You are on page 1of 42

หล ักสูตรการฝึ กอบรม

การแก ้ไขระบบ

ตู ้เย็นทีใ่ ชสารท าความเย็น
R-600a

1
ขั้นตอนการปฏิบัติงานตู้เย็นระบบ R600a
ตู้เย็นโตชิบาทีใ่ ช้ สารทาความเย็น R600a
GR-T32, GR-T36, GR-T41, GR-T46, GR-TG41,
GR-TG46, GR-H52, GR-HG52,GR-H55, GR-HG55

1. ขั้นตอนการตรวจสอบหาจุดรั่ว
2. ขั้นตอนการปล่ อยนา้ ยาออกจากระบบ(กรณีมีนา้ ยาค้ างในระบบ)
3. ขั้นตอนการล้ างระบบด้ วย 141b
4. ขั้นตอนการแก้ ไขจุดรั่ว(เชื่อมต่ อท่ อด้ วยล็อคริงส์ )
5. ขั้นตอนการตรวจสอบรอยรั่วด้ วยไนโตรเจน
6. ขั้นตอนการทาสุ ญญากาศ
7. ขั้นตอนการตรวจสอบรอยรั่วหลังจากการทาสุ ญญากาศ
8. ขั้นตอนการเติมสารทาความเย็น
9. ขั้นตอนการปิ ดระบบ
10. ขั้นตอนการทดสอบการทางานของเครื่อง

2
ขั้นตอนการปฏิบัติงานตู้เย็นระบบ R600a

คุณสมบัตขิ องสารทาความเย็น R600a

ไอโซบิวเทน หรือ R600a

บิวเทน หรือ R134a, R12

3
ขั้นตอนการปฏิบัติงานตู้เย็นระบบ R600a

เหตุผลของการเลือกใช้ ลอ็ คริงส์ เชื่อมจุดต่ อท่ อในระบบ R600a


1. เหตุผลด้ านความปลอดภัย
- ช่ างซ่ อมมีความปลอดภัยสู งสุ ด เนื่องจากไม่ มปี ระกายไฟจากการเชื่อมท่ อ
ลดโอกาสเกิดการระเบิด
- ลูกค้ า หรือผู้ที่อยู่บริเวณไกล้ เคียง มีความปลอยภัยสู งสุ ด เนื่องจากไม่ มี
ประกายไฟจากการเชื่อมท่ อ ลดโอกาสเกิดการระเบิด

2. เหตุผลด้ านมาตรฐานการซ่ อม
- ยกระดับการซ่ อมตู้เย็นระบบ R600a ที่เป็ นตู้ขนาดใหญ่ โดยช่ างนั้น
สามารถใช้ เครื่องมือที่ทันสมัย และ ปลอดภัยในขั้นตอนการซ่ อม
- สามารถทางานซ่ อมได้ ที่บ้านลูกค้ า ลดขั้นตอนการขนส่ งสิ นค้ า และ
ลดความเสี ยหายอันเนื่องจากการขนส่ งสิ นค้ า และความรวดเร็วในการ
ให้ บริการแก่ ลูกค้ า

3. เหตุผลด้ านความแข็งแรง
- ในการเลือกใช้ การเชื่อมต่ อท่ อ ด้ วยล็อคริงส์ แทนการเชื่อมนั้น ด้ าน
ความแข็งแรง ไม่ ได้ น้อยลง โดย บริษัทผู้ผลิต นั้นได้ มาตรฐาน ทั้งด้ านความ
ปลอดภัย ผลการทดสอบด้ านความแข็งแรง

4
ขั้นตอนการปฏิบัติงานตู้เย็นระบบ R600a
เหตุผลของการเลือกใช้ ลอ็ คริงส์ เชื่อมจุดต่ อท่ อในระบบ R600a

5
ขั้นตอนการปฏิบัติงานตู้เย็นระบบ R600a
เครื่องมือและอุปกรณ์ สาหรับระบบ R600a

Loktool MZ
1.
คีมยา้ ล็อคริงส์

JAW MB 8
2.
หัวยา้ ล็อคริงส์

Pinch Off Tool


3.
ปากคีมปิ ดระบบ

Piercing Pliers
4. คีมเปิ ดระบบ

Digital Scale
5.
ตาชั่งดิจิตัล
6
ขั้นตอนการปฏิบัติงานตู้เย็นระบบ R600a
เครื่องมือและอุปกรณ์ สาหรับระบบ R600a
ศรวาล์ ว ขนาด 6 mm.
6.
จุดต่ อวาล์ วบริการ

