You are on page 1of 205

Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet

สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 


Unit name : Introduction

บทที่ 1 Overview AutoCAD 2011


ก่อนที่เราจะเรียนโปรแกรม AutoCAD หลายคนอาจจะไม่ทราบว่าชื่อเต็มๆ ของคําว่า CAD นันมาจาก ้
คําว่าอะไรบ้ าง ซึ่งมันก็คือ Computer Aided Design
โปรแกรม AutoCAD คือโปรแกรมเขียนแบบที่มีผ้ ใู ช้ งานมากที่สดุ ในโลกตัวหนึ่ง ซึ่งเป็ นโปรแกรมที่ใช้
เขียนเป็ นลักษณะโครงเส้ นหลายๆเส้ นมารวมกัน เส้ นประกอบกันออกมาเป็ นแปลนโครงสร้ าง หรือแบบชิ ้นงานที่
ใช้ ความละเอียดมาก รวมไปถึงส่วนประกอบอะไหล่ตา่ งๆ แม้ แต่เครื่องใช้ ภายในบ้ านก็ล้วนแต่ใช้ โปรแกรม
AutoCAD ออกแบบและเขียนแบบทังสิ ้ ้น
AutoCAD 2011 นี ้ได้ พฒ ั นาเพิ่มขึ ้นมาให้ น่าใช้ มากขึ ้น โดยเน้ นในส่วนของทางด้ านมุมมองที่สามารถ
มองได้ ทกุ มุมมองที่เราต้ องการ ซึ่งจะช่วยในการทํางานของเรามากขึ ้นและยังเพิ่มในส่วนของแถบคําสัง่
Parametric เพื่อทําให้ เราปรับเปลีย่ นแก้ ไขจุดใดจุดหนึ่งบนชิ ้นงานได้ ง่ายและเร็วขึ ้น เพราะจะทําให้ โครงเส้ นหรือ
จุดต่างๆ ภายในชิ ้นงานนันมี ้ ความสัมพันธ์แบบอัตโนมัติ

หลักการทํางานของเครื่อง PC ในการสร้ างชิน้ งาน


ซึ่งจะมีองค์ประกอบหลักอยู่ 3 ส่วน คือ CAD/CAM/CAE
1. CAD = Computer Aided Design คือ การใช้ คอมพิวเตอร์ ที่ช่วยในการออกแบบ ซึ่งเป็ นขึ ้นตอนแรกๆ
ในการเขียนชิ ้นงานออกมา ในรูปแบบภาพ 2 มิติ
2. CAM = Computer Aided Manufacturing คือ การใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต หรือ การนําแบบ
ชิ ้นงาน CAD ที่ออกแบบไว้ แล้ วไปสร้ างชิ ้นงานจริงขึ ้นมาเป็ นรูปทรง 3 มิติ
3. CAE = Computer Aided Engineering คือ การใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยทางด้ านวิศวกรรม ซึ่งเป็ น
ลักษณะการนําข้ อมูล 3 มิติ มาคํานวณค่าทางวิศวกรรม

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-01-I Page : 1 of 11 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Introduction

User Interface
ใน AutoCAD 2011 ได้ มีการปรับเปลีย่ นในส่วนหน้ าตาของโปรแกรมการใช้ งาน เพื่อให้ งานออกแบบของ
ทุกคนได้ ง่ายและคล่องตัวมากขึ ้น

สําหรับพื ้นที่การเขียนแบบของ AutoCAD 2011 หรือ Drawing Windows ได้ เปลี่ยนสีพื ้นหลังของ
Model Space ให้ เป็ นสี Dark Gray โดยคุณสามารถเข้ าถึงการปรับแต่งสีของ Drawing Windows ได้ อย่าง
ง่ายดายผ่านแท็ป Display ของหน้ าต่าง Options
บนหน้ าจอ Drawing Windows จะแสดงผลของ Gridlines เป็ นเส้ นตรงในแนวตังและแนวนอนเป็ ้ น
ตารางที่ไม่มีจดุ สิ ้นสุด เมื่อมีการเปิ ดโหมดของกริด (Grid) คุณจะเห็นเส้นสีแดงและสีเขียวที่ตอ่ จากไอคอนของ
UCS บนแกน X และ Y ของจุด Origin ของโปรแกรม

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-01-I Page : 2 of 11 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Introduction

1 2

4
6

5
7
11
12
10 9 8

ส่ วนประกอบหลักของโปรแกรม AutoCAD 2011


1. Workspace เป็ นส่วนที่ใช้ สําหรับเลือกรูปแบบในการทํางาน หรือเปลีย่ นหน้ าจอในโหมดต่างๆ
2. Menu Browser เป็ นคําสัง่ พื ้นฐานทัว่ ๆ ไปที่ใช้ สําหรับจัดการเกี่ยวกับไฟล์
3. Ribbon เป็ นส่วนที่รวมชุดเครื่ องมือและคําสัง่ ต่างๆ ที่ใช้ สําหรับการเขียนชิ ้นงาน
4. ViewCube เป็ นส่วนที่ใช้ สําหรับกําหนดมุมมองต่างๆ และการหมุนชิ ้นงานไปทิศทางที่ต้องการ
5. Navigation bar เป็ นส่วนที่ใช้ สําหรับกําหนดมุมมองในส่วนต่างๆ บนชิ ้นงาน
6. Curser เป็ นส่วนที่แสดงเป็ นสัญลักษณ์ตวั เมาส์ของเราเอง เมื่อขยับค่าโคออร์ดิเนตก็จะเปลี่ยนค่า
7. Drawing Windows เป็ นส่วนของหน้ าจอ หรือพื ้นที่สําหรับทํางานเขียนภาพนันเอง ้
8. Annetation tool เป็ นแถบคําสัง่ ที่ใช้ สําหรับดูภาพที่อยูภ่ ายในพื ้นที่ทํางานทังหมดแบบย่
้ อขนาด
9. Status bar เป็ นส่วนที่บอกให้ ทราบถึงสถานะการทํางานในขณะที่เราใช้ คําสัง่ ช่วยอยูห่ รือไม่
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-01-I Page : 3 of 11 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Introduction

10. Command Line ไว้ สําหรับพิมพ์คําสัง่ ต่างๆ หือพิมพ์คา่ ที่เป็ นตัวเลขของชิ ้นงานต่างๆ

11. UCSICON เป็ นส่วนที่แสดงแกนของการทํางานในระนาบต่างๆ ซึ่งเป็ นตัวกําหนดทิศทางของงาน


12. Model , Layout เป็ นส่วนของพื ้นที่ทํางานที่ใช้ ออกแบบ และใช้ สําหรับจัดวางหน้ ากระดาษ

Quick Access Toolbar


บนเครื่ องมือ Quick Access Toolbar จะแสดงชื่อของ Workspace ที่ถกู กําหนดให้ ใช้ งาน ทําให้ คณ

เลือกใช้ งาน Workspace และเครื่ องมืออื่นๆ ของ Workspace ได้ อย่างง่ายดาย โดยมีการเพิ่มเครื่องมือ Save
และ Save As ลงไปบน Quick Access Toolbar ด้ วย

Navigation
ใน AutoCAD 2011 ได้ เพิ่มแถบ Navigation รูปแบบใหม่ โดยเพิ่มเครื่องมือต่างๆ เข้ าไปด้ วย เช่น
Autodesk Steering Wheels, View Cube และ Show Motion ซึ่งมีคําสัง่ Well, Zoom, Pan และ Orbit ที่
สามารถควบคุมการแสดงผลของ Navigation ผ่านหน้ าต่าง CUI ในส่วนของ Property อีกด้ วย

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-01-I Page : 4 of 11 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Introduction

ในแถบ Navigation นี ้ได้ รองรับในส่วนของ 3D Connexion Device เมื่อระบบ 3D Connexion ถูก


เรียกใช้ งาน
ในส่วนของ View Cube เปิ ดให้ รองรับการใช้ งานในโหมดของ 2D Wireframe Visuel Style ทําให้
สามารถเปลี่ยนมุมมองได้ ง่ายขึ ้น โดยสามารถควบคุมการหมุนแบบทวนเข็มหรือตามเข็มนาฬิกาได้ ตามต้ องการ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-01-I Page : 5 of 11 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Introduction

The Ribbon
ในส่วนของ Ribbon ได้ เพิ่ม Pull-down เมนูใหม่ไว้ ด้านล่างของแถบรายการ ที่ทําให้ คณ
ุ ปรับย่อ Ribbon
ให้ เป็ นแบบ Panel Buttons, Tabs หรื อ Panel Titles ได้ ง่ายขึ ้น

โดยเมื่อปรับย่อ Ribbon ให้ เป็ นแบบ Panel Buttons ไอคอนจะมีขนาดใหญ่คงไว้ สําหรับไอคอนหลัก


ส่วนไอคอนที่อยู่ในโหมดเดียวกันจะถูกปรับให้ เล็กและซ่อนไว้ โดยอัตโมนัติ และจะแสดงออกมาเมื่อเลื่อนเมาส์ไป
คลิกที่ไอคอนหลัก

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-01-I Page : 6 of 11 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Introduction

ในส่วนของแท็ป Insert ได้ เพิ่มในส่วนของพาแนล Point Cloud เพื่อรองรับในส่วนของฟั งก์ชนั่ ใหม่ของ


Point Cloud และได้ เพิ่มพาแนลใหม่ชื่อ Content ขึ ้นมาเพื่อให้ เข้ าถึง Design Center และ Autodesk Seek
Web Service ได้ ง่ายขึ ้น โดยที่ Autodesk Seek ได้ ถกู ลบออกไปจากแท็ป Output

ส่วนที่แท็ปของ View ได้ เพิ่มพาแนล Visual Styles เพื่อให้ ง่ายต่อการเข้ าไปกําหนดรูปแบบของ Visual
Styles, Visual Styles Manager และการควบคุม Visual Styles ต่างๆ ส่วนพาแนล Windows ได้ เพิ่ม User
Interface และ Toolbar Controls เข้ าไป เพื่อเปิ ดให้ คณ ุ เข้ าไปปรับแต่งในส่วนของผู้ใช้ งาน และได้ เพิ่ม
Autodesk View Cube, Show Motion และ Navigation Bar ซึ่งในส่วนของ Text Windows และ Status Bar
Controls ได้ ถกู ลบออกไปจากพาแนล Windows เพื่อเพิ่มความสะดวกบน Status Bar

มีการเพิ่มฟั งก์ชนั่ Customize Ribbon เข้ าไปบนหน้ าต่างของ Customize User Interface โดยเพิ่ม
พาแนล Fold ทําให้ คณ ุ สามารถปรับขนาดของ AutoCAD Windows หรือลบพาแนลจากแท็ปต่างๆ ได้ พาแนล
Fold สามารถปรับขนาดในแนวนอนให้ เต็มพื ้นที่ได้ และในส่วนคุณสมบัตอิ นื่ ๆ เปิ ดให้ กําหนดขนาดของปุ่ มเป็ น
แบบ Maximum หรื อ Minimum ได้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-01-I Page : 7 of 11 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Introduction

Visual Styles
AutoCAD 2011 ได้ เพิ่มรูปแบบของ Visual Styles เข้ าไปอีก 5 รุปแบบ ดังนี ้
- Shaded
- Shaded with Edges
- Shades of Gray
- Sketchy
- X-Ray

Object Visibility
ใน AutoCAD 2011 ได้ เพิ่มเครื่ องมือใหม่ที่ช่วยให้ คณ ุ ควบคุมการซ่อนวัตถุ (Object Visibility) จาก
Layer Visibility ซึ่งเครื่ องมือ Object Visibility สามารถเรียกใช้ งานได้ จากเมนูคลิกเมาส์ขวา เมื่อมีการเลือกวัตถุ
นันๆ
้ หรือจะเลือกแบบ Well เมื่อไม่มีวตั ถุให้ เลือกก็ได้ และเมื่อคุณใช้ เครื่องมือ Isolate Objects วัตถุที่ถกู เลือก
จะปรากฏอยู่บนหน้ าจอ ส่วนวัตถุอนื่ ๆ จะถูกซ่อนทังหมด ้ แต่ถ้าคุณใช้ เครื่องมือ Hide Objects วัตถุที่ถกู เลือกจะ
หายไป
คุณสามารถใช้ งานเครื่ องมือ Isolate Objects และ Hide Objects ควบคูก่ นั ไปเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน
การแสดงผลของวัตถุ ยกตัวอย่างเช่น คุณอาจจะเลือกใช้ เครื่องมือ Isolate Objects เพื่อเลืกวัตถุบนพื ้นที่เขียน

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-01-I Page : 8 of 11 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Introduction

แบบ ถ้ าคุณต้ องการแก้ ไขให้ ใช้ เครื่องมือ Hide Objects เพื่อซ่อนวัตถุอื่นเพิ่มเข้ าไปด้ วย ซึ่งคุณสามารถคืน
คุณสมบัตกิ ารซ่อนวัตถุได้ อย่างรวดเร็ว โดยใช้ เครื่องมือ End Objects Isolation

AutoCAD 2011 มีเครื่ องมือ Automation, Manage และเครื่องมือสําหรับแก้ ไข ซึ่งจะช่วยให้ งานของคุณ


รวดเร็วมากขึ ้นด้ วย

Parametric Constraint
ฟั งก์ชนั่ 2D Parametric ใน AutoCAD 2011 ช่วยในการเพิ่ม Macro เพื่อเข้ าถึงตัวเลือกของคําสัง่
GEOMCONSTRAINT และ DIMCONSTRAINT
วัตถุจะแสดงผลเมื่อคุณวางเมาส์เหนืออคอนของ Constraint หรื อเมื่อคุณเลือกพารามิเตอร์ใน
Parameters Manager รองรับการตังค่ ้ าของ Visual Effects บนแท็ป Selection ของหน้ าต่าง Options เพื่อกัน
ข้ อผิดพลาดของการเพิ่มฟั งก์ชนั่ ของ Geometric และ Dimension Constraint ช่วยในการสร้ างและแก้ ไข
Parametric Constraint Geometry ได้ รวดเร็วมากขึ ้น

Geometric Constraint
ใน AutoCAD 2011 ทําให้ การเพิ่ม Geometric Constraint ให้ กบั เส้ นหรือวัตถุ 2D ของ AutoCAD ง่าย
ขึ ้น โดยโปรแกรมสามารถวินิจฉัย Geometric Constraint เหมือนกับคุณสามารถสร้ างหรื อแก้ ไขวัตถุเอง ปุ่ มของ
Constraint ที่อยู่บนแถบสถานะจะทํางานคล้ ายกับปุ่ มของ Objects Snaps คือเมื่อเปิ ดโหมดของ Constraint
เส้ นที่เขียนขึ ้นมาจะถูกบังคับความสัมพันธ์โดยอัตโนมัติ ถ้ าปิ ดโหมดของ Constraint วัตถุที่เขียนขึ ้นมาจะเป็ น
เส้ นปกติไม่ถกู บังคับความสัมพันธ์ ซึ่งคุณสามารถกําหนดค่าต่างๆ ได้จากแท็ป Geometric ของหน้ าต่าง
Constraint Setting

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-01-I Page : 9 of 11 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Introduction

การกําหนดความสัมพันธ์แบบ Coincident โดยอัตโนมัติให้ กบั จุดต่างๆ ของเส้ น เช่น Midpoint,


Endpoint, Center, Node และ Insertion ยกตัวอย่างเช่น ถ้ าเขียนวงกลมขึ ้นมาโดยกําหนดให้ จดุ ศูนย์กลางของ
วงกลมอยู่บนจุดกึ่งกลางของเส้ นตรง โปรแกรม AutoCAD จะบังคับความสัมพันธ์แบบ Coincident ระหว่างจุด
ศูนย์กลางของวงกลมและจุดกึ่งกลางของเส้นตรง เมื่อคุณย้ ายวงกลม เส้นตรงก็จะตามไปด้ วย ทังนี ้ ้ยังครอบคลุม
ถึงคําสัง่ การแก้ ไขด้ วย เช่น เมื่อคุณคัดลอกโดยกําหนดจุดอ้ างอิงแบบ Insertion บน Block วางบนจุดปลายของ
เส้ นตรง โปรแกรมจะเพิ่มความสัมพันธ์แบบ Coincident ระหว่างจุด 2 จุดให้ โดยอัตโนมัติ เมื่อคุณย้ ายเส้ นตรง
Block จะเกาะติดที่จดุ ปลายของเส้นตรงนันตามไปด้
้ วย

ในส่วนของคําสัง่ Rectangles, Fillet และ Chamfer ก็จะถูกบังคับความสัมพันธ์ให้ โดยอัตโนมัติ เช่นกัน


ถ้ าคุณเขียนรุปสีเ่ หลีย่ มโดยใช้ คําสัง่ RECTANG โปรแกรมจะบังคับความสัมพันธ์แบบ Parallel และ
Perpendicular ให้ โดยอัตโนมัติ เมื่อมีการแก้ ไขรูปร่างหรือขนาดของรูปสี่เหลี่ยมดังกล่าว เช่น ถ้ ามีการ Fillet ที่
มุมของสี่เหลี่ยม โปรแกรมจะบังคับความสัมพันธ์แบบ Coincident และ Tangent เข้ าไประหว่างส่วนโค้ งใหม่
และเส้ นตรง หรือถ้ ามีการ Chamfer ที่มมุ ของรูปสี่เหลีย่ ม ความสัมพันธ์แบบ Coincident จะถูกเพิ่มลงไป
ระหว่างเส้ นตรงใหม่และเส้ นตรงเดิม

ในส่วนของฟั งก์ชนั่ การบังคับความสัมพันธ์แบบอัตโนมัติ ได้ ปรับปรุงโดยเพิ่มความสัมพันธ์แบบ Equal


เมื่อใดที่สว่ นของ Equal นี ้เปิ ดใช้ งาน ความสัมพันธ์แบบ Equal จะถูกบังคับใช้ กบั เส้นตรงที่เขียนด้ วยคําสัง่ Line
และ Polyline ให้ มีความยาวเท่ากันโดยอัตโนมัติ วงกลมหรือส่วนโค้ งก็จะมีรัศมีเท่ากัน

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-01-I Page : 10 of 11 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Introduction

Constraint Bars ช่วยให้ คณ


ุ ควบคุมการแสดงผล โดยคุณสามารถเลือกวัตถุได้ หลายวัตถุ เพื่อให้ แสดง
หรือซ่อน Constraint Bars โดยใช้ การเลือกแบบปกติทวั่ ไป เช่น แบบ Windows, Crossing และ Fence โดยคุณ
สามารถเข้ าไปกําหนดค่าดังกล่าวได้จากแท็ปของ Geometric ที่หน้ าต่าง Constraint Setting เข้ าไปเช็ค
เครื่องหมายถูก ( √ ) หน้ า Show constraint bars when objects are selected เมื่อต้ องการแสดง Constraint
Bars ตอนเลือกวัตถุ

ไอคอนของ Constraint รูปแบบใหม่สําหรับ Constraint Fix, Horizontal และ Vertical เพื่อเพิ่ม


ความสัมพันธ์ลงบนวัตถุหรื อบนจุด (Point) ส่วนไอคอนของ Constraint แบบ Symmetric ถูกปรับปรุงเพื่อเพิ่ม
ความสัมพันธ์แบบสมมาตรลงบนวัตถุ บนจุด (Point) และบนเส้น (Line)

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-01-I Page : 11 of 11 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Introduction

บทที่ 2 ทําความรู้จักและตัง้ ค่าก่ อนใช้งาน (Introduction)


ทําความรู้ จกั และตัง้ ค่ าก่ อนใช้ งาน
โปรแกรม AutoCAD คือโปรแกรมเขียนแบบที่มีผ้ใู ช้ งานมากที่สดุ ในโลกตัวหนึ่ง ซึ่งมีคณ ุ สมบัติที่สามารถ
ใช้ งานทังในระบบ
้ 2 มิติ และ 3 มิติ โดยในแต่ละเวอร์ชนั่ ที่ผา่ นมาก็ได้ มีการปรับปรุงพัฒนาศักยภาพของคําสัง่
เพิ่มมากขึ ้น มีทงคํ
ั ้ าสัง่ ใหม่ๆ และปรับคําสัง่ เก่าให้ มที างเลือกในการใช้ งานมากยิ่งขึ ้น
และในปี นี ้ (ค.ศ. 2006) ทาง AutoCAD ก็ได้ ออกเวอร์ชนั่ ใหม่ลา่ สุดมาให้ ใช้ งานกัน นัน่ ก็คือ AutoCAD
2011 ทังที
้ ่เวอร์ ชนั่ 2010 ก็เพิ่งออกมาไม่นานนี ้ แต่ AutoCAD 2011 ก็มีการอัพเดทคําสัง่ ที่มีอยู่แล้ วให้ ใช้ งานได้
หลากหลายมากขึ ้น ไม่วา่ จะเป็ นคําสัง่ พื ้นฐานอย่างเช่น Trim, Hatch, Extend, Copy, Rectangle หรือ Move
เป็ นต้น

ความหมายของ CAD คืออะไร


คําว่า CAD ย่อมาจากคําว่า Computer Aided Design ซึ่งหมายถึง การนําเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยใน
งานออกแบบและเขียนแบบ ซึ่งแต่เดิมเครื่องคอมพิวเตอร์ยงั ไม่แพร่หลายมากนักเนื่องจากมีราคาสูงและมีขดี
ความสามารถตํ่า ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาขีดความสามารถสูงขึ ้นและราคาตํ่าลงประกอบกับการพัฒนาซอร์ ฟแวร์
ที่มีขีดความสามารถสูงการนําเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ ในงานออกแบบและเขียนแบบจึงเกิดขึ ้นและมีผ้ นู ิยมมากขึ ้น
ตามลําดับ
การนําเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยในงานออกแบบและเขียนแบบนันนั ้ บวันยิ่งมีความสําคัญมากขึ ้น
เนื่องจากสามารถทํางานได้หลายๆ อย่างในขณะที่การทํางานด้ วยมือไม่สามารถทําได้ ไม่วา่ จะเป็ นความแม่นยํา
ในการทํางานที่สงู แล้ วการมีเครื่ องมือ (Tools) เข้ ามาช่วยทําการแก้ ไขหรือการทํางานแบบเดียวกันซํ ้าๆ กัน
สามารถทําได้ ง่ายและรวดเร็วมาก ซึ่งพอที่จะสรุปข้ อดีของการทํางานด้ วย CAD มีอยู่ด้วยกันหลายข้ อดังนี ้คือ
1. ลดระยะเวลาในการออกแบบและเขียนแบบ
2. ช่วยในการแก้ ไขเปลีย่ นแปลงแบบของชิ ้นงานเดิมโดยใช้ เวลาที่สนมาก
ั้
3. มีความแม่นยําสูงและลดเวลาในการทํางาน
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-02-I Page : 1 of 3 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Introduction

4. ลดเวลาในการค้ นหาและใช้ เนื ้อที่ในการจัดเก็บน้ อยมาก


5. สร้ างภาพพจน์ท่ีดใี นการนําเสนองาน
6. สามารถใช้ เป็ นมาตรฐานที่ดีในการทํางานต่อไปได้

การสั่งงานผ่ านเมาส์
คลิก (Click) หากไม่ได้ ระบุเพิ่มเติม หมายถึง ให้ กดปุ่ มซ้ ายของเมาส์หนึ่งครัง้ แล้ วปล่อย ส่วน
การกําหนดให้ คลิกด้ วยปุ่ มขวาของเมาส์จะใช้ คําสัง่ ว่า คลิกขวา

ดับเบิลคลิก (Double Click) ให้ กดปุ่ มซ้ ายของเมาส์แล้ วปล่อย โดยกระทําเร็วๆ ติดกันสองครัง้

ทริปเปิ ลคลิก (Tripple Click) ให้ กดปุ่ มซ้ ายของเมาส์แล้วปล่อยโดยกระทําเร็วๆติดกันสามครัง้

แดร็ก (Drag) หากไม่ได้ ระบุเพิ่มเติม หมายถึง ให้ กดปุ่ มซ้ ายของเมาส์ค้างไว้ แล้ วเลื่อนตัวชี ้
ของเมาส์ ส่วนการกําหนดให้ แดร็กด้ วยปุ่ มขวาของเมาส์จะใช้ คําว่า แดร็กขวา

เมาส์ แบบมีล้อ (Wheel mouse) จะมีปมกลางเป็


ุ่ นล้ อ เราสามารถหมุนล้ อเดินหน้ าหรื อถอย
หลังได้ นอกจากนี ้ยังสามารถคลิกหรื อดับเบิลคลิกที่ปมกลางหรื
ุ่ อล้ อนี ้ได้ ด้วย ซึ่งการใช้ งานใน
AutoCAD จะให้ ผลเป็ นการซูมและแพนภาพ

เลือกเมนู ให้ เลื่อนตัวชี ้ (ของเมาส์) ไปยังรายการที่แจ้ ง แล้ วคลิกหนึ่งครัง้ และสําหรับรายการที่


ซ้ อนกันในเมนู จะเขียนคัน่ ด้ วยเครื่องหมาย > เช่น เลือกเมนู File > Save ฯลฯ

เลือกทูล หรื อ คลิกทูล ให้ เลื่อนตัวชี ้ (ของเมาส์) ไปอยู่บนทูล (tools) หรือส่วนที่แสดงเป็ น


ไอคอนรูปภาพที่อยูบ่ นแถบคําสัง่ ที่เรียกว่า ทูลบาร์ (toolbars)

คลิกปุ่ ม ให้ เลือ่ นตัวชี ้ (ของเมาส์) ไปอยู่บนปุ่ ม (buttons) บนไดอะล็อกบ็อกซ์ ที่แสดงอยูใ่ น


ขณะนัน้ แล้ วคลิก เช่น คลิกปุ่ ม OK คลิกปุ่ ม Cancel ฯลฯ

ฟั งก์ ช่ นั ที่ควรรู้บนคีย์บอร์ ด
เป็ นฟั งก์ชนั่ ที่ใช้ ครู่ ่วมกับ Status Bar และฟั งก์ชนั่ อื่นๆ เพื่อเปิ ด-ปิ ดโหมดการทํางานต่างๆ ให้ เป็ นไปด้ วย
ความรวดเร็ว โดยมีสาระสําคัญดังนี ้
1. Ctrl+C ใช้ ในการ Cancle คําสัง่
2. Space Bar ใช้ แทน Enter และ Right Click เพื่อทําซํ ้า หรือเข้ าคําสัง่ นันๆ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-02-I Page : 2 of 3 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Introduction

3. Undo ใช้ ย้อนกลับการทํางานที่ผา่ นมา (ย้ อนไปได้ เรื่ อยๆ หรื อต้ องตังค่
้ า)
4. Redo ใช้ หลังจากการย้ อนกลับหลัง (แต่ใช้ ได้ หนเดียว)
5. R Redraw ใช้ ในการวาดใหม่
6. Regen ใช้ ในการวาด และคํานวณใหม่
7. Esc ใช้ ในการ Cancle คําสัง่
8. F1 ติดต่อกับ Help? ของโปรแกรม
9. F2 เปลี่ยนเป็ นโหมด Text
10. F3 แสดงการเปิ ด – ปิ ดโหมด Osnap
11. F4 แสดงการเปิ ด – ปิ ดโหมด Tablet
12. F5 แสดงการเปิ ด - ปิ ดโหมด ISO Plane
13. F6 แสดงการเปิ ด - ปิ ดโหมด Coordinate
14. F7 แสดงการเปิ ด - ปิ ดโหมด Grid
15. F8 แสดงการเปิ ด - ปิ ดโหมด Ortho
16. F9 แสดงการเปิ ด - ปิ ดโหมด Snap
17. F10 แสดงการเปิ ด - ปิ ดโหมด Polar
18. F11 แสดงการเปิ ด - ปิ ดโหมด Object Snap tracking

ขนาดของกระดาษเขียนแบบมาตรฐาน
โปรแกรมได้ กําหนดขนาดพื ้นที่ของกระดาษขนาดต่างๆ เป็ นมาตรฐานในหน่วยมิลลิเมตรดังนี ้
Size ยาว x กว้ าง
A0 1189 x 841
A1 841 x 594
A2 594 x 420
A3 420 x 297
A4 297 x 210

ควรเผื่อระยะกรอบของการทํางาน Drawing ไว้ ด้วย ประมาณ 1 – 2 เซนติเมตร

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-02-I Page : 3 of 3 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : File Management

บทที่ 3 เริ่มต้นเขียนแบบกับ AutoCAD 2011


เป็ นที่ทราบกันดีวา่ โปรแกรมเขียนแบบ 2 มิติ ที่ใช้ ง่ายที่สดุ ในโลกคงหนีไม่พ้น โปรแกรม AutoCAD ซึ่ง
เป็ นที่ร้ ูจกั กันดีในวงการของช่างเขียนแบบ ไม่วา่ จะเป็ นทางด้ านเขียนแบบเครื่องกล สถาปั ตยกรรม ฯลฯ จนเป็ นที่
รู้จกั กันดีวา่ ถ้ าเป็ นงานเขียนแบบที่ให้ รายละเอียดต่างๆ ในแบบครบถ้ วนและยังสามารถปรับปรุงแก้ ไขได้ อย่าง
ง่ายดาย ต้ อง AutoCAD เท่านัน้ ถ้ าเช่นนันแล้ ้ ว เราก็มาเริ่มต้ นเขียนแบบกับ AutoCAD 2011 กันเลยครับ

การเริ่มต้ นเรียกใช้ โปรแกรม AutoCAD 2011


เมื่อติดตังโปรแกรม
้ AutoCAD 2011 เรี ยบร้ อยแล้ ว จะได้ AutoCAD 2011 Shortcut icon บน Window
Screen และสร้ าง AutoCAD 2011 ที่ Taskbar บนปุ่ ม Start ขันตอนการเรี
้ ยกใช้ โปรแกรม AutoCAD 2011 มี
ดังนี ้

Start > Programs > Autodesk > AutoCAD 2011 > AutoCAD 2011 หรือ
ดับเบิลคลิกที่ AutoCAD 2011 Shortcut บน Window Screen

เมื่อเข้ าสูห่ น้ าหลักของโปรแกรมเรียบร้ อยแล้ วจะมีลกั ษณะหน้ าตาตามรูปด้ านล่าง ในขันต้


้ นนี ้เราจะสร้ าง
งานเขียนแบบจากหน้ าจอเปล่าที่ AutoCAD 2011 กําหนดสภาพแวดล้ อมเท่าที่จําเป็ นให้ ก่อน โดยในบทสุดท้ าย
จะได้ กล่าวถึงวิธีการสร้ าง Template Drawing

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-03-I Page : 1 of 9 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : File Management

