank
6. ให้สังเกต วาล์ว สีดำใหญ่ข้าง cascade tk ซึ่งเป็ น
วาล์วสำคัญที่ใช้ในกรณีเรือวิ่ง เป็ นวาล์วปรับแต่งแรงดัน
ไอน้ำที่ย้อนกลับมาจากการใช้งานภายในเรือ แรงดันที่
ปกติจะโชว์ใกล้กับวาล์วตัวนีจ
้ ะเป็ นแรงดันภายใน boiler
(ไม่ต้องขึน
้ ไปดูขา้ งบน) ต้องคอยปรับแต่งเสมอในเวลาเรือ
เดิน ไม่งน
ั ้ boiler จะตัดการทำงาน(อยูใ่ นระดับขีดสีเขียว
ในตัว gauge)
จากนัน
้ ขึน
้ ไปที่ชัน
้ ของ boiler
7. ที่แผงควบคุมของ boiler ให้ on breaker (อยู่ขา้ งใน
Burner control panel)
8. ตรวจสอบระดับน้ำของ boiler ให้ได้เกณฑ์ (ดูที่ sight
glass ชัน
้ บน) หรือดูที่ low& high level alarm ที่แผง
ควบคุม
9. รอประมาณ 4 ชม.จนได้แรงดันตามเกณฑ์ ประมาณ
5-6 bar จึงค่อยเปิ ดวาล์ว Main steam ด้านบน

เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน


19 พ.ค.54
***ไม่มี alarm เตือนที่ถัง cascade tank ให้คอยเดินดู
อย่าให้น้ำแห้ง ไม่งน
ั ้ feed pump จะไม่สามารถส่งน้ำ
เลีย
้ งขึน
้ มาที่ boiler ได้

การเลิก boiler
1) บิด ตัวเลือกที่แผงควบคุม มาที่ manual (burner
stop switch)
2) สับ เบรกเกอร์ข้างใน burner control panel ลง
3) เลิก feed water p/p เข้า cascade tank ทัง้ 2 ตัว
4) สับ breaker ในห้อง ECR ที่ on ไว้ตอนแรกคือ
breaker ของ Aux. boiler, feed water pump 1 &
2
5) ปิ ด วาล์ว main steam ข้างบน
**************************************************

7) การเดิน F.O. treatment module (ใช้ได้เฉพาะ


ระบบน้ำมัน MGO)
เป็ นระบบทีใ่ ช้งานแยกกับระบบ purifier
1. ปล่อย main steam ลงมาสามารถดูได้ข้างวาล์วปรับ
steam ใกล้ห้อง ECR
เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน
19 พ.ค.54
2. ที่ No.2 group starter panel
a. On breaker No.2 ME FCM supply p/p
(3ST2)
b. On breaker ME FCM cir. p/p No.2
c. On breaker ME FCM cir. p/p No.1
d. On breaker No.1 ME FCM supply P/P
e. On breaker ME FCM control EPC panel
(3P20) – ที่ AC 220V Feeder Panel
3. ไฟก็จะติดที่ตัว module
4. เปิ ด v/v น้ำมันข้างบันได สีดำ (MGO) ข้างเครื่องจักร
ใหญ่
5. เปิ ด v/v น้ำมันที่ MGO serv. Tk ทัง้ 1 & 2 เป็ นตัว
ริมซ้ายสุด และ วาล์ว 2 ตัวที่ต่อเชื่อมกันกับวาล์วข้าง
ต้นรวมแล้วต้องเปิ ดวาล์วทัง้ หมด 5 ตัว (รวมถึงตัว
วาล์วของถัง MGO settling tank ด้วย)

*****การแสดงตัวอย่างนีเ้ ป็ นการแสดงที่ขัดกับการปฏิบัติ
จริงที่เราต้องใช้จากถัง service tank เท่านัน

6. ไปที่ F.O. module (สีฟ้า) แล้ว on main switch ทัง้


5 ตัว

เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน


19 พ.ค.54
7. บิด on supply p/p 1 & 2 , circulating p/p 1 & 2
แล้วบิดไปที่ EPC (ซึ่งระบบนีใ้ ช้กับ remote ไม่ได้ต้อง
ใช้แบบ manual)
8. บิด auto filter ไปที่ Auto
9. กด start/stop ที่ แผง OP (แผงควบคุมใหญ่)
10. ให้กดเลือก yes เพื่อใช้ start operation โดย
เครื่องหมาย(+) เป็ น yes, (-) เป็ น no
11. ทาง maker set ค่าเบื้องต้นของอุณหภูมิน้ำมัน
คือ
a. ของ MGO= 35-45 c
b. ของ HFO=95-105 c