Value
7.
วาล์วสาหรับต่ อกับกระป๋ องนา้ ยา

Manifold Gauge
8.
เกจเมนิโฟด์

Pipe Cutter
9. คัตเตอร์ ตัดท่ อ

Vacuum
10.
เครื่องทาสู ญญากาศ
7
ขั้นตอนการปฏิบัติงานตู้เย็นระบบ R600a
เครื่องมือและอุปกรณ์ สาหรับระบบ R600a

11. ถังไนโตรเจนพร้ อมสาย

12. แคลมป์ มิเตอร์

13. นา้ ยา R141b

14.
กระบอกสาหรับใส่
R141b ล้ างระบบ

15. คีมปิ ดระบบ

16. ตัววัดอุณหภูมิ
8
ขั้นตอนการปฏิบัติงานตู้เย็นระบบ R600a
เครื่องมือและอุปกรณ์ สาหรับระบบ R600a
Capillary Tube Cutter
17.
คีมตัดท่ อแคปทิว้

R600a 90 g.(can)
18.
นา้ ยา R600a แบบกระป๋ อง

Lokprep 65 g.
19.
นา้ ยาประสานจุดต่ อท่ อ

Lokring 4 NK Ms 00
20. T,H Series(point 38
40,41,42)

Lokring 5/4 NR Ms 00
21. T,H Series(point 37,47A)

9
ขั้นตอนการปฏิบัติงานตู้เย็นระบบ R600a
เครื่องมือและอุปกรณ์ สาหรับระบบ R600a
Lokring 6 NK Ms 00
22. T,H Series(point 87)

Lokring 8/6 NR Ms 00
23. T,H Series(point 67, B)

Lokring 8/5 NR Ms 00
24. T,H Series(point 07)

Lokring 5/5 NK Ms 00
25.
T,H Series(point 22,23)

Lokring 6.5/5 NR Ms 00
26. T Series(point 21)

10
ขั้นตอนการปฏิบัติงานตู้เย็นระบบ R600a
เครื่องมือและอุปกรณ์ สาหรับระบบ R600a
Lokring 7/5 NR Ms 00
27. H Series(point 21)

Lokring 5/2 NR Ms 00
28. T,H Series(point 66, F)

Lokring 5 VS, 6 VS Ms 00
29. T,H Series(point 08)

30. TQC Charging 5,6 mm.

31. Driers DR.


T,H Series

- กระดาษทรายนา้ เบอร์ 1000


32. - กระดาษทรายแบบผ้ าเบอร์ 0
11
ขั้นตอนการทาระบบนา้ ยา R600a
(ระบบรั่ว, ตันในระบบ, คอมเพรสเซอร์ เสี ย)

1. ขั้นตอนการตรวจสอบหาจุดรั่ว
2. ขั้นตอนการปล่ อยนา้ ยาออกจากระบบ(กรณีมีนา้ ยาค้ างในระบบ)
3. ขั้นตอนการล้ างระบบด้ วย R141b
4. ขั้นตอนการแก้ ไขจุดรั่ว(เชื่อมต่ อท่ อด้ วยล็อคริ งส์ )
5. ขั้นตอนการตรวจสอบรอยรั่วด้ วยไนโตรเจน
6. ขั้นตอนการทาสุ ญญากาศ
7. ขั้นตอนการตรวจสอบรอยรั่วหลังจากการทาสุ ญญากาศ
8. ขั้นตอนการเติมสารทาความเย็น
9. ขั้นตอนการปิ ดระบบ
10. ขั้นตอนการทดสอบการทางานของเครื่อง

12
จุดเชื่อมต่ อท่ อของตู้เย็น รุ่ น T,H Series
No. ตาแหน่ งจุดต่ อ ล็อคริงส์ ที่เลือกใช้
1 38, 40, 41, 42 Lokring 4 NK Ms 00
2 37, 47A Lokring 5/4 NR Ms 00
3 87 Lokring 6 NK Ms 00
4 67, B Lokring 8/6 NR Ms 00
5 07 Lokring 8/5 NR Ms 00
6 22, 23 Lokring 5/5 NK Ms 00
7 21 (T Series) Lokring 6.5/5 NR Ms 00
8 21 (H Series) Lokring 7/5 NR Ms 00
9 66, F Lokring 5/2 NR Ms 00
10 08 (Pinch point) Lokring 5 VS Ms 00, 6 VS Ms 00
11 Dryer Lokring DR 10

