You are on page 1of 36

รายงาน

เรื อง AC-T/H by hot gas control system

จัดทําโดย
นายมาวิน แซ่ จงิ รหัสนิสิต

เสนอ
อาจารย์ กิติพงษ์ เจาจารึก

ภาคการศึกษาเทอมปลาย ปี การศึกษา
ภาควิชาวิศวกรรมเครืองกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ กําแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน จ.นครปฐม
วันที 23 เดือนมีนาคม ปี พ.ศ. 4

บทคัดย่ อ
AC-T/H by hot gas control system โดยใช้ PLC ไปควบคุมการเปิ ดปิ ด compressor, พัดลม, วาล์วและ
Heaterโดยจะอ่านค่าอุณหภูมิและ %RH จาก sensor แล้วส่งค่าไปยัง PLC จากนัน PLC จะนําค่าอุณหภูมิและ
%RH ไปแสดงผลทีจอแสดงผล ค่าอุณหภูมิจะนําไปเข้าเงือนไข 3 เงือนไขดังนี
หากอุณหภูมิทีวัดได้มากกว่า 25 องศาเซลเซียสจะจับเวลา 0-12 วินาทีถา้ หากค่ายังมากกว่าอยูจ่ ะสังให้
Y0 ทํางานส่งผลให้ Relay01 ทํางานและสับหน้า Contact ทําให้ CompressorและFan02 ทํางาน
เงือนไขถัดมาเมืออุณหภูมิเท่ากับ 25 องศาเซลเซียสซึงเงือนไขนีเป้นไปได้ยากจึงไม่ได้สงให้
ั อุปกรณ์ใด
ทํางานแต่สังให้ M1 ทํางานหากเข้าเงือนไขนี
เงือนไขสุดท้ายเมืออุณหภูมินอ้ ยกว่า 25 องสาเซลเซียสจะจับเวลา 0-12 วินาทีจะสังให้ Y1 และ Y2
ทํางานส่งผลให้ Relay02 และ 03 ทํางานส่งผลให้หน้า Contact ทํางานทําให้ Solenoid valve 02 ปิ ดแต่ Solenoid
valve 01 เปิ ดทําให้สารทําความเย็นไหลเข้าสู่ Hot gas coil และ Relay03 ทํางานส่งผลให้ Heater ทํางานด้วย
จอแสดงผลจะมีการแสดงผลของอุณหภูมิและ %RH ทําให้สามารถตรวจสอบได้ตรลอดเวลาทีเปิ ด
เครื องและจอแสดงผลยังทําให้ทีเป็ นอุปกรณ์สงการเปิ
ั ดปิ ดระบบปรับอากาศและยังสามารถเปิ ด Heater และ Hot
Gas ได้แม้วา่ อุณหภูมิจะไม่เข้าเงือนไข 3 ข้อข้างต้น

สารบัญ
หัวเรื อง หน้า
บทคัดย่อ ก
สารบัญ ข
สารบัญภาพ ค
สารบัญตาราง จ
บทนํา ฉ
ส่วนประกอบของเครื องปรับอากาศ 1
หลักการทํางานของเครื องปรับอากาศ 6
อุปกรณ์ทีใช้เพิมอุณหภูมิภายในระบบปรับอากาศ 7
อุปกรณ์ทีใช้ของระบบควบคุมในระบบปรับอากาศ 13
Layout 3D of system 19
Process diagram 21
Circuit Diagram 22
Bill of Materials 23
การต่ออุปกรณ์ 24
PLC Programming 25
อธิบายการทํางานของโปแกรม 25
เอกสารอ้างอิง 29

สารบัญภาพ
ชือภาพ หน้า
ภาพที คอยล์เย็น 1
ภาพที โบลเวอร์ 1
ภาพที Evaporator 2
ภาพที Expansion Valve 2
ภาพที คอยล์ร้อน 3
ภาพที Compressor 3
ภาพที Condenser 4
ภาพที โบลเวอร์ 4
ภาพที หลักการทํางานของเครื องปรับอากาศ 6
ภาพที Heater 7
ภาพที 11 เบรกเกอร์ 8
ภาพที 12 Power supply 8
ภาพที 13 PLC FX3U-14MR 9
ภาพที 14 RTU Temperature sensor 10
ภาพที 15 Relay OMRON 10
ภาพที 16 Samkoon monitor 11
ภาพที 17 Solenoid valve 11
ภาพที 8 Layout 3D Isometric view 13