****ถ้าเกินค่าดังกล่าวจะ alarm

12. ตรวจสอบ supply pump, circulate pump ว่า


ทำงานหรือเปล่า(ใช้มอ
ื อังดูว่ามอเตอร์หมุนหรือเปล่า)
13. ถ้าอุณหภูมิของน้ำมันสูงเกินค่าที่กำหนด ต้องมา
สับวาล์วสามทางหางปลาที่อยู่ขา้ งหลังตัว F.O.
Module เพื่อสับเข้า cooler ของ F.O.
a. ซึ่งอุณหภูมิจะร้อนเกินอยู่แล้วสำหรับ MGO ให้
สับรอได้เลย

เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน


19 พ.ค.54
b. สำหรับ HFO จะต้องคอยสับไปสับมาเพราะ
อุณหภูมิจะไม่คงที่เมื่อเรือวิ่งรอบไม่คงที่ แต่ถ้า
อุณหภูมิคงที่แล้วเมื่อออกทะเลเปิ ด (full sea) ก็
ให้ปิดไม่ต้องเข้า cooler

***********************
8) การเดินเครื่องจักรใหญ่
การเตรียมเครื่องจักรใหญ่ ในห้อง ECR
1. เมื่อจ่ายไฟมาจาก เครื่องไฟฟ้ าได้ก็เข้าไปใน main
switch board ได้
2. ที่ Dist. Panel (ND4) ให้ on breaker :
a. ตรวจสอบไฟที่ steering gear ว่า on หรือยัง
b. Steering gear (16)
c. M/E temp (14)
d. Propulsion system (02)
e. AC main switch board (11)
f. Steering gear (24 V) (09)
3. on breaker ที่ AC 220 V feeder panel ของ
steering gear (3p17)
4. on breaker ที่ AC 380 feeder panel ของ No.1
steering gear

เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน


19 พ.ค.54
5. ที่ Engine control & Data….system panel ให้ on
breaker แถวบนทุกตัว
6. ที่ safety panel ให้ on breaker แถวบนทุกตัว
7. ที่ propulsion control system panel ให้ on
breaker ทุกตัว(ชุด gear box)
8. ให้ on breaker ทุกตัวของแผงควบคุมข้างล่าง
คจญ.ทัง้ หมด
a. ก่อนจะเดินต้องดูอุณหภูมิของน้ำ LT และ HT ซึ่ง
สุดท้ายจะต้องปรับแต่งเองแบบให้เป็ นแบบ Auto
เมื่อเครื่องติดแล้ว
*** ก่อนเดิน main L.O. ME และ R/G ME
L.O.pump ต้องตรวจระดับของ
1. L.O. ME sump tk ต้องมีระดับ 600 mm
(อยู่บริเวณหัวเครื่อง ME ตรวจโดยการ
sounding)
2. R/G L.O. sump tk ME ต้องอยูใ่ นระดับ
ตรงกลางระหว่าง max กับ min
**ควรเดิน preheat M/E jacket p/p
ก่อนปั๊ มตัวอื่น เพราะใช้เวลานานมากใน
การอุ่นเครื่อง (เมื่ออุน
่ เสร็จแล้วให้บด

selector ที่ตัวปั๊ มกลับมาที่ remote (ข้าง
เครื่องไฟฟ้ า 2)
เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน
19 พ.ค.54
9. เมื่อจะทำการ start ME ต้อง on breaker 6 ตัวหลัก
คือ
a. LO ME ที่ No. group starter panel standby
p/p: ให้บด
ิ ไปที่ manual แล้วค่อยสตาร์ท
b. R/G L.O. stb p/p ให้ on breaker แล้วเดินปั๊ ม
c. HT& LT cooling F.W. P/p on breaker ทัง้ 2
ตัวแล้วเดินปั๊ ม
d. M/E Nozzle cooling p/p
***เมื่อเดินปั๊ มทุกตัวแล้วต้องเดินลงไปตรวจเช็คการ
ทำงานของทุกตัวว่าทำงานปกติหรือไม่และตรวจสอบ
แรงดันต่างๆที่เกจหลักที่ตัวเครื่องจักรใหญ่ด้วย
***ต้องไม่ลืมเด็ดขาดเมื่อเครื่องจักรใหญ่สตาร์ทติดแล้ว
ต้องบิดปั๊ มทัง้ 4 ตัวมาที่ auto คือ
1) Main M/E L.O. pump
2) R/G L.O. M/E pump
3) High temp cooling water p/p
4) Low temp cooling water p/p