41 37 87
38
47A
40
47B
21
07
66

42 67 08

F จุดต่ อท่ อไอระเหย 23


จุดต่ อช่ อง
แช่ แข็ง เฉพาะ T Series

B
22 13
กรณีทาระบบนา้ ยา R600a(ระบบรั่ว)
1.ขั้นตอนการตรวจสอบหาจุดรั่ว
1.1 ขั้นตอนการต่ อวาล์ วลูกศรที่ท่อบริการ (ในกรณีที่ต้องการใช้ วาล์ วลูกศรแทนคัปปลิง้ เพือ่
ความสะดวกในการทดสอบระบบ เป็ นเวลานานๆ)
1.1.1 ต่ อวาล์ วลูกศร เข้ ากับท่ อบริการ โดยใช้ ลอ็ คริงส์ ขนาด 8/6NR โดยปฏิบัตด
ิ งั ขั้นตอน ใน
รูปด้ านล่าง
1 2

เตรียมท่ อบริการและใช้ กระดาษทรายขัดทาความสะอาด 1 2

3 4

หยดล็อคเปร็บทีจ่ ุดต่ อ 3 สวมล็อคริงส์ ระหว่ างศรวาล์ ว กับท่ อบริการ 4


5 6

ใช้ คมี ยา้ ล็อคริงส์ บีบเข้ าหากัน 5 วาล์ วลูกศรพร้ อมใช้ งาน 614
กรณีทาระบบนา้ ยา R600a(ระบบรั่ว)
1.ขั้นตอนการตรวจสอบหาจุดรั่ว
1.2 เบือ้ งต้ นให้ ดูคราบนา้ มันที่จุดเชื่อมต่ อทุกจุด(อ้ างอิงจากเอกสารแสดงจุดต่ อท่ อ)

จุดรั่ว คราบน้ามัน

1.3 ชาร์ ทไนโตรเจนเข้ าทางท่ อบริการ ประมาณ 75-80 psi แล้วใช้ นา้ สบู่ตรวจสอบจุดต่ อ
ทุกจุด โดยสังเกตุถ้ามีจุดรั่วนั้น ฟองสบู่น้ันจะขยายใหญ่ ขนึ้

15
2. ขั้นตอนการปล่ อยนา้ ยาออกจากระบบ(กรณีมนี า้ ยาค้ างในระบบ)
2.1 เตรียมพืน ้ ทีห่ รือจุดซ่ อมให้ โล่ ง เพือ่ อากาศถ่ ายเทได้ สะดวก
2.2 ห้ ามทางานประเภททีม ่ ปี ระกายไฟในบริเวณไกล้ เคียง
2.3 เตรียมคีมปล่ อยสารทาความเย็นและสายต่ อ
2.4 ตรวจสอบวาล์ วของคีมปล่ อยสารทาความเย็นให้ อยู่ในตาแหน่ งปิ ด
ี บีบกดทีต่ รงของท่ อบริการ(กดให้ เป็ นรู )
2.5 ใช้ คม
2.6 หมุนเปิ ดวาล์ วของคีมปล่ อยสารทาความเย็น เพือ่ ปล่ อยสารทาความเย็น
ให้ ไหลออกไปทางท่ อส่ ง นอกอาคาร หรือพืน้ ทีป่ ลอดภัย

จุดปล่ อยสารทาความเย็น จุดปล่ อยสารทาความเย็น


บริเวณท่ อบริการ บริเวณท่ อไดเออร์

ลักษณะของรูที่ถูกเจาะด้ วย
ไอของสารทาความ
คีมปล่อยสารทาความเย็น
เย็นที่ปลายท่ อ

16
3. ขั้นตอนการล้ างระบบด้ วย R141b

 ใช้ R141b ล้ างระบบเมื่อใด


3.1 เกิดการรั่วขึน ้ ที่จุดต่ อทางด้ านดูดของระบบ แนะนาให้ ล้างระบบ เพราะ
เมือ่ เกิดการรั่วขึน้ ของเหลวอาจถูกดูดเข้ าไปในระบบทาให้ เกิดการตันได้
3.2 เม็ดซิลกิ ้ าเจล ในไดเออร์ มีการเปลีย่ นสี ดังแสดงในรู ป

รู ปการตัดไดเออร์ เม็ดซิลกิ ้ าปกติ เม็ดซิลกิ ้ าสี เริ่มดาขึน้

ต้ องล้ างระบบ

เม็ดซิลกิ ้ าสี เริ่มดาขึน้ เม็ดซิลกิ ้ าสี เริ่มดามาก


และมีเศษผง มีคราบน้ามัน

3.3 เมือ่ เกิดการตันในระบบ จุดสั งเกตุ ตู้เย็นที่เกิดการตันในระบบ


- คอมเพรสเซอร์ ทางานในรอบต่า กินกระแสไม่ ถึงพิกดั
- มีอาการเย็นน้ อย หรือ สลับไม่ เย็น
- ไม่ มกี ารรั่วซึมของสารทาความเย็น ที่จุดเชื่อมต่ อแต่ ละจุด
- ไดเออร์ จะเย็น ปกติจะอุ่นๆ ถ้ าระบบปกติ 17
3. ขั้นตอนการล้ างระบบด้ วย R141b