ภาพที 9 Layout 3D Front view 14


ภาพที 20 Layout 3D Top view 14
ภาพที 21 Layout 3D Top view(Hide roof) 15
ภาพที 22 Air conditioner 3D model (Isometric view) 16
ภาพที 23 Air conditioner 3D model (Top view) 17
ภาพที 24 คอยล์เย็น (Top view) 17
ภาพที 25 คอยล์ร้อน (Side view) 18
ภาพที 26 Process diagram 19
ภาพที 27 Circuit diagram 21
ภาพที 28 การต่ออุปกรณ์ 23
ภาพที 29 PLC Programming 24
ภาพที 30 การตัง Master 25
ภาพที 31 การตัง Format setting 25
ภาพที 32 การอ่านค่าจาก sensor 26
ภาพที 33 สังการทํางาน Relay 27
ภาพที 34 ถ้า D2 > K250 27
ภาพที 35 ถ้า D2 = K250 28
ภาพที 36 ถ้า D2 < K250 28

สารบัญตาราง
ชือตาราง หน้า
ตารางที ชือชินส่วน 20
ตารางที 2 อุปกรณ์ทีใช้ 22

บทนํา
เครื องปรั บ อากาศหรื อที เรี ยกกั น โดยทัวไปว่ า แอร์ เ ป็ นสิ งที พบเห็ น ได้ ท ัวไปตามบ้ า นเรื อน
ห้ า งสรรพสิ นค้ า สํ า นั ก งาน ฯลฯ ซึ งมี ล ั ก ษณะและขนาดที แตกต่ า งกั น ไปตามลั ก ษณะการใช้ ง าน
เครื องปรับอากาศมีหน้าทีรักษาอุณหภูมิและความชืนให้อยูใ่ นสภาวะทีมนุษย์อยูส่ บายภายในพืนทีปิ ดโดยทัวไป
อุณหภูมิและความชืนทีเหมาะสมอยูท่ ี 25 องศาเซลเซี ยสและ %RH เครื องปรับอากาศประกอบไปด้วยเครื อง
ทําความเย็น เครื องทําความร้อน ตัวควบคุมความชืนและโบลเวอร์
ความสําคัญของเครื องปรับอากาศภายในประเทศไทย มีความสําคัญมากเนื องจากประเทศไทยเป็ นเมือง
ร้ อ นทํา ให้ อุ ณ หภู มิ ใ นช่ ว งเวลากลางวัน สู ง มาก บ้า นเรื อ นและอาคารจึ ง จํา เป็ นต้อ งมี เ ครื องปรั บ อากาศ
เครื องปรับอากาศพบเห็นได้โดยทัวไปภายในบ้านเรื อนส่วนใหญ่จะมีแต่ระบบทําความเย็นโดยการดูดเอาอากาศ
ภายในห้องไปผ่านคอยล์เย็นและปล่อยออกมาสู่ ห้องทําให้อุณหภูมิในห้องตําลงจนถึ งอุณหภูมิที ตังไว้ ส่ วน
เครื องปรับอากาศภายในห้างหรื อสํานักงานขนาดใหญ่จะมีระบบปรับอากาศทีมีระบบทําความและการควบคุม
ความชินเพือให้อากาศภายในพืนทีอยูใ่ นสภาวะทีเหมาะสมตลอดเวลาทีใช้
1

ส่ วนประกอบของเครื องปรับอากาศ
เครื องปรับอากาศจะแบ่งหลัก ๆ ออกเป็ นสองส่วนคือส่วนคอยล์เย็นและส่วนคอยล์ร้อนซึงสองส่ วนก็
จะมีหน้าทีทีแตกต่างกันออกไป
.คอยล์เย็น จะเป็ นส่วนทีติดตังอยูภ่ ายในห้องมีส่วนประกอบดังนี