ส่ วนประกอบหลักของโปรแกรม AutoCAD 2009


Menu Browser เป็ นปุ่ มที่รวมเอาเมนูหลักของโปรแกรม AutoCAD 2011 ไว้ ในปุ่ มเดียว
Quick Access เป็ นแถบเครื่องมือที่ประกอบด้ วยคําสัง่ New Open Save Undo Redo
Command Line เป็ นส่วนของการป้อน คําสัง่ แสดงข้ อความโต้ ตอบกับผู้ใช้ งาน
Drawing tools เป็ นส่วนที่ใช้ แสดงแถบสถานะของคําสัง่ ช่วยการเขียนแบบ เช่น Snap, Grid,
Other โดยสามารถคลิกที่ไอคอนเพื่อเปิ ดหรือปิ ด สถานะต่างๆ
Quick properties ไอคอนสําหรับปรับรายการของคุณสมบัติของเส้นหรือวัตถุตา่ งๆ
Info Center สําหรับช่วยค้นหาข้ อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับ AutoCAD และคําสัง่ ใช้ งาน
Application windows Controls เป็ นปุ่ มที่ใช้ สําหรับซ่อน ย่อ ขยาย ปิ ด หน้ าต่างหลักของโปรแกรม
Document windows Controls เป็ นปุ่ มที่ใช้ สําหรับซ่อน ย่อ ขยาย ปิ ด หน้ าของพื ้นที่เขียนแบบ
Quick Views layouts แสดงเป็ นกรอบสี่เหลี่ยมในแนวนอน ตาม Model และ Layout ที่มีอยู่ เพื่อ
ความรวดเร็วในการเปลีย่ นโหมดไปสู่ Model หรือ Layout ตามแบบงานที่เปิ ด
อยู่
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-03-I Page : 2 of 9 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : File Management

Quick Views drawings ใช้ สําหรับวิวดูไฟล์ทงหมดที


ั้ ่เปิ ดอยู่ โดยแสดงเป็ นกรอบสีเ่ หลี่ยมพร้ อมรูปภาพ
ของไฟล์ ที่ด้านล่างจะแสดงชื่อของไฟล์อยู่
Steering Wheels เป็ นเครื่ องมือที่รวมเอาคําสัง่ ต่างๆ เช่น Zoom, Pan, Orbit และคําสัง่ ย่อยอื่นๆ
ไว้ ในเครื่ องมือนี ้
Show motion สําหรับสร้ างและแสดงภาพเคลื่อนไหวสําหรับงาน Presentation หรืออื่นๆ ที่
เกี่ยวข้ อง
Annotation Scale tools เป็ นกลุม่ เครื่องมือสําหรับกําหนดสเกลให้ กบั วัตถุ
Workspace switching ใช้ สําหรับเปลีย่ นหน้ าตาของโปรแกรมตาม Workspace ที่เตรียมไว้ ให้ หรือ
สามารถที่จะสร้ างเพิ่มขึ ้นใหม่ได้
Lock toolbar/windows position ใช้ สําหรับล็อกแถบเครื่องมือ หน้ าต่าง
Clean screen เป็ นปุ่ มสําหรับซ่อนแถบเครื่องมือทังหมดของโปรแกรม
้ ที่อยู่ด้านบนให้ เหลือ
แต่เพียงพื ้นที่วาดแบบกับกลุม่ คําสัง่ ด้ านล่าง

ทําความรู้ จกั เกี่ยวกับไฟล์ ของ AutoCAD 2011


สําหรับท่านที่ผา่ นการใช้ งาน AutoCAD มาแล้ วนันคงทราบดี
้ อยู่แล้ ว แต่ถ้าเป็ นมือใหม่หดั ใช้ โปรแกรม
AutoCAD บางท่านอาจรู้จกั แต่ชื่อของโปรแกรมเพียงอย่างเดียว ไม่ร้ ูวา่ เมื่อเขียนแบบเสร็จแล้ วจะต้ องบันทึกไฟล์
เป็ นรูปแบบใด สําหรับ AutoCAD นันสามารถบั
้ นทึกเก็บไว้ เป็ นแบบ .dwg ซึ่งสามารถเปิ ดด้ วยโปรแกรม DWG
TureView 2011, AOEMView ส่วนวิธีการจัดเก็บนันก็ ้ เหมือนกับโปรแกรมอื่นๆ โดยทัว่ ไป อาจจะบันทึกเก็บลงบน
ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดี หรื อในรูปแบบอื่นๆ ตามความต้ องการ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-03-I Page : 3 of 9 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : File Management

Menu Browser เป็ นปุ่ มที่รวมเอาคําสัง่ ของเมนูหลักในโปรแกรม AutoCAD 2011 ไว้ ในปุ่ มเดียว เพื่อ
สะดวกในการใช้ งาน โดยมีคําสัง่ ที่รวมไว้ ในปุ่ มมีดงั นี ้

1. New : ใช้ สําหรับสร้ างไฟล์แบบงานใหม่ โดยเลือก Template ที่โปรแกรมจัดเตรียมไว้ ให้


2. Open : ใช้ สําหรับเปิ ดไฟล์แบบงานที่เขียนไว้ ขึ ้นมาดู แก้ ไข พิมพ์แบบงาน รวมถึงนําเข้ าไฟล์ DGN เข้ า
มาวางบนไฟล์งานใหม่
3. Save : ใช้ สําหรับบันทึกไฟล์แบบงานที่เขียนไว้ ในรูปของไฟล์ DWG เวอร์ชนั่ ปัจจุบนั

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-03-I Page : 4 of 9 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : File Management

4. Save As : ใช้ สําหรับบันทึกไฟล์แบบงานที่เขียนไว้ ในรูปแบบไฟล์ DWG เวอร์ชนั่ ตํ่า บันทึกไว้ เป็ นไฟล์
Template (DWT) บันทึกเป็ นไฟล์ Drawing Standard (DWS) หรือบันทึกไฟล์เป็ นรูปแบบอื่นๆ เช่น DXF
5. Export : ใช้ สําหรับแปลงไฟล์ที่เขียนบน AutoCAD 2011 เป็ นไฟล์รูปแบบอื่นได้ หลายรูปแบบ เช่น
DWF, DWFx, 3D DWF, PDF, DGN และ FBX
6. Print : ใช้ สําหรับพิมพ์แบบงานที่เขียนเสร็จเรียบร้ อยแล้ ว โดยสามารถเข้ าไปกําหนดขนาดของกระดาษ
ที่ต้องการพิมพ์ เครื่ องพิมพ์หรื อพล็อตเตอร์ ที่ต้องการใช้ งานได้ จากส่วนนี ้
7. Publish : ใช้ สําหรับส่งไฟล์ชิ ้นงาน 3D Solid ขึ ้นรูปบน 3D Print Service
8. Send : ใช้ สําหรับส่งไฟล์แบบงานที่เขียนเรียบร้ อยแล้ วในรูปแบบของ Email พร้ อมแนบไฟล์ AutoCAD
ไปด้ วย และ e Transmit
9. Drawing Utility : ใช้ สําหรับกําหนดคุณสมบัตใิ ห้ ไฟล์งานที่เปิ ดอยู่ หน่วยของแบบงาน และอืน่ ๆ
รวมถึงเปิ ดหาในส่วนของไฟล์งานที่ถกู กู้ขึ ้นมาได้ ในกรณีที่โปรแกรมปิ ดโดยไม่มีการบันทึก
10. Close : ใช้ สําหรับปิ ดไฟล์แบบงานที่เปิ ดอยู่
11. Option : ใช้ สําหรับเข้ าไปกําหนดรายละเอียดต่างๆ ในการใช้ งานของโปรแกรม
12. Exit AutoCAD : ใช้ สําหรับปิ ดโปรแกรม AutoCAD

การสร้ างไฟล์ เขียนแบบใหม่ ด้วย AutoCAD 2011


ในการสร้ างไฟล์ใหม่สําหรับเขียนแบบด้ วย AutoCAD 2011 ทําได้ โดยใช้ คําสัง่ NEW

File > New


- ได้ Select template dialog box คลิกเลือกตรงเครื่องหมายสามเหลี่ยมข้ างๆ Open
- คลิกเลือก Open with no Template - Metric

การเปิ ดไฟล์ งานเขียนแบบ


เมื่อต้ องการทํางานหรื อแก้ ไขไฟล์งานเขียนแบบที่ได้ จดั เก็บไว้ แล้ ว สามารถเรียกใช้ งานได้ โดยคําสัง่
OPEN และมีขนตอนการทํ
ั้ างาน ดังนี ้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-03-I Page : 5 of 9 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : File Management

File > Open


- ได้ Select File dialog box ที่ช่อง Look in คลิกเลือก Drive และ Folder ที่จดั เก็บไฟล์
- คลิกเลือกไฟล์งานเขียนแบบที่ต้องการเปิ ด
- คลิกปุ่ ม OPEN จะได้ งานเขียนแบบตามความต้ องการ
แต่ถ้าจําไม่ได้ วา่ เก็บไว้ ที่ไหน ก็สามารถใช้ ตวั เลือก Find ช่วยค้ นหาก็ได้เช่นกัน ที่บนหน้ าต่างของ Open คลิก
ที่ Tools ที่อยู่มมุ ขวาบนของหน้ าต่างเลือก Find จากนันกํ ้ าหนดข้ อมูลที่เกี่ยวกับไฟล์นนๆ
ั ้ ลงบนหน้ าต่าง
Find คลิกที่แถบ

Name & Location : ถ้ าทราบข้ อมูลของชื่อไฟล์และสถานที่จดั เก็บ หรือคลิกที่แถบ


Date Modified : ถ้ าทราบข้ อมูลของวันที่ถกู สร้ างหรือบันทึกไฟล์
เมื่อใส่ข้อมูลครบถ้ วนแล้ วคลิกที่ปมุ่ Find Now เพื่อค้ นหา และคลิกเพื่อเปิ ดต่อไป

การบันทึกไฟล์ งานของ AutoCAD 2011


เมื่อต้ องการจัดเก็บไฟล์งานเขียนแบบ ถ้ าเป็ นไฟล์ใหม่ที่ยงั ไม่เคยจัดเก็บ สามารถใช้ คําสัง่ Save หรือ
Save as ได้ คําสัง่ Save จะถูกใช้ เมื่อต้ องการบันทึกไฟล์ดงั กล่าวในชื่อเดิม ส่วนคําสัง่ Save as นันจะถู
้ กใช้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-03-I Page : 6 of 9 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : File Management

เมื่อต้ องการบันทึกไฟล์โดยต้ องการเปลีย่ นชื่อใหม่ หรือต้ องการเปลี่ยนโฟล์เดอร์ใหม่ หรือต้ องการบันทึก


เพื่อให้ โปรแกรม AutoCAD รุ่นเก่า โดยเลือกที่ Files of type: มีขนตอนการจั
ั้ ดเก็บไฟล์ ดังนี ้

File > Save หรือ File > Save AS


- ได้ Save Drawing As dialog box คลิกเลือก drive และ folder ที่ต้องการ
- ที่ชอ่ ง File Name พิมพ์ชื่อ Drawing File ที่ต้องการ
- คลิกปุ่ ม Save เพื่อจัดเก็บไฟล์งานเขียนแบบ

สําหรับงานเขียนแบบที่เคยจัดเก็บมาแล้ ว และต้ องการจัดเก็บชื่อเดิมให้ ใช้ คําสัง่ SAVE แต่ถ้าต้ องการ


จัดเก็บเป็ นชื่อไฟล์ใหม่ ให้ ใช้ คําสัง่ SAVE AS ได้ ดงั นี ้

File > Save AS


- ได้ Save Drawing As dialog box คลิกเลือก drive และ folder ที่ต้องการ
- ที่ชอ่ ง File Name พิมพ์ชื่อ Drawing File ที่ต้องการ
- คลิกปุ่ ม Save เพื่อจัดเก็บไฟล์งานเขียนแบบ

ในโปรแกรม AutoCAD นันสามารถกํ


้ าหนดให้ โปรแกรมตังเวลาบั
้ นทึกไฟล์ตามเวลาที่กําหนด เช่น ทุกๆ
10 วินาที มากหรือน้ อยกว่านันได้

ถ้ าต้ องการให้ โปรแกรมเก็บไฟล์แบ็คอัพไว้ ให้ ก็ทําได้ โดยโปรแกรมจะจัดเก็บไว้ ในชื่อเดียวกัน แต่จะมี
นามสกุลเป็ น .bak และสามารถกู้คืนได้ โดยเปลี่ยนนามสกุลให้ เป็ น .dwg

การออกจากโปรแกรม AutoCAD 2011


เมื่อต้ องการหยุดเขียนแบบและต้ องการออกจากโปรแกรม AutoCAD 2011 ให้ คลิกที่ปมคํ ุ่ าสัง่ Exit
AutoCAD และมีขนตอนการออกจากโปรแกรม
ั้ ดังนี ้

Menu Browser > Exit AutoCAD


- ถ้ ายังไม่เคยจัดเก็บไฟล์งานเขียนแบบ โปรแกรมจะเตือนว่าต้ องการจัดเก็บหรือไม่
- ถ้ าต้ องการจัดเก็บหรือ SAVE ให้ คลิกเลือก YES ถ้ าไม่ต้องการให้ คลิกเลือก NO

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-03-I Page : 7 of 9 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : File Management

การใช้ Function Keys บนคีย์บอร์ ดของ AutoCAD 2011


ในการเขียนแบบด้ วย AutoCAD เราจะใช้ ปมฟั ุ่ งก์ชนั คีย์ควบคุมการปิ ด/เปิ ด โหมดควบคุมสถานะต่างๆ
เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการเขียนภาพ ปุ่ มฟั งก์ชนั คีย์ที่สามารถใช้ งานได้ ในโปรแกรม AutoCAD มี
ดังต่อไปนี ้
F1 (Help)
สําหรับเข้ าสูร่ ะบบความช่วยเหลือของโปรแกรม เพื่ออธิบายวิธีการใช้ งานคําสัง่ ต่างๆ
F2 (AutoCAD Text Windows)
สําหรับ เปิ ด/ปิ ด บรรทัดป้อนคําสัง่ หรือ Command Line หากต้ องการตรวจสอบคําสัง่ ที่ใช้ งาน
ไปแล้ วเมื่อกด F2 จะแสดงคําสัง่ และตัวเลือกต่างๆ ที่ผา่ นการเรียกใช้ งานมาแล้ วขึ ้นมาบน
จอภาพ กดอีกครัง้ เพื่อปิ ดหน้ าต่าง
F3 (Object Snap, OSNAP)
เพื่อความแม่นยําในการกําหนดตําแหน่งลงบนพื ้นที่วาด โดยที่โปรแกรมกําหนดมาให้ โหมดออ
โต้ สแน๊ ปที่จะออกมาทํางานโดยอัตโนมัติเมือ่ กด F3 คือโหมด Endpoint, Center, Intersection,
และโหมด Extension: ซึ่งโปรแกรมกําหนดไว้ ลว่ งหน้ าในคําสัง่ Tools > Drafting Settings….
F4 (Tablet)
สําหรับควบคุมยกเลิกการใช้ งานของตารางบน Digitizing
F5 (Isoplane)
ใช้ สําหรับควบคุมการเปลี่ยนระนาบของการเขียนภาพไอโซเมตริก (Isometric) มักจะมีการ
เปลี่ยนระนาบไอโซเมตริกด้ านบน (Isoplane Top) ระนาบไอโซเมตริกด้ านขวา (Isoplane
Right) และระนาบไอโซเมตริกด้ านซ้ าย (Isoplane Left) อยู่เสมอๆ
F6 (Dynamic UCS)
สําหรับควบคุมการแสดงหรือซ่อนของ Dynamic UCS
F7 (Grid)
ใช้ สําหรับการควบคุมการเปิ ด/ปิ ดของ Grid จุด Grid ใช้ เป็ นจุดอ้ างอิงตําแหน่งในการเขียน
ภาพ
F8 (Ortho)
สําหรับควบคุมการปิ ดหรือเปิ ดโหมด Ortho เพื่อบังคับให้ เคอร์ เซอร์ เลื่อนได้ เฉพาะในแนวนอน
หรื อแนวตัง้ ภายในมุม 0, 90, 180, 270 เท่านัน้
F9 (Snap)
หากต้ องการให้ เคอร์เซอร์มจี ดุ เริ่มต้นที่เป็ นตัวเลขที่ลงตัว เพื่อกําหนดให้ เคอร์ เซอร์ กระโดดไป
ตามระยะที่ตงไว้ ั ้ ใน
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-03-I Page : 8 of 9 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : File Management

F10 (Polar)
สําหรับควบคุมการเปิ ดหรือปิ ด Polar Tracking เพื่อหาจุดปลายของเส้ นให้ อยูใ่ นแนวกับเส้น
หรือจุดที่ต้องการ
F11 (Otrack)
สําหรับควบคุมการเปิ ดหรือปิ ด Object Snap Tracking สําหรับหาตําแหน่งอ้ างอิงแบบตังฉาก้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-03-I Page : 9 of 9 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

บทที่ 4 การใช้ คาํ สั่งพืน้ ฐานในการสร้ างชิน้ งาน


เป็ นคําสัง่ พื ้นฐานในการเขียนแบบ หรือการเขียนเส้นต่างๆ หลายๆ เส้ นมารวมกัน เพื่อประกอบกันเป็ น
ชิ ้นงาน เช่น เส้ นตรง เส้ นโค้ ง เส้ นวงรี วงกลม รูปทรงเหลีย่ ม รวมไปถึงการเขียนตัวอักษรและตัวเลขเข้ ามา
ประกอบกัน คําสัง่ ในส่วนนี ้เราจะใช้ ร่วมกับกรอบ Command line ทุกครัง้ ในการพิมพ์ตวั อักษรและค่าตัวเลขเพื่อ
ความแม่นยําของระยะความยาวและมุมองศาของเส้น
สําหรับมือใหม่คงต้ องเข้ าใจเกี่ยวกับการพิมพ์ตวั อักษรคําย่อของแต่ละคําสัง่ พื ้นฐานที่ใช้ พิมพ์ที่กรอบ
Command line เสียก่อน ซึง่ จะพิมพ์เป็ นตัวพิมพ์ใหญ่ หรือพิมพ์เป็ นตัวพิมพ์เล็กก็ได้

คําสั่งการเขียนเส้ น (Drawing)

สําหรับ คําย่ อ ความหมาย

Line L เขียนเส้ นตรง


Circle C เขียนวงกลม
Donut DO เขียนรูปวงกลมมีรูตรงกลาง
Ellipse EL เขียนรูปวงรี ซึ่งกําหนดแกน 2 แกน
Hatch H ใส่ลวดลายลงในชิ ้นงาน
Spline SPL เขียนเส้ นโค้ งงอแบบอิสระและต่อเนื่อง
Polygon POL เขียนรูปเหลีย่ มด้ านเท่า
Region REG กําหนดให้ พื ้นที่ปิด ซึ่งจะใช้ ร่วมกับคําสัง่ Union, Subtract
Boundary BO เขียนเส้ น Polyline กับ Region ภายในพื ้นที่ปิด
Rectangle REC เขียนรูปสีเ่ หลีย่ ม
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 1 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

Point PO เขียนจุด หรื อมาร์ คกะระยะ

Dtext DT เขียนตัวอักษรแบบข้ อความสันๆ


Mtext MT เขียนตัวอักษรในกรอบที่กําหนด
Polyline PL เขียนเส้ นตรงหรือเส้ นโค้งแบบต่อเนื่อง
Arc A เขียนเส้ นโค้ งรูปแบบต่างๆ
Construction, Xline XL เขียนเส้ นตรงแบบความยาวของเส้นไม่สิ ้นสุด
Undo U ย้ อนกลับไปการกระทําที่ผา่ นมาทีละขัน้

การเรียกแถบเมนูบาร์ (Menu bar) มาใช้ งาน


สําหรับผู้ที่เคยใช้ โปรแกรม AutoCAD อาจจะเคยชินการใช้ คําสัง่ ต่างๆ ภายในแถบเมนูบาร์ เพราะ
ค่อนข้ างจะมีคําสัง่ มาก และรายละเอียดของคําสัง่ ต่างๆ มากกว่าคําสัง่ ภายใน Ribbon เราควรเรียกแถบเมนูบาร์
มาใช้ งานคูก่ บั คําสัง่ ภายใน Ribbon ด้ วยก็จะดี มีวิธีง่ายๆ ดังนี ้

1. คลิกเมาส์ ปุ่ม Quick Access


2. เลือกคําสั่ง Show Menu Bar
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 2 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

การกําหนดขอบเขตงานเขียนแบบ
การกําหนดขอบเขตงานเขียนแบบ ให้ เป็ นขนาดกระดาษมาตรฐาน A4 (12x9 หรือ 297x210) โดยใช้
คําสัง่ Drawing Limits ประกอบด้ วย 2 ขันตอน
้ ดังนี ้
1. Format > Drawing Limits
Reset Model space limits :
Specify lower left corner or [ON/OFF] <0.0000,0.0000>: 0,0 ป้อนค่ าพิกัดมุมล่ างซ้าย กด Enter
Specify upper right corner <420.0000,297.0000>: 297,210 ป้อนค่ าพิกัดมุมบนขวา กด Enter
2. เมื่อกําหนด Drawing Limits แล้ วให้ ใช้ คําสัง่ Zoom All เพื่อปรับขนาดจอภาพให้ เหมาะสมกับ
ขอบเขต Drawing Limits โดยใช้ คําสัง่ View > Zoom > All
จึงจะได้ ขอบเขตงานเขียนแบบที่ต้องการ

การกําหนดหน่ วยและทศนิยม
การกําหนด Units ที่ใช้ ในการเขียนแบบ และความละเอียดของทศนิยมที่ต้องการ โดยคําสัง่ Units มี
วิธีใช้ ดังนี ้

Format > Units


- จะได้ Drawing Units dialog box ที่กรอบ Length ที่ช่อง Type คลิกเลือก Decimal และที่ช่อง
Precision เลือกทศนิยมตามต้ องการ
- ที่กรอบ Angle ที่ช่อง Type คลิกเลือก Decimal Degrees และที่ช่อง Precision เลือกทศนิยมตาม
ต้ องการ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 3 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

ระบบพิกัดสําหรับการเขียนแบบด้ วย AutoCAD 2011


ก่อนที่เราจะได้ เริ่ มเรี ยนรู้คําสัง่ ต่างๆ เราควรที่จะต้ องทราบถึงการอ้ างอิงตําแหน่งและมุมกันเสียก่อน
เพราะว่าจะสําคัญมากในการกําหนดตําแหน่งและมุมบนพื ้นที่วาดภาพ ในการอ้ างอิงตําแหน่งและมุมด้ วยคําสัง่
ต่างๆ เราจําเป็ นจะต้ องรู้จกั วิธีการกําหนดตําแหน่งด้ วยการพิมพ์คา่ คอร์ออร์ดิเนท ซึ่งระบบคอร์ออร์ดิเนทที่นิยม
ใช้ ในการกําหนดตําแหน่งและมุมมีอยู่ด้วยกัน 3 วิธี คือ

1. ระบบพิกัดแบบ Absolute Coordinate (X,Y) เป็ นระบบพิกดั ที่วดั ระยะจากจุด Origin การบอก
ตําแหน่งแบบนี ้อ้ างอิงจากค่าที่อา่ นได้ จากแกน x และแกน y โดยตรง จากรูป แสดงให้ เห็นการ
เขียนเส้ นตรงโดยที่เราไม่ทราบความยาวของเส้นตรงแต่ละช่วงแต่เราทราบตําแหน่งอ้ างอิงจุดคอร์
ดิเนทแต่ละจุดบนพื ้นที่วาดภาพการป้อนค่าคอร์ออร์ดิเนทซึ่งอ้ างอิงตําแหน่งของจุดบนพื ้นที่วาดภาพ
โดยตรงแบบนี ้เรียกว่า Absolute Coordinate โดยทัว่ ไปจะใช้ วิธีการแบบนี ้ในการกําหนดตําแหน่ง
ของจุดเริ่ มต้ นในการเขียนเส้ นเท่านัน้

Menu Browser > Draw > line


Specify first point: 150,100 (กําหนดจุดเริ่มต้ น 150,100 แบบแอบโซลูทตรงจุดที่ 1)
Specify next point or [Undo]: 350,100 (จุดที่ 2)
Specify next point or [Undo]: 350,250 (จุดที่ 3)
Specify next point or [Close/Undo]: 265,250 (จุดที่ 4)
Specify next point or [Close/Undo]: 265,180 (จุดที่ 5)
Specify next point or [Close/Undo]: 150,180 (จุดที่ 6)
Specify next point or [Close/Undo]: พิมพ์ c (โยงเส้ นปิ ด จากจุดที่ 6 ไป 1)

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 4 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

2. ระบบพิกัดแบบ Relative Coordinate (@X,Y) การบอกตําแหน่งแบบนี ้จะอ้ างอิงจากจุดที่


กําหนดไปแล้ วโดยจะถือว่าจุดที่แล้ วเป็ นจุดกําเนิด 0,0 ชัว่ คราว ในการกําหนดตําแหน่งของ
จุดเริ่ มต้ นแบบแอบโซลูท ดังรูปข้ างล่างนี ้ สังเกตว่าค่าที่มีเครื่องหมาย @ นําหน้ าจะอ้ างอิงจากจุดที่
ผ่านมาหรือจุดสุดท้ ายเท่านัน้

Menu Browser > Draw > line


Specify first point: 150,100 (กําหนดจุดเริ่มต้ น 150,100 แบบแอบโซลูทตรงจุดที่ 1)
Specify next point or [Undo]: @200,0 (จุดที่ 2)
Specify next point or [Undo]: @0,150 (จุดที่ 3)
Specify next point or [Close/Undo]: @-85,0 (จุดที่ 4)
Specify next point or [Close/Undo]: @0,-70 (จุดที่ 5)
Specify next point or [Close/Undo]: @-115,0 (จุดที่ 6)
Specify next point or [Close/Undo]: พิมพ์ c (โยงเส้ นปิ ด จากจุดที่ 6 ไป 1)

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 5 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

3. ระบบพิกัดแบบ Relative Polar Coordinate (@Distance<Angle) การอ้ างอิงแบบนี ้จะอาศัยค่า


ระยะทางและมุมซึ่งมีระยะสัมพันธ์กบั จุดสุดท้ าย จากรูปสมมุติวา่ เราใช้ คําสัง่ LINE เขียนเส้นตรง
และได้ กําหนดจุดแรกของเส้ นแบบแอบโซลูทที่ 1, 1 ถ้ าต้องการเขียนเส้ นตรงไปทางขวาในแนวแกน
x ยาว 2 หน่วย เราสามารถป้อนค่า @ 2 < 0 จะได้ เส้ นตรงมีความยาว 2 หน่วย โดยนับจาก
จุด 1 ,1 และทํามุม 0 องศากับแนวแกน x หากต้ องการเขียนเส้ นตรงต่อขึ ้นไปข้ างบนตาม
แนวแกน y ยาว 3 หน่วย เราสามารถใช้ @ 3 < 90 หากต้ องการเขียนเส้ นไปทางด้ านซ้ ายมือ
อีก 6 หน่วยตามแกน y เราสามารถใช้ @ 6 < 180 โดยเครื่องหมาย @ จะบอกให้ โปรแกรม
ทราบว่าข้ อมูลที่เราป้อนเป็ นแบบรีเลทีฟส่วนเครื่องหมาย < บอกให้ เราทราบว่าตัวเลขที่ป้อนหลัง
เครื่ องหมายนี ้เป็ นค่ามุมที่อ้างอิงจากแกน x

Menu Browser Draw > line


Specify first point: 150,100 (กําหนดจุดเริ่มต้ น 150,100 แบบแอบโซลูทตรงจุดที่ 1)
Specify next point or [Undo]: @200<0 (จุดที่ 2)
Specify next point or [Undo]: @150<90 (จุดที่ 3)
Specify next point or [Close/Undo]: @85<180 (จุดที่ 4)
Specify next point or [Close/Undo]: @70<270 (จุดที่ 5)
Specify next point or [Close/Undo]: @115<180 (จุดที่ 6)
Specify next point or [Close/Undo]: พิมพ์ c (โยงเส้ นปิ ด จากจุดที่ 6 ไป 1 )

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 6 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

วิธีเรียกใช้ Object Snap Option


Object Snap หรื อ Osnap เป็ นการบอกพิกดั ของตําแหน่งเฉพาะที่อยูบ่ นวัตถุได้ อย่างรวดเร็ว โดยไม่
จําเป็ นต้ องทราบพิกดั ของจุดนัน้ เช่น Midpoint หรือ Endpoint ของเส้ น และ Center ของวงกลม เป็ นต้น การ
เข้ าสูค่ ําสัง่ Object snap ทําได้ หลายวิธี คือ
1. ที่ Menu Bar คลิกที่ View > Toolbars ได้ Toolbars dialog box ที่กรอบ Toolbars คลิกเลือก
Close จะได้ Object Snap Floating Toolbar
2. ที่ Menu Bar คลิกที่ Tools > Options ได้ Options dialog box คลิกเลือก Display Tab ที่กรอบ
Window Elements คลิกเลือก Display screen menu คลิกปุ่ ม OK จะปรากฏ Screen Menu บน graphic area
คลิกเลือก จะได้ Object Snap menu
3. กดแป้น SHIFT ค้ างไว้ แล้ วกดปุ่ มขวาของ mouse จะมีตวั เลือกของออบเจ็กต์สแนปแบบต่างๆ ให้
เลือกใช้ ได้
4. ใน AutoCAD 2011 ยังได้ เพิ่มออบเจ็กต์สแนปชื่อ m2p ใช้ สําหรับหาจุดกึ่งกลางระหว่าง 2 จุดใดๆ
ได้

Object Snap Setting เพิ่มความแม่ นยําในการคลิกกําหนด


การทํางานของ AutoCAD จะเป็ นการทํางานที่ลดการผิดพลาดจากการเขียนด้ วยมือทุกอย่าง ในการ
ทํางานด้ วยโปรแกรมจะเป็ นไปอย่างแม่นยํา เป็ นการทํางานที่การเขียนแบบด้ วยมือไม่สามารถทําได้ นนก็ ั ้ คือคําสัง่
Object Snap Setting หรื อเรี ยกสันๆ ้ ว่า Osnap ซึ่งเป็ นคําสัง่ ที่จําเป็ นต้ องเปิ ดสถานะการใช้ งานให้ On เสมอ
สําหรับบางตัว ส่วนตัวเลือกอื่นก็ตามแต่รูปแบบการทํางานและความถนัดของผู้เขียนแต่ละคน
เครื่องมือนี ้มีความสะดวกโดยหลักคือการสัมผัสเส้น ณ จุดต่างๆ ใน ชิ ้นงาน เช่น จุดตัดเส้น จุดสัมผัส
วงกลม เส้ นตังฉาก ้ ฯลฯ โดยที่เราจะใช้ คําสัง่ Line เขียนเส้นต่อจากปลายเส้นที่มีอยู่แล้ ว ถ้ าเราไม่ใช้ Osnap ข่วย
ก็ไม่มีทาง ที่จะต่อที่ปลายเส้ นได้ อย่างพอดี ยกเว้นเสียแต่วา่ จะเขียนเส้นโดยการใช้ Grid – Snap เข้ าช่วยโดยที่
เมื่อใช้ คําสัง่ Osnap ในทางเลือกย่อยของคําสัง่ แล้ ว เมาส์ก็จะกระโดดเข้ าหาจุดที่เราต้ องการให้ ไปสัมผัสเองแค่
เพียงวางเมาส์ไว้ ใกล้ ๆ จุดที่ต้องการเท่านันเอง

