You are on page 1of 36

การตรวจวัดและการพิสจู น์ ผลประหยัด

Measurement and Verification : M&V

มาตรการติดตัง้ ระบบโอโซนที่หอผึง่ เย็น


ของระบบทํานํ้าเย็น (Ozone for Cooling Tower)

1
ปัญหา

1. ตะกรัน
2. ตะไคร่นํ้า
3. การกัดกร่อน
4. การติดเชื้อโรค
5. การทิ้งนํ้า
2
ปัญหา
ตะกรัน
- ลดประสิทธิภาพการแลกเปลีย่ นความร้อนของ Condenser และ หอผึง่ นํ้า

- เพิม
่ ค่าใช้จา่ ยในการทําความสะอาด Condenser และ หอผึง่ นํ้า

3
สาเหตุ
สาเหตุการเกิดตะกรัน

การเจริญเติบโตของ Bacteria
Bacteria ก่อให้เกิด Biofilm ซึง่ เป็ นพืน้ ผิว
ในการยึดเกาะของตะกรันทีผ่ วิ ท่อและส่วน
ต่างๆ

4
ปัญหา
ตะไคร่นํ้า
- ลดประสิทธิภาพการแลกเปลีย่ น
ความร้อนของหอผึง่ นํ้า
- เกิดการอุดตันของท่อและ Strainer
- เพิม่ ค่าใช้จา่ ยในการทําความสะอาดและ
การซ่อมบํารุงหอผึง่ นํ้า

5
ปัญหา

การกัดกร่อน

- สร้างความเสียหายกับอุปกรณ์
- ก่อให้เกิดการอุดตันของท่อ

6
ปัญหา

การติดเชื้อโรค
- Legionnaire เป็ นโรคระบบทางเดิน
หายใจเฉียบพลัน โดยสัมผัสกับละอองนํ้า
และนํ้าของหอผึง่ นํ้า

Legionellosis
(Bacteria Legionella Pneumophila)
7
ปัญหา

ใช้นํ้ามากและต้องบําบัดนํ้าทิ้ง
(Bleed-off / Blowdown)
นํ้าในหอผึง่ เย็นจะค่อยๆมีความเข้มข้นของสารเคมี
เพิม่ ขึน้ อันเนื่องมาจากการระเหยของนํ้าทีถ่ กู ลมพัด
ออกไป จึงจําเป็ นต้องใช้น้ําใหม่เติมเข้ามาเพิม่ อยู่
ตลอดเวลา ซึง่ เป็ นปริมาณทีส่ งู มาก นํ้าทีท่ ง้ิ ออกไปจาก
หอผึง่ เย็นจะมีสารเคมีปนเปื้ อนสูงและต้องถูกนําไปบําบัด
ก่อนทิง้ ออกสูภ่ ายนอกอีก

8
โอโซนคืออะไร
โอโซน (O3) คือก๊าซทีไ่ ม่เสถียรเกิดจากรวมอะตอมของออกซิเจน 3 อะตอม โอโซนจะถูกกําเนิด
เมือ่ ก๊าซออกซิเจน (O2) ทีแ่ ยกออกเป็ นสองอะตอมและไปรวมกับอะตอมออกซิเจน เมือ่ อะตอม
ออกซิเจน 3 อะตอมรวมกันเราจึงเรียกว่าโอโซน

Oxygen (O2) + Energy = Ozone (O3) Oxidation Oxygen (O2)

9
ลักษณะการติดตัง้ ระบบโอโซน

Animation 10
ตัวชี้วดั ประสิทธิภาพ
เราสามารถประหยัดพลังงานจากการควบคุมการถ่ายเทความร้อนของชิลเลอร์ โดย
การรักษาอุณหภูมแิ อพโพรชคอนเดนเซอร์ (Condenser Approach Temperature) ให้
ตํ่าอยูต่ ลอดเวลา ตามคุณลักษณะเฉพาะของชิลเลอร์แต่ละรุน่

11
ความสัมพันธ์ ระหว่าง ค่า Condenser Approach
Temperature กับประสิทธิภาพของ Chiller

ทุก 1 องศาฟาเรนไฮต์ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ของค่า Condenser Approach


Temperature จะทําให้คา่ kW/Ton ของ Chiller เพิม่ ขึน้ 1.5% หรือ
ประสิทธิภาพ Chiller ลดลง = 1.5%

