You are on page 1of 19

คู่มือการใช้

ชุดฝึกการเขียนโปรแกรมควบคุมระบบปรับอากาศในห้องคลีนรูมโดยใช้
ไดเร็คดิจิทัลคอนโทรล (ดีดีซี)
1

1. ส่วนประกอบของชุดฝึก แสดงดังภาพที่ 1

4
1

5
2

7
12

8
13

14
10

15
11

ภาพที่ 1 ส่วนประกอบของชุดฝึก

จากภาพที่ 1 หมายเลข 1 คือ ตำแหน่งติดตั้งพัดลมไฟฟ้ากระแสตรง


หมายเลข 2 คือ ตำแหน่งติดตั้งรีเลย์
หมายเลข 3 คือ ตำแหน่งติดตั้งเซนเซอร์วัดฝุ่น
หมายเลข 4 คือ ตำแหน่งติดตั้งเซนเซอร์วัดความชื้น
หมายเลข 5 คือ ตำแหน่งติดตั้งจอแสดงผลทัชสกรีน
2

หมายเลข 6 คือ ตำแหน่งจุดต่อสาย


หมายเลข 7 คือ สวิตช์เปิด-ปิดไฟเลี้ยงชุดฝึก
หมายเลข 8 คือ จุดต่อไฟฟ้ากระแสสลับ 220 V
หมายเลข 9 คือ จุดต่อไฟฟ้ากระแสตรง 24 V, 12 V, 5 V, 0 V
หมายเลข 10 คือ สวิตช์ฝึกทักษะทางลอจิก
หมายเลข 11 คือ จุดต่อร่วม
หมายเลข 12 คือ เอสซีอาร์ (SCR) สำหรับควบคุมฮีตเตอร์
หมายเลข 13 คือ รางเก็บสายไฟ
หมายเลข 14 คือ DDC EasyIO30P
หมายเลข 15 คือ ช่องเก็บอุปกรณ์

2. วิธีการเปิดใช้งานชุดฝึก
2.1 เสียบสายไฟเพื่อจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับ 220 V ให้กับชุดฝึกที่ด้านหลังกระเป๋าชุดฝึก
และกดเปิดสวิตช์ ON/OFF ดังภาพที่ 2

ภาพที่ 2 การเปิดใช้งานชุดฝึก
3

3 ขั้นตอนการเข้าใช้งานโปรแกรม CPT tools


3.1 ดับเบิลคลิกที่ไอคอน CPT ดังภาพที่ 3

ภาพที่ 3 ไอคอนโปรแกรม CPT tools


จากนั้นจะปรากฏหน้าต่างเพื่อให้เลือกเปิดไฟล์เก่าที่ได้ทำการบันทึกไว้แล้วหรือเลือกเปิดไฟล์ใหม่ดัง
ภาพที่ 4

ภาพที่ 4 หน้าต่างเลือกเปิดไฟล์หรือสร้างไฟล์ใหม่

3.2 กรณีเลือกเปิดไฟล์ใหม่ให้คลิกที่ New จากนั้นตั้งชื่อไฟล์ที่ App Desc และกำหนด IP


วง LAN ให้ตรงกับตัวอุปกรณ์ EasyIO 30P ที่ Host โดยกำหนดดังภาพที่ 5 จากนั้นให้เลือกอุปกรณ์ที่
จะทำการเขียนโปรแกรมที่ Data Folder เป็น Sedons30P เมื่อกำหนดเสร็จแล้วให้คลิกที่ Open
แล้วคลิกที่ OK ดังภาพที่ 6

ภาพที่ 5 หน้าต่างตั้งชื่อไฟล์และกำหนด IP วง LAN


4

ภาพที่ 6 หน้าต่างยืนยันเข้าใช้งานโปรแกรม

3.3 กรณีเปิดไฟล์เก่าเพื่อเข้าใช้งานโปรแกรมหรือแก้ไขโปรแกรมให้คลิกเลือกที่ชื่อไฟล์งาน
เก่าจากนั้นคลิกที่ Open แล้วคลิกที่ OK ดังภาพที่ 7

ภาพที่ 7 หน้าต่างเปิดไฟล์เก่าที่ได้ทำการบันทึกไว้แล้ว

จากนั้นจะปรากฏหน้าต่างการเขียนโปรแกรมและเครื่องมือในการเขียนโปรแกรมดังภาพที่ 8

ภาพที่ 8 หน้าต่างการเขียนโปรแกรม CPT tools


5

** หมายเหตุ ก่อนการเปิดใช้งานโปรแกรม CPT tools จะต้องเชื่อมต่ออุปกรณ์ EasyIO 30P เข้ากับ


คอมพิวเตอร์โดยสาย LAN เสียก่อนจึงจะเปิดใช้งานโปรแกรมได้ การเชื่อมต่อแสดงดังภาพที่ 9