หรือเรียกคําสัง่ ได้จากคลิกเมาส์ขวาบนจุดใดๆ บนหน้ าจอ Drawing พร้ อมกับการกด Shift หรือ Ctrl
แล้ วคลิกเลือก Osnap Settings เลือกแถบของ Object Snap

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 7 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

ไดอะล็อกบ็อกซ์ Drafting Settings ที่มีฟังก์ชนั่ Object Snap โดยมีตวั เลือกย่อยอยูท่ งหมด ั้ 13 ตัว ดัง
ในรูปของไอคอน ถ้ าต้ องการที่จะเลือกทังหมด้ ให้ คลิกที่ Select All หรือลบทังหมดที
้ ่เลือกไว้ ให้ คลิกที่ Clear All
แต่เราไม่จําเป็ นที่จะต้ องเลือกทุกตัว เพราะจะเกิดความสับสนของ Cursor ที่อาจจะกระโดดจับตําแหน่งที่เราไม่
ต้ องการก็ได้ ทําให้ กลายเป็ นเรื่ องยากใน การทํางาน โดยที่ในการเขียนงานทัว่ ไปจะใช้ 4 ตัวหลักๆ ได้ แก่
Endpoint, Midpoint, Center และ Intersection เมื่อเลือกเสร็จจึงคลิกปุ่ ม OK
ทังนี
้ ้เราสามารถเปิ ด-ปิ ดโหมด Osnap ได้ ที่คีย์บอร์ดฟั งก์ชนั่ F3 และที่ Status Bar คลิกในโหมด Osnap
ก็จะแสดงสถานะเป็ น ON หรื อ OFF ทันที

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 8 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

การใช้ คําสั่ง Object Snap


Object Snap ประกอบด้ วยคําสัง่ ดังนี ้

ทูลบาร์ ข้ อความทูลทิป ความหมาย

Temporary Tracking Point กําหนดจุดแทร็กกิ ้งชัว่ คราว


Snap From กําหนดจุดไว้ อ้างอิง
Snap To Endpoint หาจุดปลายเส้ น
Snap To Midpoint หาจุดกึ่งกลางเส้น
Snap To Intersection หาจุดตัดของเส้ น
Snap To Apparent Intersection หาจุดตัดจากแนวตัดได้
Snap To Extension หาจุดแนวขยายต่อ
Snap To Center หาจุดศูนย์กลางของวงกลม เส้ นโค้ง และวงรี
Snap To Quadrant หาจุดบนวงกลม,วงรี ที่ 0,90,180 และ 270 องศา
Snap To Tangent หาจุดสัมผัสเส้ นโค้ ง
Snap To Perpendicular หาจุดตังฉาก

Snap To Parallel หาจุดแนวขนาน
Snap To Insert หาจุดแทรกวางบล็อกและข้ อความ
Snap To Node หาตําแหน่งของรูปวาดแบบจุด (point)
Snap To Nearest เลือกจุดที่ใกล้ สดุ บนรูปวาด
Snap To None ไม่ใช้ ออบเจ็กต์สแนป
Object Snap Settings กําหนดค่าออบเจ็กต์สแนป

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 9 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

หน้ าที่และความหมายของ Osnap แต่ ละโหมด

Temporary Tracking Point


ต้ องใช้ ร่วมกับออฟเจ็คสแน๊ ปโหมดอื่น ๆ ใช้ สําหรับสร้ างจุดชัว่ คราวเพื่อนําไปใช้ กบั โหมดต่าง ๆ ของออฟ
เจ็คสแน๊ ปเพื่อหาจุดตัดในแนวแกนนอนและแนวตัง้ อาทิเช่น ใช้ ในการหาศูนย์กลางของสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ า เป็ นต้ น

Snap From
ต้ องใช้ ร่วมกับออฟเจ็คสแน๊ ปโหมดอื่น ๆ เพื่อกําหนดระยะห่างหรือระยะออฟเซต (Offset) จากจุดที่
ต้ องการกําหนดตําแหน่ง ตัวอย่าง เช่น การกําหนดตําแหน่งของจุดเริ่มต้ นในการเขียนเส้ นให้ ห่างจากจุดกึ่งกลาง
เส้ นขึ ้นไปในแนวดิ่งตามระยะที่กําหนด

Endpoint
ใช้ บงั คับให้ เคอร์เซอร์กระโดดเข้ าไปหาจุดปลายของเส้ นโค้ ง (Arc) เส้ นตรง (Line) เส้ นคูข่ นาน
(Multiline) จุดปลายเซ็กเมนต์ของโพลีไลน์ (Polyline) เมือ่ เรียกใช้ จะปรากฏเครื่องหมาย บนปลายเส้น

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 10 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

Midpoint
ใช้ บงั คับให้ เคอร์เซอร์กระโดดเข้ าไปหาจุดกึ่งกลางของเส้ นโค้ ง (Arc) เส้ นตรง (Line) เส้ นคูข่ นาน
(Multiline) เชกเมนต์ของโพลีไลน์ (Poly line) เมื่อเรียกใช้ จะปรากฏเครื่องหมาย บนจุดกึ่งกลางเส้น

Intersection
ใช้ บงั คับให้ เคอร์เซอร์กระโดดเข้ าไปหาจุดตัดระหว่างเส้ นโค้ ง (Arc) เส้ นตรง (Line) เส้ นคูข่ นาน
(Multiline) วงกลม (Circle) หรื อวงรี (Ellipse) จะปรากฏเครื่องหมาย X บนจุดตัดระหว่างเส้ น ถ้ าเลื่อน
เคอร์เซอร์ไปบนเส้นที่ไม่ใช่จดุ ตัดจะปรากฏเครื่ องหมาย X แทน ซึ่งสามารถใช้ กบั เส้นที่ไม่ตดั กันจริง

Apparent intersection
ใช้ บงั คับให้ เคอร์เซอร์กระโดดเข้ าไปหาจุดตัดระหว่างเส้ นโค้ ง (Arc) เส้ นตรง (Line) เส้ นคูข่ นาน
(Multilane) วงกลม (Crick) วงรี (Ellipse) ซึ่งอาจตัดกันจริงหรือ ไม่ตดั กันจริงก็ได้เมื่อเรียกใช้ จะปรากฏ
เครื่องหมาย บนเส้นและจะปรากฏเครื่องหมาย X บนจุดตัดระหว่างเส้ น

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 11 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

Extension
ช่วยให้ เราสามารถหาตําแหน่งของจุดที่ตอ่ ออกไปจากเส้นตรงหรือเส้ นโค้ งตามระยะที่เราเลื่อนเมาส์

Center
ใช้ บงั คับให้ เคอร์เซอร์กระโดดเข้ าไปหาจุดศูนย์กลางของวงกลม (Circle) เส้ นโค้ ง (Arc) วงรี (Ellipse)
เมื่อเรียกใช้ จะปรากฏเครื่ องหมาย ณ จุดศูนย์กลางของวงกลม เส้ นโค้ ง หรือวงรี

Quadrant
ใช้ บงั คับให้ เคอร์ เซอร์ กระโดดเข้ าไปหาจุด 0, 90, 180, 270 องศาของวงกลม (Circle) เส้ นโค้ ง (Arc)
วงรี (Ellipse) เมื่อเรี ยกใช้ จะปรากฏเครื่ องหมาย บนจุด 0, 90, 180, 270 องศาของวงกลมเส้ นโค้ ง
และวงรี

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 12 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

Tangent
ใช้ บงั คับให้ เคอร์เซอร์กระโดดเข้ าไปหาจุดเส้ นสัมผัสของวงกลม (Circle) เส้ นโค้ ง (Arc) วงรี (Ellipse)
เมื่อเรียกใช้ จะปรากฏเครื่ องหมาย บนจุดสัมผัส

Perpendicular
ใช้ บงั คับให้ เคอร์เซอร์กระโดดเข้ าไปหาจุดที่ตงฉากกั
ั้ บเส้ นตรง (Line) วงกลม (Circle) เส้ นโค้ ง (Arc)
วงรี (Ellipse) เส้ นคูข่ นาน (Multi line) โฟลีไลน์ (Poly line) เมื่อเรี ยกใช้ จะปรากฏเครื่ องหมาย บนจุด
ตังฉาก

Parallel
ใช้ โหมดนี ้ช่วยในการเขียนเส้ นขนานกับเส้ นตรงใด ๆ เมื่อเรียกใช้ โหมดนี ้และเลื่อนไปบนเส้นตรงใด ๆ จะ
ปรากฏเครื่องหมาย บนเส้ นตรงนันหลั
้ งจากที่เลื่อนเมาท์ออกไปจะปรากฏเครื่องหมาย + บนเส้ นดังกล่าว
หากเลื่อนเคอร์ เซอร์ ให้ อยูใ่ นแนวที่จะปรากฏเส้นขนาน จะปรากฏเวคเตอร์เส้นประขนานกับเส้ นตรงดังกล่าวซึง่
เราสามารถเขียนเส้นขนานได้ ตามต้ องการ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 13 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

Insertion
ใช้ บงั คับให้ เคอร์เซอร์กระโดดเข้ าไปหาจุดสอดแทรกของตัวอักษร (Text) บล็อค (Block) เมื่อเรียกใช้
จะปรากฏเครื่ องหมาย บนจุดสอดแทรก

Node
ใช้ บงั คับให้ เคอร์เซอร์กระโดดเข้ าไปหาจุด (Point) เมื่อเรียกใช้ จะปรากฏเครื่องหมาย บนจุดใด ๆ

Nearest
ใช้ บงั คับให้ เคอร์เซอร์กระโดดเข้ าไปหาจุดที่อยูใ่ กล้ ที่สดุ ของเส้ นโค้ ง (Arc) เส้ นตรง (Line) เส้ นคูข่ นาน
(Multi line) โพลีไลน์ (Polyline) เมื่อเรี ยกใช้ จะปรากฏเครื่องหมาย บนจุดที่ใกล้ ที่สดุ ของเส้ น

None
ใช้ สําหรับระงับโหมดการใช้ ออฟเจกท์สแน๊ ปอัตโนมัติไว้ ชวั่ คราว

Object Snap Settings


คลิกปุ่ มนี ้เพื่อเรียกไดอะล็อค Drafting Settings
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 14 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

การกําหนด Object Snap Modes แบบอัตโนมัติ

Object Snap Modes ใช้ เพื่อช่วยให้ เราสามารถกําหนดจุด Snap บนวัตถุตา่ งๆ ได้ อย่างรวดเร็ว เช่น
การกําหนดจุด Endpoint ของเส้ นตรงหรื อส่วนโค้ง จุด Center ของวงกลม เป็ นต้ น ขันตอนการกํ
้ าหนด Object
Modes แบบอัตโนมัติ มีดงั นี ้

คลิกที่เมนู Tools > Drafting Settings


จะได้ หน้ าต่างของ Drafting Settings คลิกเลือกแท็ป Object Snap ที่กรอบ Object Snap Modes คลิก
เลือก Osnap ที่ต้องการใช้ งาน ถ้ าต้ องการเลือกทังหมดให้
้ คลิกปุ่ ม Select All ในกรณีที่ต้องการยกเลิกการเลือก
ทังหมดให้
้ กดปุ่ ม Clear All เมื่อเลือกได้ แล้ วให้ กดปุ่ ม OK เพื่อออกจากคําสัง่

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 15 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

การใช้ คําสั่งพืน้ ฐานในการสร้ างชิน้ งาน


สําหรับบทแรกเริ่ มในการทํางานก็คือ คุณต้ องเรียนรู้การใช้ คําสัง่ การสร้ างชิ ้นงานพื ้นฐานเสียก่อน อันจะ
เป็ นแนวทางให้ คณุ สามารถใช้ คําสัง่ อื่นๆ ต่อไปอีก ไม่วา่ จะเป็ นการเขียนเส้นตรง วงกลม สีเ่ หลี่ยม เส้ นโค้ ง หรือ
พิมพ์ตวั อักษรก็แล้ วแต่ ทุกๆ คําสัง่ มักจะมีทางเลือกย่อยในการสร้ างชิ ้นงานนันๆ
้ มากกว่า 2 วิธีขึ ้นไปเสมอ
เพราะฉะนัน้ ถ้ าคุณอยากจะเขียนแบบได้ คุณก็ไม่สามารถที่จะผ่านขันตอนการเรี้ ยนรู้จากบทนี ้ไปได้ เลย

คําสั่ง Line
เป็ นคําสัง่ ที่ใช้ ในการเขียนเส้ นตรง 1 เส้ น หรือหลายเส้ นต่อเนื่องกันไป โดยการบอกพิกดั จุดเริ่มต้ นและ
จุดปลายของเส้ นตรงแต่ละเส้ น โดยระบบพิกดั X,Y หรือ Polar ในกรณีที่ป้อนค่าจุดพิกดั ผิดและกด Enter แล้ วให้
ใช้ คําสัง่ Undo เพื่อยกเลิกพิกดั นันๆ ้ ถ้ าต้ องการลากเส้ นเชื่อมจุดปลายของเส้นตรงสุดท้ ายกับจุดเริ่มต้ นของ
เส้ นตรงเส้ นที่ 1 ทําได้ โดยใช้ คําสัง่ Close หรื อพิมพ์อกั ษรตัว C แทนการป้อนพิกดั ของจุดปลายเริ่มต้ นนันได้้
ขันตอนการใช้
้ คําสัง่ Line มีดงั นี ้

Menu Browser > Draw > line


Specify first point: 50,50 (กําหนดจุดเริ่มต้ น 50,50 แบบแอบโซลูท)
Specify next point or [Undo]: @60<0 (กําหนดจุดต่ อไป @60<0 แบบรีเลทีฟโพล่ าร์ )
Specify next point or [Undo]: @20<45 (กําหนดจุดต่ อไป @20<45 แบบรีเลทีฟโพล่ าร์ )
Specify next point or [Close/Undo]: @30<90 (กําหนดจุดต่ อไป @30<90 แบบรีเลทีฟโพล่ าร์ )
Specify next point or [Close/Undo]: @-40,0 (กําหนดจุดต่ อไป @-40,0 แบบรีเลทีฟ)
Specify next point or [Close/Undo]: C (พิมพ์ C เพื่อเขียนเส้ นปิ ด)
Specify next point or [Close/Undo]: (กดปุ่ ม Enter เพื่อยุตกิ ารเขียนเส้ นตรง)

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 16 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

คําสั่ง Construction Line


คําสัง่ Construction Line เป็ นลักษณะเช่นเดียวกับคําสัง่ Line เพียงแต่จะเป็ นเส้ นตรงที่มีความยาวไม่
สิ ้นสุด (Infinity) และจะมองไม่เห็นจุดปลายทัง้ 2 ด้ าน โดยส่วนใหญ่จะใช้ เส้นนี ้เป็ นเส้ นร่างในการกําหนดส่วน
ต่างๆ ของรูป หรื อการเขียนภาพ Isometric หรือภาพ Perspective เพื่อความง่ายต่อการเขียนชิ ้นงาน

Menu Browser > Draw > Comstruction Line หรื อ Command : XLine

และจะมีคําสัง่ ย่อยอยูด่ งั จะกล่าวต่อไปนี ้


- Horizontal เขียนเส้ นตรงแบบแนวนอน
- Vertical เขียนเส้ นตรงแบบแนวตัง้
- Angle เขียนเส้ นตรงแบบกําหนดองศา
- Bisect เขียนเส้ นตรงเพื่อแบ่งครึ่งมุมภาพ
- Offset เขียนเส้ นตรงให้ ขนานกับเส้ นต้ นแบบ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 17 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

คําสั่ง Polyline
คําสัง่ Polyline หรื อ Pline เป็ นการเขียนเส้นตรง หรือส่วนโค้ งอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มความหนาเส้ นได้
วัตถุที่เขียนขึ ้นโดยคําสัง่ Polyline จะมีคณ ุ สมบัตเิ ป็ นวัตถุเดียว เช่นรูปสีเ่ หลี่ยมที่เขียนโดยคําสัง่ Pline หรือ
Rectangle จะมีคณ ุ สมบัติเป็ น 1 วัตถุ แต่ถ้าเขียนจากคําสัง่ Line ประกอบด้ วย 4 วัตถุ หรือ 4 เส้ น ขันตอนการ้
ใช้ คําสัง่ Polylline มีดงั นี ้

Menu Browser > Draw > Polyline


Specify start point: 3,3 กําหนดพิกัดเริ่มต้ น กด Enter
Current line-width is 0.0000
Specify next point or [Arc/Close/Halfwidth/Length/Undo/Width]: @5,0 พิกัดจุดที่ 2 กด Enter
Specify next point or [Arc/Close/Halfwidth/Length/Undo/Width]: @0,3 พิกัดจุดที่ 3 กด Enter
Specify next point or [Arc/Close/Halfwidth/Length/Undo/Width]: A เมื่อต้ องการเขียน arc กด
Enter @3,0 พิกัดจุดปลายอีกข้างของ arc (จุดที่ 4) กด Enter
Specify endpoint of arc or[Angle/fCEnter/Close/Direction/Halfwidth/Line/Radius/Second
pt/Undo/Width]: L เมื่อต้ องการเขียน Line กด Enter
Specify next point or [Arc/Close/Halfwidth/Length/Undo/Width]: C เมื่อต้ องการ close กด
Enter

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 18 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

Arc เป็ นการปรับจากการเขียนเส้นตรงให้ เป็ นเส้ นโค้ ง


Close เป็ นการลากเส้นปิ ดจากการลากเส้ นจากจุดล่าสุดไปยังจุดแรกของการเขียนเส้ นใน
คราวนัน้ และเป็ นการจบคําสัง่ ด้ วย
Halfwidth กําหนดความหนาครัง้ หนึ่งให้ กบั เส้นโพลีไลน์เซกเมนต์ตอ่ ไปนี ้
Length การกําหนดความยาวของเส้ นตรงเซกเมนต์ตอ่ ไปในทิศทางเดิมจากจุดสุดท้ าย
Undo ย้ อนกลับคําสัง่ ที่ใช้ เขียนครัง้ ล่าสุด
Width การ กําหนดความหนาของเส้นโพลีไลน์เซกเมนต์ตอ่ ไป

การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ Polyline
คําสัง่ Modify Polyline เป็ นการเปลีย่ นแปลงและแก้ ไขคุณสมบัติตา่ งๆ ของ Polyline เช่น ความหนา
(width) การเชื่อมต่อของเส้ นหรือวัตถุหลายๆ วัตถุให้ เป็ นวัตถุเดียวหรื อเป็ น Polyline มีขนตอนดั
ั้ งนี ้

Modify > Object > Polyline


Select polyline: เลือกวัตถุหรื อ Polyline ที่ต้องการแก้ ไข
Object Selected is not a polyline
Do you want to turn it into one? <Y> ตอบ y เมื่อต้ องการเชื่อมต่ อวัตถุ กด Enter
Object selected is not a polyline
Do you want to turn it into one? <Y> ตอบ y เมื่อต้ องการเชื่อมต่ อวัตถุ กด Enter
Enter an option [Close/Join/Width/Edit vertex/Fit/Spline/Decurve/Ltyjpe gen/Undo]: j แทน
เงื่อนไข Join เพื่อเชื่อมต่ อเส้ น กด Enter
Select objects: เลือกเส้ นที่ต้องการทําเป็ น Polyline จนครบแล้ ว กด Enter
Enter an option [Open/Join/width/Edit vertex/Fit/Spline/Decurve/Ltype gen/Undo]: w แทน
เงื่อนไข width เพื่อเพิ่มความหนาของเส้ น กด Enter
Specify new width for all segments: 0.2 ป้อนค่ าความหนาของเส้ นตามต้ องการ กด Enter
Enter an option [Open/Join/Width/Edit vertex/Fit/Spline/Decurve/Ltyjpe gen/Undo]: j แทน
เงื่อนไข Join เพื่อเชื่อมต่ อเส้ น กด Enter
Specify new width for all segments: 0.2 ป้อนค่ าความหนาของเส้ นตามต้ องการ กด Enter
Enter an option [Open/Join/Width/Edit vertex/Fit/Spline/Decurve/Ltype gen/Undo]: ป้อนค่ า
เงื่อนไขอื่นๆ อีกตามต้ องการ ถ้ าต้ องการออกจากคําสั่งให้ กด Enter

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 19 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

คําสั่ง Polygon
ใช้ สําหรับเขียนรูปหลายเหลีย่ มด้ านเท่า ตังแต่
้ 3 ไปจนถึง 1,024 ด้ าน ซึ่งแบ่งออกเป็ น 2 แบบ คือ
Inscribed Polygon และ แบบ Circumscribed Polygon มีรูปแบบดังนี ้

Menu Browser > Draw > Polygon


Enter number of sides <4>: 6 พิมพ์ จาํ นวนด้ านของรูปหลายเหลี่ยมที่ต้องการ
Specify center of polygon or [Edge]: กําหนดจุดศูนย์ กลางของรูปหลายเหลี่ยม หรือพิมพ์ E
เพื่อเลือกตัวเลือก Edge
Enter an option [Inscribed in circle/Circumscribed about circle] <I>: พิมพ์ I หรื อ C เพื่อ
เลือกรูปแบบการเขียนรูปหลายเหลี่ยม
Specify radius of circle: ใส่ ค่ารัศมีของวงกลมอ้ างอิงเพื่อกําหนดขนาดรัศมีของรูป
หลายเหลี่ยม

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 20 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

Menu Browser > Draw > Polygon


Enter number of sides <4>: 6 พิมพ์ จาํ นวนด้ านของรู ปหลายเหลี่ยมที่ต้องการ
Specify center of polygon or [Edge]: E พิมพ์ Edge
Specify first endpoint of edge : คลิกที่จุด A
Second endpoint of edge : คลิกที่จุด B กด Enter

Edge กําหนดด้ านหนึ่งด้ านของรูปหลายเหลี่ยมตามความยาวที่กําหนด


Center of polygon หากไม่เลือกตัวเลือก Edge โปรแกรมจะรอรับการกําหนดจุด
ศูนย์กลางรูปหลายเหลี่ยมด้ านเท่า
Inscribed Polygon พิมพ์ I เพื่อเลือกรูปหลายเหลีย่ มที่มีมมุ ทุกมุมสัมผัสส่วนโค้ งของวง
กลมอ้ างอิง
Circumscribed Polygon พิมพ์ C เพื่อเลือกรูปหลายเหลี่ยมที่มีด้านทุกด้ านสัมผัสส่วนโค้ ง
ของวงกลมอ้ างอิง

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 21 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

คําสั่ง Rectangle
เป็ นคําสัง่ ใช้ ในการเขียนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ าหรือสี่เหลี่ยมจัตรุ ัส ให้ ได้ ขนาดตามต้ องการ โดยกําหนดจุด
เป็ นมุมในแนวทแยงตรงข้ าม มีขนตอนการใช้
ั้ คําสัง่ ดังนี ้

Menu Browser > Draw > Rectangle


Specify first corner point or [Chamfer/Elevation/Fillet/Thickness/Width]: 30,30 กําหนดพิกัด
มุมแรกแล้ วกด Enter
Specify other corner point: @60,30 กําหนดพิกัดมุมตรงข้ าม กด Enter

ทางเลือกของคําสัง่ Rectangle มีความหมายดังต่อไปนี ้


Chamfer เป็ นการกําหนดระยะในการลบมุมของรูปสีเ่ หลีย่ มที่จะสร้ างเป็ นเส้ นตรง
Elevation ใช้ สําหรับกําหนดระดับความสูงจากระนาบ XY ของสี่เหลีย่ มใน 3 มิติ
Fillet เป็ นการกําหนดรัศมีในการมนมุมของรูปสีเ่ หลีย่ มที่จะสร้ าง
Thickness ใช้ สําหรับกําหนดความลึกในแนวแกน X ใน 3 มิติของรูปสีเ่ หลี่ยม
Width กําหนดความหนาของเส้นกรอบสีเ่ หลี่ยม

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 22 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

คําสั่ง Arc
ใช้ สําหรับเขียนเส้ นโค้ งซึ่ง Arc เป็ นส่วนหนึ่งของเส้นรอบวงของวงกลม โดยมีตวั เลือกต่างๆ ที่มคี วาม
เหมาะสมกับการเขียนส่วนโค้ งลงบนจุดที่แตกต่างกันออกไป มีวิธีการดังต่อไปนี ้

P2 P3

P1

Menu Browser > Draw > Arc > 3 Points


Specify start point of arc or [CEnter]: P1 กําหนดจุดเริ่มต้ นของส่ วนโค้ ง
Specify second point of arc or [CEnter/ENd]: P2 กําหนดจุดที่ส่วนโค้ งลากผ่ าน
Specify end point of arc: P3 กําหนดจุดสิน้ สุดของส่ วนโค้ ง

เมื่อเราเรียกใช้ คําสัง่ นี ้จากเมนูบาร์จะปรากฏตัวเลือกต่าง ๆ ซึ่งแต่ละตัวเลือกมีความเหมาะสมกับการ


เขียนเส้ นโค้ งในตําแหน่งที่แตกต่างกัน
3 Points กําหนดจุดเริ่มต้ น จุดใดจุดหนึ่งบนส่วนโค้ งและจุดสิ ้นสุด
Start, Center, End กําหนดจุดเริ่มต้ น จุดศูนย์กลางของส่วนโค้ งและจุดสิ ้นสุด
Start, Center, Angle กําหนดจุดเริ่มต้ น จุดศูนย์กลางของส่วนโค้ งและมุมรวม
Start, Center, Length กําหนดจุดเริ่มต้ น จุดศูนย์กลางของส่วนโค้ งและความยาวคอร์ด

Start, End, Angle กําหนดจุดเริ่มต้ น จุดสิ ้นสุดและมุมรวม


Start, End, Direction กําหนดจุดเริ่มต้ น จุดสิ ้นสุดและทิศทาง

Start, End, Radius กําหนดจุดเริ่มต้ น จุดสิ ้นสุดและรัศมีของส่วนโค้ ง


Center, Start, End กําหนดจุดศูนย์กลางของส่วนโค้ง จุดเริ่มต้ นและมุมรวม
Center, Start, Length กําหนดจุดศูนย์กลางของส่วนโค้ง จุดเริ่มต้ นและความยาวคอร์ด
Continue ใช้ กรณีที่ต้องการเขียนเส้นโค้ งที่ตอ่ เนื่องกับเส้ นโค้งที่ได้ เขียนขึ ้นด้ วย
คําสัง่ Arc ครัง้ ล่าสุด

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 23 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

คําสั่ง Circle
ใช้ สําหรับเขียนรูปวงกลม โดยจะมีตวั เลือกต่างๆ ที่มคี วามเหมาะสมกับการเขียนวงกลมลงบนจุดที่
แตกต่างกันออกไป โดยสามารถเรียกใช้ งานคําสัง่ ได้จาก

Menu Browser > Draw > Circle


Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr (tan tan radius)]: กําหนดจุดศูนย์ กลางของ
วงกลม
Specify radius of circle or [Diameter] <63.8659>: ใส่ ค่ารัศมีท่ตี ้ องการ

ตัวเลือกสําหรับการสร้ างวงกลม
Center , Radius ใช้ สร้ างวงกลมโดยกําหนดจุดศูนย์กลาง และกําหนดค่ารัศมีของวงกลม
Center , Diameter ใช้ สร้ างวงกลมโดยกําหนดจุดศูนย์กลาง และกําหนดค่าของเส้ นผ่านศูนย์กลาง
ของวงกลม
2 Points ใช้ สร้ างวงกลมโดยกําหนดจุด 2 จุด
3 Points ใช้ สร้ างวงกลมโดยกําหนดจุด 3 จุด
Tan, Tan, Radius ใช้ สร้ างวงกลมโดยกําหนดให้ เส้นรอบวงสัมผัสกับเส้ น 2 จุด และกําหนดค่า
รัศมีของวงกลม
Tan, Tan, Tan ใช้ สร้ างวงกลมโดยกําหนดให้ เส้นรอบวงสัมผัสกับเส้ นทัง้ 3 จุด

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 24 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

คําสั่ง Ellipse
เป็ นคําสัง่ สําหรับเขียนวงรี วงรี จะมีแนวแกนอยู่ 2 แกน คือ แกนยาว (Major axis) และแกนสัน้
(Minor axis) จุดแนวแกนทังสองตั ้ ดกันเรียกว่าจุดศูนย์กลางของวงรี (Ellipse Center) มีวิธีการดังนี ้

1. ขันตอนแรกการเขี
้ ยนวงรี เมื่อรู้พิกดั จุดศูนย์กลางและรัศมี ของแกนทังสอง
้ มีดงั นี ้

Menu Browser > Draw > Ellipse > Center


Specify axis endpoint of ellipse of [Aec/Center]: _c
Specify center of ellipse: 8,5 พิกัดจุดศูนย์กลางของวงรี กด Enter
Specify endpoint of axis : @5<0 ระยะรัศมีของแกนที่ 1 กด Enter
Specify distance to other axis or [Rotation]: 3 ระยะรัศมีของแกนที่ 2 กด Enter

2. ขันตอนการเขี
้ ยนวงรี เมื่อทราบความยาวของแกนที่ 1 และรัศมีของแกนที่ 2 มีดงั นี ้

Menu Browser > Draw > Ellipse > Axis, End


Specify axis endpoint of ellipse of [Arc/Center]: 3,5 พิกัดจุดปลายที่ 1 กด Enter
Specify Other endpoint of axis: @10<0 พิกัดจุดปลายที่ 2 ของแกนที่ 1 กด Enter
Specify distance to other axis or [Rotation]: 3 ระยะรัศมีของแกนที่ 2 กด Enter

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 25 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

คําสั่ง Spline
เป็ นคําสัง่ ในการเขียนเส้ นโค้ งสไปลน์ (Spline Curve) ที่เส้ นโค้ งจะปรับเรียบผ่านจุดหลาย ๆ จุด ที่เป็ น
เส้ นโค้ งที่เรียกว่า NURBS (Non unit form Rational B-Spline Curve) โดยการกําหนดค่า Tolerance มี
ประโยชน์ในการเขียนเส้นคอนทัวร์ (Contour line) ของพื ้นที่, เส้ นร่างในการเขียนชิ ้นส่วนที่มีรูปร่างไม่แน่นอน
มีวิธีการดังนี ้

Menu Browser > Draw > Spline


Specify first point or [Object]: คลิกตรงจุดที่ 1
Specify next point: คลิกตรงจุดที่ 2
Specify next point or [Close/Fit tolerance] <start tangent>: คลิกตรงจุดที่ 3, 4, 5, 6, 7, 8
Specify next point or [Close/Fit tolerance] <start tangent>: กดปุ่ ม Enter

Specify start tangent: เลื่อนเมาส์ ไปจุดที่9แล้ วเลื่อนไปมาอีกครัง้ เพื่อปรับมุมเอียงของจุด


เริ่มต้ นของเส้ นโค้ งที่ 1 คลิกเมื่อได้ มุมเริ่มต้ นที่ต้องการ
Specify end tangent: เลื่อนเมาส์ ไปจุดที่ 10 แล้ วเลื่อนไปมาอีกครัง้ เพื่อปรับมุมเอียงของจุด
สิน้ สุดของเส้ นโค้ งที่ 8 คลิกเมื่อได้ มุมสิน้ สุดที่ต้องการ