ภาพที คอยล์เย็น
แหล่งทีมา : https://www.google.com/search
1.1พัดลมหรื อโบลเวอร์

ภาพที โบลเวอร์
แหล่งทีมา :
https://www.google.com/search?q=%E0%B9%82%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%A7
2

มีหน้าทีดูดอากาศภายในห้องให้ผา่ น Evaporator และปล่อยออกสู่หอ้ งอากาศทีผ่าน Evaporator


จะมีอุณหภูมิตาลง

1.2 Evaporator

ภาพที Evaporator
แหล่งทีมา https://www.uni-aire.com/th/product/evaporator-condenser-coil/
มีหน้าทีทําความเย็นซึงภายใน Evaporator จะมีสารทําความเย็นวิงอยูเ่ มืออากาศผ่านครี บจะเกิด
การแลกเปลียนอุณหภูมิสารทําความเย็นอุณหภูมิจะสูงขึนอากาศทีผ่านครี บออกมาอุณหภูมิจะตําลง
1.3 Expansion Valve

ภาพที Expansion Valve


แหล่งทีมา : https://www.rbmperformance.com/expansion-valve-air-conditioner-saab-900-classic-
_l_EN_r_167_p_1v5_i_3613.html
ทําหน้าทีลดความดันและเปลียนสถานะของสารทําเย็นก่อนเข้า Evaporator
3

.คอยล์ร้อน
เป็ นส่วนทีติดตังอยูภ่ ายนอกห้องมีส่วนประกอบดังนี

ภาพที คอยล์ร้อน
แหล่งทีมา : https://shop.samsung.com/th/Device-Experience/Home-Appliance/Air-Conditional/Wall-
Mount/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87
%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0
%B8%B2%E0%B8%A8-S-Inverter-Eco-%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99-
AR18TYHYBWKNST%2C-17%2C200-BTU-hr/p/AR18TYHYBWKXST
2.1 Compressor

ภาพที Compressor
แหล่งทีมา : https://www.menards.com/main/tools/air-compressors/masterforce-reg-belt-drive-60-gallon-155-
psi-stationary-electric-vertical-air-compressor/mela3706056/p-1444439609007.htm Compressor มีหลายขนาด
4

โดยการเลือกขนาดของ Compressor ดูจากการคํานวณโหลดภายในห้อง ทําหน้าทีเพิมความดันและเพิมอุณหภูมิ


สารทําความเย็นให้เปลียนสถานะเป็ นของเหลวแส่ งไปทีส่ วนต่อไป
2.2 Condenser

ภาพที Condenser
แหล่งทีมา : https://shopee.co.th/CONDENSER-
%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8
Condenser เหมือนเป็ นด้านตรงข้ามกับ Evaporator โดยมีหน้าทีแลกเปลียนอุณหภูมิสารทํา
ความเย็นเป็ นอากาศโดยอุณหภูมิสารทําความเย็นก่อนมีอากาศผ่านจะมีอุณหภูมิสูงเมืออากาศผ่านจะทํา
ให้อุณหภูมิอากาศสูงขึนอุณหภูมิสารทําความเย็นตําลง
. พัดลมหรื อโบลเวอร์

ภาพที โบลเวอร์
แหล่งทีมา : https://th.element14.com/ebm-papst/d3g133-bf05-14/blower-ball-133mm-277vac/dp/2474655
5

มีหน้าทีดูดอากาศภายนอกให้ผา่ น Condenser และปล่อยออกสู่ภายนอกจะทําให้มีอุณหภูมิสาร


ทําความเย็นตําลง
6

หลักการทํางานของเครื องปรับอากาศ

ภาพที หลักการทํางานของเครื องปรับอากาศ


แหล่งทีมา : https://www.theengineerspost.com/wp-content/uploads/2018/04/working-of-
ac.png?ezimgfmt=ng:webp/ngcb19

จุดที สารทําความเย็นทีออกจาก Evaporator มีอุณหภูมิสูงความดันตําเมือเข้า Compressor จะทําให้