3.4 สาเหตุที่ทาให้ ตู้เย็น เกิดการตันในระบบ


ขั้นตอนการทาระบบตู้เย็นไม่ สะอาด หรือ การทาสุ ญญากาศไม่ ดพี อ
ซึ่งจะทาให้ เศษสิ่ งสกปรก หรือความชื้น หลงเหลืออยู่ในระบบ เมือ่ ใช้ งาน
ไปสั กระยะ จึงทาให้ เศษ หรือความชื้นดังกล่ าวเคลือ่ นที่ไปตัน ณ จุดที่เล็ก
ทีส่ ุ ดของท่ อ

3.5 อุปกรณ์ ที่ใช้ ในการไล่ ระบบ


- ศรวาล์ วขนาด 6 mm.
- กระบอกเติม R141b
- น้ายา R141b
- สายเกจสาหรับต่ อกับคัปปลิง้
- ไนโตรเจน, วาล์ ว, สายเกจ
- ล็อคริงส์ 8/6NR.
- คัปปลิง้ 5,6 mm.

18
3. ขั้นตอนการล้ างระบบด้ วย R141b

3.4 ขั้นตอนการไล่ ระบบด้ วย R141b


3.4.1 เปิ ดระบบและปล่ อยสารทาความเย็นออก
3.4.2 ถอดไดเออร์ ออก แต่ งท่ อแคปทิว้ ให้ โล่ ง

จุดตัดท่ อ ด้ านอัด

จุดตัดท่ อ ด้ านดูด

19
3. ขั้นตอนการล้ างระบบด้ วย R141b

3.4.3 ใช้ คตั เตอร์ ตัดท่ อ ตัดที่จุดตัดทางท่ อด้ านดูดดังที่กาหนดไว้ ดังรู ป


กาหนดให้ ล้างระบบเฉพาะทางด้ านดูดอย่ างเดียว

จุดตัดท่ อ ด้ านดูด

3.4.4 สวมคัปปลิง้ ขนาด 6 mm. เข้ าที่ท่อด้ านดูด ดังรู ป

จุดสวมคัปปลิง้

3.4.5 ต่ อสายระหว่ างกระบอกไล่ ระบบ R141b กับหัวคัปปลิง้ ที่ท่อดูด ดังรู ป

ต่ อสายกระบอกไล่ระบบ

20
3. ขั้นตอนการล้ างระบบด้ วย R141b

3.5 ขั้นตอนการเติม R141b เข้ ากระบอกไล่ ระบบ


3.5.1 ถอดฝาปิ ดด้ านล่ างของกระบอกออก ต่ อสายให้ แน่ น ดังรู ป
3.5.2 ปลายสายอีกด้ านต่ อเข้ ากับเกลียวของคัปปลิง้
3.5.3 ถอดฝาปิ ดรู ระบายอากาศ ตอนเติม R141b
3.5.4 เติมน้ายา R141b ลงกระบอก
3.5.5 ถอดกรวยรับน้ายาออก
3.5.6 ต่ อสาย ไนโตรเจน
1
3
2

4 จุดเติม R141b 5 6

21
3. ขั้นตอนการล้ างระบบด้ วย R141b

3.5 ขั้นตอนการเติม R141b เข้ ากระบอกไล่ ระบบ


3.5.7 เปิ ดวาล์ วไนโตรเจน เพือ่ ให้ ไนโตรเจนดัน R141b ไล่ ระบบทีอ่ ุดตัน
หรือสกปรก ใช้ ภาชนะรับสิ่ งแปลกปลอมในระบบ และสั งเกตุสีของมัน
ว่ าเป็ นสี แบบไหน หากเป็ นสี เข้ ม แบบรู ปด้ านล่ าง ให้ ไล่ ระบบจนกว่ า จะมีสีไส

สิ่ งแปลกปลอมที่ค้างอยู่ในระบบ

สี ของระบบที่สะอาดแล้ ว
3.5.8 เมือ่ ไล่ ระบบจน ระบบสะอาดเรียบร้ อยแล้ ว ให้ ปิดไนโตรเจน
แล้ วถอดกระบอกไล่ ระบบออก
ข้ อแนะนาการเก็บกระบอกไล่ระบบ
การเก็บรักษา กระบอกไล่ระบบ หลังจากใช้ งานเสร็จทุกครั้ง ให้ ปิดฝาทั้งด้ านบน
และด้ านล่างของกระบอก ป้ องกันเศษผงเข้ าไปในกระบอก และก่อนการใช้ งาน ให้ ปล่อย
R141b ผ่ านกระบอกเพือ่ ทาความสะอาดกระบอกก่ อนใช้ งาน 22
3. ขั้นตอนการล้ างระบบด้ วย R141b