Close ใช้ ตวั เลือกนี ้เพื่อสร้ างสไปลน์ (Spline) แบบปิ ด


Fit Tolerance ใช้ ตวั เลือกนี ้เพื่อกําหนดค่าความโค้ งของสไปลน์โดยที่โปรแกรมกําหนดมาให้ ตวั เลือกนี ้มี
ค่าเป็ นศูนย์ซึ่งจะทําให้ เส้ นสไปลน์วิ่งผ่านจุด Fit point ทุกจุดหากกําหนดค่าตัวเลือกนี ้ยิ่งมากเท่าใด
เส้ นโค้ งสไปลน์จะมีรูปร่างใกล้ เคียงกับเส้นตรงมากเท่านัน้

Fit Tolerance =0 Fit Tolerance =100


เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 26 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

คําสั่ง Point
ใช้ สําหรับเขียนจุดบนพื ้นที่วาดภาพ เป็ นคําสัง่ สําหรับตัวมาร์กเกอร์ (Marker) เพื่อกําหนดระยะ หรือ
ขอบเขต เช่น จุดศูนย์กลาง จุดมุมมองของ Perspective เป็ นต้ น โดยที่เรียกคําสัง่ ได้ จากไอคอน หรื อ
Command: Point หรื อเมนู Draw > Point

การใช้ คําสัง่ Point ก็มีวิธีการเขียนอยู่ 2 วิธี คือ


Single point การเขียนจุดเพียงจุดเดียวแล้ วสิ ้นสุดคําสัง่
Multiple point การเขียนจุดได้จํานวนมากจนกว่าจะ Enter เพื่อยุติคําสัง่

ตามปกติจดุ ที่เขียนขึ ้นบนพื ้นที่วาดภาพเราจะมองไม่คอ่ ยเห็น เนื่องจากจุดที่โปรแกรมกําหนดมาให้ มีขนาดเล็ก


มาก ดังนันเราก็
้ สามารถที่จะกําหนดรูปแบบของจุดได้ หลายรูปแบบด้ วยคําสัง่ Format > Point Style... ก็จะ
ปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์

เราก็สามารถที่จะเลือกรูปแบบต่าง ๆ ของจุดได้ พร้ อมทังกํ ้ าหนดขนาดของจุดได้ โดยพิมพ์ตวั เลขในช่องสี่เหลี่ยม


แล้ วข้ อความ "Point size" ซึ่งมีอยู่ 2 วิธี คือ
 กํ าหนดเป็ นเปอร์ เซ็นต์ของพื ้นที่หน้ าจอ เมือ ่ ใช้ คําสัง่ ย่อ/ขยาย จะมีผลให้ จดุ มีการเปลี่ยนแปลงด้ วย
Graphic screen (Set Size Relative to Screen)
 กํ าหนดขนาดตามหน่วยที่ ตงค่ ั ้ าไว้ เมื่อใช้ คําสัง่ ย่อ/ขยาย จะไม่มีผลต่อจุดดังกล่าว (Set Size in
Absolute Units)
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 27 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

คําสั่ง Divide
คําสัง่ Divide เป็ นคําสัง่ ที่ใช้ สําหรับแบ่งวัตถุออกเป็ นส่วนๆ ที่เท่ากัน โดยเขียนจุดหรือ Point บนวัตถุนนั ้
มีขนตอนการใช้
ั้ คําสัง่ ดังนี ้

Menu Browser Draw > Point > Divide


Select object to divide: คลิกเลือกวัตถุท่ ตี ้ องการ
Enter the number of segments or [Block]: (กําหนด segment ที่ต้องการแบ่ ง) กด Enter

ในกรณีที่ไม่เห็นจุดหรือ Point จะต้ องทําการเปลีย่ นรูปแบบของจุดเสียก่อน โดยใช้ คําสัง่ ดังนี ้

Menu Browser > Format > Point Style จะได้ Point Style dialog box คลิกเลือกรูปแบบจุดที่ต้องการ แล้ ว
คลิกปุ่ ม OK

คําสั่ง Measure
สําหรับการแบ่งวัตถุให้ มีระยะห่างตามที่กําหนด ทําได้ โดยใช้ คําสัง่ Measure ดังนี ้

Menu Browser > Draw > Point > Measure


Select object to measure: คลิกเลือกวัตถุท่ ตี ้ องการแบ่ ง
Specify length of segment or [Block]: กําหนดความยาวของ segment กด Enter

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 28 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

ในกรณีที่ไม่เห็นจุดหรื อ Point จะต้ องทําการเปลีย่ นรูปแบบของจุดเสียก่อน โดยใช้ คําสัง่ ดังนี ้


Menu Browser > Format > Point Style จะได้ Point Style dialog box เลือกรูปแบบจุดที่ต้องการ แล้ วคลิกปุ่ ม
OK

ข้ อควรระวัง:
ในการเลือกวัตถุ ตําแหน่งพิกดั ที่คลิกจะมีความสําคัญ เช่น ถ้ าคลิกเลือกใกล้ปลายข้ างใดของ line หรือ
arc โปรแกรมจะเริ่มวัดระยะจากปลายข้ างนัน้

คําสั่ง Boundary
ใช้ สร้ างรูปวาดที่เป็ นขอบเขตจากรูปวาดที่มีอยู่แล้ ว โดยเลือกเมนูคําสัง่

Menu Browser Draw > Boundary… แล้ วจะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Boundary Creation

โดยหลักก็คือใช้ ไดอะล็อกบ็อกซ์เพื่อสร้ างรูปวาดที่เป็ นขอบเขต ด้ วยการเลือกปุ่ ม Pick Points และเลือก


จุดภายในพื ้นที่ปิด ซึ่งเกิดขึ ้นจากรูปวาดอื่น โดยจะเป็ นหลายรูปวาดก็ได้ และสามารถเลือกกําหนดว่าจะให้
ผลลัพธ์เป็ นชนิด Polyline หรื อ Region จากดร็อปดาวน์ลสิ ต์ Object Type สําหรับตัวเลือกอื่นๆ ให้ ดจู ากคําสัง่
Bhatch

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 29 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

คําสั่ง Region ปิ ดจุด Entity


เป็ นคําสัง่ เพื่อจัดการกับพื ้นที่ที่ถกู ล้ อมรอบ ไม่สามารถใช้ ได้ กบั เส้นตรง หรือเส้ นโค้ งได้ โดยคําสัง่ นี ้จะ
เปลี่ยนให้ วตั ถุเหลือจุด Entity เพียงแค่จดุ เดียวเท่านัน้ โดยเรี ยกคําสัง่ ได้ จากไอคอน หรื อที่ Command : Region

Menu Browser > Draw > Region


Select objects : คลิกวงกลมแรก
Select objects : คลิกวงกลมที่สอง
Select objects : Enter
2 loops extracted.
2 Regions created. คําสั่งแจ้ งว่ าเสร็จสิน้ เรียบร้ อย

ก่ อนทํา Region หลังทํา Region


เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 30 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

คําสั่ง Revision Cloud


คําสัง่ Revision cloud เป็ นความสามารถใหม่เพิ่งมีใน AutoCAD 2004 และ AutoCAD 2005 ใช้ วาด
ก้ อนเมฆ (Cloud) ที่มกั ใช้ เพื่อแสดงถึงตําแหน่งที่มีการแก้ ไข (Revision) ให้ เห็นได้ชดั เจน รูปวาดนี ้จริงๆ แล้ วจะ
เป็ นเส้ นโค้ งแบบโพลีไลน์ที่ตอ่ เนื่องกันไป สามารถกําหนดได้ 2 แบบ คือ Normal และ Calligraphy ดังรูปข้ างล่าง

แบบ Normal แบบ Calligraphy

สามารถสร้ าง Revision cloud ได้ ทงจากการเลื


ั้ ่อนตัวชี ้เพื่อกําหนดตําแหน่งเอง หรือการแปลงจากวัตถุที่
มีอยู่ เช่น รูปวงกลม วงรี โพลีไลน์ หรือสไปลน์ สําหรับการแปลงจากรูปที่มีอยู่นี ้ หากกําหนดตัวแปรระบบ
DELOBJ เป็ นค่า 1 (ค่าดีฟอลต์) จะให้ ผลลบวัตถุออกไปและแทนที่ด้วยรูปก้ อนเมฆ ความยาวของเส้ นโค้ งถูก
กําหนดควบคุมได้ นอกจากเราจะเลื่อนตัวชี ้เพื่อให้ คําสัง่ วาดเองแล้ ว เรายังสามารถกําหนดจุดตําแหน่งที่ต้องการ
ได้ ด้วย
ก่อนลงมือวาด Revision cloud ให้ ซูมและแพนส่วนพื ้นที่ที่จะวาดให้ เห็นครบทุกส่วนเสียก่อน เนื่องจาก
คําสัง่ นี ้ไม่รับคําสัง่ แบบ Transparent จึงไม่สามารถซูมและแพนได้ อีกในระหว่างใช้ คําสัง่ นี ้อยู่ นอกจากนี ้ก็ควร
ปิ ดการใช้ ออบเจ็กต์สแนปและออโธด้ วย เพื่อให้ การลากเส้นเป็ นไปอย่างราบรื่น ได้ แนวโค้ งที่สวยงาม

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 31 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

คําสั่ง Helix
เป็ นคําสัง่ Helix เป็ นการสร้ างรูปเกลียว ซึ่งสามารถกําหนดจํานวนเกลียว เส้ นผ่าศูนย์กลาง หรือด้ านที่
จะหมุนเกลียว ว่าจะให้ หมุนตามเข็มหรื อทวนเข็มนาฬิกาก็ได้ สามารถเรียกคําสัง่ ได้ ที่เมนู

Menu Browser > Draw > Helix หรื อ Command : Helix


Command : Helix
Number of turns = 5.0000 Twist=CCW
Specify center point of base : คลิกจุด A เพื่อกําหนดจุดศูนย์ กลาง
Specify base radius or [Diameter] <1.0000> : คลิกจุด B เพื่อกําหนดรัศมีของวงใน
Specify top radius or [Diameter] <1.0000> : คลิกจุด C เพื่อกําหนดปลายขอบของเกลียว
Specify helix height or [Axis endpoint/Turns/turn Height/tWist] <1.0000> : Enter

ทางเลือกย่ อยของคําสั่ง
Axis endpoint เมื่อคุณพิมพ์ตวั A ลงไปในทางเลือกย่อย รูปแบบของเกลียวจะเปลี่ยนไป จากเดิมเรา
จะเห็นเกลียวจากด้ านบน แต่คําสัง่ จะเปลี่ยนให้ เห็นเกลียวในด้ านข้ างแทน
Turns สามารถกําหนดได้ วา่ จะให้ มเี กลียวทังหมดกี
้ ่ชนั ้ จากรูปตัวอย่างด้ านบน จะมีเกลียว
ซ้ อนกันทังหมด
้ 3 ชันด้
้ วยกัน

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 32 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

Turn Height โปรแกรมจําคํานวณระยะห่างระหว่างเกลียวตามค่าที่เราตังไป ้ เช่น ระยะห่างจาก


Base Radius จนถึง Top Radius มีคา่ เท่ากับ 100 หน่วย ถ้ าเราใส่คา่ H เท่ากับ 20 ก็จะได้ เกลียวทังหมด
้ 5 ชัน้
แต่ถ้าใส่คา่ H ไป 50 ก็จะได้ เกลียวทังหมด
้ 2 ชันนั
้ น่ เอง

tWist เลือกว่าจะให้ ปลายเกลียวหมุนไปทางใด มี 2 ทางเลือกดังนี ้


CW หมุนตามเข็มนาฬิกา
CCW หมุนตามเข็มนาฬิกา

Axis endpoint

Turns

10 ชิ ้น 20 ชิ ้น

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 33 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

turn Height

100 หน่วย 50 หน่วย

tWist

CW หมุนตามเข็มนาฬิกา CCW หมุนทวนเข็มนาฬิกา

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 34 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Drawing Command

คําสั่ง Multiline
คําสัง่ Multiline เป็ นการสร้ างเส้นคูห่ รือการเขียนเส้ นตรงให้ ขนานกันไปตลอด โดยที่กําหนดจํานวนเส้น
รูปแบบของเส้ น สี มีประโยชน์มากในการเขียนเส้ นคู่ เช่น ผนังอาคาร เสา คาน เป็ นต้ น โดยที่สามารถเรียกคําสัง่
ได้ จากเมนู Menu Browser > Draw > Multiline หรือ Command : Mline

คําสั่ง Wipeout
เป็ นคําสัง่ สร้ างกรอบหลายเหลีย่ มโดยใช้ เส้ นตรง ซึ่งคุณสามารถคลิกเลือกจุดวางให้ กบั มุมต่างๆ ของรูป
ไปอย่างไม่มีที่สิ ้นสุด โดยเรี ยกคําสัง่ ได้ ที่เมนู

Menu Browser > Draw > Wipeout หรื อ Command : Wipeout


Command : Wipeout
Specify first point or [Frames/Polyline] <Polyline> : คลิกจุด A
Specify next point : คลิกจุด B
Specify next point or [Undo] : คลิกจุด C
Specify next point or [Close/Undo] : คลิกจุด D
Specify next point or [Close/Undo] : คลิกจุด E
Specify next point or [Close/Undo] : คลิกจุด F
Specify next point or [Close/Undo] : คลิกจุด G
Specify next point or [Close/Undo] : คลิกจุด H
Specify next point or [Close/Undo] : Enter

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-04-I Page : 35 of 35 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

บทที่ 5 คําสั่งพืน้ ฐานที่แก้ ไขและปรับปรุงชิน้ งาน


คําสัง่ พื ้นฐานที่แก้ ไขและปรับปรุงชิ ้นงาน เป็ นคําสัง่ ที่มีประโยชน์ตอ่ การเขียนแบบเป็ นอย่างมาก
เนื่องจากในการเขียนแบบด้ วย AutoCAD นัน้ เราจะไม่นิยมเขียนแบบด้ วยคําสัง่ ในการเขียนภาพที่กล่าวมาแล้ ว
ในบทที่แล้ ว ให้ เสร็จสิ ้นในเวลาเดียว เพราะว่าจะทําให้ เสียเวลาในการเขียนแบบเป็ นอย่างมาก โดยทัว่ ไปเราจะ
เขียนแบบคร่าวๆ โดยใช้ คําสัง่ ในการเขียนภาพแล้ วจึงมาเพิ่มเติมแก้ ไขเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะมีความสะดวกและ
รวดเร็วและประหยัดเวลาในการทํางานเขียนแบบได้ อย่างมาก โดยใช้ คําสัง่ ต่างๆ ที่จะกล่าวถึงในบทนี ้

คําสั่ง Entity Grips


คําสัง่ Entity Grips เป็ นคําสัง่ ที่ง่ายที่สดุ สําหรับการดัดแปลง และแก้ ไขชิ ้นงาน ซึ่งในคําสัง่ เดียวสามารถ
ใช้ ได้ อีก 5 คําสัง่ ย่อย ได้ แก่ การยืด (Stretch), การเคลื่อนย้ าย (Move), การหมุน (Rotate), การขยาย (Scale)
และการพลิกกลับด้ าน (Mirror) ดังยกตัวอย่างอธิบาย

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 1 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

ยกตัวอย่างโดยการเขียนเส้ นตรง แล้ วลองลากเมาส์ทบั เส้นที่ต้องการเปลี่ยนแปลง จะปรากฏจุด Grip 3


จุด จากนันให้
้ นําเมาส์ไปคลิกที่จดุ Grip ด้ านขวามือแล้ วลากไปทางด้ านขวาให้ ไปสุดที่อีกเส้ นหนึ่ง แล้ วจึงกดปุ่ ม
Esc ที่คีย์บอร์ ด

แล้ วเราลองมาดูที่ Command Line หลังจากที่ทําการลากเมาส์จนเกิดจุด Grip และเลือกจุดที่ต้องการ


แก้ ไขแล้ ว จะมีทางเลือกของคําสัง่ ดังนี ้
Command :
** STRETCH **
Specify stretch point or [Base point/Copy/Undo/eXit] :
** MOVE **
Specify move point or [Base point/Copy/Undo/eXit] :
** ROTATE **
Specify rotation angle or [Base point/Copy/Undo/Reference/eXit] :
** SCALE **
Specify rotation angle or [Base point/Copy/Undo/Reference/eXit] :
** MIRROR **
Specify move point or [Base point/Copy/Undo/eXit] :

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 2 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

การทําสําเนาวัตถุ
ดังที่ยกตัวอย่างไปแล้ ว คือการยืดเส้นให้ ไปบรรจบกับอีกเส้ นหนึ่ง ซึ่งเป็ นการทําได้ เพียง 1 เส้ น แต่ถ้า
ต้ องการให้ เพิ่มอีกหลายๆ เส้ น ให้ ทําดังนี ้

Command :
** STRETCH **
Specify stretch point or [Base point/Copy/Undo/eXit] : พิมพ์ C

ทําให้ สามารถยืดเส้นออกมาได้ อีกหลายๆ เส้นตามความต้องการ และเมื่อเราคลิกขวาขณะที่เราจับที่จดุ


Grip อยู่นนั ้ จะปรากฏไดอะล็อกบอกซ์มาเพื่อให้ เลือกฟั งก์ชนั่ อื่นๆ ตามที่ต้องการ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 3 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

คําสั่ง Erase
เป็ นคําสัง่ ที่ใช้ สําหรับลบวัตถุ (Objects) ที่ไม่ต้องการออกไป ซึ่งสามารถที่จะเลือกลบทีละชิ ้นส่วน หรือ
เป็ นกลุม่ ก็ได้ โดยทําการ Pick หรื อลากเมาส์ครอบ หรือเพียงให้ โดนบางส่วนของวัตถุก็จะเกิดเส้นประแล้ ว จึงลบ
ด้ วยการคลิกเมาส์ขวา หรือกดแป้น Enter มีวิธีการดังนี ้

Menu Browser > Modify > Erase


Select Objects: 1 found คลิกเลือกวัตถุท่ ตี ้ องการลบ
Select Objects: 1 found , 2 total คลิกเลือกวัตถุท่ ตี ้ องการลบ
Select Objects: 1 found , 3 total คลิกเลือกวัตถุท่ ตี ้ องการลบ
Select Objects: เมื่อเลือกวัตถุท่ ตี ้ องการลบหมดแล้ วกด Enter

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 4 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

คําสั่ง Copy
คําสัง่ Copy เป็ นการคัดลอกวัตถุ ช่วยในการสร้ างรูปซํ ้าจากกลุม่ หรือหนึง่ รูปวาดอีกหนึ่งชุดหรือมากกว่า
ได้ อย่างรวดเร็ว ตังแต่
้ AutoCAD 2004 จนถึง AutoCAD 2009 คําสัง่ Copy ทํางานต่างไปจากรีลีสก่อนๆ คือจะ
ทํางานแบบ Multiple โดยทันที คือ ทําซํ ้าไปยังหลายๆ ตําแหน่ง ในลักษณะที่ทกุ ๆ อย่างเหมือนกับภาพต้ นแบบ
ทุกประการ มีขนตอนการทํ
ั้ างานดังนี ้

Menu Browser > Modify > Copy


Select objects: คลิกเลือกวัตถุท่ ตี ้ องการ Copy
Specify base point or displacement : (กําหนดจุดอ้ างอิง แล้ วกด Enter)
Specify second point of displacement or < use first point as displacement>: (เลือกหรือ
กําหนดจุดที่ต้องการวางวัตถุ ซึ่งสามารถวางกี่จดุ ก็ได้
เมื่อได้ ท่ ีต้องการแล้ วก็ กด Enter)

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 5 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

คําสั่ง Mirror
คําสัง่ Mirror เป็ นคําสัง่ เพื่อใช้ สําหรับคัดลอกวัตถุอีกแบบหนึ่ง ที่ใช้ หลักการของกระจกเพื่อสะท้ อนสร้ าง
วัตถุซํ ้า สําหรับเขียนแบบภาพที่มีลกั ษณะสามาตรกัน โดยการวาดภาพเพียงครึ่งเดียว แล้ วใช้ คําสัง่ Mirror ก็จะ
ได้ ภาพส่วนที่เหลือ ซึ่งจะมีลกั ษณะเช่นเดียวกับภาพที่จากการส่องกระจกเงา มีวิธีการดังนี ้

Menu Browser > Modify > Mirror

Select objects: (เลือกวัตถุท่ ตี ้ องการสร้ างภาพเหมือนพลิกกลับด้ านแบบกระจก)


Select objects: (กด Enter)
Specify first point of mirror line: (คลิกตรงจุดที่ 1 ใช้ Object snap Quadrant เพื่อกําหนดจุด
แรกของระนาบพลิกกลับ)
Specify second point of mirror line: (คลิกตรงจุดที่ 2 เพื่อกําหนดจุดที่สองของระนาบ
พลิกกลับ)
Delete source objects? [Yes/No] <N>: ตอบ Y ถ้ าต้ องการลบวัตถุเดิม ตอบ N ถ้ าไม่ ต้องการ
ลบ กด Enter

รูปซํ ้าที่ได้ นี ้จะเป็ นรูปวาดที่กลับด้ านซ้ าย-ขวา แบบผลการสะท้ อนในกระจกเงา สําหรับรูปวาดประเภท


ตัวอักษรหรือข้ อความใดๆ
การกลับด้ านจะถูกควบคุมด้ วยตัวแปรระบบ MIRRTEXT มีคา่ เป็ น 1 สําหรับการกําหนดให้ ตวั หนังสือ
กลับด้ าน และถ้ าค่าเป็ น 0 สําหรับไม่ให้ ตวั หนังสือกลับด้ าน

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 6 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

คําสั่ง Offset
เป็ นการสร้ างวัตถุให้ ขนานกับวัตถุชิ ้นเดิม โดยกําหนดให้ มรี ะยะ distance และทิศทาง หรือพิกดั ที่
กําหนด โดยมีขนตอนการทํ
ั้ างาน ดังนี ้

1. ในกรณีท่ กี ําหนดระยะ distance ที่ต้องการวางวัตถุ

Menu Browser > Modify > Offset


Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <1.0000>: 20 (ระยะ distance ที่ต้องการ)
Select object to offset or < Exit/Undo >: คลิกวัตถุท่ ตี ้ องการ offset
Specify point on side to offset: คลิกเลือกจุดหรือด้ านที่ต้องการ offset หรือวางวัตถุ
Select object to offset or < Exit/Undo >: คลิกวัตถุท่ ตี ้ องการ offset หรื อกด Enter เพื่อจบคําสั่ง

ทางเลือกย่ อยที่เหลือ
Erase เลือกเพื่อต้ องการลบชิ ้นงานต้ นแบบออกไป ให้ ปรากฏเฉพาะชิ ้นงานที่กําลังจะทําใหม่เท่านัน้
เมื่อเลือกตัวเลือกนี ้แล้ ว จะมีคําถามว่าต้ องการลบชิ ้นงานต้ นแบบหรือไม่ ถ้ าลบพิมพ์ Y (Yes) ถ้ าไม่ลบ
พิมพ์ N (No) และถ้ าพิมพ์ Y ไปแล้ ว ทุกๆ ครัง้ ที่คณ
ุ ใช้ คําสัง่ Offset โปรแกรมก็จะลบชิ ้นงานต้ นแบบ
เสมอ คุณต้ องกลับมาใช้ Erase ใหม่อีกครัง้ เพื่อตังค่้ าให้ เป็ น No ในกรณีที่ไม่ต้องการลบชิ ้นงานต้นแบบ
อีกต่อไป

Layer ทําสําเนาทุกอย่างให้ ตรงตามเลเยอร์ต้นแบบ หรือเราจะตังค่


้ าเลเยอร์ใหม่ก็ได้ เช่นกัน

ก่อนใช้ คําสัง่ หลังใช้ คําสัง่

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 7 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

2. ในกรณีท่ ตี ้ องการ Offset วัตถุให้ ผ่านพิกัดตามที่กําหนด


Menu Browser > Modify > Offset
Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <20.0000>: t (หมายถึง Through หรือผ่ าน
พิกัด) กด Enter
Select object to offset or <Exit/Undo>: คลิกวัตถุท่ ตี ้ องการ offset
Specify through point: x,y ป้อนค่ าพิกัดที่ต้องการ offset กด Enter
Select object to offset or <Exit/Undo >: คลิกวัตถุท่ ตี ้ องการ offset หรื อกด Enter เพื่อจบคําสั่ง

คําสั่ง Array
เป็ นคําสัง่ ที่ใช้ ในการคัดลอกวัตถุให้ เขียนซํ ้ากันเป็ นชุดอย่างเป็ นระเบียบ ซึ่งมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ แบบ
คัดลอกซํ ้า ๆ กันรอบจุดศูนย์กลางที่กําหนด (Polar) และแบบคัดลอกซํ ้า ๆ กันในแนวตัง้ และแนวนอนเป็ น
สี่เหลี่ยม (Rectangular)

Rectangular Array Polar Array

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 8 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

การทํา Rectangular Array มีขนั ้ ตอนดังนี ้


1. เลือกที่เมนู Menu Browser Modify > Array
2. คลิกปุ่ มเรดิโอ Rectangular Array เพื่อกําหนดทําซํ ้าแบบแนวตาราง

3. คลิกเลือกปุ่ ม Select objects ไดอะล็อกบ็อกซ์นี ้จะปิ ดลงชัว่ คราว และมีพรอมต์ Select objects :
บนบรรทัดคําสัง่ ให้ เลือกรูปวาดที่จะทําซํ ้า เมื่อเลือกครบแล้ วให้ กด Enter จะกลับมาแสดง
ไดอะล็อกบ็อกซ์อีกครัง้
4. พิมพ์จํานวนแถวใน Rows (สังเกตทิศทางจากเครื่องหมายหน้ าคํา Rows จะอยู่แนวนอน ให้ นบั
ต้ นฉบับเองด้ วย) ในที่นี ้พิมพ์ 3 แล้ วกดคีย์ Tab เพื่อไปยังช่องกรอกถัดไป
5. พิมพ์จํานวนคอลัมน์ใน Columns (สังเกตทิศทางจากเครื่องหมายหน้ าคํา Columns จะอยู่แนวตัง้
นับต้ นฉบับเองด้ วย) ในที่นี ้พิมพ์ 4 แล้ วกดคีย์ Tab
6. กําหนดระยะห่างของแถวใน Row offset มีการคิดเครื่องหมายด้ วย กล่าวคือค่าลบจะห่างไปทาง
- Y หรือลงล่าง ค่าบวกจะห่างไปทาง + Y หรื อขึ ้นบน ในที่นี ้พิมพ์ 30 แล้ วกดคีย์ Tab
7. กําหนดระยะห่างของคอลัมน์ใน columns offset มีการคิดเครื่องหมายด้ วย กล่าวคือค่าลบจะห่าง
ไปทาง -X หรือไปทางซ้ าย ค่าบวกจะห่างไปทาง +X หรือทางขวา ในที่นี ้พิมพ์ 40 แล้ วกดคีย์ Tab

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 9 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

8. เท็กซ์บ็อกซ์ Angle of array ใช้ ระบุมมุ ของแนวที่จะวาดรูปซํ ้านี ้ ในที่นี ้คงค่า 0 เดิมไว้
9. สังเกตช่องภาพตัวอย่าง จะเป็ นตัวบอกทิศทางและจํานวนรูปวาดคร่าวๆ ที่จะทําซํ ้าขึ ้นได้ ถ้ าทิศทาง
หรือจํานวนทําซํ ้าผิด ให้ กลับไปแก้ ไขค่าใหม่ (โดยเฉพาะการกรอกค่า Row offset และ columns
offset ที่คิดเครื่ องหมายด้ วย)
10. คลิกปุ่ ม Preview < ไดอะล็อกบ็อกซ์จะถูกซ่อน และแสดงผลบนพื ้นที่วาดรูป
11. จะได้ ผลลัพธ์เป็ นดังรูปข้ างล่างนี ้

ต้ นฉบับ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 10 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

การทํา Polar Array มีขนั ้ ตอนดังนี ้


1. เลือกที่เมนู Menu Browser > Modify > Array
2. คลิกปุ่ มเรดิโอ Polar Array เพื่อกําหนดทําซํ ้าแบบเชิงมุม

3. คลิกปุ่ ม Select objects แล้ วเลือกรูปวาดที่จะทําซํ ้า แล้ วกด Enter


4. คลิกปุ่ ม Pick center point เลือกจุดศูนย์กลางวงกลมที่จะทําซํ ้ารอบ ในที่นี ้ให้ เลือกที่จดุ ตัดของ
เส้ นกากบาท
5. Method ในที่นี ้เลือกกําหนดค่าแบบ Total number of items & Angle to fill (จํานวนรายการ
ทังหมดและมุ
้ มที่เติม)
6. Total number of items (จํานวนรายการทังหมด) ้ ในที่นี ้ให้ พิมพ์ 7 แล้ วกดคีย์ Tab
7. Angle to fill (มุมที่จะเติม) ในที่นี ้ให้ เติมเต็มรอบแนววงกลม ดังนันพิ ้ มพ์ 360 แล้ วคลิกปุ่ ม
Preview < เพื่อดูภาพตัวอย่าง หากตรงตามต้ องการให้ คลิกปุ่ ม Accept แต่ถ้าไม่ใช่ให้ คลิก Modify
เพื่อกลับไปแก้ ไขค่ากําหนดใหม่ หากต้ องการยกเลิกจบคําสัง่ ไปเลย ให้ คลิก Cancel
8. จะได้ ผลลัพธ์เป็ นดังรูปข้ างล่างนี ้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 11 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

ต้ นฉบับ

รูปแบบของ Method
ในตัวอย่างของ Polar Array ที่ได้ ทําไปนัน้ เราจะเห็นในไดอะล็อกบ็อกซ์วา่ มีช่อง Popup List ที่ชื่อว่า
Method อยู่ ซึ่งจะมีอยู่ 3 ทางเลือก โดยที่โปรแกรมจะตังไว้
้ ให้ ที่ตวั แรก ดังจะอธิบายดังนี ้

1. Total number of items & Angle to fill


เป็ นการกําหนดค่าของ 2 ตัว ได้ แก่ จํานวนสําเนา และองศาโดยรอบ โดยตัวอย่างที่ผา่ นมาเป็ นการใช้
ชุดคําสัง่ นี ้ และทัว่ ไปจะกําหนดองศาไว้ ที่ 360 เพื่อให้ หมุนโดยรอบนัน่ เอง

2. Total number of items & Angle between items


เป็ นการกําหนดค่าของ 2 ตัว ได้ แก่ จํานวนสําเนา และองศาระหว่างตัวสําเนาอธิบายได้ วา่ สมมุตใิ ห้ เรา
กําหนดให้ ทําสําเนา 6 ชิ ้น (รวมต้ นแบบด้ วย) แล้ วใส่คา่ องศาระหว่างตัวสําเนาเท่ากับ 45 องศา รูปที่
ออกมาก็จะกลายเป็ นว่าสําเนาตัวที่ 2 ห่างจากตัวแรกไป 45 องศา เท่ากันทุกตัว แต่จะไม่ครบรอบ
เพราะว่าจะวนจนสิ ้นสุดที่ 225 องศาไม่ครบรอบวงกลม เพราะฉะนันถ้ ้ าจะให้ ครบรอบ 360 องศาใน
จํานวน 6 สําเนา ต้ องใส่คา่ องศาของสําเนาเท่ากับ 60 องศา แต่ถ้าต้ องการที่ระยะมุมที่ 45 องศา ต้ อง
เพิ่มจํานวนสําเนาเป็ น 8 จึงจะได้ครบรอบ 360 องศาพอดี