สารทําความเย็นมีอณ
ุ หภูมิสูงขึนอีกและความดันสูงขึนถูกปล่อยออกไปสู่ Condenser
จุดที เมือสารทําความเย็นเข้าสู่ Condenser จะมีพดั ลมดึงอากาศจากภายนอกมาแลกเปลียนอุณหภูมิกบั
สารทําความเย็นทีอยูใ่ น Condenser ทําให้เมือสารทําความเย็นออกจาก Condenser สารทําความเย็นจะอุณหภูมิ
ตําลง
จุดที เมือสารผ่าน Expansion Valve จะมีความดันทีตําลงและสถานะจากของเหลวจะเปลียนเป็ นแก๊ส
จุดที จากนันนํายาจะไหลวนผ่านแผงคอยเย็นโดยมีพดั ลมเป่ าเพือช่วยดูดซับความร้อนจากภายในห้อง
เพือทําให้อุณหภูมิห้องลดลงซึงทําให้นายาที
ํ ออกจากคอยเย็นมีอุณหภูมิทีสู งขึนความดันคงทีจากนันจะถูก
ส่งกลับเข้าคอมเพรสเซอร์เพือนําทําการหมุนเวียนนํายาต่อไป
7

อุปกรณ์ ทีใช้ เพิมอุณหภูมิภายในระบบปรับอากาศ


โดยในรายงานเล่มนีจะใช้อุปกรณ์สองอย่างในการเพิมอุณหภูมิดงั นี
1.Heater

ภาพที Heater
แหล่งทีมา : https://www.lazada.co.th/products/dernord-dn40-220v-380v-3kw-45kw-6kw-9kw-12kw-heating-
pipe-electric-water-heater-heating-element-with-15-bsp-thread-47mm-i2590078139.html
เป็ นอุปกรณ์โดยใช้ไฟฟ้าเป็ นพลังงานและเปลียนเป็ นพลังงานความร้อนเมืออากาศผ่าน Heater
อากาศจะอุณหภูมิทีสู งขึน
2.Hot gas
จะนําสารทําความเย็นทีออกจาก Compressor แบ่งไปยังคอยล์ Hot gas ทีเหมือนกับ Evaporator
เพียงแต่สารทําความเย็นข้างในมีอุณหภูมิสูงเมืออากาศผ่านคอยล์ Hot gasจะทําให้อากาศมีอณ
ุ หภูมิสูงขึน
8

อุปกรณ์ ทีใช้ ของระบบควบคุมในระบบปรับอากาศ


โดยอุปกรณ์ทีจะกล่าวต่อไปนีเป็ นอุปกรณ์ควบคุมทีใช้ภายในรายงานเล่มนี
1. AC Breaker single phase

ภาพที 11 เบรกเกอร์
แหล่งทีมา : https://www.wattuneed.com/en/electrical-hardware/2313-schneider-single-phase-
25a-circuit-breaker-0712971133242.html
อุปกรณ์ทางไฟฟ้าทําหน้าทีตัดวงจรไฟฟ้าเพือป้องกันความเสี ยหายกับอุปกรณ์ไฟฟ้าตัวอืนโดย
ไฟฟ้าจะถูกต่อเข้ากับเบรกเกอร์ก่อนจะถูกต่อไปยังอุปกรณ์ชนิดอืน

2. DC Power supply

ภาพที 12 Power supply


แหล่งทีมา : https://www.hotpartengineering.com/th/home/18-switching-power-supply-chs35-24-
15a-24v.html
9

แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงทําหน้าทีในการแปลงไฟฟ้ากระแสสลับทีเข้าแปลงเป็ นไฟฟ้ากระแสตรง
เพือจ่ายให้อุปกรณ์ไฟฟ้าตัวอืนตามขนาดที Power supply ทําได้ โดยทีมักพบเห็นกันบ่อยครังจะเป็ น Power
supply ขนาด 3.3V, 5V, 12 Vและ24V