เพือ่ การแลกเปลีย่ นความร้อนทีด่ ที สี ่ ุดควรรักษา ค่า Condenser Approach Temperature ให้อยู่


ระหว่าง 0-2 ˚F

12
เทคโนโลยีระบบโอโซน
Condenser Approach Temp จากการใช้ระบบเคมี

12

10
Approach Temp(F)

Chiller1
6 Chiller2
Chiller3
4

0
17-Jun-05

17-Jul-05
18-Apr-05

18-May-05

16-Aug-05

15-Sep-05
day

13
Approach Temp(F)

0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
15-Sep-05

15-Oct-05

14-Nov-05

14-Dec-05

13-Jan-06

12-Feb-06

14-Mar-06
เทคโนโลยีระบบโอโซน

13-Apr-06

day
13-May-06

12-Jun-06

12-Jul-06

11-Aug-06

10-Sep-06
Condenser Approach Temp จากการใช้ระบบโอโซน

10-Oct-06

9-Nov-06

9-Dec-06
14
Chiller3
Chiller2
Chiller1
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ ระบบโอโซนที่หอผึง่ เย็น
ของระบบทํานํ้าเย็น
โรงงานผลิตอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์แห่งหนึ่ง ใช้ระบบปรับอากาศแบบรวม
ศูนย์ ชนิดระบายความร้อนด้วยนํ้า ขนาด 600 ตันความเย็น ใช้สารเคมีในการบําบัด
นํ้ าในคูลลิง่ ทาวเวอร์ ซึ่งอาคารมีความต้องการยกเลิกการใช้สารเคมี และใช้ระบบ
โอโซนเข้ามาติดตัง้ แทนระบบบําบัดทีม่ อี ยูเ่ ดิม

15
แนวทางตรวจวัดและพิสจู น์ ผล

IPMVP option : A

- ตรวจวัดปริมาณพลังงานเฉพาะส่วนที่มีการปรับปรุง

- มาตรการแยกออกจากส่วนอื่นของสถานประกอบการ

- มีสภาวะแวดล้อมหรือสภาวะการทํางานที่ไม่เปลี่ยนแปลง
เนื่ องจากเป็ นโรงงานประเภทผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์

- ทําการตรวจวัดเฉพาะจุดเป็ นช่วงเวลาสัน้ ๆ
16
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์
วิธีการตรวจวัด
ความถี่และระยะเวลา
ลําดับ รายละเอียด
การบันทึกข้อมูล
ติดตัง้ เครือ่ งวัดและบันทึกค่าทางไฟฟ้าทีแ่ ผงวงจรควบคุม
ไฟฟ้าของเครือ่ งทํานํ้าเย็น โดยข้อมูลทีต่ รวจวัด ได้แก่ บันทึกข้อมูลทุก 10 นาที
1
กําลังไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และตัวประกอบ เป็ นระยะเวลา 4 วัน
กําลังไฟฟ้า
ติดตัง้ เครือ่ งวัดอัตราการไหลแบบอัลตราโซนิก ทีท่ อ่ ส่งนํ้า
บันทึกข้อมูลทุก 10 นาที
2 เย็นหลังจากออกจากเครือ่ งทํานํ้าเย็น โดยข้อมูลทีต่ รวจวัด
เป็ นระยะเวลา 4 วัน
ได้แก่ อัตราการไหลของนํ้าเย็น
ติดตัง้ เครือ่ งวัดอุณหภูม ิ ทีท่ อ่ นํ้าเย็นไป-กลับ และท่อนํ้าหล่อ
บันทึกข้อมูลทุก 10 นาที
3 เย็นไป-กลับ โดยข้อมูลทีต่ รวจวัด ได้แก่ อุณหภูมขิ องนํ้าเย็น
เป็ นระยะเวลา 4 วัน
และนํ้าหล่อเย็น 17
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์