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 12 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

ดังจะแสดงให้ ดคู วามสัมพันธ์เพื่อให้ ครบ 360 องศา ดังนี ้


จํานวนสําเนา องศาระหว่างสําเนา
2 180
3 120
4 90
5 72
6 60
7 51
8 45
9 40
10 36
20 18

3. Angle to fill & Angle between items


เป็ นการกําหนดค่าของ 2 ตัวได้ แก่ มุมโดยรอบ และองศาระหว่างสําเนา ลักษณะการใส่คา่ จะคล้ ายกัน กล่าวคือ
ยกตัวอย่างให้ มมุ โดยรอบคงไว้ ที่ 360 องศา แล้ วใส่คา่ องศาระหว่างสําเนาเท่ากับ 45 องศา เราก็จะได้ จํานวน
สําเนาเท่ากับ 8 ตัว แต่เราใส่ที่ 43 องศาก็จะได้ 8 สําเนาเช่นกัน แต่จะไม่ครบรอบ 360 องศา โดยที่วงรอบของตัว
ที่ 6 จะห่างจากตัวที่ 1 มากกว่า 43 องศา คือ องศา โดยการใส่คา่ ต่างๆ นี ้ ให้ ดทู ี่ช่อง Preview เป็ นหลักเพื่อความ
สะดวกในการใส่คา่

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 13 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

คําสั่ง Move
เป็ นคําสัง่ ที่ใช้ สําหรับเคลื่อนย้ ายชิ ้นงาน หรือวัตถุจากจุดหนึ่งไปยังพิกดั ที่กําหนด ซึ่งเราสามารถที่จะ
เคลื่อนย้ ายชิ ้นงานเพียงส่วนเดียว หรื อหลายส่วนเป็ นกลุม่ ก็ได้ โดยมีขนตอนดั ั้ งนี ้

Menu Browser > Modify > Move


Select objects: คลิกเลือกวัตถุท่ ตี ้ องการ move
Select objects: เมื่อเลือกวัตถุครบแล้ วกด Enter
Select base point or displacement: กําหนดพิกัดอ้างอิง
Specify second point of displacement or <use first points as displacement>: เลือกหรือป้อน
ค่ าพิกัดที่ต้องการวางวัตถุ แล้ วกด Enter

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 14 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

คําสั่ง Rotate
เป็ นคําสัง่ ที่ใช้ ในการหมุนวัตถุที่ต้องการ โดยสามารถที่จะกําหนดองศาการหมุน และแกนที่จะหมุนได้ ซึง่
คุณสามารถพิมพ์ C (Copy) ให้ เพิ่มชิ ้นงานหมุนตามองศาที่เรากําหนด แต่ชิ ้นงานเดิมยังคงอยูใ่ นมุมเดิม โดย
เรียกคําสัง่ จากไอคอน หรือที่ Command และที่ Menu Browser Modify > Rotate

1. การหมุนโดยอิสระ
Menu Browser > Modify > rotate
Current positive angle in UCS: ANGDIR=counterclockwise ANGBASE=0
Select objects: เลือกวัตถุท่ จี ะทําการหมุน
Select objects: กดปุ่ ม Enter
Specify base point: กําหนดจุดหมุนที่จดุ A เพื่ออ้ างอิงในการหมุน
Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0> : คลิกที่จุด B เพื่อวางรู ป (Enter)

คลิกเลือกวัตถุและเลือกจุดอ้ างอิง ผลลัพธ์ที่ได้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 15 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

2. การหมุนโดยการกําหนดองศา
Menu Browser > Modify > rotate
Current positive angle in UCS: ANGDIR=counterclockwise ANGBASE=0
Select objects: เลือกวัตถุท่ จี ะทําการหมุน
Select objects: กดปุ่ ม Enter
Specify base point: กําหนดจุดหมุนที่จดุ A เพื่ออ้ างอิงในการหมุน
Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0> : พิมพ์ 60 องศา

คลิกเลือกวัตถุและป้อนค่ามุมที่ต้องการ ผลลัพธ์ที่ได้

3. การหมุนโดยการกําหนดองศาใหม่
หมายความว่าการหมุนในหัวข้ อนี ้ จะเหมาะกับการแก้ ไขการหมุนครัง้ ก่อนที่ได้ หมุนไปแล้ ว โดยทราบว่า
หมุนไปแล้ วกี่องศา ในที่นี ้สมมุติวา่ หมุนไปก่อนแล้ ว 45 องศา แล้ วจึงป้อนค่ามุมใหม่อกี รอบ ดังตัวอย่าง
ต้ องการเปลี่ยนให้ หมุนใหม่เป็ น 20 องศา
Menu Browser > Modify > rotate
Current positive angle in UCS: ANGDIR=counterclockwise ANGBASE=0
Select objects: เลือกวัตถุท่ จี ะทําการหมุน
Select objects: กดปุ่ ม Enter
Specify base point: กําหนดจุดหมุนที่จดุ A เพื่ออ้ างอิงในการหมุน
Specify rotation angle or [Copy/Reference] <45> : พิมพ์ R (พิมพ์ Reference เพื่อกําหนดมุม
ใหม่ )

Specify the reference angle <0> : 45 (พิมพ์ ค่าเดิม)


Specify the new angle : 20 (กําหนดค่ามุมใหม่ )
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 16 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

คลิกเลือกวัตถุและเลือกจุดอ้ างอิง ผลลัพธ์ที่ได้

4. การหมุนโดยทําสําเนาเพิ่ม
Menu Browser > Modify > rotate
Current positive angle in UCS: ANGDIR=counterclockwise ANGBASE=0
Select objects: เลือกวัตถุท่ จี ะทําการหมุน
Select objects: กดปุ่ ม Enter
Specify base point: กําหนดจุดหมุนที่จดุ A เพื่ออ้ างอิงในการหมุน
Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0> : คลิกจุด C เพื่อทําสําเนาเพิ่ม (Enter 2 ครัง้ )

ชิ ้นงานใหม่

ชิ ้นงานเดิม

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 17 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

คําสั่ง Scale
คําสัง่ Scale จะเป็ นคําสัง่ ที่ใช้ ในการย่อ / ขยายรูปวัตถุให้ เป็ นไปตามความต้ องการโดยให้ คา่ Scale
Factor เป็ นตัวกําหนดซึ่งต้ องป้อนค่าเป็ นบวก (และไม่เป็ นศูนย์) ถ้ าค่า Scale Factor มีคา่ มากกว่า 1 แสดงว่า
วัตถุนนจะขยายขึ
ั้ ้น แต่ถ้าป้อนค่าที่ตํ่ากว่า 1 (0.9 ลงไป) วัตถุก็จะย่อลงไป โดยเรียกคําสัง่ ได้ จากไอคอน หรือ
Command : Scale และเมนู Menu Browser Modify > Scale

Scale factor = 0.5 Scale factor = 1.5

Menu Browser > Modify > scale


Select objects: (เลือกวัตถุท่ ีจะทําการเปลี่ยนสเกล)
Select objects: (กด Enter)
Specify base point: (กําหนดจุดที่ 1 เพื่อเป็ นจุดยึดในการเปลี่ยนสเกล)
Specify scale factor or [Copy/Reference]: 0.5 (กําหนดค่ าสเกลแฟคเตอร์ )

(Scale factor) : การกําหนดมาตราส่วนของการเปลี่ยนแปลง (น้ อยกว่า 1 จะเป็ นการย่อค่ามากกว่า


1 จะขยาย)
Copy : การย่อ / ขยาย วัตถุโดยให้ มชี ิ ้นงานเดิมยังคงอยู่
Reference : การกําหนดมาตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงโดยใช้ จดุ อ้างอิงการเปลี่ยนสเกลใน
ลักษณะนี ้เนื่องจากว่าเราไม่สามารถกําหนดสเกลแฟคเตอร์ได้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 18 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

Menu Browser > Modify > scale

Select objects: (เลือกวัตถุท่ ตี ้ องการเปลี่ยน Scale)

Select objects: (กด Enter)


Specify base point: (กําหนดจุดที่ 1 เพื่อเป็ นจุดยึดในการเปลี่ยนสเกล)
Specify scale factor or [Copy/Reference]: r (พิมพ์ r เพื่อเลือกตัวเลือก Reference)
Specify reference length <1>: (กําหนดจุดที่ 1 จุดแรกของความยาวอ้ างอิง)
Specify second point: (กําหนดจุดที่ 2 จุดที่สองของความยาวอ้างอิง)
Specify new length: (กําหนดความยาวอ้างอิงใหม่ คลิกตรงจุดที่ 1 และจุดที่ 3)

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 19 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

คําสั่ง Stretch
ใช้ ในการยืดวัตถุหรือหดวัตถุตามที่กําหนดจะมีผลโดยตรงกับปลายของวัตถุเท่านันในการเลื
้ อกวัตถุเรา
จะต้ องเลือกวัตถุในโหมด Crossing เท่านัน้ มีรูปแบบดังนี ้

คลิกเลือกตามตําแหน่ง ผลลัพธ์ที่ได้

Menu Browser > Modify > stretch


Select objects to stretch by crossing-window or crossing-polygon...
Select objects: Specify opposite corner: คลิกจุดที่ 1 และ 2 ตามลําดับเพื่อเลือกวัตถุใน
โหมด Crossing
Select objects: กด Enter
Specify base point or displacement: คลิกตรงจุดที่ 3 เพื่อกําหนดจุดอ้างอิง

Specify second point of displacement: @40<0 พิมพ์ ค่ารีเลทีฟคอร์ ออร์ ดิเนทเพื่อกําหนด

ระยะห่ าง 40 หน่ วยไปทางมุม 0 องศา

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 20 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

คําสั่ง Lengthen
ใช้ สําหรับเพิ่มหรือลดความยาวของเส้ นตรง Line, Pline หรือเส้ นโค้ ง Arc โดยไม่ต้องมีเส้ นขอบเขต
Boundary มาช่วยในการต่อเส้ น เราสามารถกําหนดความยาวที่เพิ่มขึ ้นหรือลดลง (Delta) เปอร์เซ็นต์เพิ่มขึ ้น
หรือลดลง (Percent) ความยาวจริงของเส้น (Total) หรือใช้ เมาท์ลากเส้นให้ ยาวขึ ้นได้ (Dynamic)

DElta ใช้ สําหรับเพิ่มความยาวเส้ นโดยกําหนดระยะที่เพิ่มขึ ้น (Delta) ที่ต้องการแล้ วคลิก


ปลายเส้ นด้ านที่ต้องการเพิ่มความยาวเมื่อเลือกตัวเลือก Delta โปรแกรมจะให้ เรา
กําหนดค่าที่เพิ่มขึ ้นหรือเลือกตัวเลือก Angle เพื่อใช้ กบั เส้นโค้ งเพื่อระบุมมุ ที่เพิ่มขึ ้นของ
ส่วนโค้ ง
Percent ใช้ สําหรับกําหนดความยาวโดยอ้ างอิงจากขนาดของเส้นที่ถกู เลือกโดยมีหน่วยความ
ยาวเป็ นเปอร์เซ็นต์ ถ้ ามากกว่า 100 จะเป็ นการเพิ่มความยาวเส้ นและตํ่ากว่า 100
จะเป็ นการลดความยาวเส้ น
Total ใช้ สําหรับกําหนดความยาวจริงทังหมดของเส้
้ น โดยป้อนค่าความยาวของเส้ นที่
ต้ องการเปลี่ยนแปลง
DYnamic ใช้ ตวั เลือกนี ้ในกรณีที่ต้องการเพิ่มหรือลดความยาวเส้ นโดยใช้ เมาท์ลากเส้ นที่ต้องการ
เพิ่มหรือลดความยาวโดยคลิกบนปลายเส้ นด้ านที่ต้องการเพิ่มหรือลดความยาว

คําสั่ง Trim
ใช้ สําหรับตัดเส้ นตรงเส้ นโพลีไลน์เส้ นโค้ งวงกลม วงรี และอื่น ๆ เป็ นต้ น การใช้ คําสัง่ นี ้จะใช้ กบั เส้นตังแต่

สองเส้ นขึ ้นไป โดยที่โปรแกรมกําหนดมาให้ คําสัง่ นี ้จะใช้ ได้ กบั เส้ นที่ตดั กันหรือทับกันอยู่จริง อย่างไรก็ตามเรา
สามารถกําหนดตัวเลือกของคําสัง่ นี ้ให้ ใช้ กบั เส้นที่ไม่ตดั กันอยู่จริง ๆ ก็ได้
ในกรณีตดั เส้ นด้ วยคําสัง่ Trim จะมีเส้ นอยู่ 2 ประเภท คือ เส้ นที่ใช้ เป็ นขอบเขตในการตัดซึ่งเราเรียกว่า
"Cutting edge" และเส้ นที่ถกู ตัดเฉือนเราเรียกว่า "Object to trim" ดังนันก่ ้ อนที่เราจะทําการตัดเส้ น เราจะต้ อง
สามารถที่จะแยกเส้ นทังสอง ้ ประเภทนี ้ให้ ได้ ก่อนเมื่อเราแยกเส้นทัง้ 2 ประเภทนี ้ได้ แล้ ว เราก็สามารถที่จะใช้
คําสัง่ Trim ได้ อย่างรวดเร็ว ซึ่งมีรูปแบบดังนี ้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 21 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

Menu Browser > Modify > Trim


Current settings: Projection=UCS Edge=Extend (โปรแกรมรายงานโหมดในการตัด)
Select cutting edges ...
Select objects: คลิกบนเส้ นตรงที่ 1 เพื่อเลือกเส้ นขอบตัด
Select objects: กด Enter เพื่อออกจากการเลือกเส้ นขอบตัด
Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]:
คลิกเส้ นตรงที่ 2 เพื่อเลือกปลายเส้ นที่ถูกตัด
Select object to trim or shift-select to extend or
[Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: กดปุ่ ม Enter เพื่อจบคําสั่ง

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 22 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

Menu Browser > Modify > Trim

Current settings: Projection=UCS Edge=None


Select cutting edges ...
Select objects: กดปุ่ ม Enter
Select object to trim or shift-select to extend or
[Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: E พิมพ์ E เพื่อเลือกตัวเลือก Edge
Enter an implied edge extension mode [Extend/No extend] <No extend>: E พิมพ์ E เพื่อ
เลือกตัวเลือก Extend เพื่อใช้ ตัดเส้ นที่ไม่ ตัดกันจริง
Select object to trim or shift-select to extend or
[Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: กดปุ่ ม Enter เพื่อออกจากคําสั่ง
Command: กดปุ่ ม Enter เพื่อเรียกคําสั่งมาใช้ งานอีกครัง้
TRIMCurrent settings: Projection=UCS Edge=Extend (โปรแกรมรายงานโหมด Extend)
Select cutting edges ...
Select objects: คลิกเส้ นที่ 1 เพื่อเลือกขอบตัด
Select objects: กดปุ่ ม Enter เพื่อออกจากการเลือกเส้ นขอบตัด
Select object to trim or shift-select to extend or
[Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: คลิกบนเส้ นที่ 2 เพื่อเลือกปลายเส้ นที่ถูกตัด
Select object to trim or shift-select to extend or
[Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: กดปุ่ ม Enter เพื่อยุตกิ ารใช้ คาํ สั่ง

Project เป็ นตัวเลือกที่ใช้ ในการตัดเส้นในระนาบ 3 มิติ


Edge พิมพ์ E เพื่อเลือก Edge mode ซึ่งแบ่งเป็ น 2 โหมด คือ
Extend พิมพ์ E เพื่อเลือกโหมด Extend ซึ่งเส้ นขอบตัดไม่จําเป็ นต้ องบรรจบกับเส้นที่จะถูกตัดก็
สามารถตัดเส้ นกันได้
No extend พิมพ์ N เพื่อเลือกโหมด No extend โปรแกรมกําหนดตัวเลือกนี ้เป็ นตัวเลือกใช้ งานโดย
ที่ขอบตัดและเส้ นที่จะถูกตัดจะต้ องบรรจบกันจริง ๆ จึงจะสามารถตัดเส้ นได้
Undo ยกเลิกการตัดเส้ นครัง้ ก่อนสามารถย้ อนกลับไปจนถึงจุดที่เริ่มตัดเส้ นได้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 23 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

การตัด Hatch โดยไม่ ต้อง Explode


ในเวอร์ชนั่ ก่อนๆ นี ้ ถ้ าเราจะต้ องตัดลวดลาย Hatch จะต้ องทําการใช้ คําสัง่ Explode ก่อนจึงจะตัดได้
แต่ตอนนี ้เราสามารถใช้ คําสัง่ Trim ตัดลาย Hatch ได้ ทนั ที

ต้ องการตัดลายในกรอบสี่เหลี่ยมนี ้

ใช้ คาํ สั่ง Trim ทําตามวิธีการเพื่อตัดลายได้ เลย

... และลองใช้ คําสัง่ Move เคลื่อนย้ ายกรอบสีเ่ หลีย่ ม จะเห็นได้ วา่ คุณสมบัติของการใช้ คําสัง่ Trim จะติด
ไปกับกรอบนี ้ด้ วย ก็คือกรอบเลื่อนไปตรงไหน ลายตัดตรงนันก็ ้ จะหายไปด้ วย

คําสั่ง Extend
Extend เป็ นคําสัง่ ที่ใช้ สําหรับการต่อเส้ นให้ พ่งุ เข้ าชนเป้าหมายที่เราเลือกไว้ ได้ อย่างพอดี ให้ มีความยาว
ยืดออกไปยังขอบเขตที่กําหนด (Boundary Edge) มีขนตอนดั ั้ งนี ้

Menu Browser > Modify > Extend


Current settings: Projection UCS Edge =None
Select boundary edges…
Select objects or <select all>: คลิกเลือกวัตถุท่ เี ป็ นขอบเขต
สามารถมีขอบเขตได้ มากกว่าหนึ่ง
Select objects: ถ้ าเลือกครบแล้ วให้ กด Enter
Select object to extend or shift-select to trim or

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 24 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

[Fence/Crossing/Project/Edge/Undo]: คลิกเลือกวัตถุท่ ตี ้ องการ Extend


Select object to extend or shift-select to trim or
[Fence/Crossing/Project/Edge/Undo]: ถ้ าเลือกครบแล้ วให้ กด Enter

ในกรณีที่ขอบเขตไม่ครอบคลุมไปถึงวัตถุที่จะถูกยืด เราสามารถยืดวัตถุนนไปยั
ั ้ งขอบเขตเสมือนได้
โดยมีขนตอนดั
ั้ งนี ้

Menu Browser > Modify > Extend


Current settings: Projection=UCS Edge=None
Select boundary edges…
Select objects or <select all>: คลิกเลือกวัตถุท่ เี ป็ นขอบเขต
สามารถมีขอบเขตได้ มากกว่าหนึ่ง
Select objects: ถ้ าเลือกครบแล้ วได้ กด Enter
Select object to extend or shift-select to trim or
[Fence/Crossing/Project/Edge/Undo]: e แทนคําว่ า Edge
Enter an implied edge extension mode [Extend/No extend] <No extend>: e หมายถึง
Extend กด Enter
Select object to extend or shift-select to trim or
[Fence/Crossing/Project/Edge/Undo]: คลิกเลือกวัตถุท่ ตี ้ องการ Extend
Select object to extend or shift-select to trim or
[Fence/Crossing/Project/Edge/Undo]: เลือกครบแล้ วให้ กด Enter

โดยปกติการต่อเส้ นจะทําได้ ก็ตอ่ เมื่อเส้นที่ต้องการต่อจะต้องวิ่งไปชนกับเส้ นขอบเขตจริง ๆ เพราะว่าโดย


ที่โปรแกรมกําหนดมาให้ โหมด Edge เท่ากับ No extend อย่างไรก็ตามเราสามารถต่อเส้ นพุ่งไปยังเส้ นที่ไม่ได้
ชนกันจริง โดยปรับโหมด Edge ให้ เป็ น Extend

หมายเหตุ การเปลี่ยนโหมด Edge ในคําสัง่ Trim จะมีผลการเปลี่ยนแปลงโหมด Edge ในคําสัง่ Extend


ด้ วย ในทํานองเดียวกันการเปลี่ยนโหมด Edge ในคําสัง่ Extend จะมีผลการเปลี่ยนแปลงโหมด Edge ใน
คําสัง่ Trim ด้ วย

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 25 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

คําสั่ง Break at Point


เป็ นคําสัง่ ที่ใช้ แบ่งเส้ นตรงให้ ออกเป็ น 2 เส้น โดยเรียกคําสัง่ จากไอคอน
Command : _break
Select object : เลือกเส้ นที่ต้องการแบ่ ง
Specify second point or [First point] : F
Specify first break point : คลิกจุด A เพื่อกําหนดระยะในการแบ่ ง
Specify second break point : โปรแกรมจะตัดเส้ นให้ โดยอัตโนมัติ

เลือกจุดบนเส้ นเพื่อตัดเส้ น

เส้ นตรงจะถูกแบ่ งเป็ น 2 เส้ น

คําสั่ง Break
ใช้ ตดั เส้ นออก ซึ่งอาจให้ ผลเป็ นสองส่วน หรื อเพียงส่วนเดียวก็ได้ โดยเป็ นการตัดแบบจุดเดียวหรือสอง
จุดบนเส้ นหนึ่งๆ รูปวาดที่นํามาตัดด้ วยคําสัง่ นี ้คือ line , arc , polyline , spline , xline , circle เมื่อคลิกคําสัง่
Break จะมีพรอมต์ดงั นี ้

Menu Browser > Modify > Break


Select object: เลือกวัตถุ
Specify second break point or [First point]: กําหนดจุดตัดที่สอง หรือ (จุดแรก)

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 26 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

ในพรอมต์นี ้ถ้ าป้อนจุด จะเป็ นการป้อนค่าให้ พรอมต์ Specify second break point : และ AutoCAD
จะใช้ จดุ จากตําแหน่งที่เลือกวัตถุในพรอมต์ Select object : เป็ นจุดแรกที่จะใช้ ตดั ร่วมกับจุดที่สองนี ้ แต่ถ้า
พิมพ์ F กด Enter เพื่อใช้ ตวั เลือก First point จะมีพรอมต์ Specify first break point : ให้ กําหนดจุดแรกก่อน
และมีพรอมต์ Specify second break point : ให้ กําหนดจุดที่สอง และ AutoCAD จะใช้ จดุ ทังสองนี ้ ้ในการตัด
วัตถุ

คําสั่ง Join
เป็ นคําสัง่ ที่ใช้ ตอ่ เส้ น 2 เส้ นเป็ นเส้ นเดียวกัน แต่มีข้อแม้ อยูว่ า่ เส้ นที่จะมาต่อกันได้ นนั ้ จะต้ องมีปลายเส้ น
ที่อยู่ในระนาบเดียวกัน สามารถต่อเส้ น Line หรือ Arc ก็ได้ เช่นกัน สามารถเรียกคําสัง่ ได้ จากไอคอน และที่เมนู
Modify > Join
Menu Browser > Modify > join
join Select source object : เลือกเส้ น A
Select lines to join to source : 1 found
Select lines to join to source : เลือกเส้ น B
1 line joined to source

ทัง้ 2 เส้ นก็จะรวมเป็ นเส้ นเดียวกัน

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 27 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

คําสั่ง Chamfer
ใช้ สําหรับสร้ างมุมตัดระหว่างเส้ นตรงสองเส้ น โดยเราสามารถกําหนดระยะทางของมุมตัดที่ 1
(Distance 1) และระยะทางของมุมตัดที่ 2 (Distance 2) ได้ ตามต้ องการ มีรูปแบบดังนี ้

Menu Browser > Modify > Chamfer


(TRIM mode) Current chamfer Dist1 = 10.0000, Dist2 = 10.0000 (โปรแกรมรายงาน
Trim mode และระยะทางมุมตัดที่ 1 และระยะทางมุมตัดที่ 2)
Select first line or [Undo/Polyline/Distance/Angle/Trim/mEthod/Multiple]: คลิกบนเส้ นที่ 1
หรื อเลือกตัวเลือกเพื่อกําหนดระยะทางมุมตัดหรือตัวเลือกอื่นๆ
Select second line: คลิกบนเส้ นที่ 2 จะปรากฏมุมตัดตรงจุดที่ 7 ตามระยางที่กาํ หนดในที่นี ้
ระยะทาง 1 และ 2 ของมุมตัดเท่ากับ 10 หน่ วย
(TRIM mode) Current chamfer Dist1 = 10.0000, Dist2 = 10.0000
Select first line or [Undo/Polyline/Distance/Angle/Trim/mEthod/Multiple]: d พิมพ์ d เพื่อ
กําหนดระยะทางที่1 กับที่ 2 ใหม่

Specify first chamfer distance <10.0000>: 5 กําหนดระยะทาง 1 เท่ ากับ 5 หน่ วย


Specify second chamfer distance <5.0000>: 10 กําหนดระยะทาง 2 เท่ ากับ 10 หน่ วย

Command: กด Enter เพื่อทําซํา้ คําสั่งเดิม


(TRIM mode) Current chamfer Dist1 = 5.0000, Dist2 = 10.0000
Select first line or [Undo/Polyline/Distance/Angle/Trim/mEthod/Multiple]: คลิกบนเส้ นที่ 3
Select second line: คลิกบนเส้ นที่ 4 จะปรากฏมุมตัดตรงจุดที่ 8

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 28 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

ในการสร้ างมุมตัดตรง จุดตัดที่ 9 เราใช้ ตวั เลือก Angle แล้ วกําหนดความยาวของเส้ นแรก (chamfer length on
the first line) เท่ากับ 20 หน่วยและกําหนดมุมจากเส้นแรก (chamfer angle from the first line) เท่ากับ 45
องศาแล้ ว คลิกตรงจุดที่ 5 ในบรรทัด Select first line และจุดที่ 6 ในบรรทัด Select second line ตามลําดับ

หมายเหตุ ในการกําหนดว่าเส้ นใดจะใช้ ระยะทาง Dist1 หรือ Dist2 นัน้ จะพิจารณาว่าเส้ นที่ถกู เมาส์คลิกก่อน
จะใช้ ระยะทาง Dist1 เส้ นที่ถกู เมาส์คลิกที่สองจะใช้ ระยะทาง Dist2

Polyline เมื่อเลือกตัวเลือกนี ้โปรแกรมจะบอกให้ เราเลือกเส้ นโพลีไลน์ 2 มิติ ซึ่งจะทําให้ เส้ นโพลีไลน์ที่ถกู


เลือกเกิดมุมตัดขึ ้นทุก ๆ มุม โดยอัตโนมัติ
Distance ใช้ ตวั เลือกนี ้ในการกําหนดระยะทางของมุมตัดที่ 1 (first Chamfer distance) และมุมตัดที่ 2
(Second Chamfer Distance)
Angle ใช้ ตวั เลือกนี ้เมื่อต้ องการระบุระยะทางบนเส้ นแรกที่ถกู เลือก (Chamfer length on the first line)
และมุมที่วดั จากเส้ นแรกที่ถกู เลือก (Chamfer angle on the first line)
Trim ใช้ ตวั เลือกนี ้ในการกําหนดโหมดการตัดเส้ น (Trim)
Trim mode โปรแกรมจะตัดเส้ นที่มมุ ทิ ้งไป
No trim mode โปรแกรมจะยังคงเส้นที่มมุ ไว้
Method ใช้ ตวั เลือกนี ้สําหรับเปลีย่ นโหมดจากการใช้ ระยะทาง (Distance) ไปเป็ นโหมด (Angle)
หรือเปลี่ยนจากมุมไปเป็ นระยะทาง

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 29 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

คําสั่ง Fillet
ใช้ สําหรับสร้ างมุมมนขึ ้นระหว่างเส้นตรง เส้นโค้ ง วงกลม หรือวงรี โดยเราสามารถกําหนดรัศมี (Radius)
ของมุมมนได้ ตามต้ องการ มีรูปแบบดังนี ้

ก่ อนใช้ คาํ สั่ง Radius = 10

หลังใช้ คาํ สั่ง Radius = 10

Menu Browser > Modify > Fillet


Current settings: Mode = TRIM, Radius = 10.0000 (โปรแกรมรายงาน Trim mode และรัศมีมมุ
ใช้ งาน)
Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: r พิมพ์ตัวเลือก r เพื่อกําหนดรัศมี
มุมมนใช้ งานใหม่
Specify fillet radius <10.0000>: 10 กําหนดค่ามุมมนรัศมีใช้ งานใหม่
Command: กด Enter เพื่อทําซํา้ คําสั่งเดิม
Current settings: Mode = TRIM, Radius = 10.0000
Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: คลิกลงบนเส้ นตรงหรือเส้ นโค้ ง
เส้ นที่ 1
Select second object: คลิกลงบนเส้ นตรงหรือเส้ นโค้งเส้ นที่ 2 จะได้ มุมมนระหว่ างเส้ น
ทัง้ สองที่ถูกเลือก

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 30 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

Polyline ในกรณีที่เรามีวตั ถุที่สร้ างจากเส้ นโพลีไลน์แบบต่อเนื่อง หากใช้ ตวั เลือกนี ้แล้ วคลิกลงบนเส้ น
โพลีไลน์จะเกิดมุมมนขึ ้นบนทุกมุมของวัตถุโดยอัตโนมัติด้วยการคลิกเพียงครัง้ เดียว
Radius ใช้ ตวั เลือกนี ้เมื่อต้ องการกําหนดรัศมีมมุ มน (Fillet Radius) ใหม่
Trim ใช้ ตวั เลือกนี ้ในการกําหนดโหมดการตัดเส้ น (Trim) โหมดนี ้เป็ นลักษณะเดียวกันกับ
คําสัง่ Chamfer
Trim mode โปรแกรมจะตัดเส้ นที่มมุ ทิ ้งไป
No trim mode โปรแกรมจะไม่มีการตัดเส้ นเดิมทิ ้งไป

คําสั่ง Explode
เป็ นคําสัง่ ที่ใช้ สําหรับแตกกลุม่ ของวัตถุ เช่น Block, Polyline, Dimension ที่รวมกันเสมือนเป็ นวัตถุชนั ้
เดียวกัน ซึ่งไม่สามารถจะแก้ ไขได้ จึงต้ องแยกกันให้ กลายเป็ นวัตถุพื ้นฐาน เช่น เส้ นตรง เส้ นโค้ง เป็ นต้ น มีรูปแบบ
ดังนี ้

Menu Browser > Modify > Explode


Select objects: คลิกเลือกวัตถุท่ ตี ้ องการ Explode
Select objects: คลิกเลือกวัตถุท่ ตี ้ องการ Explode ถ้ าเลือกครบแล้ วกด Enter

วัตถุหลังการ Explode แล้ วจะไม่เปลี่ยนรูปร่างแต่อย่างใด แต่สว่ นต่างๆ ที่ประกอบกันเป็ นวัตถุนนั ้ จะถูก