3. PLC FX3U

ภาพที 13 PLC FX3U-14MR


แหล่งทีมา https://www.facebook.com/NiponPunjaisee/posts/1224275941417178/
PLC ย่อมาจากคําว่า Programmable Logic Controller เป็ นอุปกรณ์ทีทําหน้าทีควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้า
ชนิ ดอืน ๆ โดยใช้การเขียนคําสังให้อุปกรณ์อืน ๆ ทํางานตามทีตังไว้

4. Temperature sensor
10

ภาพที 14 RTU Temperature sensor


แหล่งทีมา : https://www.duinomaker.com/product/6/xy-md02-modbus-rtu-rs485-เซ็นเซอร์วดั
อุณหภูมิและความชืน
เซนเซอร์ทีทําหน้าทีวัดอุณหภูมิบางชนิดสามารถวัดได้ทงอุ
ั ณหภูมิและเปอร์เซ็นต์ความชืนในอากาศ ณ
ตําแหน่งนัน ๆ ได้ โดยอาศัยการเปลียนแปลงของแรงดันไฟฟ้าหรื อกระแสไฟฟ้าแล้วนําไปคํานวณแสดง
ออกมาเป็ นอุณหภูมิและเปอร์เซ็นต์ความชืน

5. Relay

ภาพที 15 Relay
แหล่งทีมา : https://misumitechnical.com/technical/electrical/relay-working-principles/
11

รี เลย์เป็ นอุปกรณ์ทีทําหน้าทีเหมือนสวิตช์ไฟ ทีใช้แรงดันไฟฟ้าในการเปิ ดปิ ด รี เลย์ทาํ งานโดยการ


ป้อนกระแสฟ้าเข้าไปในรี เลย์เพือเปลียนแรงดันไฟฟ้าให้เป็ นพลังงานแม่เหล็กเพือสับสวิตช์

6. Monitor PLC

ภาพที 16 Samkoon monitor


แหล่งทีมา
https://www.yuyiplc.com/index.php?unit=products&lang=en&act=view&parent=17456&id=271
23
จอแสดงผลทีใช้กบั PLC สามารถแสดงผลค่าทีเราต้องการได้ตามทีเราออกแบบอีกทังยังสามารถเป็ น
อุปกรณ์สังงาน PLC ได้อีกด้วย

7. Solenoid valve

ภาพที 17 Solenoid valve


แหล่งทีมา : https://www.thaiwatersystem.com/article/44/วิธีการเลือก-โซลินอยด์วาล์วหรื อวาล์ว
ไฟฟ้า-solenoid-valves
12

วาล์วควบคุมการไหลของสารภายในท่อเช่น นํา, นํามันและอากาศ เป็ นต้น โดยสามารถเปิ ดปิ ดได้เมือมี


กระแสไฟฟ้า
13

Layout 3D of system
แบบจําลอง มิติของห้องทีทําปฏิบตั ิการอีกทังยังประกอบด้วยโมเดลของระบบปรับอากาศทีใช้ในการ
ปฏิบตั ิการครังนีรวมอยูด่ ว้ ย

ภาพที 8 Layout 3D Isometric view


ภาพที เป็ นภาพ มิติมุมมอง Isometric view ทีบอกลักษณะของห้องปฏิบตั ิการโดยห้องปฏิบตั ิการนี
มีขนาด X 3 เมตร ความสูงอยู่ที . เมตร ฝังขวาเป็ นผนังฉาบปูนฝังซ้ายและด้านหน้าเป็ นฉากกันอะลูมิเนียม
ภายในห้องมีเครื องปรับอากาศตังอยูบ่ ริ เวณมุมขวาของห้อง
14

ภาพที 9 Layout 3D Front view

ภาพที 20 Layout 3D Top view


15

ภาพที 21 Layout 3D Top view(Hide roof)


16

ภาพที 22 Air conditioner 3D model (Isometric view)


ภาพที โมเดลจําลองเครื องปรับอากาศภายในห้องโดยทีส่วนคอยล์เย็นประกอบไปด้วย 1. Cooling
coil 2. Hot gas coil 3. Heaterและ . Blower โดยทีคอยล์เย็นมีความสูงเหนือพืนห้องอยู่ที . เมตร ขนาดของ
คอยล์เย็นอยู่ที . x 0.4 เมตร ส่วนฝังคอยล์ร้อนตังอยูภ่ ายนอกห้องจะประกอบไปด้วย . Blower 2.
Compressor และ . Condenser
17