ภาพที่ 9 การเชื่อมต่ออุปกรณ์ EasyIO 30P เข้ากับคอมพิวเตอร์

4. ส่วนประกอบของโปรแกรม CPT tools


ส่วนที่ 1 เป็นส่วนของแถบเครื่องมือหลักที่ใช้สำหรับ เปิดงานไฟล์ บันทึกข้อมูล เปิดหน้าต่าง
ใหม่ และการซูมเข้าออกของหน้าต่างเขียนโปรแกรมแสดงดังภาพที่ 10

ภาพที่ 10 แถบเครื่องมือหลัก
ส่วนที่ 2 เป็นส่วนของแถบนำทางสำหรับเปิดเข้าใช้งานหรือแก้ไขโปรแกรมในไฟล์ย่อย ๆ ที่
ได้สร้างขึ้นในไฟล์หลักที่ทำการเปิดใช้งานและตั้งชื่อไฟล์ตอนเปิดเข้าใช้งานโปรแกรมข้างต้น อีกทั้งยัง
สามารถสร้างไฟล์ย่อยเพิ่มขึ้นได้โดยทำการคลิกขวาที่ Folder ย่อย แล้วคลิก Add Folder แสดงดัง
ภาพที่ 11

ภาพที่ 11 แถบนำทางและการเพิ่มไฟล์ย่อย
6

ส่วนที่ 3 เป็นส่วนของ Library ที่เรียกใช้ฟังก์ชันในการเขียนโปรแกรมแสดงดังภาพที่ 12

ภาพที่ 12 แถบ Library ที่เรียกใช้งานฟังก์ชัน

ตัวอย่างฟังก์ชันหลัก ๆ ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม CPT tools

ภาพที่ 13 ฟังก์ชันรับค่าและส่งค่าสัญญาณแบบ Analog, Digital

ภาพที่ 14 ฟังก์ชันรับค่าและส่งค่าสัญญาณแบบ Modbus


7

ภาพที่ 15 ฟังก์ชันการควบคุม

ส่วนที่ 4 เป็นส่วนพื้นที่การเขียนโปรแกรมโดยการคลิกลากฟังก์ชันจากแถบ Library มาวาง


ในพื้นที่การเขียนโปรแกรมดังภาพที่ 16

ภาพที่ 16 พื้นที่การเขียนโปรแกรม
8

ส่วนที่ 5 เป็นส่วนของ Properties ที่ใช้สำหรับการตั้งชื่อ, กำหนดค่า ให้กับฟังก์ชันที่ได้ทำ


การเขียนในพื้นที่เขียนโปรแกรมดังภาพที่ 17

ภาพที่ 17 ส่วนกำหนดค่าของฟังก์ชัน

5. ขั้นตอนการเข้าใช้งานโปรแกรม GP Pro EX
5.1 ดับเบิลคลิกที่ไอคอนของโปรแกรม GP Pro EX ดังภาพที่ 18 จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง
เพื่อให้เลือกเปิดไฟล์เก่าที่ได้ทำการบันทึกไว้แล้วหรือเลือกเปิดไฟล์ใหม่ดังภาพที่ 19

ภาพที่ 18 ไอคอนของโปรแกรม GP Pro EX

5.2 กรณีเลือกเปิดไฟล์ใหม่ให้คลิกที่ New และคลิกที่ OK ดังภาพที่ 19 จากนั้นจะปรากฎ


หน้าต่างให้เลือกรุ่นของจอแสดงผลทัชสกรีนที่นำมาใช้งาน ให้เลือกดังภาพที่ 20 และกดคลิกที่ New
Screen เพื่อยืนยันการเข้าใช้งานโปรแกรม GP Pro EX ดังภาพที่ 21

ภาพที่ 19 หน้าต่างสร้างไฟล์ใหม่
9

ภาพที่ 20 หน้าต่างเลือกรุ่นของจอแสดงผลทัชสกรีน

ภาพที่ 21 หน้าต่างยืนยันเข้าใช้งานโปรแกรม GP Pro EX

5.3 กรณีเปิดไฟล์เก่าเพื่อเข้าใช้งานโปรแกรมหรือแก้ไขโปรแกรมให้คลิกเลือกที่ชื่อไฟล์งาน
เก่าจากนั้นคลิกที่ OK ดังภาพที่ 22

ภาพที่ 22 หน้าต่างเปิดไฟล์เก่าของโปรแกรม GP Pro EX


10

จากนั้นจะปรากฎหน้าต่างการเขียนโปรแกรมและเครื่องมือในการเขียนโปรแกรมให้กับ
จอแสดงผลทัชสกรีนดังภาพที่ 23

ภาพที่ 23 หน้าต่างการเขียนโปรแกรม GP Pro EX

6. ส่วนประกอบของโปรแกรม GP Pro EX
ส่วนที่ 1 แถบเครื่องมือหลักที่ใช้ในการ บันทึกไฟล์ เปิดไฟล์เก่า วาดหน้าต่างการทำงานของ
จอแสดงผลทัชสกรีน และอัปโหลดข้อมูลลงจอแสดงผลทัชสกรีนดังภาพที่ 24