แยกเป็ นชิ ้นๆ ไม่ขึ ้นต่อกัน ซึ่งทําให้ เราสามารถแก้ ไขบางส่วนได้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 31 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Basic Editing Command

คําสั่ง Align
คําสัง่ Align ใช้ เลื่อนตําแหน่งรูปวาดพร้ อมกับการหมุนหรือเปลี่ยนทิศทางของรูปวาด ราวกับเป็ นการรวม
คําสัง่ Move และ Rotate เข้ าไว้ ด้วยกัน โดยอาศัยการกําหนดชุดของจุดจับคูก่ นั ระหว่างจุดตําแหน่งเดิมกับจุด
ของตําแหน่งใหม่ พร้ อมกันนันยั ้ งสามารถปรับขนาดตามสัดส่วนของระยะจากจุดที่เลือกด้ วย
Menu Browser > Modify > 3D Operation > Align
Select objects : คลิกเลือกวัตถุท่ ตี ้ องการจนครบ แล้ วกด Enter
Specify first source point : เลือกจุดแรกของต้ นฉบับ
Specify first destination point : เลือกจุดแรกของปลายทาง
Specify second source point : เลือกจุดที่สองของต้ นฉบับ
Specify second destination point : เลือกจุดที่สองของปลายทาง
Specify third source point or <continue> : เลือกจุดที่สามของปลายทาง หรือ กด Enter
Scale objects based on alignment points? [Yes / No] <N> : เข้ าสเกลปรับขนาดโดยอิงกับจุด
จัดทิศทางหรือไม่
สังเกตลําดับการเลือกจุด จะกระทําทีละคู่ คือคูแ่ รกจับคูร่ ะหว่างจุดต้นทางกับปลายทาง ต่อมาคูท่ ี่สอง
และคูท่ ี่สาม (ถ้ ามี) ในลําดับคูท่ ี่สามหากไม่ต้องการป้อนค่านี ้ ให้ กด Enter ผ่าน จะมายังพรอมต์ Scale objects
based on alignment points? [Yes / No] <N> : หากต้องการให้ ปรับขนาดโดยเข้ าสเกลตามสัดส่วนของระยะ
จากจุดที่เลือกให้ ตอบ Y ส่วน N จะไม่มีการปรับและจากนันมี ้ การย้ ายตําแหน่งรูปวาดที่เลือกไปยังจุดใหม่ที่
กําหนด โดยมีการหมุนตามแนวของจุดใหม่ด้วย ดูรูปด้ านล่าง

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-05-I Page : 32 of 32 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Display Control

บทที่ 6 การควบคุมการแสดงภาพ
ในการเขียนแบบด้ วย AutoCAD นันเราจํ
้ าเป็ นที่จะต้ องเปลี่ยนมุมมองอยู่เสมอ เพราะว่าจอภาพ
มอนิเตอร์มีขนาดใหญ่ไม่เพียงพอที่จะแสดงรายละเอียดของแบบงานทังแผ่ ้ นในเวลาเดียวกันได้ ดังนันในขณะที
้ ่
เราเขียนแบบงานด้ วย AutoCAD อยู่นนเราจะมองเห็
ั้ นเพียงเฉพาะพื ้นที่สว่ นเล็ก ๆ ของแบบงานเท่านัน้ จึงจําเป็ น
ที่จะต้ องมีการย่อขยายและเคลื่อนที่ย้ายมุมมองให้ ไปอยู่ในตําแหน่งที่ต้องการอยูเ่ สมอ ๆ ดังนันเราจึ
้ งต้ องรู้คําสัง่
ที่เกี่ยวข้ องกับการควบคุมการแสดงผลบนจอภาพเสียก่อน เพื่อที่จะทําให้ เราเขียนแบบงานได้ รวดเร็วยิ่งขึ ้น ซึ่งมี
รายละเอียดคําสัง่ ดังต่อไปนี ้

การจัดการมุมมอง
เป็ นคําสัง่ ที่ใช้ ดมู มุ มองส่วนต่างๆ ภายในชิ ้นงาน โดยเราแยกออกเป็ น 3 ลักษณะ
1. การขยายภาพเข้ าไป หรือดูในมุมกว้ าง (Zoom)
2. การเลื่อนขยับภาพไปทิศทางที่ต้องการ (Pan)
3. การคลิกเมาส์หรือกดเมาส์ค้างตรงบริเวณตัวสัญลักษณ์ (รูปกล่องสี่เหลีย่ ม) เพื่อดูมมุ มองในแต่ละ
ส่วนในชิ ้นงานที่ต้องการ (Viewcube) ซึ่งเหมาะกับชิ ้นงานที่เป็ นรูป 3 มิติ (3D)

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-06-I Page : 1 of 10 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Display Control

คําสั่ง Pan
ใช้ สําหรับเลื่อนจอภาพไปยังตําแหน่งและทิศทางที่กําหนดเพื่อให้ มองเห็นส่วนของชิ ้นงานที่อยู่นอก
ขอบเขตของพื ้นที่วาดภาพแบบเคลื่อนไหวเมื่อเรียกคําสัง่ นี ้จะปรากฏข้ อความ Press ESC or ENTER to exit, or
right-click to display shortcut menu, และเคอร์เซอร์จะเปลี่ยนเป็ นรูป กดเมาส์ซ้ายแล้ วเลื่อนไปมา จะ
สังเกตเห็นภาพที่เขียนเคลื่อนไปมาเช่นกัน เปรี ยบเสมือนการเลื่อนกระดาษเขียนแบบไปมาโดยที่ตําแหน่งของ
ภาพที่เขียนกับกระดาษไม่เปลีย่ นแปลง

คําสั่ง Zoom
การ Zoom ภาพเป็ นการเปลี่ยนขนาดของมุมมอง โดยวัตถุไม่ได้ เปลี่ยนแปลงขนาด (ระยะความยาว)
คําสัง่ Zoom ใน AutoCAD มีวิธีการเรี ยกใช้ งาน และประกอบด้ วยคําสัง่ ต่อไปนี ้

Zoom All ใช้ ย่อ-ขยายดูภาพที่อยู่ในขอบเขตของ Drawing Limits ที่กําหนด


Zoom Center เป็ นการกําหนดจุดศูนย์กลางของการขยายภาพบนจอภาพของมุมมองใหม่
Zoom Dynamic ใช้ ขยายในกรอบสี่เหลี่ยมแล้ วปรับความกว้ าง/ยาว
Zoom Extents เงื่อนไขคล้ ายกับ Zoom All
Zoom Previous ใช้ ย้อนกลับไปยังการย่อ/ขยายได้ 10 ครัง้
Zoom Scale ใช้ ย่อ/ขยายภาพโดยใส่คา่ Scale Factor ลงไปว่าต้ องการย่อ/ขยายกี่เท่า
Zoom Window ใช้ ขยายดูชิ ้นงานเพื่อให้ ใหญ่ขึ ้น มีขอบเขตเป็ นกรอบสีเ่ หลีย่ ม
Zoom Object คลิกที่วตั ถุเพื่อขยายวัตถุนนๆ
ั้
Zoom Realtime ใช้ ย่อ/ขยายชิ ้นงาน โดยการลากเมาส์ขึ ้นภาพจะขยายถ้ าลากเมาส์ลง
ภาพจะย่อลงไป

1. คําสั่ง Zoom All เป็ นการย่อหรือขยายหน้ าจอ ให้ ได้ ตามขนาดของขอบเขตงานเขียนแบบ


(Drawing Limits) ที่กําหนดใช้ คําสัง่ ได้ ดงั นี ้

Menu Browser > View > Zoom > All


Specify corner of window, enter a scale factor (nX or nXP), or
[All/Center/Dynamic/Extents/Previous/Scale/Window/Object] <real time>: all
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-06-I Page : 2 of 10 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Display Control

2. คําสั่ง Zoom Center เป็ นการ Zoom โดยกําหนดพิกดั บนจอภาพเป็ นจุดศูนย์กลางของมุมมองใหม่


มีขนตอนดั
ั้ งนี ้

Menu Browser > View > Zoom > Center


Specify corner of window, enter a scale factor (nX or nXP), or
[All/Center/Dynamic/Extents/Previous/Scale/Window/Object] <real time>: c
Specify center point: เลือกจุดพิกัดที่ต้องการ กด Enter
Enter magnification or height <297.1391>: ป้อนค่ าระยะจากจุด Center ไปตามแกน X
กด Enter

3. คําสั่ง Zoom Extents เป็ นการแสดงงานเขียนแบบทังหมด


้ ให้ เต็มหน้ าจอเพื่อดูภาพโดยรวม
ทังหมด
้ มีขนตอนดั
ั้ งนี ้

Menu Browser > View > Zoom > Extents


Specify corner of window, enter a scale factor (nX or nXP), or
[All/Center/Dynamic/Extents/Previous/Scale/Window/Object] <real time>: e

ก่ อนใช้ คาํ สั่ง หลังใช้ คาํ สั่ง

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-06-I Page : 3 of 10 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Display Control

4. คําสั่ง Zoom Previous เป็ นการ Zoom ย้ อนกลับไปที่ Zoom ครัง้ ก่อน สามารถ Zoom ย้ อนกลับไป
ได้ ไม่เกิน10 ครัง้ เรี ยกใช้ คําสัง่ ได้ ดงั นี ้

Menu Browser > View > Zoom > Previous

Specify corner of window, enter a scale factor (nX or nXP), or


[All/Center/Dynamic/Extents/Previous/Scale/Window/Object] <real time>: p ภาพจะย้ อนกลับ
มาที่ภาพเดิมที่ Zoom ไปครั ง้ ก่ อน

5. คําสั่ง Zoom Scale เป็ นการย่อหรือขยาย ให้ มีขนาดมาตรส่วนตามต้ องการ โดยป้อนตัวเลขที่


ต้ องการ เช่น
2X เป็ นการขยายภาพให้ ใหญ่ขึ ้น 2 เท่า เมื่อเทียบกับหน้ าจอขณะนัน้
0.5X เป็ นการย่อภาพลงครึ่งหนึ่งของหน้ าจอขณะนัน้
2 เป็ นการขยายภาพให้ ใหญ่ขึ ้น 2 เท่า เมื่อเทียบกับ Drawing Limits
0.5 เป็ นการย่อภาพลงครึ่งหนึ่งเมื่อเทียบกับ Drawing Limits
มีขนตอนการใช้
ั้ คําสัง่ ดังนี ้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-06-I Page : 4 of 10 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Display Control

Menu Browser > View > Zoom > Scale


Specify corner of window, enter a scale factor (nX or nXP), or
[All/Center/Dynamic/Extents/Previous/Scale/Window/Object] <real time>: s

Enter a scale factor (nX or nXP): 2x (หรื อ 0.5x ) กด Enter

ก่ อนใช้ คาํ สั่ง

กําหนด Scale = 0.5x กําหนด Scale = 2x

หมายเหตุ
nX เมื่ออยู่ใน mode เขียนแบบปกติ ( model space ) หรือ Model Tab
nXP เมื่ออยู่ใน mode paper space หรือ Layout Tab

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-06-I Page : 5 of 10 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Display Control

6. คําสั่ง Zoom Window เป็ นการ Zoom เพื่อดูบางส่วนของงานเขียนแบบ โดยการทํากรอบ


ครอบบริเวณนัน้ เป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ า มีขนตอนดั
ั้ งนี ้

Menu Browser > View > Zoom > Window


Specify corner of window, enter a scale factor (nX or nXP), or
[All/Center/Dynamic/Extents/Previous/Scale/Window/Object] <real time>: w
Specify first corner: คลิกเลือกมุมแรก ณ ตําแหน่ งเหนือหรือใต้ บริเวณที่ต้องการ Zoom
Specify opposite corner: คลิกมุมตรงข้ ามทํากรอบครอบบริเวณที่ต้องการขยาย

7. คําสั่ง Zoom Object เป็ นการขยายรูปแบบเต็มหน้ าจอ Drawing โดยให้ เลือกชิ ้นงานก่อน เช่น ถ้ ามี
ชุดโต๊ ะเก้ าอี ้รับประทานอาหาร แล้ วต้ องการขยายที่เก้ าอี ้ เมื่อคุณใช้ คําสัง่ นี ้แล้ ว โปรแกรมจะให้ คลิกเลือกชิ ้นงาน
ให้ คณ
ุ คลิกเลือกที่เก้ าอี ้รูปของเก้ าอี ้ก็จะถูกขยายขึ ้นมาเต็มหน้ าจอทันที

Zoom IN เป็ นการขยายรูปทีม่ ีอตั ราส่วนที่แน่นอน ใช้ ขยายภาพครัง้ ละ 1 เท่า โดยที่จดุ ศูนย์กลาง
ของการขยายภาพจะอยู่ที่หน้ าจอ Drawing เสมอ ไม่วา่ รูปชิ ้นงานจะอยู่สว่ นใดของหน้ าจอ การขยายภาพแบบนี ้
จะไม่มีผลต่อการเลื่อนภาพมาอยู่จดุ ศูนย์กลางหน้ าจอ
โดยเรี ยกคําสัง่ จากไอคอน และที่เมนู View > Zoom > IN แต่คําสัง่ นี ้จะไม่มีทาง Command Line

Zoom OUT เป็ นการย่อรูปที่มีอตั ราส่วนที่แน่นอน ใช้ ย่อภาพครัง้ ละ 1 เท่า โดยที่จดุ ศูนย์กลางของ
การขยายภาพจะอยู่ที่หน้ าจอ Drawing เสมอ ไม่วา่ รูปชิ ้นงานจะอยู่สว่ นใดของหน้ าจอ การย่อภาพแบบ
นี ้จะไม่มีผลต่อการเลื่อนภาพมาอยู่จดุ ศูนย์กลางหน้ าจอ
โดยเรี ยกคําสัง่ จากไอคอน และที่เมนู View > Zoom > OUT แต่คําสัง่ นี ้จะไม่มที าง Command Line
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-06-I Page : 6 of 10 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Display Control

Zoom ALL เป็ นคําสัง่ ที่ช่วยให้ มองเห็นภาพที่เราเขียนลงไปไม่วา่ อยู่สว่ นใดของหน้ าจอภาพ ถ้ า


หากมีเส้นบางเส้นที่ผิดพลาดจากการ Copy, Array หรืออื่นๆ หลุดไปจากกรอบงานที่เราใช้ ก็สามารถใช้ คําสัง่ นี ้
เพื่อหาดูได้ เช่นกัน โดยเรี ยกคําสัง่ จากไอคอน และที่เมนู Menu Browser > View > Zoom > All

8. คําสั่ง Zoom Realtime เป็ นการย่อ-ขยาย โดยกดปุ่ มซ้ ายของ mouse ค้ างไว้ แล้ วเลื่อน Cursor ขึ ้น
หรื อลง

การบันทึกวิว
เราสามารถบันทึกวิวในขณะหนึ่งๆ ไว้ เป็ นชื่อวิว ต่อมาเมื่อย้ ายไปวิวอื่นและต้ องการกลับคืนมาที่วิวที่ได้
บันทึกไว้ ก็สามารถเรียกใช้ ชื่อวิวนันๆ ้ เพื่อให้ กลับไปแสดงส่วนภาพตามที่ได้ บนั ทึกไว้ ทําได้ โดยใช้ คําสัง่ View
และ -View ในที่นี ้จะขอกล่าวถึง -View คําสัง่ นี ้มีผลบันทึกกับไฟล์งานแบบด้ วย ทําให้ การใช้ งานครัง้ ถัดไป ก็
ยังคงมีชื่อวิวที่ได้ บนั ทึกไว้ ให้ ใช้ ได้ อีก ซึง่ จะมีขนตอนดั
ั้ งนี ้
1. ลองเปิ ดไฟล์แบบงานมา 1 งาน แล้ วให้ ใช้ Zoom Window เลือกบริเวณที่ต้องการจะ Zoom บน
Model Space
2. บันทึกวิวชื่อ View 1 เพื่อใช้ เรี ยกในภายหลังด้ วยคําสัง่ -View บนบรรทัดคําสัง่ ดังนี ้

Command : -View
Enter an option [ ? /Categorize/LAyer state/Orthographic/Delete/Restore/ Save/Ucs/ Window ] : s
Enter view name to save : View 1

3. เปลี่ยนไปกําหนดแสดงภาพที่อื่นๆ แทน เช่น แสดงรูปวาดทังหมดโดยใช้ ้ Zoom Extents


4. ในตอนนี ้จะเรี ยกคืนไปที่วิวที่ได้ บนั ทึก ด้ วยคําสัง่ -View บนบรรทัดคําสัง่ ดังนี ้

Command : -View
Enter an option [ ? / Categorize / LAyer state / Orthographic / Delete / Restore / Save / Ucs /
Window ] : r
Enter view name to save : View 1

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-06-I Page : 7 of 10 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Display Control

คําสั่ง Redraw
ใช้ คําสัง่ นี ้สําหรับล้ างหรื อลบส่วนที่ไม่ต้องการบนจอภาพเช่นเครื่องหมายกากบาท (x) หรือ Blip ที่เกิด
จากการกําหนดตําแหน่ง คําสัง่ นี ้จะล้ างจอภาพในทุก ๆ วิวพอร์ท

คําสั่ง Regen
ใช้ คําสัง่ นี ้สําหรับล้ างจอภาพและวัตถุตา่ งๆบนพื ้นที่วาดภาพใหม่เพื่อให้ สามารถมองเห็นรูปร่าง
Objects ต่าง ๆ ได้ ชดั เจนเหมือนจริ งยิ่งขึ ้น

คําสั่ง Regen All


ใช้ สงั่ นี ้สําหรับล้ างจอภาพและวาดวัตถุตา่ ง ๆ บนพื ้นที่วาดภาพใหม่ในทุก ๆ วิวพอร์ท

คําสั่ง VIEWRES
ใช้ สําหรับควบคุมความละเอียดในการแสดงผลของส่วนโค้ งและวงกลมบนจอภาพ ถ้ ากําหนดค่า
เปอร์เซ็นต์การย่อหรือขยายให้ เหมาะสมจะทําให้ การวาดภาพใหม่ทําได้ เร็วขึ ้น หากกําหนดค่า VIEWRES ตํ่า
วงกลมและส่วนโค้ งจะปรากฏเป็ นสันเหลี่ยมให้ เห็นบนจอภาพ แต่จะให้ การวาดภาพใหม่เร็วยิ่งขึ ้น

VIEWRES = 1 VIEWRES = 25 VIEWRES = 1000

Command: viewres
Do you want fast zooms? [Yes/No] <Y>: { ถ้ าตอบ N โปรแกรมจะคํานวณภาพใหม่ (Regen)
เมื่อใช้ คําสัง่ ZOOM, PAN และคําสัง่ VIEW ถ้ าตอบ Y โปรแกรมวาดภาพใหม่ (Redraw)
เมื่อใช้ คําสัง่ ZOOM, PAN และคําสัง่ VIEW }

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-06-I Page : 8 of 10 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Display Control

Enter circle zoom percent (1-20000) <1000>: { ค่า Zoom percent นี ้จะทําให้ Circles, Arcs,
Ellipses และ Spline ใช้ เส้ นตรงสันๆ
้ หลายเส้ นมาต่อกัน ถ้ ากําหนด Zoom percent มีคา่ มาก
จะทําให้ สว่ นโค้ งหรือวงกลมราบเรียบยิ่งขึ ้น }

ถ้ ากําหนดให้ มี Fast Zoom จะทําให้ ความเร็วในการ Zoom Pan เร็วขึ ้นเนื่องจากไม่มีการ Regeneration
ไม่ควรตัง้ % ของการ Zoom สูงมากเกินความจําเป็ น การแสดงผลจะช้ าลงโดยไม่เกิดประโยชน์ใด ๆ กับภาพที่
ปรากฏบนจอภาพ

User Coordinate Systems


การกําหนดพิกดั ของจุด origin ใหม่ให้ เป็ นพิกดั ที่เราต้ องการนัน้ ทําได้ โดยการย้ าย UCS Icon ไปอยู่
พิกดั ใหม่ และเรี ยกว่า User Coordinate System (UCS) ทําได้ 3 วิธี ดังนี ้

1. Tools > New UCS > Origin


Enter an option [New/Move/orthoGraphic/Prev/Restore/Save/Del/Apply/?/World] <World>: o
Specify new origin point <0,0,0>: 4,4 (ตําแหน่ งพิกัดใหม่ ) กด Enter

2. Tools > Move UCS


Enter an option [New/Move/orthoGraphic/Prev/Restore/Save/Del/Apply/?/World] <World>: m
Specify new origin point or [Zdepth] <0,0,0>: -2,-2 (ตําแหน่ งพิกัดใหม่ ) กด Enter

3. Tools > New UCS > Object


Enter an option [New/Move/orthoGraphic/Prev/Restore/Save/Del/Apply/?/World] <World>: ob
Select object to align UCS: 2,2 กด Enter หรือคลิกเลือกวัตถุ ณ ตําแหน่ งพิกัดตามต้ องการ
ในกรณีที่ UCS icon ไม่ได้ ย้ายไปอยู่หรื อแสดง ณ พิกดั ใหม่ ให้ ใช้ คําสัง่ ดังนี ้

View > Display > UCS Icon > Origin


- เพื่อย้ าย UCS Icon ให้ ไปอยูห่ รือแสดง ณ ตําแหน่งพิกดั จุด origin ใหม่
ในการย้ าย UCS Icon กลับไปอยู่ที่ WCS (World Coordinate Systems) ทําได้ โดย

Tools > New UCS > World


- เพื่อย้ าย UCS Icon ให้ ไปอยู่ ณ พิกดั จุดมุมล่างซ้ ายมือ หรือตําแหน่ง WCS ตามเดิม
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-06-I Page : 9 of 10 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Display Control

คําสั่ง UCS Icon


ใช้ คําสัง่ นี ้สําหรับเปิ ด/ปิ ด Ucsicon ซึ่งแสดงทิศทางแนวแกน x , y และ z

เปิ ด ปิ ด

ON แสดง UCS ไอคอนที่มมุ ซ้ ายด้ านล่างของพื ้นที่วาดภาพ


OFF ซ่อน UCS ไอคอนไม่ให้ ปรากฏบนพื ้นที่วาดภาพ
All บังคับให้ การปรับแต่ง UCS ไอคอนมีผลในวิวพอร์ ททังหมด

Noorigin UCS ไอคอนจะอยู่ที่มมุ ซ้ ายด้ านล่างของจอภาพเสมอโดยไม่อยู่ ณ ตําแหน่งจุดกําเนิด
Origin ไอคอนจะอยู่ ณ ตําแหน่งจุดกําเนิดเสมอหากมีการเคลื่อนย้ ายจุดกําเนิด UCS ไอคอน
จะเคลื่อนย้ ายตามไปด้ วย
Properties แสดง dialog box ของ UCS Icon ซึ่งสามารถเปลี่ยนรูปแบบของ UCS Icon ได้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-06-I Page : 10 of 10 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

บทที่ 7 คําสั่งช่วยควบคุมคุณสมบัติของวัตถุ
หลักการเบือ้ งต้ นสําหรับการเขียนแบบของ AutoCAD
การเขียนแบบโดยโปรแกรม AutoCAD ภาพที่ได้ ประกอบด้ วยสภาพแวดล้ อม ดังนี ้คือ Layer, Color
และ Linetype แบบที่เขียนสําหรับใช้ งาน จะประกอบด้ วยรายละเอียดต่างๆ เช่น แบบของอาคาร ประกอบด้ วย
เสา ผนัง เฟอร์ นิเจอร์ และเส้ นบอกขนาด ดังนัน้ ในการออกแบบและเขียนแบบ ควรแบ่งสิ่งต่างๆ ออกเป็ นกลุม่
ให้ แต่ละกลุม่ อยู่บน Layer เดียวกัน เช่น เขียนเสาและผนังอยู่บน Layer ที่ชื่อ Walls เฟอร์ นิเจอร์ อยู่ใน Layer ชื่อ
Furni ส่วนเส้ นบอกขนาดและข้ อความ อยู่บน Layer ชื่อ Dimen เป็ นต้ น
ในการแบ่งกลุม่ ของวัตถุให้ เขียนบน Layer ที่แตกต่างกัน ทําให้ เราสามารถกําหนดสี และสภาพแวด
ล้ อมอื่น ๆ สําหรับแต่ละ Layer ให้ ตา่ งกันได้

คําสั่ง Layer
เลเยอร์ (Layer) เปรี ยบเสมือนกับแผ่นใสหลายๆ แผ่น ซึ่งวางซ้ อนกันอยูบ่ นพื ้นที่วาดภาพของ AutoCAD
เราสามารถเลือกที่จะเขียนวัตถุลงบนแผ่นใสแผ่นใดก็ได้ ไม่วา่ เราจะเขียนลงบนแผ่นใสแผ่นใด เราสามารถที่จะ
มองเห็นวัตถุตา่ งๆ ที่อยู่ในแผ่นใสได้ พร้ อมๆ กัน โดยทัว่ ไปเรามักเขียนวัตถุที่อยู่ในกลุม่ เดียวกันในแผ่นใสแผ่น
เดียวกันเสมอ เพื่อสะดวกในการเปลีย่ นแปลงแก้ ไข หากเราไม่ต้องการให้ วตั ถุที่ถกู เขียนไว้ ในแผ่นใสแผ่นใด
ปรากฏบนพื ้นที่วาดภาพ เราสามารถดึงแผ่นใสนันออกไปซึ้ ่งจะช่วยลดความซับซ้ อนของวัตถุที่ปรากฏบนจอภาพ
อย่างมาก ซึ่งใน AutoCAD เราเรียกแผ่นใสนี ้ว่าเลเยอร์ (Layer)
ในการเขียนแบบทางเครื่ องกลนันมี ้ การใช้ เส้ นหลายรูปแบบอาทิเช่น เส้นเต็ม (Continuous) เส้ นประ
(Hidden) เส้ นศูนย์กลาง (Center) เส้ นลายตัด (Hatch) เส้ นบอกขนาด (Dimension) เส้ นระนาบตัด (Cutting
Line) ตัวอักษร (Text) และอื่นๆ เป็ นต้น ดังนันในการควบคุ
้ มการแสดงผลและการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัตใิ ดๆ
ของเส้ นรูปแบบต่าง ๆ เราจึงควรที่จะสร้ างเลเยอร์ ขึ ้นตามรูปแบบของเส้ นนัน้ ๆ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 1 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

ทุกครัง้ ที่เข้ าสู่ AutoCAD นันโปรแกรมจะสร้


้ างเลเยอร์ชื่อ “ 0 ” (ศูนย์) ให้ เรามาเสมอโดยอัตโนมัติโดยที่จะมี
สถานะเปิ ด มีสีขาว (White) และรูปแบบเส้ นเป็ นเส้ นเต็ม (Continuous) ในการเรี ยกใช้ เลเยอร์มาใช้ งานก็จะมี
รูปแบบคําสัง่ ดังนี ้

Menu Browser > Format > Layer

เมื่อเรียกคําสัง่ มาใช้ งานก็จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ดงั รูปข้ างบน

Current Layer แสดงชื่อเลเยอร์ ใช้ งาน ซึง่ ในที่นี ้เลเยอร์ 0 (ศูนย์) เป็ นเลเยอร์ใช้ งาน
Name จะปรากฏชื่อเลเยอร์ทงหมดที ั้ ่มีอยู่ในไฟล์แบบงานใช้ งาน
On แสดงสถานะปิ ด/เปิ ดของเลเยอร์ ดวงไฟสีเหลืองแทนสถานะเปิ ดดวงไฟสีเทาแทนสถานะปิ ด
หากเราคลิกให้ ดวงไฟปิ ด วัตถุที่อยู่ในเลเยอร์นี ้ที่จะถูกปิ ดจะไม่ปรากฏบนพื ้นที่วาดภาพและ
เครื่ องพิมพ์แต่วตั ถุที่ถกู ปิ ดอยู่นี ้ยังคงคํานวณบนพื ้นที่วาดภาพเมื่อมีการใช้ คําสัง่ Regen
Freeze แสดงการแช่แข็ง/ละลายเลเยอร์ ไอคอนดวงอาทิตย์มสี ีเหลืองเป็ นสถานะละลาย ไอคอนมีสีเทา
เป็ นสถานะแช่แข็ง วัตถุตา่ งๆ ที่อยูใ่ นเลเยอร์ที่ถกู แช่แข็งจะไม่ปรากฏบนจอภาพ และ
เครื่ องพิมพ์และยังไม่มีผลในการคํานวณอีกด้ วยเมื่อใช้ คําสัง่ Regen
Lock แสดงการล็อค/ปลดล็อคเลเยอร์ วัตถุตา่ งๆ ที่อยู่ในเลเยอร์ ที่ถกู ล็อคสามารถมองเห็นได้ บน
จอภาพ แต่ไม่สามารถแก้ ไขปรับแต่งวัตถุใดๆ ที่อยู่ในเลเยอร์นี ้ได้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 2 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

Color ใช้ สําหรับกําหนดสีให้ กบั เลเยอร์ ที่ถกู เลือก


Linetype ใช้ สําหรับกําหนดรูปแบบของเส้ นให้ กบั เลเยอร์ที่ถกู เลือก
Lineweight ใช้ สําหรับกําหนดความหนาของเส้ นให้ กบั เลเยอร์ที่ถกู เลือก
Plot style ใช้ สําหรับเลือกชื่อสไตล์หรือรูปแบบในการพิมพ์ คอลัมน์นี ้จะใช้ ได้ ก็ตอ่ เมื่อมีการใช้ คําสัง่
Tool > Option > Plotting > Use name plot style คือการใช้ ชื่อสไตล์ในการกําหนดรูปแบบ
ในการพิมพ์แบบงาน
Plot กําหนดให้ วตั ถุทงหมดที
ั้ ่อยูใ่ นเลเยอร์ที่ถกู เลือกปรากฏบนเครื่องพิมพ์หรือไม่ปรากฏบนเครื่อง
พิมพ์

ขัน้ ตอนในการสร้ าง Layer สําหรั บงานเขียนแบบ สามารถทําได้ โดยดังนี ้


1. เรี ยกคําสัง่ มาใช้ งานโดยวิธีใดก็ได้ Menu Browser > Format > Layer หรื อคลิกที่ไอคอนนี ้
ก็จะได้ ไดอะล็อกบ็อกซ์ Layer Propertics Managers ดังรูป
2. คลิกบนปุ่ ม New Layer จะปรากฏชื่อเลเยอร์ Layer ซึ่งโปรแกรมกําหนดให้ ในขณะที่เคอร์เซอร์ยงั
กระพริบอยู่บนเลเยอร์ เราก็สามารถพิมพ์ชื่อเลเยอร์ ที่ต้องการเข้ าไปแทนที่ได้
3. กําหนดสีให้ กบั เลเยอร์ใหม่ที่สร้ างขึ ้น โดยคลิกที่ตลับสีรูปสีเ่ หลี่ยมจัตรุ ัสเล็กบนไดอะล็อกบ็อกซ์
ก็จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ตลับสีขึ ้นมาจํานวนมากดังรูป คลิกบนสีที่ต้องการแล้ วเลือก OK สีของ
เลเยอร์ กจ็ ะเปลี่ยนไปตามสีที่เราเลือก