3.5.9 ต่ อสายไนโตรเจนเข้ าที่ คัปปลิง้ เปิ ดวาล์ วไนโตรเจน เพือ่ ใช้ ไนโตรเจน
ไล่ R141b ทีต่ กค้ างในระบบ (จุดสั งเกตุ รอจนกว่ า สิ่ งแปลกปลอมทีอ่ อกจาก
ปลายท่ อ จะไม่ มขี องเหลวปะปนออกมา มีแค่ ลมอย่ างเดียว) ดังรู ป

3.5.10 ถอดคัปปลิง้ ออกจากท่ อทางด้ านดูด แล้ วถอดสายนาไปสวมทีว่ าล์ ว


ลูกศร ทีท่ ่ อบริการ เพือ่ ใช้ ไนโตรเจนไล่ ระบบของท่ อ อีกด้ าน

23
3. ขั้นตอนการล้ างระบบด้ วย R141b
3.5.11 ใช้ ลอ็ คริงส์ 6NK ต่ อท่ อทางดูด หลังจากไล่ระบบเรียบร้ อยแล้ว ดังขั้นตอน ด้ านล่าง
1 2

ใช้ กระดาษทรายขัดจุดเชื่อมต่ อ หยดล็อคเปร็บ


3 4

สวมล็อคริงส์ 6NK ยา้ ล็อคริงส์

5 6

ยา้ ล็อคริงส์ เรียบร้ อย 24


4. ขั้นตอนการแก้ ไขจุดรั่ว (เชื่อมต่ อด้ วยล็อคริงส์ ) (ตัวอย่ างจุดรั่ ว B ดังรูปที่ 1)

4.1 ทาความสะอาดจุดรั่วด้ วยกระดาษทราย ดังรู ปที่ 2


4.2 ใช้ คต
ั เตอร์ ตัดท่ อเหนือจุดรั่ว และด้ านล่ างของจุดรั่ว ดังรู ปที่ 3-5

รู ปที่ 1 รู ปที่ 2 รู ปที่ 3

ตัดออก
รู ปที่ 4 รู ปที่ 5 รู ปที่ 6
4.3 ใช้ กระดาษทรายขัดทาความสะอาดท่ อ บนและล่ าง ระวังเศษผง ดังรู ปที่ 6
4.4 เลือกล็อคริ งส์ ขนาดทีถ
่ ูกต้ องมาใช้ งาน อ้ างอิงตามเอกสาร (จุด B Lokring 8/6)
Lokring 8/6 NR Ms 00
T,H Series(point 67, B)
25
4. ขั้นตอนการแก้ ไขจุดรั่ว (เชื่อมต่ อด้ วยล็อคริงส์ ) ต่ อ
4.5 หยอดน้ายาประสาน(ล็อคเปร็บ) ทั้งท่ อด้ านบน และด้ านล่ าง
ให้ หยอด จุดละ 1 หยด ดังรู ปที่ 7-8
4.6 สวมล็อคริ งส์ ให้ ถูกต้ อง พร้ อมกับหมุนล็อคริ งส์ เพือ ่ ให้ น้ายาประสาน
กระจายอย่ างทั่วถึง ก่ อนใช้ คมี ยา้ ล็อคริงส์ ดังรู ปที่ 9

รู ปที่ 7 รู ปที่ 8 รู ปที่ 9

รู ปที่ 10 รู ปที่ 11 รู ปที่ 12


4.7 ใช้ คมี ยา้ ล็อคริงส์ สวมให้ เข้ าที่ก่อนทาการยา้ ดังรู ปที่ 10
4.8 โยกด้ ามจับของล็อคริ งส์ จนล็อคริ งส์ เคลือ ่ นที่เข้ าหากัน
จนสุ ด ดังรู ปที่ 11-12 26
5. ขั้นตอนการตรวจสอบรอยรั่วด้ วยไนโตรเจน
ชาร์ ทไนโตรเจนเข้ าทางท่ อบริการ ประมาณ 75-80 psi แล้วใช้ นา้ สบู่ตรวจสอบจุดต่ อ
จุด B ที่ใช้ ลอ็ คริงส์ เชื่อมต่ อ โดยสังเกตุถ้ามีจุดรั่วนั้น ฟองสบู่น้ันจะขยายใหญ่ ขนึ้ ถ้ ามีการรั่ว
ให้ ทาการแก้ไขอีกครั้ง (รออย่ างน้ อย 5 นาที ให้ นา้ ยาประสานเซ็ทตัว ก่อนใช้ ไนโตรเจนผ่านระบบ)