ภาพที 23 Air conditioner 3D model (Top view)

ภาพที 24 คอยล์เย็น (Top view)


18

ภาพที 25 คอยล์ร้อน (Side view)


19

Process diagram

ภาพที 26 Process diagram


20

ตารางที ชือชินส่ วน

PART NAME
PS Pressure switch
T Temperature
RH %RH
MF Motor fan
HT Heater
HG Hot gas
CC Cooling coil
CP Compressor
CD Condenser
EV Expansion valve
SV Solenoid valve
GV Gate valve
21

Circuit Diagram

ภาพที 27 Circuit diagram


22

Bill of Materials
ITEM PART UNIT QUANTITY
1 AC Breaker single phase EA 1
2 Power supply 24VDC EA 1
3 PLC FX3U EA 1
4 RTU Temperature sensor EA 1
5 Relay 24VDC 2 Contact EA 3
6 Samkoon HMI EA 1
7 Solenoid valve EA 2
8 Electric wire m 4
ตารางที 2 อุปกรณ์ทีใช้
23

การต่ ออุปกรณ์

ภาพที 28 การต่ออุปกรณ์
24

PLC Programming
เขียนโปรแกรม PLC โดยใช้โปรแกรม GX Work2 ได้ดงั นี

ภาพที 29 PLC Programming


25

อธิบายการทํางานของโปแกรม

ภาพที 30 การตัง Master


เป็ นบรรทัดทีตังค่าให้ PLC เป็ น Master โดย M8000 หมายถึงคําสังนีจะทํางานเสมอเวลาที PLC run อยู่
และต่อไปเป็ นคําสัง MOV ทําหน้าทีย้ายค่า H8091 และ K1000 ไปสู่ D8120 และ D8129 ตามลําดับโดย H8091
เป็ นค่าHEX 16 Bitโดย set up ให้ Data length = 8 bit, Parity = None, Stop bit = 1 bit, Baud Rate = 19200,
Header = None, Terminator = Noneและcommunication protocol = MODBUS RTU ทําให้ได้ชุดเลข 1000 0000
1001 0001 เมือนําไปคํานวณในเครื องคิดเลขจึงได้เป็ น H8091

ภาพที 31 การตัง Format setting


26

แหล่งทีมา : https://drive.google.com/file/d/1ojfxh-W1JysX_BrWX0imvgW7OZibsAYR/view
ต่อมา D8129 เป็ นการตอบโต้ของตัว PLC กับ sensor โดย K1000 เป็ นระยะเวลาหน่วย ms ซึงเท่ากับ 1
วินาทีทาํ ให้ PLC กับ sensor รับส่งค่ากันทุก ๆ 1 วินาที

ภาพที 32 การอ่านค่าจาก sensor


M8012 เป็ นคําสังทีจะทํางานทุก ๆ 0.1 วินาที โดยจะสังให้ C0 นับ 0-3 บรรทัดต่อมาเป็ นการเข้าเงือนไข
เมือ C0 = 1 อ่านค่าจาก Sensor H604 โดยเลขตัวหน้าคือ ID ของ Slave และ 04 เป็ น Read Address ต่อมาเป็ น H1
เป็ น Channel number ของ sensor ส่ วน D2 เป็ นค่าอุณหภูมิทีถูกส่ งมาเก็บไว้
เมือ C0 = 2 อ่านค่า %RH ไปเก็บไว้ที D4
เมือ C0 = 3 จะรี เซ็ตค่า C0 ให้เท่ากับ 0
27

ภาพที 33 สังการทํางาน Relay


สามารถสังเปิ ดปิ ด M10 ได้เมือ M10 ทํางานจะเข้าคําสัง CMP เป็ นการเปรี ยบเทียบค่าจาก D2 (อุณหภูมิ)
เทียบกับค่า K250 (อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส) โดยจะแยกออกเป็ น 3 เงือนไขดังนี
1. D2 > K250