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 3 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

4. กําหนดรูปแบบเส้ นให้ กบั เลเยอร์ โดยการคลิกบนชื่อรูปแบบเส้ นในบรรทัดเลเยอร์ใหม่ จะปรากฏ


ไดอะล็อกบ็อกซ์ Select Linetype ขึ ้นมาบนจอภาพดังรูป

คลิกบนรูปแบบเส้ นที่ต้องการหากเส้ นที่ต้องการยังไม่ปรากฏบนไดอะล็อคนี ้ ให้ คลิกบนปุ่ ม Load แล้ วโหลด


รูปแบบเส้น ที่ต้องการเข้ าไปยังไดอะล็อกบ็อกซ์ Select Linetype แล้ วจึงคลิกบนรูปแบบเส้ นที่ต้องการ
กําหนดให้ เลเยอร์นนั ้ ก็เป็ นการเสร็จสิ ้นสําหรับการสร้ างเลเยอร์ ใหม่ให้ กบั งาน

ใน AutoCAD มีการนําเอาความหนาของเส้น (Lineweight) เข้ ามาใช้ งานในเลเยอร์ หากเราทราบ


แน่นอนแล้ วว่าวัตถุที่อยูใ่ นเลเยอร์ นนจะต้
ั ้ องพิมพ์ลงในกระดาษด้ วยความหนาเท่าไร เราก็สามารถกําหนดความ
หนาเส้นให้ กบั เลเยอร์ได้ หากต้ องการให้ เส้ นปรากฏความหนาจริงบนจอภาพให้ คลิกบนปุ่ ม LWT บนบรรทัด
แสดงสถานะ เพื่อเปิ ดโหมดแสดงความหนาเส้นบนพื ้นที่วาดภาพ

นอกจากเราจะควบคุมสถานะต่างๆ ของเลเยอร์ ผา่ นไดอะล็อกบ็อกซ์ Layer properties Manager แล้ ว


เรายังสามารถคลิกบนปุ่ ม บนแถบรายการควบคุมสถานะเลเยอร์ (Layer Control) เพื่อ
เปลี่ยนแปลงสถานะต่างๆ ของเลเยอร์โดยไม่ต้องเข้ าไปยังไดอะล็อกบ็อกซ์ Layer Properties manager

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 4 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

การกําหนดรูปแบบของคําสั่ง Linetype
โปรแกรม AutoCAD มีชนิดของเส้ นให้ เลือกใช้ หลายรูปแบบ แต่สําหรับแบบเริ่มต้ น (Default
Drawing) ซึ่งโปรแกรมได้ กําหนดสภาพแวดล้ อมของงานเขียนแบบเริ่มต้ น ให้ มี Layer เป็ น Layer 0 และ
Linetype เป็ นเส้ นต่อเนื่อง (Continuous) การเพิ่มรูปแบบของเส้ น มีขนตอนดั
ั้ งนี ้

Menu Browser > Format > Linetype จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ ดังรูป

- ที่ Linetypes Manager dialog box คลิกปุ่ ม Load ได้ Load or Reload Linetypes Dialog box
เลือก Linetype ที่ต้องการ คลิกปุ่ ม OK
- ในกรณีที่ต้องการเลือก Linetypes ทุกชนิด ให้ คลิก Mouseปุ่ มขวา แล้ วคลิกเลือก
Select all และคลิก
- เลือก Clear all เพื่อยกเลิกการเลือก Linetypes ทังหมด

Show all linetype แสดงรูปแบบเส้ นที่โหลดเข้ ามาใช้ งานทังหมดบนไดอะล็
้ อค
Show all used linetype แสดงรูปแบบเส้ นที่มีวตั ถุใช้ งานอยูท่ งหมดบนไดอะล็
ั้ อค

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 5 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

Show all Xrefdependent linetype แสดงรูปแบบเส้ นที่อ้างอิงจากภายนอก (External reference) เข้ ามา
ใช้ งานทังหมด

Invert filter ใช้ เช็คบอกซ์นี ้สําหรับสลับเปลี่ยนให้ แสดงรูปแบบเส้นในทางตรงกัน
ข้ ามกับฟิ วเตอร์ใช้ งาน
Load… คลิกบนปุ่ มนี ้เพื่อโหลดรูปแบบเส้ นอืน่ ๆ เข้ ามาใช้ งาน
Current คลิกบนชื่อรูปแบบเส้ นแล้ วคลิกบนปุ่ มนี ้เพื่อกําหนดรูปแบบเส้ นใช้ งาน
Delete ลบรูปแบบเส้ นที่ยงั ไม่ได้ ใช้ งานทิ ้งไป
Show details เมื่อคลิกปุ่ มนี ้จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ขยายเพิ่มขึ ้นดังรูป

Name แสดงชื่อรูปแบบเส้ นที่ถกู เลือก


Description แสดงชื่อและตัวอย่างรูปแบบเส้ นที่ถกู เลือก
Global scale factor กําหนดสเกลแฟคเตอร์ควบคุมเส้ นประทังหมดในแบบงาน

Current object scale กําหนดสเกลแฟคเตอร์ควบคุมเส้ นประใช้ งานหรือเส้ นประที่ถกู สร้ าง
ขึ ้นใหม่
Use paper space units for scaling ใช้ หน่วยวัดในเปเปอร์สเปสในการกําหนดสเกล

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 6 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

การกําหนด Linetype Scale


ในกรณี Linetype Scale ไม่เหมาะสมกับ Drawing Limits ของงานเขียนแบบ สามารถปรับหรือกําหนด
Linetype Scale ใหม่ได้ ดงั นี ้

Menu Browser > Format > Linetype


- ได้ Linetype Manager Dialog box คลิกเลือกปุ่ ม Show details
- ที่ช่อง Global scale factor เปลี่ยนค่า Linetype Scale ให้ เหมาะสมกับขอบเขตของงานเขียนแบบ
(Drawing Limit) คลิกปุ่ ม OK ในกรณีที่ Linetype ที่เขียนไปแล้ วยังไม่ได้ ปรับ Scale ให้ ทําการ
Regenerate จอภาพ โดยคําสัง่ Menu Browser > View > Regen
- เพื่อปรับการแสดงผลของจอภาพ

คําสั่ง Lineweight
ใช้ คําสัง่ นี ้สําหรับกําหนดความหนาของเส้น (Lineweight) ใช้ งานให้ กบั วัตถุโดยปกติรูปแบบความหนา
เส้ นใช้ งานจะปรากฏบนแถบการควบคุมความหนาเส้น (Lineweight Control) ดังรูป

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 7 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

เมื่อเรียกคําสัง่ มาใช้ งานจะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ ดังรูปด้านล่าง

Lineweight แสดงรายการความหนาเส้ นที่มีอยู่ทงหมด


ั้ โดยหน่วยวัดที่ระบุใน Unit for Listing
Unit for Listing เลือกหน่วยในการปรากฏความหนาของเส้ น มิลลิเมตรหรือนิ ้ว
Display Lineweight ปิ ด/เปิ ด โหมดการแสดงความหนาเส้ นบนพื ้นที่วาดภาพ เราสามารถใช้ ปมุ่ LWT บน
บรรทัดแสดงสถานะได้ เช่นเดียวกัน
Default กําหนดค่าความหนาใช้ งานเริ่มต้นให้ กบั เลเยอร์ ค่าความหนาที่โปรแกรมกําหนดให้ คือ
0.01 นิ ้วหรือ 0.25 มิลลิเมตร
Adjust Display Scale ปรับสเกลการแสดงผลความหนาเส้ นบนพื ้นที่วาดภาพในโมเดลสเปสความหนาเส้ นที่
ปรากฏในโมเดลสเปสมีหน่วยวัดเป็ นจํานวนจุดพิเซล (Pixel) ไม่ได้ แสดงความหนา
เท่ากับหน่วยวัดใน AutoCAD จริง ๆ อย่างไรก็ตามเราสามารถกําหนดให้ ความหนาเส้ น
ขนาดใดขนาดหนึ่งให้ ปรากฏมีจํานวนจุด (Pixel) กี่จดุ บนจอก็ได้ ความหนาของเส้น
ขนาดอื่นๆ จะถูกปรับสัดส่วนความหนาตามไปด้ วยโดยอัตโนมัติ
Current lineweight แสดงความหนาเส้ นใช้ งานที่ถกู เลือกบนแถบรายการควบคุมความหนาเส้ น
(Lineweight Control)

โดยที่โปรแกรมกําหนดให้ ความหนาเส้นที่ใช้ งาน คือ Bylayer ซึ่งหมายถึงวัตถุที่สร้ างขึ ้นใหม่จะมีความ


หนาตามที่กําหนดในตัวเลือก Lineweight บนไดอะล็อค Layer Properties Manager แต่ถ้าเราเลือกความหนา
เส้ นอื่นๆ นอกเหนือจาก Bylayer ความหนาเส้นที่กําหนดไว้ ในเลเยอร์จงึ จะไม่มีผลกับวัตถุที่สร้ างใหม่วตั ถุที่
สร้ างใหม่จะใช้ ความหนาเส้ นที่ระบุในแถบรายการควบคุมความหนาเส้นเท่านัน้
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 8 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

คําสั่ง Match Properties


เป็ นคําสัง่ ที่ใช้ เปลี่ยนคุณสมบัติตามต้ นแบบ หรือเป็ นการ Copy หรือทําสําเนาวัตถุต้นแบบ เพื่อให้ วตั ถุ
อีกชิ ้น เป็ นไปตามวัตถุต้นแบบ ไม่วา่ จะเป็ น Layer, Color, Linetype, lineweight ทังหมดนี ้ ้จะถูกทําการ Copy
ไปจากวัตถุต้นแบบไปยังวัตถุที่ต้องการ แต่ไม่สามารถเปลีย่ นแปลงรูปทรงให้ เหมือนวัตถุต้นแบบได้ โดยเรียก
คําสัง่ ได้ จาก Menu Browser > Modify > Match Properties
เมื่อคลิกคําสัง่ แล้ ว เคอร์ เซอร์ จะเปลีย่ นเป็ นกล่องสี่เหลีย่ ม ให้ คลิกที่วตั ถุต้นแบบที่มีสีนํ ้าเงินเป็ นเส้ นประ
จากนัน้ เคอร์ เซอร์ จะเปลี่ยนไปเป็ นดังภาพ แล้ วจึงมาคลิกที่วตั ถุวงกลม เพื่อต้ องการเปลี่ยนคุณสมบัติตามวัตถุ
ต้ นแบบ

เลือกวัตถุวงกลมเพื่อเปลี่ยนคุณสมบัติ ผลลัพธ์ที่ได้

วัตถุวงกลมก็จะเปลี่ยนคุณสมบัติจากเส้ นที่เป็ นสีมว่ ง และมีลกั ษณะที่เป็ นเส้นต่อเนื่อง ก็จะเปลีย่ นเป็ น


เส้ นสีนํ ้าเงิน และเส้ นประตามรูปสี่เหลี่ยม แต่ไม่จําเป็ นที่จะต้ องทําสําเนาเอาทุกๆ อย่างของวัตถุต้นแบบมา
ทังหมด
้ ทังนี
้ ้เราสามารถเลือกเอาเพียงคุณสมบัติบางอย่างไม่วา่ จะเป็ น Layer, Color, Linetype, lineweight
หรือเลือก 2 อย่างก็ได้ ตามแต่การใช้ งาน โดยเมื่อเราใช้ คําสัง่ แล้ วคลิกเลือกวัตถุต้นแบบเรียบร้ อยแล้ ว ให้ ดูท่ ี
Command Line จะพบคําว่า (Settings) จึงพิมพ์ตวั ย่อ S ลงไป แล้ วกดแป้น Enter จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์
Properties Settings เพื่อทําการเลือกบางคุณสมบัติ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 9 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

คลิกเลือกคุณสมบัติท่ ี
ต้ องการให้ มีการทํา
สําเนาจากวัตถุต้นแบบ

คําสั่ง Area
คําสัง่ Area เป็ นคําสัง่ ที่ช่วยหาพื ้นที่ภายในที่เป็ นรูปปิ ด ไม่วา่ จะเป็ น Rectangle, Polygon, Circle หรือ
Ellipse และรูปที่ไม่เป็ นทรงเรขาคณิตก็สามารถคํานวณได้ อีกทังยั ้ งคํานวณเส้ นกรอบรอบรูป และพื ้นที่ที่มีสว่ น
ตัดภายในได้ โดยเรียกคําสัง่ ได้ จากไอคอน หรื อที่ Command : Area และที่ Menu Browser > Tools > Inquiry
> Area
1. หาพื ้นที่รูปสีเ่ หลีย่ ม
2. หาพื ้นที่รูปที่ไม่ใช่ทรงเรขาคณิต
3. หาพื ้นที่ภายในวงกลม
4. หาพื ้นที่ภายในครึ่งวงกลม จะต้ องทําการ join วัตถุให้ เป็ น Object เดียวกันก่อน
5. หาพื ้นที่จากแผ่นเหล็กที่เจาะรู โดยการพิมพ์ A (Add) เพื่อบวกพื ้นที่เก็บไว้
พิมพ์ S (Subtract) เพื่อเลือกวัตถุที่จะให้ ลบออกจากพื ้นที่
หลักที่มีอยู่

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 10 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

คําสั่ง Distance
เป็ นคําสัง่ ที่ใช้ ในการหาความยาวของวัตถุ ทังยั
้ งบอกค่าองศาได้ อีกด้ วย โดยสามารถเรียกคําสัง่ ได้ จาก
ไอคอน หรือที่ Command : DIST และที่ Menu Browser > Tools > Inquiry > Distance

คําสั่ง Filter
เป็ นคําสัง่ ที่ใช้ ในการเลือกวัตถุ ทําได้ ทงการทํ
ั้ าสําเนาวัตถุ (Copy), ทําการเคลื่อนย้ าย (Move) หรือการ
ลบวัตถุเป็ นต้ น เหมาะกับการทํางานที่ชิ ้นงานมีความซับซ้ อน หรือทับกันไปทับกันมา เลือกวัตถุได้ ทกุ ชนิดไม่วา่
จะเป็ น เส้นตรง, เส้ นโค้ ง, วงกลม, ตัวหนังสือ ฯลฯ โดยเราต้ องทําการเลือกฟั งก์ชนั่ ที่ต้องการจะทํากับวัตถุชิ ้นนันๆ

เราจึงพิมพ์ ‘Filter ลงไป ทําให้ ไม่ต้องเสียเวลา pick เส้ นที่ไม่ต้องการออกไป

1. ทําการย้ ายวัตถุท่ ีเป็ นวงกลมออกไป


Command : Move
Select objects: ‘filter
จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ แล้ วคลิกเลือกวัตถุ Circle

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 11 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

รายชื่อจะปรากฏในช่ อง List

1. คลิกปุ่ ม Add to List 2. คลิกปุ่ ม Apply

เมื่อ Apply แล้ วก็จะกลับมาที่หน้ าจอ Drawing ให้ คลิกเมาส์ลากกรอบจากจุด A ไปยังจุด B แล้ วคลิก
เมาส์ขวา 2 ครัง้

B
เมื่อคลิกขวาแล้ ว จะเห็นว่าวงกลม
พร้ อมที่จะถูกย้ ายออกไป

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 12 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

จะเห็นว่าวงกลมได้ ย้ายออกไปแล้ ว
คลิกจุดอ้ างอิงเพื่อย้ ายวงกลมออกไป

2. ลบเส้ นตรงออกจากภาพ
Command : Erase
Select objects: ‘filter
จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ แล้ วคลิกเลือกวัตถุ Line

รายชื่อจะปรากฏในช่ อง List

1. คลิกปุ่ ม Add to List 2. คลิกปุ่ ม Apply

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 13 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

จะกลับมาที่หน้ าจอ Drawing ให้ คลิกเมาส์ลากกรอบจากจุด A ไปยังจุด B แล้ วคลิกเมาส์ขวา 2 ครัง้

B
เส้ นตรงทัง้ หมดจะถูกเลือก แล้ วคลิกเมาส์ ขวา 2 ครัง้

จะเห็นได้ ว่าเส้ นตรงได้ ถูกลบออกไปแล้ ว

คําสั่ง List
List คือคําสัง่ สําหรับการเลือกดูคณุ สมบัติของวัตถุชิ ้นนัน้ คล้ ายกับคําสัง่ Properties แต่คําสัง่ List เป็ น
เพียงการบอกถึงคุณสมบัติ แต่จะแก้ ไขเปลี่ยนแปลงค่าต่างๆ ในนันไม่ ้ ได้ ซึ่งจะแตกต่างจากคําสัง่ Properties ใน
จุดนี ้ โดยรวม จะกล่าวถึงชื่อของวัตถุ สเกลของทัง้ 3 แกน หรือมุมหมุนกี่องศา เป็ นต้ น โดยเรียกคําสัง่ จาก
Command : List และที่ Menu Browser > Tools > Inquiry > List
เมื่อมีวตั ถุแล้ วเราต้ องการทราบถึงคุณสมบัตติ า่ งๆ ให้ ใช้ คาํ สัง่ List แล้ วจังเอาเคอร์ เซอร์ ไปคลิกที่วตั ถุที่
ต้ องการทราบรายละเอียด แล้ วกดแป้น Enter จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ของ List ขึ ้นมา

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 14 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

คําสั่ง ID Point
เป็ นคําสัง่ ที่ต้องการให้ แสดงค่าจุด Coordinate ของตําแหน่งต่างๆ รวมทังจุ
้ ดวางของวัตถุนนั ้ โดยใช้
ร่วมกับ Osnap เพื่อความแม่นยํายิ่งขึ ้น โดยเรียกคําสัง่ ได้ จากไอคอน หรือที่ Command : ID และที่
Menu Browser > Tool > Inquiry > ID Point

คําสั่ง Option
เป็ นคําสัง่ ที่ช่วยปรับแต่งคุณสมบัติการทํางานของ AutoCAD เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน และ
สามารถปรับตามความต้ องการของผู้ใช้ งาน โดยคําสัง่ จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ให้ ปรับแต่งค่าต่างๆ
เรียกคําสัง่ ได้ จากเมนู Tools > Options โดยในไดอะล็อกบ็อกซ์จะมี Topic ทังหมด
้ 10 หัวข้ อดังต่อไปนี ้

Files
เป็ นการแสดงแฟ้มข้ อมูลของ
AutoCAD ทังระบบการทํ
้ างาน และตัวช่วย
สนับสนุนต่างๆ โดยคลิกที่เครื่องหมายบวก
หน้ าหัวข้ อที่ต้องการจะปรากฏ Root
Directory ของชุดหัวข้ อนันๆ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 15 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

Display
เป็ นชุดควบคุมการแสดงผลของ
หน้ าจอ Drawing โดยมีชดุ หัวข้ อย่อยดังนี ้
1. Window Elements เป็ นตัว
ควบคุมการเปิ ด-ปิ ดของช่อง Scroll Bars
และชุดของ Screen Menu ที่เป็ นชนิด
เดียวกับ Menu Bars แต่เมื่อเปิ ดการใช้ งาน
แล้ วจะอยู่ทางด้ านขวาของหน้ าจอรวมทัง้
การกําหนดคุณสมบัติของสีและฟอนต์ที่ใช้

แสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ในส่วนของการ
ปรับแต่งสีของหน้ าจอ และฟอนต์ของ Command
Line

2. Layout Elements เป็ นตัวควบคุมการแสดงผลของหน้ าจอ Drawing Layout


3. Crosshair Size ปรับแต่งขนาดของเคอร์เซอร์ที่ใช้ งาน
4. Display Resolution ปรับตัวควบคุมค่าความละเอียด (Smoothness) ของชิ ้นงานต่างๆ
5. Display Perfomance เป็ นตัวควบคุมการแสดงผลว่าให้ เปิ ด หรื อปิ ดในโหมดใด

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 16 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

Open and Save


เป็ นหัวข้ อที่ควบคุมข้ อมูลการ
จัดเก็บข้ อมูล โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี ้
1. File Save เลือกรูปแบบการ
จัดเก็บข้ อมูล โดยโปรแกรมจะตังค่ ้ าไว้ ที่ไฟล์
*.dwg
2. File Safety Precautions เป็ น
ตัวควบคุมการจัดเก็บข้ อมูลสํารอง
3. File Open เป็ นการแสดงไฟล์
งานที่ได้ ใช้ มาแล้ วว่าให้ แสดงทังหมดกี
้ ่ไฟล์
4. External References เป็ นตัว
ควบคุมการทํางานของไฟล์ Xref
5. ObjectARX Applications เป็ น
ตัวควบคุมการแสดงผลการทํางานด้ วย ARX

Plot and Publish


เป็ นชุดที่ควบคุมเกี่ยวกับเครื่อง
พล็อตทังการเลื
้ อกชนิดของเครื่องที่จะพล็อต
การติดตังเพิ
้ ่มชนิดเครื่องพล็อต และรูปแบบ
สไตล์ของการพล็อต

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 17 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

System
เป็ นตัวควบคุมการระบบแสดงผลที่
เกี่ยวกับโหมด 3 มิติ (3D Graphic) โดยการ
คลิกที่ Performance Settings ก็จะเป็ นการ
ปรับแต่งค่าต่างๆ ของโหมด 3 มิติ รวมทัง้
การเปิ ด-และปิ ด Startup Dialog

User Preferences
เป็ นชุดการแสดงผลของการติดต่อ
กับโปรแกรม เช่น การคลิกเมาส์ขวาเพื่อ
แสดงไดอะล็อกบ็อกซ์เลือกให้ ย้อนคําสัง่ เดิม
ที่ทําเมื่อครู่(Right-click Customization)
รวมทังการกํ
้ าหนดขนาดสเกลว่าให้ ใช้ หน่วย
มาตราใดในการวัดของ AutoCAD Design
Center ในการอินเสิร์ตภาพเข้ ามาในหน้ าจอ
และยังมีการปรับแต่งขนาดของนํ ้าหนักเส้ น
ที่ Lineweight Settings

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 18 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

Drafting
เป็ นชุดการควบคุม Object Snap
Settings ว่าต้ องการให้ ตวั มาร์เกอร์
(Marker) เป็ นเช่นไร และเลือกสีของ
Osnap, ขนาดของเคอร์ เซอร์ Osnap รวมทัง้
การเลือกรูปแบบของ Auto Track และการ
ปรับขนาดของเคอร์เซอร์

3D Modeling
เป็ นชุดการควบคุมการทํางานใน
โหมด 3 มิติ ไม่วา่ จะเป็ นการปรับค่า
เคอร์เซอร์, ตัวไอคอน USC หรือจะเป็ นการ
แสดงผลของชิ ้นงาน 3 มิติ รวมทังการตั
้ งค่
้ า
กําหนดจํานวนเส้ นเมซ (Mesh) สําหรับ
พื ้นผิวการทํางานในระบบดังกล่าว

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 19 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Object Control

Selection
เป็ นชุดที่ควบคุม Pickbox และ
Grip ปรับได้ ทงขนาด
ั้ และสีที่ต้องการ ทังนี
้ ้
การปรับขนาด และสีที่ต้องการนัน้ ต้ อง
ขึ ้นกับขนาดของหน้ าจอ Drawing การ
ทํางาน และขนาดความกว้ างของ Monitor

Profiles
เป็ นตัวควบคุมลักษณะการทํางานที่
ได้ กําหนดไว้ เช่น การตังรู้ ปแบบของการ
ปรับแต่งหน้ าจอต่างๆ เก็บไว้ ได้ หลายแบบ
เพื่อเหมาะสมกับการทํางานในแบบต่างๆ
ทังนี
้ ้จะเพิ่มเข้ าไปให้ คลิกที่ Add to List และ
ตังชื
้ ่อเอาไว้ เพื่อเก็บไว้ ใช้ งาน

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-07-I Page : 20 of 20 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

บทที่ 8 การเขียนลายตัด ตัวอักษร การทํา Block และตารางข้อความ


สิ่งสําคัญอีกอย่างหนึ่งของการเขียนแบบ คือการทําภาพตัดหรือ Section สําหรับแสดงรายละเอียดต่างๆ
ของหน้ าตัดชิ ้นงาน การเขียนตัวอักษรเพื่อบอกให้ ร้ ูวา่ เป็ นหน้ าตัดของส่วนใดหรือเพื่อจุดประสงค์อื่นๆ การเขียน
ตารางเพื่อแสดงรายการของวัสดุ รวมถึงการกําหนดขนาดเพื่อบอกระยะในแนวต่างๆ ของชิ ้นงาน ส่วนต่างๆ
เหล่านี ้ย่อมขาดส่วนใดส่วนหนึง่ ไปไม่ได้ เลยสําหรับงานเขียนแบบ

กลุม่ คําสัง่ สําหรับการเขียนลายตัดมีคําสัง่ ที่เกี่ยวข้ องโดยตรงคือคําสัง่ Hatch ส่วนอีกคําสัง่ หนึ่งคือ


Gradient จะเป็ นการไล่เฉดสี เพื่อตกแต่งรายละเอียดของงานให้ มสี ีสนั งดงาม

คําสั่ง Hatch
ในการเขียนแบบบางครัง้ จะมีการระบายพื ้นที่ด้วยเส้นขวาง หรือเส้ นลวดลายแบบต่างๆ เพื่อทําให้ เห็น
ความแตกต่างที่เด่นชัดจากส่วนอื่น หรื อเพื่อที่จะแสดงชนิดของวัสดุที่ใช้ งาน เช่น เหล็ก ไม้ อิฐ ฯลฯ ซึ่งการเขียน
เส้ นขวาง (Cross Hatching) และเส้ นลวดลาย (Pattern Filling) นี ้เราจะเรียกว่าการ Hatching ซึ่งเรียกสันๆ ้ ว่า
การ Hatch
เส้ น Hatch อาจจะเป็ นเส้ นต่อเนื่อง หรือเป็ นจุดและขีดก็ได้ โดยจะถูกจัดลงในพื ้นที่ขอบเขตอย่าง
เหมาะสม โดยโปรแกรมจะทําการเขียน Hatch ลงในกรอบของเส้ น
แต่ถ้าสมมุติวา่ ในพื ้นที่ของเส้ นขอบเขตมีสิ่งอื่นเข้ ามาเกี่ยวข้ อง เช่น เส้ นตรง เส้ นโค้ ง หรือวงกลมที่มี
ขอบเขตที่ปิดหรือไม่ปิดก็ได้ ผลของการ Hatch จะขึ ้นตรงกับลักษณะ 3 ประการคือ
1. Normal
2. Outer
3. Ignore

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 1 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

1. แบบ Normal เป็ นแบบที่โปรแกรมตังไว้


้ ให้ (Default) ซึ่งเป็ นสภาวะปกติในการใช้ งาน โดยใน
แบบ Normal นี ้จะมีลกั ษณะการ Hatch ดังรูป

การทํางานในรูปแบบนี ้ก็คือ โปรแกรมจะลากเส้ นจากขอบนอกเข้ ามาข้ างในเมื่อมาพบ Entity เช่นเส้นก็


จะหยุดแล้ วจะคํานวณต่อ และถ้ าพบกับอีกเส้นหนึ่งก็จะทําการลากเส้ นใหม่จนกว่าจะพบอีก Entity หนึ่งเส้ นก็จะ
หยุดอีกสลับกันไปเรื่ อยๆ จนกว่าจะหมด

2. แบบ Outer เป็ นแบบที่ Hatch เฉพาะในเส้นขอบเขตนอกไปจนถึง Entity ซึ่งจะได้ ลกั ษณะ
การ Hatch แบบ Outmost

การทํางานคือ โปรแกรมจะลากเส้นจากขอบนอกเข้ ามายังจุดตรงกลาง ในลักษณะเข้ าหากัน และเมื่อ


พบกับ Entity ก็จะหยุดไม่มีการเขียน Hatch อีก

3. แบบ Ignore การ Hatch ในลักษณะนี ้ จะไม่สนใจว่าจะมี Entity ใดๆ อยู่ในขอบของการ


Hatch เลย จะเหมือนกับเราทําการ Hatch และชี ้วัตถุไปยังขอบนอกเท่านัน้ ก็จะทําการ Hatch ทังหมดจากเส้
้ น
ขอบเขตทันที

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 2 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

วิธีการใส่ Hatch มีขนตอนการเรี


ั้ ยกใช้ งานดังนี ้

Menu Browser > Draw > Hatch


- ได้ Hatch and Gradient dialog คลิกที่ Quick Tab ที่ช่อง Type เลือก Predefined
- ที่ชอ่ ง Pattern คลิกที่กล่องเครื่องหมาย “…” จะได้ Hatch Pattern Palette dialog box เลือก Other
Predefined, ANSI หรื อ ISO Tab เพื่อเลือกรูปแบบ (Pattern) ตามต้ องการ คลิกปุ่ ม OK
- ที่ช่อง Scale และ Angle เปลี่ยนค่าสเกลและมุมตามต้ องการ
- คลิกปุ่ ม Pick Points หรื อ Select Objects เพื่อกําหนดพื ้นที่ ที่ต้องการเขียนลายภาพตัด
- ในกรณีที่เลือกพื ้นที่แบบ Pick Points เมื่อต้ องการแก้ ไขให้ คลิก Remove Islands คลิกปุ่ ม mouse
ขวา แล้ วคลิกเลือก Clear All เพื่อยกเลิกพื ้นที่ทงหมด
ั้ แล้วคลิกปุ่ ม Pick Points เพื่อกําหนดพื ้นใหม่
- และถ้ าต้ องการกําหนดพื ้นที่เป็ นแบบ Select Objects หากต้ องการแก้ ไข ให้ คลิกปุ่ ม Select
Objects แล้ วเลือกวัตถุใหม่

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 3 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

ภายในกรอบของ Type and pattern สําหรับเลือกลายตัดตามชนิด และ Pattern


Type: เป็ นรูปแบบหรื อชนิดของลายตัดซึ่งมีอยูด่ ้ วยกันทังหมด ้ 3 ชนิด คือ Predefined, User-defined
และ Custom
 Predefined เป็ นลายตัดที่โปรแกรมได้ เตรี ยมมาไว้ ให้ เลือกใช้
 User-defined เป็ นลายตัดแบบเส้ นตรงแนวนอน ผู้ใช้ สามมารถกําหนดมุม (Angle) ระยะห่าง
(Spacing) โดยผ่านหน้ าต่าง Boundary Hatch
 Custom เป็ นลายตัดที่ผ้ใู ช้ งานสร้ างขึ ้นมาเองโดยบันทึกไว้ เป็ นไฟล์ .pat และต้ องบันทึก
เก็บไว้ ใน ACAD.pat เท่านัน้

Pattern: เป็ นชื่อลายตัดที่ถกู เลือกจะแสดงในกรอบ สามารถเลือกชื่อลายตัดผ่านปุ่ ม


ที่อยู่ด้านข้ าง
Swatch: เป็ นช่องแสดงรูปลายตัดที่ถกู เลือก ตามค่าที่ได้ กําหนดหรือลายที่เลือกมา
Custom pattern: เป็ นช่องแสดงลายตัดที่ผ้ ใู ช้ งานสร้ างขึ ้นมาเอง