เครื่องมือตรวจวัด

เครื่องวัดกําลังไฟฟ้ า เครื่องวัดอัตราการไหล เครื่องวัดอุณหภูมิ

18
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์
สภาวะที่ต้องควบคุม
ลําดับ สภาวะที่ต้องควบคุม การควบคุมและค่าควบคุมที่กาํ หนด
ภาระการทําความเย็นของเครือ่ งทํานํ้าเย็น
ภาระการทําความเย็นของเครือ่ งทํานํ้า
1 หลังการปรับปรุงไม่ต่าํ กว่าก่อนการปรับปรุง
เย็น
หรือแตกต่างกันไม่เกิน ±10%
ตัง้ ค่าอุณหภูมคิ วบคุมของนํ้าเย็นทีผ่ ลิตหลัง
2 อุณหภูมคิ วบคุมของนํ้าเย็นทีผ่ ลิต
การปรับปรุงไม่สงู กว่าก่อนการปรับปรุง

19
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์
ผังการตรวจวัด

20
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์
การคํานวนปริมาณการใช้พลังงาน
ลําดับ ตัวแปร สัญลักษณ์/สูตร หน่วย
1 Condenser approach temp CA oF

2 กําลังไฟฟ้าเฉลีย่ ของเครื่องทํานํ้าเย็น P kW
3 อัตราการไหลเฉลีย่ ของนํ้าเย็น mw LPM
4 อุณหภูมเิ ฉลีย่ นํ้าเย็นขาเข้า Tin oC

5 อุณหภูมเิ ฉลีย่ นํ้าเย็นขาออก Tout oC

6 อุณหภูมเิ ฉลีย่ นํ้าคอนเดนเซอร์ขาเข้า TCDSin oC

7 ค่าแก้ไขพลังไฟฟ้า CE -
8 ค่าแก้ไขขนาดทําความเย็น CR -
9 ความสามารถในการทําความเย็นของเครื่องทํานํ้าเย็น TR= (mw x (Tin – Tout) / 50.4 TR
10 กําลังไฟฟ้าเฉลีย่ ก่อนปรับปรุงทีส่ ภาวะมาตรฐาน Pstd = P x CE kW
11 ความสามารถในการทําความเย็นก่อนปรับปรุงทีส่ ภาวะมาตรฐาน TRstd = TR x CR TR
12 กิโลวัตต์ต่อตันทําความเย็นก่อนปรับปรุงทีส่ ภาวะมาตรฐาน SEC = Pstd / TRstd kW/TR
13 จํานวนชั ่วโมงทีใ่ ช้งานใน 1 ปี H h/y
14 ระดับการใช้พลังงานก่อนปรับปรุง E = ChP x TRstd x H kWh/y 21
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์
การคํานวนปริมาณการใช้พลังงาน

22
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์

การวิเคราะห์ผลประหยัด
ลําดับ ตัวแปร หน่วย ทีม่ าของข้อมูล
1 ค่าความสามารถในการทําความเย็นกรณีฐาน kW/TR TR*pre หรือ TR*post

2 ค่าพลังงานทีเ่ พิม่ ขึน้ จาก Approach temperature % %CA = 1.5 x ((CApre-CApost)/2)

3 ค่าพลังงานไฟฟ้าทีใ่ ช้กรณีฐาน kWh/year Ebase = SECpre x TR*base x (1-%CA) x H

4 ค่าพลังงานไฟฟ้าทีใ่ ช้ “หลัง” ปรับปรุง kWh/year Epost = SECpost x TR*base x H


5 พลังงานทีป่ ระหยัดได้ kWh/year Saving = Ebase - Epost

หมายเหตุ
TR*base = ค่าทีน่ ้อยทีส่ ดุ ระหว่าง TR*pre และ TR*post
23
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์