***ปั๊ มดังกล่าวพอเวลาเดิน ME Idle speed 550


รอบ/นาที ให้บิดกลับมาที่ auto เพื่อปั องกันแรงดันน้ำมันที่
เกิน

เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน


19 พ.ค.54
10. ตรวจสอบ LO priming pressure และ HT&LT
pressure ที่ gauge ของตัว ME
11. เปิ ด indicator cock (ต้องเปิ ด indicator cock
ก่อนไม่งน
ั ้ จะเดิน turning gear ไม่ได้)
12. เปิ ดลม control จาก main air reservoir ควรเปิ ด
ทัง้ สองถังเนื่องจากต้องใช้ลมควบคุมหลายระบบ
13. เมื่อเปิ ดแล้วให้ตรวจแรงดันลม control (ที่หน้าแผง
ควบคุม คจญ.)
14. บิดตัว ควบคุม มาที่ Remote start ซึ่งอยู่ภายใน
ECR และต้องตัง้ ค่าที่หวั เครื่อง ME ไปที่ remote ด้วย (จะ
เขียนว่า RC ที่หวั เครื่อง)
15. ต้องตรวจสอบให้มั่นใจใน mark สีตา่ งๆใน gauge
หัวเครื่องว่าแรงดัน และค่าต่างๆได้ตามเกณฑ์
16. ตรวจสอบ L.O. pressure ของ main L.O. ME
****อู่ได้ใส่ชุดฉีดน้ำมันหล่อลื่น pinion ของ R/G ไว้ มีแรง
ดันประมาณ 40-60 bar โดยคุณชาคริตได้ล็อคตายไว้แล้ว
17. ให้ set ชุด panel ของ R/G ME มาที่ remote (ให้
สามารถควบคุม ได้ที่ ECR ) ในส่วนของ control position
18. การหมุน turning gear ให้คลายน็อตแท่น 2 ตัว ที่
turning gear แล้วใช้มือดันชุด turning gear เข้า (ควรรอ
ให้อุณหภูมน
ิ ้ำหล่อ jacket ขึน
้ ถึงประมาณ 55 c แต่ขณะที่
ลองประมาณ 42 C ก็เดิน turning gear แล้ว)
เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน
19 พ.ค.54
19. หมุน turning gear โดยใช้ remote control ที่ติด
อยูใ่ กล้เครื่อง (ต้อง on breaker ของ R/G ประมาณ 7
รอบ)
20. ตรวจสอบ L.O. ME pressure ข้าง oil mist
detector ด้วย
21. ให้เปิ ด v/v ลมที่ main air reservoir อย่างน้อย 1
ตัว (แต่ที่สาธิตเปิ ดทัง้ 2 ตัว)
22. เปิ ด วาล์วลม ควบคุม governor turbo charger ที่
อยู่ทา้ ยเครื่องข้างล่าง Air cooler และให้ดู แรงดันที่แผง
ควบคุมหัวเครื่องหลังจากเปิ ดวาล์วแล้ว
23. เปิ ด วาล์วลม ควบคุม ME (อยู่ขา้ งล่างรูปตัวยูใกล้
เครื่องจักรใหญ่ ข้าง air cooler)
24. เปิ ด วาล์วลม ควบคุม ME (อยู่ขา้ งล่างรูปตัวยูหัว
เครื่องจักรใหญ่ เป็ นตัวลมสตาร์ทเครื่องจักรใหญ่)
25. ตรวจสอบ turning gear ว่าปลดหรือยังถ้ายังให้
ปลดออก
26. ตรวจสอบ starting air pressure ว่าได้หรือยัง
27. การไล่แก๊สเสียต้องติดเครื่องจักรใหญ่โดยไล่แก๊สเสีย
ที่ละสูบ ให้ปิด indicator cock
28. ที่หวั เครื่องจักรใหญ่ ; บิดตัว control การสตาร์ท
มาที่ remote

เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน


19 พ.ค.54
29. ถ้าทุกอย่าง ok หน้าจอจะโชว์คำว่า MAN B&W
(ตอนทดสอบมันไม่ปกติเพราะ oil mist detector ยังมี
ปั ญหา oil mist detector disturbed)