ภาพที่ 24 แถบเครื่องมือหลัก

ส่วนที่ 2 เป็นส่วนแสดงจำนวนของหน้าจอแสดงผลทัชสกรีนดังภาพที่ 25

ภาพที่ 25 Screen List


11

ส่วนที่ 3 เป็นพื้นที่การเขียนกราฟฟิกลงบนจอแสดงผลทัชสกรีน โดยคลิกเลือกจากแถบ


เครื่องมือหลักและนำมาดับเบิลคลิกที่พื้นที่ส่วนสีดำดังภาพที่ 26

ภาพที่ 26 พื้นที่การเขียนกราฟฟิกลงบนจอแสดงผลทัชสกรีน

ส่วนที่ 4 แถบคีย์เวิร์ดแสดงดังภาพที่ 27

ภาพที่ 27 แถบคีย์เวิร์ด
12

7. การเชื่อมต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาต์พุตเข้ากับอุปกรณ์ DDC EasyIO-30P

7.1 การเชื่อมต่อเซนเซอร์วัดอุณหภูมิเข้ากับ EasyIO-30P

D+ D- 1 C 2 C 3 C 4 C 1 2 1 2 3 4 5 6 7 8
BUS ANALOG OUTPUT OC OUTPUT DIGITAL OUTPUT

EasyIO 30P

ANALOG INPUT DIGITAL INPUT


NA NA 1 C 2 C 3 C 4 C 5 C 6 C 7 C 8 C 1 2 C 3 4 C 5 6 C 7 8 C

24 VDC 0 VDC
13

7.2 การเชื่อมต่อเซนเซอร์วัดความชื้นเข้ากับ EasyIO-30P

D+ D- 1 C 2 C 3 C 4 C 1 2 1 2 3 4 5 6 7 8
BUS ANALOG OUTPUT OC OUTPUT DIGITAL OUTPUT

EasyIO 30P

ANALOG INPUT DIGITAL INPUT


NA NA 1 C 2 C 3 C 4 C 5 C 6 C 7 C 8 C 1 2 C 3 4 C 5 6 C 7 8 C

1 2 3 4

0 VDC 5 VDC
14

7.3 การเชื่อมต่อเซนเซอร์วัดการไหลของอากาศเข้ากับ EasyIO-30P

D+ D- 1 C 2 C 3 C 4 C 1 2 1 2 3 4 5 6 7 8
BUS ANALOG OUTPUT OC OUTPUT DIGITAL OUTPUT

EasyIO 30P

ANALOG INPUT DIGITAL INPUT


NA NA 1 C 2 C 3 C 4 C 5 C 6 C 7 C 8 C 1 2 C 3 4 C 5 6 C 7 8 C

24 VDC 0 VDC
15

7.4 การเชื่อมต่อเซนเซอร์วัดปริมาณฝุ่นเข้ากับ EasyIO-30P

D+ D- 1 C 2 C 3 C 4 C 1 2 1 2 3 4 5 6 7 8
BUS ANALOG OUTPUT OC OUTPUT DIGITAL OUTPUT

EasyIO 30P

ANALOG INPUT DIGITAL INPUT


NA NA 1 C 2 C 3 C 4 C 5 C 6 C 7 C 8 C 1 2 C 3 4 C 5 6 C 7 8 C

0 VDC 24 VDC
16

7.5 การเชื่อมต่อพัดลมไฟฟ้ากระแสตรงโดยผ่านรีเลย์เข้ากับ EasyIO-30P

1 4

5 8
Relay 24 VDC
9 12
12 VDC 0 VDC
13 (-) 14 (+)
24 VDC
0 VDC

D+ D- 1 C 2 C 3 C 4 C 1 2 1 2 3 4 5 6 7 8
BUS ANALOG OUTPUT OC OUTPUT DIGITAL OUTPUT

EasyIO 30P

ANALOG INPUT DIGITAL INPUT


NA NA 1 C 2 C 3 C 4 C 5 C 6 C 7 C 8 C 1 2 C 3 4 C 5 6 C 7 8 C
17

7.6 การเชื่อมต่อ SCR Series ควบคุม Heater เข้ากับ EasyIO-30P


N
L

Heater

D+ D- 1 C 2 C 3 C 4 C 1 2 1 2 3 4 5 6 7 8
BUS ANALOG OUTPUT OC OUTPUT DIGITAL OUTPUT

EasyIO 30P

ANALOG INPUT DIGITAL INPUT


NA NA 1 C 2 C 3 C 4 C 5 C 6 C 7 C 8 C 1 2 C 3 4 C 5 6 C 7 8 C
18

7.7 การเชื่อมต่อจอแสดงผลทัชสกรีนเข้ากับ EasyIO-30P และ คอมพิวเตอร์

HMI

24 VDC
0 VDC

Switch Hub

USB 2 to USB

You might also like