รูปการตรวจวัดพลังงาน

24
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์
ผลการตรวจวัด ก่อนปรับปรุง
ลําดับ ตัวแปร สัญลักษณ์ /สูตร ก่อนปรับปรุง หน่ วย
o
1 Condenser approach temp CA 5.7 F
2 กําลังไฟฟ้าเฉลีย่ ของเครื่องทํานํ้าเย็น P 298.34 kW
3 อัตราการไหลเฉลีย่ ของนํ้าเย็น mw 3,740.45 LPM
o
4 อุณหภูมเิ ฉลีย่ นํ้าเย็นขาเข้า Tin 13.41 C
o
5 อุณหภูมเิ ฉลีย่ นํ้าเย็นขาออก Tout 7.94 C
o
6 อุณหภูมเิ ฉลีย่ นํ้าคอนเดนเซอร์ขาเข้า TCDSin 26.47 C
7 ค่าแก้ไขพลังไฟฟ้า CE 0.92 -
8 ค่าแก้ไขขนาดทําความเย็น CR 1.09 -
9 ความสามารถในการทําความเย็นของเครื่องทํานํ้าเย็น TR= (mw x (Tin – Tout) / 50.4 406.44 TR
10 กําลังไฟฟ้าเฉลีย่ ก่อนปรับปรุงทีส่ ภาวะมาตรฐาน Pstd = P x CE 274.47 kW
11 ความสามารถในการทําความเย็นก่อนปรับปรุงทีส่ ภาวะมาตรฐาน TRstd = TR x CR 443.02 TR
12 กิโลวัตต์ต่อตันทําความเย็นก่อนปรับปรุงทีส่ ภาวะมาตรฐาน SEC = Pstd / TRstd 0.62 kW/TR
13 จํานวนชั ่วโมงทีใ่ ช้งานใน 1 ปี H 8,760.00 h/y
14 ระดับการใช้พลังงานก่อนปรับปรุง E = SEC x TRstd x H 2,404,395.03 kWh/y 25
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์
ผลการตรวจวัด ก่อนปรับปรุง
kW, TR kW TR kW/TR
600.00 3.00

500.00 2.50

400.00 2.00

kW/TR
300.00 1.50

200.00 1.00

100.00 0.50

0.00 11:20 0.00


14:30
16:40
18:40
20:30
22:20
22:10
19:00
21:50
23:40

0:10
2:00
3:50
5:40
0:00
1:50
3:40
5:30
7:20
1:40
3:30
5:20
8:00
0:00
1:50
3:40
5:30
7:20

26
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์
ผลการตรวจวัด ก่อนปรับปรุง
oC
T1 CHS[C] T1 CHR[C] CDS1[C]
30.00

25.00

20.00

15.00

10.00

5.00

0.00
0:00
1:50
3:40
5:30
7:20

1:40
3:30
5:20
8:00

0:00
1:50
3:40
5:30
7:20

0:10
2:00
3:50
5:40
19:00
21:50
23:40

22:10

11:20
14:30
16:40
18:40
20:30
22:20
27
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์
ผลการตรวจวัด ก่อนปรับปรุง

28
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์

ภาระการทําความเย็น อุณหภูมินํ้าเย็นที่
สภาวะควบคุม
(TR) ผลิต (oF)
ก่อนปรับปรุงเฉลี่ย 406.44 7.94
ค่าขอบบน (+10%) 447.08 8.73
ค่าขอบล่าง (-10%) 365.79 7.15

29
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์
ผลการตรวจวัด หลังปรับปรุง
ลําดับ ตัวแปร สัญลักษณ์ /สูตร หลังปรับปรุง หน่ วย
o
1 Condenser approach temp CA 1.90 F
2 กําลังไฟฟ้าเฉลีย่ ของเครื่องทํานํ้าเย็น P 230.10 kW
3 อัตราการไหลเฉลีย่ ของนํ้าเย็น mw 3,666.57 LPM
o
4 อุณหภูมเิ ฉลีย่ นํ้าเย็นขาเข้า Tin 13.04 C
o
5 อุณหภูมเิ ฉลีย่ นํ้าเย็นขาออก Tout 7.97 C
o
6 อุณหภูมเิ ฉลีย่ นํ้าคอนเดนเซอร์ขาเข้า TCDSin 29.07 C
7 ค่าแก้ไขพลังไฟฟ้า CE 0.97 -
8 ค่าแก้ไขขนาดทําความเย็น CR 1.06 -
9 ความสามารถในการทําความเย็นของเครื่องทํานํ้าเย็น TR= (mw x (Tin – Tout) / 50.4 368.65 TR
10 กําลังไฟฟ้าเฉลีย่ ก่อนปรับปรุงทีส่ ภาวะมาตรฐาน Pstd = P x CE 223.20 kW
11 ความสามารถในการทําความเย็นก่อนปรับปรุงทีส่ ภาวะมาตรฐาน TRstd = TR x CR 390.77 TR
12 กิโลวัตต์ต่อตันทําความเย็นก่อนปรับปรุงทีส่ ภาวะมาตรฐาน SEC = Pstd / TRstd 0.57 kW/TR
13 จํานวนชั ่วโมงทีใ่ ช้งานใน 1 ปี H 8,760.00 h/y
14 ระดับการใช้พลังงานก่อนปรับปรุง E = SEC x TRstd x H 1,955,205.72 kWh/y 30
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์
ผลการตรวจวัด หลังปรับปรุง
kW, TR P1[kW] TR kW/TR
600.00 3.00