ภาพที 34 ถ้า D2 > K250


จะเข้าเงือนไขแรกทําให้ M100 ทํางานจะทําให้ T1 นับเวลาจาก 0 – 12 วินาทีแต่เมือ T2 ทํางาน T1 จะ
ไม่ทาํ งานในระหว่างการนับเวลาหากมีการเปลียนแปลงจะทําให้การนับหยุดลงหรื อเริ มนับใหม่เมือ Y0 ทํางานก็
28

จะทําให้ T1 ทํางานเช่นกัน บรรทัดต่อมาหมายถึงเมือ T1 นับเวลาครบ 12 วินาทีจะทําให้บรรทัดนีทํางานจะสัง


ให้ Y0 ทํางาน (มีกระแสไฟฟ้าออกจาก Y0) ไปสู่ Relay01
2. D2 = K250

ภาพที 35 ถ้า D2 = K250


เป็ นเงือนไขทีเกิดได้นอ้ ยหากเกิดได้ก็แค่ช่วงเวลาไม่นานนักทีค่าทังคู่จะเท่ากันทําให้เงือนไขนีจึงไม่ได้
ใช้งานจึงเขียนคําสังไว้ดงั นี เมือ M101 ทํางาน M1 จะทํางาน
3. D2<K250

ภาพที 36 ถ้า D2 < K250


จะเข้าเงือนไขสุดท้าย M102 ทํางานทําให้ T2 นับเวลา 0-12 วินาทีแต่เมือ T1 ทํางาน T2 จะไม่ทาํ งานใน
ระหว่างการนับเวลาหากมีการเปลียนแปลงจะทําให้การนับหยุดลงหรื อเริ มนับใหม่เมือ Y1 ทํางาน ทําให้ T2
ทํางานเช่นกัน บรรทัดต่อมาเมือ T2 นับเวลาครบจะทํางานเมือทํางานทําให้ Y1 และ Y2 ทํางาน (มีกระแสไฟฟ้า
ออกจาก Y1 และ Y2) ไปสู่ Relay02 และ Relay03 ถ้าหาก M50 ทํางานก็จะสังให้ Y1 และ Y2 ทํางานเช่นกัน
บรรทัดต่อมาเมือ M50 ทํางาน Y5 จะทํางาน
29

เอกสารอ้ างอิง
บุลวัชร์ เจริ ญยืนนาน. (2564). รี เลย์. สื บค้นเมือวันที 29 มีนาคม พ.ศ. 2565 จาก
https://misumitechnical.com/technical/electrical/relay-working-principles/
ไม่ปรากฏชือผูแ้ ต่ง. (ไม่ปรากฎปี ทีพิมพ์). MODBUS COMMUNICATION SETTINGS. สื บค้นเมือ
วันที 29 มีนาคม พ.ศ. 2565 จาก https://drive.google.com/file/d/1ojfxh-
W1JysX_BrWX0imvgW7OZibsAYR/view
Pongkung. (2560). รี เลย์ช่วยพิเศษ(MELSEC Fx series). สื บค้นเมือวันที 29 มีนาคม พ.ศ. 2565 จาก
http://know2learning.blogspot.com/2017/07/melsec-fx-series.html
TECH SCHOOL. (2564). POWER SUPPLY. สื บค้นเมือวันที 29 มีนาคม พ.ศ. 2565 จาก
https://www.ai-corporation.net/2021/11/12/component-of-power-supply/
MISUBISHI. (ไม่ปรากฎปี ทีพิมพ์). คู่มือการใช้งาน PLC FX3. สื บค้นเมือวันที 29 มีนาคม พ.ศ. 2565
จาก https://www.mitsubishifa.co.th/files/dl/MELSEC%20FX3%20Series_Starting%20Guide.pdf
OMRON. (ไม่ปรากฎปี ทีพิมพ์). Power Relay. สื บค้นเมือวันที 29 มีนาคม พ.ศ. 2565 จาก
https://www.ia.omron.com/data_pdf/cat/my_ds_e_7_3_csm59.pdf

You might also like