เมือ่ ตรวจสอบจนแน่ ใจว่ าจุดเชื่อมต่ อล็อคริงส์ นั้นสมบูรณ์ แล้ ว ให้


ทาขั้นตอน การทาสุ ญญากาศต่ อไป
27
6. ขั้นตอนการทาสุ ญญากาศ
6.1 แสดงจุดต่ อสายเพือ
่ ทาสุ ญญากาศและเติมสารทาความเย็น

จุดที่ 1

จุดที่ 8

จุดที่ 2 จุดที่ 7
จุดที่ 3

จุดที่ 4 จุดที่ 4
จุดที่ 6

จุดที่ 5 จุดที่ 5 28
6. ขั้นตอนการทาสุ ญญากาศ
6.2 แสดงการปรับวาล์ วทั้งหมด : สถานะวาล์ ว เปิ ด/ปิ ด

SW
V1 V2

V3 V4

V4 29
6. ขั้นตอนการทาสุ ญญากาศ

6.3 ต่ อสายต่ างๆ ที่จุดต่ อ 1-8 โดยอ้ างอิงตามรายละเอียดในข้ อ 6.1


ในจุดต่ อที่ 1 นั้น ใช้ คปั ปลิง้ ขนาด 5 mm. สวมทีท่ ่ อบริการ ดังแสดงในรูป
ข้ อควรระวัง
จุดที่ 1 *ตรวจสอบจุดต่ อสายทุกจุดให้ แน่ น
ป้ องกันการรั่วซึม*

6.4 เปิ ด SW เครื่องทาสุ ญญากาศ


6.5 เปิ ด วาล์ ว V1,V2,V4 อ้ างอิงตามรายละเอียดในข้ อ 6.2
6.6 เปิ ดเครื่องทาสุ ญญากาศ ประมาณ 10 นาที จากนั้น ปิ ดวาล์ ว V2
ให้ แน่ น และปิ ดเครื่องทาสุ ญญากาศ เพือ่ ทาการตรวจรั่วของระบบ

V2

ขั้นตอนการตรวจสอบรั่วนั้น หลังจากที่ทาสุ ญญากาศเสร็จแล้ ว


เราสามารถตรวจสอบได้ เลย โดยมีรายละเอียดระบุไว้ ใน ข้ อ 7 หน้ าต่ อไป
30
7. ขั้นตอนการตรวจสอบรอยรั่วหลังจากการทาสุ ญญากาศ
ขั้นตอนการเติมสารทาความเย็น
7.1 หลังจากปิ ดวาล์ ว V2 แล้ ว ให้ สังเกตุเข็มของเกจ ว่ าชี้อยู่ในตาแหน่ ง
เดียวกับก่ อนปิ ดวาล์ วหรือไม่ ถ้ าตาแหน่ งเข็มเปลีย่ น แสดงว่ า ระบบรั่ว
หรือซึม ให้ ทาการแก้ ไข และแว็คคัม่ ต่ ออีก 30 นาที หากระบบสมบูรณ์ ให้
ทาขั้นตอนการเติมสารทาความเย็นต่ อไป

จุดสั งเกตุ

31
8.ขั้นตอนการเติมสารทาความเย็น
V4
8.1 ปิ ดวาล์ ว V4 ที่ตาชั่ง

8.2 วางกระป๋ องสารทาความเย็นบนตาชั่งดิจิตัล


โดยให้ ควา่ กระป๋ องนา้ ยา

8.3 เปิ ดวาล์ ว V3 หรือ วาล์ วของถังสารทาความเย็น *ห้ ามเปิ ดวาล์ ว


V4 โดยเด็ดขาด*

V3
8.4 กดปุ่ มเปิ ดเครื่องของตาชั่งดิจิตัล 1 ครั้ง (ตาชั่งแต่ ละรุ่ น
อาจจะไม่ เหมือนกัน แต่ ไม่ แตกต่ างกันมาก ผู้ใช้ งานควร
ศึกษาคู่มอื การใช้ งานตาชั่งอย่ างละเอียด ก่ อนการใช้ งาน)