500.00 2.50

400.00 2.00

kW/TR
300.00 1.50

200.00 1.00

100.00 0.50

0.00 0.00
0:00
2:00
4:00
6:00
8:00

0:00
2:00
4:00
6:00
8:00

0:00
2:00
10:00
12:00
14:00
16:00
18:00
20:00
22:00

10:00
12:00
14:00
16:00
18:00
20:00
22:00
31
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์
ผลการตรวจวัด หลังปรับปรุง

oC T1 CHS[C] T1 CHR[C] CDS1[C]


35.00
30.00
25.00
20.00
15.00
10.00
5.00
0.00
0:00
1:50
3:40
5:30
7:20
9:10

1:40
3:30
5:20
7:10
9:00

1:30
11:00
12:50
14:40
16:30
18:20
20:10
22:00
23:50

10:50
12:40
14:30
16:20
18:10
20:00
21:50
23:40
32
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์
ผลการตรวจวัด หลังปรับปรุง

33
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์

ภาระการทําความ อุณหภูมินํ้าเย็น
สภาวะควบคุม
เย็น (TR) ที่ผลิต (oF)
ก่อนปรับปรุงเฉลี่ย 406.44 7.94
ค่าขอบบน (+10%) 447.08 8.73
หลังปรับปรุงเฉลี่ย 368.65 7.97
ค่าขอบล่าง (-10%) 365.79 7.15

34
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์

การวิเคราะห์ผลประหยัด
ลําดับ ตัวแปร ที่มาของข้อมูล ค่าตรวจวัด หน่ วย
ค่าความสามารถในการทําความ
1 TR*base = TR*pre หรือ TR*post 390.77 kW/TR
เย็นกรณีฐาน
ค่าพลังงานทีเ่ พิม่ ขึน้ จาก
2 %CA = 1.5 x ((CApre-CApost)/2) 2.78 %
Approach temperature
3 ค่าพลังงานไฟฟ้าทีใ่ ช้กรณีฐาน Ebase = SECpre x TR*base x (1-%CA) x H 2,061,972.09 kWh/year
4 พลังงานเครือ่ งโอโซน Poz = 3.32 kW x H 29,083.20 kWh/year
ค่าพลังงานไฟฟ้าทีใ่ ช้ “หลัง”
5 Epost = (SECpost x TR*base x H) + (Poz x H) 1,984,288.92 kWh/year
ปรับปรุง
6 พลังงานที่ประหยัดได้ Saving = Ebase - Epost 77,683.17 kWh/year
Cost Saving = Saving x Unit rate
7 ค่าใช้จ่ายพลังงานที่ประหยัด 277,328.90 THB/year
(Unit rate = 3.57THB/kWh) 35
กรณี ศึกษา 2 มาตรการติดตัง้ เครื่องโอโซนบําบัดนํ้าคอนเดนเซอร์
การวิเคราะห์ผลประหยัดต่อปี
หัวข้อ เคมี โอโซน
ค่าใช้จา่ ยต่อปีในการใช้สารเคมี (บาท) 120,000.00 0.00
ค่าใช้จา่ ยต่อปีจากนํ้าเติมเข้าสูร่ ะบบ (บาท) 477,716.07 382,172.86
ค่าใช้จา่ ยต่อปีในการล้าง Tube Condenser (บาท) 30,000.00 0.00
ค่าไฟฟ้าต่อปี ทเ่ี พิม่ ขึน้ เนื่องจากตะกรันใน Tube Condenser (บาท) 277,328.90 0.00
ค่าใช้จา่ ยต่อปี ในการ Operate ระบบ (บาท) 0.00 114,668.00
รวมค่าใช้จา่ ยต่อปี (บาท) 905,044.97 496,840.86
รวมผลการประหยัดต่อปี (บาท) 408,204.11
เงินลงทุน (บาท) 1,200,000.00
ระยะเวลาคืนทุน (ปี ) 2.94

หมายเหตุ: ราคาค่านํ้า 17 บาท/ลบ.ม. ราคาค่าไฟ 3.57 บาท/kWh 36

You might also like