31. ตรวจสอบว่า pitch และ rpm ที่แผงในห้อง ECR


เป็ น 0 ถ้าไม่แสดงว่าผิดปกติหา้ มเดินเครื่อง
32. กดที่ F2 ในตัว MAN/Eng op panel ซึ่งจะขึน

show ว่า start blocked
33. กด F10 start blocked
34. กด soft key F1
35. กด F 13 back
36. กด reset
37. กด alarm list เพื่อ cancel alarm แล้วค่อยเริ่ม
ใหม่
******ให้ทำเรื่อยๆ จนได้ บางครัง้ ต้องกลับไปที่ manual
operation ให้ลองหลายรูปแบบจนได้เป็ นหน้าจอขึน
้ ว่า
PreLub.Running แล้ว เครื่องก็จะสตาร์ทเอง
38. เครื่องจะ สตาร์ท auto เอง เมื่อสตาร์ทแล้วให้
acknowledge alarm ของเครื่อง ME หรือปิ ดเสียง alarm
โดยกด stop horn

เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน


19 พ.ค.54
39. ถ้ารอบ idle speed ได้แล้ว ให้รีบไปเปลี่ยน
mode ของปั๊ มหลัก 4 ตัว (ตามช่วงแรกข้อข้างต้น) เป็ น
auto
40. คจญ.จะยังไม่ full auto ต้องรอสักครู่
**** เรายังส่งการ command ไปที่ bridge ไม่ได้ต้องไป
เปลี่ยน mode ที่ชุดเกียร์บล็อกไปที่ remote ก่อน
41. เมื่อเครื่องพร้อมสักครู่สัก 5-10 นาทีให้ทำการ
click air ไล่ทีละสูบ
*****เมื่อติดเครื่องไปสักครู่ alarm ต่างๆ เช่น auto slow
down, sys alarm safety system etc. จะหายไปเอง
43. ทำการเช็คระบบคลัช : ให้บิด selector clutch
in/out ที่ชุด gearbox โดยบิด clutch in แล้วมาเป็ น
clutch out อย่างรวดเร็ว โดยสังเกตว่าเพลาใบจักรหมุน
หรือไม่ดว้ ย
44. ให้มีคน stand by ตามอุโมงค์เพลาด้วยถ้า
เข้า clutch ทิง้ ไว้ในช่วงแรก เพื่อตรวจสอบน้ำมันหล่อลื่น
เพลาใบจักร
45. ตรวจสอบแรงดันของตัวหัวฉีดไปเลีย
้ ง pinion ของ
ชุดเกียร์ด้วย
46.แล้วค่อยบิดสวิทซ์ของระบบควบคุมคลัชกลับ ไปที่
remote
*********************************
เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน
19 พ.ค.54
การเลิกเครื่อง ME
1. พอดับเครื่อง ตัวปั๊ มหลักทัง้ 4 ตัวจะ auto cooling
down แล้วก็จะดับไปเอง (คือ LO ME, R/G, HT และ LT
pump) แต่ถ้าต้องการจะ priming นานๆ ก็สามารถเดิน
แบบ manual ต่อไปได้
2. กด F2 start/stop ที่ ME operation panel
3. กด F5 แล้วต่อด้วย F 13 เพื่อเลิกเครื่อง
4. พอเครื่องดับแล้ว ปั๊ มหลัก 4 ตัวก็จะเดิน auto
5. ให้ไปที่หัวเครื่อง ME บิดมาที่ Local mode
6. Drain ลม control เครื่องจักรใหญ่ทัง้ หัวเครื่องและท้าย
เครื่อง
7. ปิ ดวาล์ว ลม control governor turbocharger
8. ปิ ดวาล์วประจำถังลมหลักที่ main air reservoir
9. เลิก F.O. module โดยทำย้อนกลับ process เดิม
ทัง้ หมด จนถึงสุดท้ายก็ปิด breaker ของระบบ
10. ปลดเครื่องไฟฟ้ าให้เหลือเพียง 1 เครื่อง
11. ให้มาที่ ME operating panel แล้วให้ reset ใหม่
12. ปิ ด circuit breaker ทัง้ หมดของตู้คอนโทรลหลักทัง้ 4
ตู้ คือ ที่ ตู้ใต้ ME panel, gear box, safety และ speed
control (ทำย้อนกลับ process เดิม)

เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน


19 พ.ค.54
***trick เพื่อต้องการอยู่ห้อง ECR สบาย ให้ on breaker
ที่ No.1 380 V feeder panel ตัว Eng cont. Room unit
CLR แล้วค่อยเดิน air ในห้อง ECR แต่ต้องไม่ลืมเดินระบบ
น้ำทะเลหล่อเย็นด้วยนะครับ

******************************

เรียบเรียงโดย นายบดินทร์ อ้างอิงจากการปฏิบัติงานของพนักงานบริษทั อิตัลไทยมารีน


19 พ.ค.54

You might also like