8.5 กดปุ่ ม Set Zero 1 ครั้ง หน้ าจอของตาชั่งจะขึน ้


0.000 kg. ดังรู ป *การตั้งตาชั่งแบบ Set Zero นั้น เปิ ด/ปิ ด Set Zero
ตอนที่เราวางถังไว้บนตาชั่งนั้น จะแสดงเลข 0 เมื่อเราเปิ ดวาล์ว
V4 เพือ่ ปล่ อยสารทาความเย็นเข้ าระบบแล้ ว สารทาความเย็นที่ออกไปจากถัง เป็ น
ปริมาณเท่ าใด ก็จะปรากฎขึน้ บนหน้ าจอแสดงผล*

32
V4
8.6 เปิ ดวาล์ ว V4 ทีต่ าชั่งดิจิตัล โดยค่ อยๆเปิ ด
เบาๆ แล้ วสั งเกตุหน้ าจอแสดงผลของตาชั่ง จะแสดง
ปริมาณสารทาความเย็นทีไ่ หลเข้ าสู่ ระบบ เมือ่ ได้ ตามปริมาณทีต่ ้ องการแล้ ว
ให้ ปิดวาล์ ว V4
ข้ อเสนอแนะ
1.ปริมาณสารทาความเย็นของตู้เย็นแต่ ละรุ่ น สามารถอ้ างอิงจากข้ อมูล
ในป้ ายแสดง ข้ อมูล หรือ ในคู่มอื การซ่ อมสิ นค้ าแต่ ละรุ่น ดังแสดงในรูป

ปริมาณสารทาความเย็นในแต่ ละรุ่น

2.ในการเติมสารทาความเย็นนั้นสามารถ เติมได้ มากกว่ าปริมาณที่


กาหนด ไม่ เกิน +3 กรัม 33
3.ในการเติมสารทาความเย็น ถ้ าเราเติมมากเกินพิกดั ทีก่ าหนดไว้ (อาจจะทาให้
นา้ ยานั้นเกินได้ ดังรูปด้ านล่ าง) จุดสั งเกตุเมือ่ หน้ าจอแสดงผลของตาชั่งระบุ
ปริมาณนา้ ยา ว่ าไกล้ ถึงปริมาณทีต่ ้ องการแล้ ว ให้ ปิดวาล์ ว V4 ก่ อน รอ
ตรวจสอบประมาณ 2 นาทีหน้ าจออาจจะแสดงผล ปริมาณนา้ ยาทีเ่ ข้ าไปใน
ระบบมากขึน้ จนได้ ปริมาณทีก่ าหนด ถ้ ายังไม่ ถึงทีก่ าหนด ให้ เปิ ดวาล์ วอีกครั้ง

4.ในการเติมสารทาความเย็น ถ้ าเป็ นแบบกระป๋ อง จะมีแรงดันน้ อย


อาจจะต้ อง เสี ยบปลัก๊ ตู้เย็นเพือ่ ให้ คอมเพรสเซอร์ ดูดสารทาความเย็น เข้ าไป
ในระบบตามปริมาณทีต่ ้ องการ

34
9.ขั้นตอนการปิ ดระบบ
9.1 คาแนะนาการใช้ คม
ี บีบท่ อแบบธรรมดาและใช้ ลอ็ คริงส์ ปิดระบบ
9.1.1 ใช้ คม
ี ยา้ แบบธรรมดา ยา้ เพือ่ ปิ ดระบบ ดังรูป

9.1.2 ใช้ คตั เตอร์ ตัดท่ อ ตัดทีต่ าแหน่ งเหมาะสม เพือ่ จะใช้ ลอ็ คริงส์ ปิดระบบ ดังรู ป

9.1.3 ใช้ กระดาษทรายขัดจุดต่ อล็อคริงส์ พร้ อมหยดล็อคเปร็บ ดังรู ป

35
คาแนะนาการใช้ คมี บีบท่ อแบบธรรมดา
และใช้ ลอ็ คริงส์ ปิดระบบ
9.1.4 สวมล็อคริงส์ ปิดระบบ 5,6 VS (ขึน
้ อยู่กบั ขนาดท่ อ) ดังรู ป

9.1.5 ใช้ คม
ี ปิ ดระบบยา้ ล็อคริงส์ ให้ แน่ น ดังรู ป

9.1.6 ถอดคีมยา้ ปิ ดระบบออก และดัดท่ อให้ เรียบร้ อย ดังรู ป

36
คาแนะนาการใช้ คมี บีบท่ อแบบพิเศษ
และใช้ ลอ็ คริงส์ ปิดระบบ
9.2 หลังจากทาขั้นตอนการเติมสารทาความเย็น เรียบร้ อยแล้ ว สามารถทาขั้นต
การปิ ดระบบได้ ดังนี(้ ขึน้ อยู่กบั เครื่องมือทีม่ )ี
9.2.1 ใช้ คม ี ยา้ ล็อคริงส์ โดยเปลีย่ นหัวยา้ ล็อคริงส์ เป็ นหัวปิ ดระบบ
- เตรียมหัวปิ ดระบบและหมุดสาหรับล็อคหัวปิ ดระบบ ดังรู ปที่ 1
- สวมหัวปิ ดระบบด้ านซ้ ายเข้ าช่ องเสี ยบ ให้ รูยดึ ตรงกัน แล้ วใช้ หมุดยึด
เสี ยบล็อคให้ แน่ น ดังรูปที่ 2-4 (ระวังเสียบหัวล็อคไม่ ตรงช่ องเสียบ)
- ใช้ คม
ี ปิ ดระบบบีบยา้ ในตาแหน่ งทีเ่ หมาะสม(ไม่ ชิดรอยเชื่อมและปลาย
ท่ อมากเกินไป) ดังรูปที่ 5-7

รู ปที่ 1 รู ปที่ 2 รู ปที่ 3


จุดยา้ ปิ ด
ระบบ

รู ปที่ 4 รู ปที่ 5 รู ปที่ 6


จุดยา้ ปิ ด
ระบบ
รู ปที่ 7
37
คาแนะนาการใช้ คมี บีบท่ อแบบพิเศษ
และใช้ ลอ็ คริงส์ ปิดระบบ
9.2.2 ตาแหน่ งการวางท่ อก่ อนยา้ ล็อคริงส์ ต้ องให้ ท่ออยู่กงึ่ กลางของสั นนูน
ดังรู ปที่ 1-2 รูปที่ 1

รูปที่ 2
9.2.3 โยกคันโยกลง จนปากคีมเคลือ่ นที่เข้ าหากันจนสุ ด ดังรู ปที่ 3-4

รูปที่ 3 รูปที่ 4
ภาพตัวอย่ างจุดปิ ดระบบแบบต่ างๆ

38
คาแนะนาการใช้ คมี ยา้ ปิ ดระบบกรณีใช้ ลอ็ คริงส์ ปิดระบบ
9.2.4 ถอดคัปปลิง้ ออก ดังรูปที่ 1-2
รูปที่ 1 รูปที่ 2

9.2.5 ใช้ นา้ สบู่ตรวจสอบ ดังรูปที่ 3 หากยา้ ปิ ดท่ อได้ เรียบร้ อย ให้ ทาการ
ปิ ดระบบด้ วยล็อคริงส์
รู ปที่ 3 รู ปที่ 4

9.2.6 หยอดนา้ ยาประสาน หรือ ล็อคเปร็บ 1 หยด ดังรูปที่ 4


9.2.7 สวมล็อคริ งส์ หมุนให้ นา้ ยาประสานกระจายอย่ างทัว
่ ถึง ดังรู ปที่ 5
9.2.8 ใช้ คม
ี ล็อคริงส์ ยา้ ให้ แน่ น ดังรูปที่ 6-7
รูปที่ 5

รูปที่ 6

รูรูปปทีที่ ่ 67

39
คาแนะนาการปิ ดระบบด้ วยการหยดล็อคเปร็บทีศ่ รวาล์ ว
9.3 หลังจากทาการเติมสารทาความเย็นเรียบร้ อยแล้ ว สามารถปิ ดระบบได้
ดังขั้นตอน ดังนี้
9.3.1 ถอดสายเติมสารทาความเย็นออก ดังรู ปที่ 1
9.3.2 ใช้ คม ี บีบท่ อ บีบยา้ เพือ่ ป้ องกันสารทาความเย็น ไหลสู่ วาล์ วลูกศร
ดังรู ปที่ 2

รู ปที่ 1 รู ปที่ 2
9.3.3 ใช้ ลอ็ คเปร็บหยดลงที่เกลียวของวาล์ วลูกศร ดังรู ปที่ 3
9.3.4 ใช้ ฝาปิ ดวาล์ วลูกศร สวมและหมุนปิ ดให้ แน่ น ดังรู ปที่ 4

รู ปที่ 3 รู ปที่ 4 40
10. ขั้นตอนการทดสอบการทางานของเครื่อง

1. เสี ยบปลัก๊ เข้ ากับแหล่ งจ่ ายไฟฟ้า


2. ใช้ คลิฟ
๊ แอมป์ จับกระแส ไฟฟ้า อ้ างอิงจากตาราง
3. วัดอุณหภูมชิ ่ องแช่ แข็ง อ้ างอิงจากตาราง
4. วัดอุณหภูมิ ท่ อดูดและท่ ออัด สารทาความเย็น อ้ างอิงจากตาราง

41
42

You might also like