ภายในกรอบของ Angle and scale สําหรับกําหนดค่ามุมและสเกลของลายตัด


Angle: เลือกกําหนดค่ามุมให้ กบั ลายตัดที่ต้องการ ตามรายการที่มีมาให้ หรือพิมพ์คา่
มุมได้ ตามต้ องการ
Scale: สําหรับปรับย่อหรือขยายขนาดของลายตัดให้ เหมาะสมกับภาพหรือแบบงาน
สามารถเลือกกําหนดสเกลได้ ตามต้ องการจากรายการหรือกําหนดเองก็ได้
Double: ใช้ คกู่ บั User-defined เมื่อคลิกเลือกจะสร้ างลายตัดที่มี 90 กับลาย
ตัดปกติ Relative to paper space โหมดนี ้จะใช้ งานเฉพาะเมื่อทําลายตัดบน
Paper space หรือ Layout เท่านัน้
Spacing: สําหรับกําหนดระยะห่างระหว่างลายตัด ใช้ คกู่ บั User-defined
ISO pen width: ใช้ คกู่ บั ลายตัดของ ISO Pattern โดยเป็ นการกําหนดความหนาของปากกาที่
จะใช้ เขียนลายตัด

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 4 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

ภายในกรอบของ Hatch origin สําหรับกําหนดจุดเริ่มต้ นของลายตัดแบบอิฐเพื่อให้ เหมาะพื ้นที่วางลายตัด ไม่


อ้ างอิงตาม UCS
Use current origin: กําหนดจุดเริ่มต้นของลายตัดตามจุด 0,0 เดิม
 Specified origin: กําหนดพิกดั ใหม่ให้ กบั ลายตัดที่เลือก
 Click to set new origin: เข้ าไปกําหนดจุดเริ่ มต้ นของลายตัดได้ ตามต้ องการ
 Default to boundary extent: โปรแกรมจะคํานวณหาจุดเริ่มต้ นใหม่ให้ โดยอ้ างอิงกับมุม
ของขอบที่วางลายตัด
Store as Default Origin: สําหรับบันทึกจุดเริ่มต้ นของลายตัด ไว้ ใช้ ในภายหลัง

ภายในกรอบของ Boundaries สําหรับเลือกขอบเขตหรือพื ้นที่สําหรับวางลายตัด


Add: Pick points สําหรับคลิกเพื่อกําหนดขอบเขตหรือพื ้นที่วางลายตัด โดยจะหาเส้ นปิ ดให้ อตั โนมัติ
Add: Select object สําหรับเลือกตรงเส้ นขอบเขตที่จะวางลายตัด
Remove boundaries ใช้ สําหรับยกเลิกขอบเขตการวางลายตัด ที่โปรแกรมเลือกให้
View Selects สําหรับแสดงขอบเขตหรือพื ้นที่ที่ถกู เลือกไว้สําหรับวางลายตัด

ภายในกรอบของ Options
Associative เมื่อคลิกเครื่ องหมายถูกหน้ าช่องนี ้ เมื่อคุณมีการเพิ่มหรือเปลี่ยนแปลงขอบเขตด้ วย
คําสัง่ Stretch ลายตัดจะปรับตามขอบเขตที่ถกู เพิ่มหรือลดลง
Create separate hatches ลายตัดจะแยกอยู่คนละขอบเขต ไม่รวมเป็ นกลุม่ เดียวกันสําหรับการ
เลือกขอบเขตหลายขอบเขต
Draw order: สําหรับแสดงผลของลายตัด
 Do not assign ไม่มีการกําหนดค่าใดๆ
 Send to back กําหนดให้ ลายตัดอยู่ด้านหลัง
 Send to front กําหนดให้ ลายตัดอยู่ด้านหน้ า
 Send behind boundary กําหนดให้ อยูห่ ลังขอบเขตของลายตัด
 Send in front of boundary กําหนดให้ อยู่ด้านหน้ าขอบเขตของลายตัด

Inherit Properties สําหรับคัดลอกลายตัดที่ถกู วางไว้ แล้ ว ไปใช้ โดยเลือกขอบเขตใหม่เพิ่มเข้ าไป


Preview ใช้ สําหรับแสดงผลของลายตัดที่ได้ กําหนดขอบเขตเรียบร้ อยแล้ ว

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 5 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

รูปแบบลวดลายของ Hatch ที่โปรแกรมตังมาให้


้ มีด้วยกันทังหมด
้ 4 ชุด โดยดูได้ จากช่อง Pattern ของ
ไดอะล็อกบ็อกซ์ Hatch and Gradient
1. แบบ ANSI (American National Standards Institute) มี 8 รูปแบบ
2. แบบ ISO มี 14 รูปแบบ
3. แบบ Other Predefined มี 47 รูปแบบ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 6 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

คําสั่ง Gradient
เป็ นคําสัง่ สําหรับเขียนลายตัดสี โดยสามารถกําหนดแสง สี เงา ที่มีให้ เลือกมากถึง 9 แบบ ส่วนการใช้
งานต่างๆ ก็เหมือนกับคําสัง่ Hatch

Color สําหรับเลือกกําหนดสีเพื่อแสดงลงบนพื ้นที่ที่ต้องการ โดยสามารถเลือกวางได้ ทงแบบ


ั้ one color
(สีเดียว) โดยสามารถปรับความเข้ ม หรือปรับจางให้ กบั สีที่เลือกได้ และ two color (สองสี) โดยสามารถเลือกสีได้
ตามใจต้ องการ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 7 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

การแก้ ไข Hatch/Gradient
ในกรณีที่ต้องการแก้ ไข Hatch สามารถทําได้ โดยใช้ คําสัง่
Menu Browser > Modify > Hatch
Select associative hatch object: คลิกเลือกลายภาพตัดที่ต้องการแก้ ไข
- ได้ Hatch Edit dialog box คลิกที่ Quick Tab ทําการเปลี่ยนรูปแบบที่ช่อง Pattern เปลี่ยนค่าสเกล
ที่ช่อง Scale, หรื อ Angle ใหม่ตามต้ องการ
- เลือก Preview เพื่อดูการเขียนลายภาพตัดบนพื ้นที่ หากเป็ นไปตามที่ต้องการ คลิกปุ่ ม OK หรือ
กลับไปเปลีย่ นค่าตัวเลือกอีกครัง้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 8 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

คําสั่ง Text
การเขียนตัวอักษรใน AutoCAD นันเราสามารถเขี
้ ยนได้ โดยมีคําสัง่ อยู่ 3 คําสัง่ คือ MTEXT, DTEXT
และคําสัง่ TEXT ซึ่งในคําสัง่ MTEXT นัน้ จะมีลกั ษณะการใช้ งานที่คอ่ นข้ างเหมือนกับเวิร์ดโปรเซสเซอร์ ในวินโดว์
ค่อนข้ างมาก คือมีความสะดวกในการเขียนตัวอักษรทีละหลายๆ บรรทัด การกําหนดรูปแบบขนาดสี ระยะห่าง
ระหว่างบรรทัด เขียนเศษส่วนและสามารถใช้ ภาษาไทยได้คอ่ นข้ างมีประสิทธิภาพ ส่วนคําสัง่ DTEXT และ TEXT
ก็มีรูปแบบการใช้ งานเหมือนกันส่วนใหญ่ใช้ กบั การเขียนข้อความบรรทัดเดียวหรือสองสามบรรทัดผู้ใช้ สามารถ
มองเห็นรูปแบบตัวอักษรได้ในขณะที่กําลังพิมพ์ข้อความ และสามารถพิมพ์ได้ คราวละหลายๆ บรรทัด ใช้ งานได้
ทังภาษาอั
้ งกฤษและภาษาไทย แต่ยงั มีข้อจํากัดอยู่ที่วา่ หากผู้ใช้ ต้องการที่จะเปลีย่ นรูปแบบของตัวอักษร จะต้ อง
ออกจากคําสัง่ ก่อน แล้ วจึงใช้ คําสัง่ Format > Text Style เพื่อกําหนดรูปแบบตัวอักษรใหม่แล้ วจึงกลับมาใช้
คําสัง่ DTEXT หรื อ TEXT อีกครัง้ แต่ในคําสัง่ TEXT จะไม่คอ่ ยนิยมใช้ เท่าไรนักเพราะไม่มีชื่อคําสัง่ ในเมนูบาร์

แต่ก่อนที่เราจะศึกษาในเรื่ องคําสัง่ การเขียนตัวอักษรเหล่านี ้ เราควรที่จะรู้จกั คําสัง่ ในการสร้ างรูปแบบ


ตัวอักษรเสียก่อน เพื่อที่จะได้ นํารูปแบบตัวอักษรไปใช้ กบั คําสัง่ MTEXT, DTEXT และ TEXT ได้ อย่างถูกต้ อง ซึ่งมี
รายละเอียดของการใช้ คําสัง่ ดังนี ้

การกําหนด Text Style


การกําหนดรูปแบบอักษร (Text Style หรือ Fonts) เพื่อใช้ กบั งานเขียนแบบ มีขนตอนดั
ั้ งนี ้

Menu Browser > Format > Text Style


เมื่อเรี ยกคําสัง่ มาใช้ งานจะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ ดังรูป

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 9 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

- ได้ Text Style dialog box ที่กรอบ Style Name คลิกปุ่ ม New เพื่อตังชื ้ ่อ Text Style
- คลิกที่ List box ของ Font Name เลือกชนิด Fonts ที่ต้องการ
- การกําหนดความสูงของตัวอักษร ให้ ใช้ คา่ โปรแกรมกําหนดให้ ซึง่ จะมีคา่ เท่ากับ 0 (ศูนย์ )
- เมื่อกําหนดค่าต่างๆ เรียบร้ อยแล้ ว คลิกปุ่ ม Apply
- ถ้ าต้ องการตัง้ Style ใหม่อีกครัง้ ให้ คลิกปุ่ ม New เพื่อตังชื
้ ่อ Style และ Font อีกแล้ วคลิกปุ่ ม Apply
เมื่อกําหนด Text Style เสร็จแล้ ว คลิกปุ่ ม OK

Style Name ใช้ ตวั เลือกในปุ่ มนี ้เพื่อสร้ างเปลีย่ นชื่อและลบรูปแบบตัวอักษร


Standard คลิกปุ่ ม เพื่อเลือกรูปแบบตัวอักษรที่ใช้ งานซึ่งโปรแกรมกําหนดให้
เป็ นรูปแบบ Standard ใช้ งานเริ่มต้น
New… คลิกปุ่ มนี ้ เพื่อสร้ างรูปแบบตัวอักษรใหม่ โดยโปรแกรมจะตังชื
้ ่อ
Style1, Style2 โดยอัตโนมัติ เราสามารถเปลีย่ นโดยพิมพ์ชื่อรูปแบบเข้ าไปแทนที่ Style
ได้
Rename… ใช้ สําหรับเปลีย่ นชื่อรูปแบบตัวอักษร

Delete ใช้ สําหรับลบรูปแบบตัวอักษรโดยคลิกที่ชื่อรูปแบบตัวอักษร ในแถบ


เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 10 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

รายการ Standard แล้ วคลิกปุ่ มนี ้


Font ใช้ ตวั เลือกในกลุม่ นี ้เพื่อกําหนดฟอนต์ไฟล์ให้ กบั รูปแบบตัวอักษร
Font Name คลิกปุ่ ม เพื่อเลือกฟอนต์ไฟล์ตวั อักษรที่ต้องการ
Font Style ใช้ ระบุฟอร์แมตของฟอนต์ เช่น ตัวหนา ตัวเอียง หรือตัวปกติ
Height ใช้ กําหนดค่าความสูงของตัวอักษร
Use Big Font ใช้ ตวั เลือกนี ้กับฟอนต์ไฟล์ SHX ซึ่งใช้ ฟอนต์ภาษาต่างๆ โดยปกติเรา
จะไม่ใช้ ตวั เลือกนี ้
Effects ใช้ ตวั เลือกในกลุม่ นี ้ เพื่อกําหนดเทคนิคพิเศษในการแสดงรูปแบบของ
ตัวอักษร
Upside - down กําหนดตัวอักษรหัวกลับ
Back wards กําหนดตัวอักษรย้ อนกลับ
Vertical กําหนดตัวอักษรในแนวตัง้
Width Factor กําหนดความกว้ างของตัวอักษร
Oblique Angle กําหนดมุมเอียงของตัวอักษร
Preview แสดงตัวอย่างรูปแบบตัวอักษรที่เราได้ ปรับแต่งบนไดอะล็อกบ็อกซ์

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 11 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

การเขียนข้ อความโดยคําสั่ง Multiline Text


เราสามารถเขียนข้ อความหลายๆ บรรทัดบนพื ้นที่ที่กําหนดในงานเขียนแบบ โดยคําสัง่ Multiline Text มี
ขันตอนดั
้ งนี ้

Menu Browser > Draw >Text > Multiline Text


Current text style: “Standard” Text height : 2.5000
Specify first corner: คลิกจุด A
Specify opposite corner or [Height/Justify/Line spacing/Rotation/Style/Width]: ลากเมาส์
กําหนดขอบเขต (คลิกจุด B)
A

B
ลากเมาส์เป็ นกรอบสีเ่ หลี่ยมคล้ ายการสร้ าง Rectangle

จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ดงั รูปข้ างล่าง


- พิมพ์คําว่า AutoCAD 2009
- ปรับขนาดตัวอักษร เป็ น 10
- เลือกความหนา B เลือกตัวเอียง/ เลือกขีดเส้นใต้
- เมื่อพิมพ์ข้อความเรี ยบร้ อยแล้ ว คลิกปุ่ ม Close Text Editor

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 12 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

การใส่ ค่าสัญลักษณ์ (Symbol)


ในการเขียนแบบทัว่ ไป การพิมพ์คา่ ต่างๆ ในแบบงาน เช่น แบบแปลนจะมีคา่ สัญลักษณ์บางตัวที่ไม่มีบน
คีย์บอร์ด โดยที่เราสามารถที่จะใส่คา่ องศา, เส้ นผ่าศูนย์กลาง, ค่าเผื่อมากสุด น้ อยสุด หรือเศษส่วน ทังหมดนี
้ ้เรา
สามารถใส่คา่ ได้ ที่ Symbol

1. Degree เลือกรูปแบบตัวอักษรแล้ วจึงพิมพ์ “45” จากนันคลิ


้ กขวาเลือก Symbol เลือก Degree
ต่อท้ ายตัวเลข แล้ วคลิกปุ่ ม OK

ผลลัพธ์ที่ได้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 13 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

2. Plus/Minus เลือกสัญลักษณ์ Plus/Minus ก่อน แล้ วจึงพิมพ์ข้อความที่ต้องการ แล้ วคลิกปุ่ ม OK

ผลลัพธ์ที่ได้

3. Diameter เลือกสัญลักษณ์ Diameter ก่อน แล้ วจึงพิมพ์ข้อความที่ต้องการ แล้ วคลิกปุ่ ม OK

ผลลัพธ์ที่ได้

4. Non-Breaking Space เป็ นการเว้ นช่องไฟตัวหนังสือ ลองพิมพ์ “1“ เว้ นวรรค “23“ โดยที่
พอพิมพ์ “1“ เสร็จให้ คลิกเลือกที่ Non-Breaking Space แล้ วพิมพ์ “23“ ต่อได้ เลย

ผลลัพธ์ที่ได้

5. Other เป็ นการ Insert เอาตัวอักษรพิเศษมาใช้ ในการเขียนแบบ เมื่อเราคลิกที่ตวั เลือก Other จะ


ปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ดงั นี ้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 14 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

เลือกรูปแบบอักษร

เลือกตัวอักษรพิเศษ

พิมพ์ตวั อักษร

วิธีการใช้ * ให้ คลิกเลือกรูปแบบตัวอักษรที่ต้องการ


* พิมพ์ตวั อักษรรอไว้ ที่ช่อง Characters to Copy
* คลิกเลือกตัวอักษรพิเศษที่ต้องการ แล้ วคลิกปุ่ ม Select (1 ตัวอักษรต่อการ Select 1
ครัง้ )
* ตัวอักษรที่เลือกจะไปปรากฏที่ช่อง Characters to Copy ต่อท้ ายตัวอักษรที่พิมพ์ไป
* เมื่อได้ ประโยคหรืออักษรที่ต้องการ ให้ คลิกจบที่ปมุ่ Copy
* แล้ วปิ ดไดอะล็อกบ็อกซ์ Character Map
* จากนันจะกลั
้ บสูไ่ ดอะล็อกบ็อกซ์ Text Formatting
* คลิกเมาส์ขวาลงในช่องว่างสําหรับพิมพ์อกั ษร แล้ วคลิก Paste
* ทําการปรับแต่งตัวอักษร จากวิธีตา่ งๆ ที่กล่าวมา โดยการลากเมาส์ให้ เกิด
Hilight ที่ตวั อักษรก่อนปรับแต่ง
* คลิกปุ่ ม OK

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 15 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

การเขียนข้ อความโดยคําสั่ง Dtext


ใช้ สําหรับเขียนตัวอักษรบรรทัดเดียวหรือหลายๆ บรรทัดบนพื ้นที่วาดภาพมีรูปแบบดังนี ้
Command: dtext
Current text style: "Standard" Text height: 2.5000 โปรแกรมรายงานรูปแบบตัวอักษร
ใช้ งาน "Standard" และความสูงตัวอักษรใช้ งาน
Specify start point of text or [Justify/Style]: คลิกบนพืน้ ที่วาดภาพ เพื่อกําหนดจุดเริ่มต้ น
หรื อพิมพ์ ตัวเลือก (Justify) การจัดชิดซ้ายชิดขวา, (Style) รู ปแบบของตัวอักษร
Specify height <2.5000>: กําหนดความสูงของตัวอักษรค่ าที่โปรแกรมกําหนดมา
ให้ คือ 2.5
Specify rotation angle of text <0>: กําหนดค่ามุมเอียงของตัวอักษร
Enter text: พิมพ์ อกั ษรที่ต้องการได้ กดปุ่ ม Enter เพื่อขึน้ บันทัดใหม่ และถ้า Enter อีก
ครัง้ ก็จะสิน้ สุดคําสั่ง

ก่อนที่จะใช้ คําสัง่ DTEXT เพื่อเขียนตัวอักษร เราควรที่จะกําหนดรูปแบบตัวอักษรที่ต้องการเสียก่อน และ


ถ้ าหากว่ารูปแบบตัวอักษรมีการกําหนดความสูงมาก่อนแล้ วจะไม่ปรากฏบรรทัดข้ อความ Specify height
<3.5000>: ซึ่งเราไม่สามารถกําหนดใหม่ได้

การแก้ ไขข้ อความ


การแก้ ไขข้ อความสามารถทําได้ โดย
Menu Browser > Modify > Object > Edit > Text
Select an annotation object or [Undo]: คลิกเลือกข้ อความที่ต้องการแก้ ไข
- ถ้ าเป็ น Text ที่เขียนจากคําสัง่ Multiline Text จะได้ Multiline Text Editor Dialog box การแก้ ไข
ข้ อความใช้ หลักการเช่นเดียวกับขณะป้อนข้ อความ ซึ่งสามารถเปลี่ยนขนาด รูปแบบ สี ของ Font หรือ
จะเปลีย่ นคุณสมบัตติ า่ งๆ ของข้ อความ เช่น เปลี่ยน Text Style การจัดวางข้ อความ (Justification)
หรือความกว้ าง (Width) เมื่อแก้ ไขเสร็จแล้ วคลิกปุ่ ม OK
- ถ้ าเป็ น Text ที่เขียนจากคําสัง่ Single Line จะได้ Edit Text Dialog box แก้ ไขข้ อความเสร็จแล้ วคลิกปุ่ ม
OK
- เมื่อต้ องการออกจากคําสัง่ แก้ ไข Text กด Enter

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 16 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

Block ชิน้ งานสําเร็จรูป


ในงานเขียนแบบทัว่ ๆ ไป ในแบบมักประกอบไปด้ วยภาพเหมือนจริง หรือสัญลักษณ์เหมือนจริง ซึ่งอาจ
เขียนด้ วยขนาดเท่าของจริ ง หรื อด้ วยการใช้ มาตราส่วนก็ได้ เช่น รถยนต์ หรือโต๊ ะเขียนหนังสือ ฯลฯ
ส่วนสัญลักษณ์ คือภาพที่เขียนขึ ้นโดยไม่คํานึงถึงสเกล แต่ต้องการสื่อความหมายเท่านัน้ อันได้ แก่รูป
หน้ าตัดของหลอดไฟฟ้าแบบไส้ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ สัญลักษณ์รอยเชื่อมแบบต่างๆ
หากงานที่ทําเป็ นเพียงแค่การก็อบปี ห้ รือเคลื่อนย้ าย สัญลักษณ์เหล่านี ้เราสามารถใช้ ชดุ คําสัง่ ในหมวด
Selection Set ไม่วา่ จะเป็ น Cross หรื อ Window ในการเลือกวัตถุที่เราต้ องการเพื่อการแก้ ไขได้ อย่าง
สะดวกสบาย แต่เมื่อแบบที่เขียนมีความซับซ้ อนมากขึ ้น กล่าวคือมีสญ ั ลักษณ์หรือวัตถุจํานวนมากมายประกอบ
อยู่ในแบบของเรา ดังนันการเลื
้ อกชิ ้นงานที่สนใจ เพื่อการแก้ ไขด้ วยชุดคําสัง่ ดังกล่าว จึงไม่ใช่เรื่องง่ายนัก

ความสัมพันธ์ ของ Black กับ Layer และชนิดของเส้ น (Linetypes)


ใน Block อาจประกอบด้ วยหลายๆ Entites ซึ่งเขียนด้ วยความหลากหลายของ Layer, สีกํากับ Layer
และชนิดของเส้ น คุณสมบัตเิ หล่านี ้ จะถูกเก็บไว้ ใน Block เมื่อเรียกใช้ Block ผ่านคําสัง่ Insert คุณสมบัติ
ดังกล่าวจะไม่เปลี่ยนแปลงแม้ วา่ Layer, สีกํากับ Layer และชนิดของเส้ นในไฟล์ที่เปิ ดใช้ งานอยู่ในปั จจุบนั จะ
แตกต่างจากคุณสมบัติอยู่ใน Block โดยสิ ้นเชิงก็ตาม ยกเว้ นอย่างเช่น เราเขียนวงกลมด้ วย Layer ชื่อ ABC โดย
ที่มีสีกํากับ Layer และชนิดของเส้ นเป็ นแบบ BYLAYER เมื่อเรียกใช้ Block ผ่านคําสัง่ Insert ในขณะที่ XYZ เป็ น
Layer ปั จจุบนั ถ้ าสีกํากับเส้ นเป็ นสีนํ ้าเงิน และชนิดของเส้นเป็ นระบบ Dashed วงกลมที่เรียกขึ ้นมาก็จะมี
คุณสมบัติตามต้ นแบบที่สร้ างทุกประการ (แบบ BYLAYER)
แต่อย่างไรก็ตามมีข้อยกเว้ นในเรื่ องดังกล่าวอยู่ 3 ประการคือ
1. Block ที่สร้ าง Entities ต่างๆ ด้ วย Layer 0 เมื่อเรียกใช้ ด้วยคําสัง่ Insert คุณสมบัติของ Block จะ
ตรงตาม Layer ปั จจุบนั ทุกประการ
2. Block ที่ Entities ต่างๆ ถูกกําหนดให้ มีสีกํากับ Layer เป็ นแบบ BYBLOCK เมื่อเรียกใช้ คําสัง่
Insert สีกํากับ Layer เป็ นไปตามสีของ Layer ปั จจุบนั ทุกประการ
3. Block ที่ Entities ต่างๆ ถูกกําหนดให้ ชนิดของเส้ นเป็ นแบบ BYBLOCK เมื่อเรียกใช้ คําสัง่ Insert
ชนิดของเส้ นจะเป็ นไปตาม Layer ปั จจุบนั ทุกประการ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 17 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

ประโยชน์ ท่ ีจะได้ รับจาก Block


1. ลดขันตอนในการทํ
้ างาน ภาพหรือสัญลักษณ์ที่ใช้ บ่อยๆ ก็สร้ างขึ ้น เพียงครัง้ เดียวเพื่อเก็บไว้ เป็ น
Block สําหรับเรียกใช้ ตอ่ ไป
2. สร้ างเป็ นเมนูใช้ สําหรับงานเฉพาะด้ าน (Customization) ภาพหรือสัญลักษณ์ที่ใช้ บ่อยๆ ในงาน
เฉพาะด้ าน เช่น เครื่ องสุขภัณฑ์ ไฟฟ้า อุปกรณ์ นิวแมติก หรือไฮดรอลิก ก็สามารถสร้ างเก็บไว้ เป็ น
เมนูสญ ั ลักษณ์ (Icon Menu) ได้
3. ลดภาระในการแก้ ไข โดยปกติแล้ วการเขียนแบบกับการแก้ ไขแบบ เป็ นสิ่งคูก่ นั ยกตัวอย่างการเขียน
แบบเครื่ องสุขภัณฑ์ให้ กบั ตึก 3 ชันในแต่
้ ละชันใช้
้ อา่ งล้ างหน้ า 10 อ่าง ในตอนแรกใช้ อา่ งล้ างหน้ า
โมเดล A หลังจากที่นําแบบไปเสนอให้ ลกู ค้ า ลูกค้ าก็ขอเปลี่ยนแปลงโมเดลของอ่างล้ างหน้ าเป็ น B
หากอ่างล้ างหน้ าไม่ได้ สร้ างจาก Block การแก้ ไขอ่างล้ างหน้ าทัง้ 30 อ่าง ก็คงใช้ เวลาไม่น้อยทีเดียว
ในการแก้ ไข ในทางกลับกันอ่างล้ างหน้ าที่สร้ างจาก Block สามารถแก้ ไขได้ ด้วยการนํา Block ของ
โมเดล B ไปแทนที่ Block ของโมเดล A ได้ อย่างง่ายๆ เพียงครัง้ เดียว และเราเรียกเทคนิคนี ้ว่า
Redefine Block
4. ประหยัดเนื ้อที่ดิสก์ ในการเก็บข้ อมูล คือประโยชน์ประการต่อมาของ Block สมมุติวา่ รูปภาพ หรื อ
สัญลักษณ์หนึง่ ประกอบด้ วย 100 เส้ น ถ้ าต้ องการรูปหรือสัญลักษณ์เป็ นจํานวน 15 แห่งโดยไม่
อาศัยคําสัง่ Block ไฟล์นี ้จะประกอบไปด้ วยเส้ นเป็ นจํานวนถึง 1,500 เส้ น หากใช้ คําสัง่ Block ไฟล์
นี ้จะประกอบไปด้ วยเส้ นเพียง 115 เส้ นเท่านัน้ นัน่ คือ 100 เส้ นเป็ นเส้ นที่สร้ างขึ ้น เพื่อกําหนดให้ รูป
หรื อสัญลักษณ์เป็ น Block อีก 15 เส้ น คือ Block ที่ถกู ดึงเข้ ามาในไฟล์ ความแตกต่างที่เห็นได้ ชดั ก็
คือ Block ทําให้ สามารถประหยัดเนื ้อที่ในฮาร์ ดดิสก์ได้ มาก
5. Attribute เราสามารถแนบ (Attach) Attribute ไว้ กบั Block เพื่อใช้ เก็บข้ อความเช่น สเปค หรือราคา
ของชิ ้นส่วนนันๆ
้ ข้ อความเหล่านี ้สามารถสกัด (Extract) ออกมาใช้ งานกับโปรแกรมจัดการ
ฐานข้ อมูล เช่น โปรแกรมในตระกูล dBASE เพื่อจัดทําเป็ นตารางวัสดุ (Bill of Material) เป็ นต้ น
ลูกค้ าก็ขอเปลีย่ นแปลงโมเดลของอ่างล้ างหน้ าเป็ น B หากอ่างล้ างหน้ าไม่ได้ สร้ างจาก Block การ
แก้ ไขอ่างล้ างหน้ าทัง้ 30 อ่าง ก็คงใช้ เวลาไม่น้อยทีเดียวในการแก้ ไข ในทางกลับกันอ่างล้ างหน้ าที่
สร้ างจาก Block สามารถแก้ ไขได้ ด้วยการนํา Block ของโมเดล B ไปแทนที่ Block ของโมเดล A ได้
อย่างง่ายๆ เพียงครัง้ เดียว

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 18 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

Make Block สร้ างบล็อก


เมื่อเรามีวตั ถุต้นแบบอยู่แล้ ว และคิดว่าเป็ นวัตถุที่ต้องการใช้ บ่อย เราก็ควรที่จะเก็บวัตถุนนไว้
ั ้ โดยวิธีการ
สร้ างบล็อก (Make Block) โดยที่วตั ถุสามารถที่จะทําการ Explode, ทําสําเนาเพิ่ม หรือการย่อขยายวัตถุ
(Scale) และในบล็อก 1 ตัว สามารถแก้ ไขเปลี่ยนแปลงทีละหลายครัง้ ได้ เพียงแก้ วตั ถุต้นแบบวัตถุที่ทําสําเนาก็
จะเปลีย่ นแปลงไปด้ วย โดยที่เราสามารถเรียกคําสัง่ ได้จาก ไอคอน หรือ Command : Bmake และที่เมนู Draw >
Block > Make และเราจะลองทําการ Make Block จากรูปดังนี ้

ขันตอนการทํ
้ าภาพหรื อวัตถุให้ เป็ น Block ประกอบด้ วย 2 ขันตอน
้ ดังนี ้
1. Menu Browser > Draw > Block > Make
- ที่ Block Definition dialog box ตังชื ้ ่อ Block ที่ช่อง Name
- คลิกปุ่ ม Select objects เพื่อเลือกวัตถุที่ต้องการทําเป็ น Block
- คลิกปุ่ ม Pick Point เพื่อกําหนดตําแหน่งอ้ างอิง สําหรับการวาง Block
- คลิกปุ่ ม OK

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 19 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

2. Command: Wblock กด Enter


- ได้ Write Block dialog box เกิดขึ ้นมา
- คลิกปุ่ ม Select objects เพื่อเลือกวัตถุที่ต้องการทําเป็ น Block
- คลิกปุ่ ม Pick Point เพื่อกําหนดตําแหน่งอ้ างอิง สําหรับการวาง Block
- ที่กรอบ Destination พิมพ์ชื่อไฟล์ที่ช่อง File name (ไฟล์นี ้จะเก็บ Block ที่ถกู เลือก)
- คลิกปุ่ ม OK

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 20 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

การ Insert Block


ใช้ สําหรับเรี ยกบล็อคที่อยูใ่ นไฟล์แบบงานออกมาปรากฏบนพื ้นที่วาดภาพในตําแหน่งที่ต้องการ และยัง
สามารถใช้ คําสัง่ นี ้ในการสอดแทรกไฟล์แบบงาน .dwg เข้ ามารวมกับไฟล์แบบงานที่เรากําลังใช้ งานอยู่ได้ เมื่อ
เรียกคําสัง่ นี ้จะปรากฏไดอะบล็อกบ็อกซ์ ดังรูป

Name คลิกบนปุ่ ม จะปรากฏรายชื่อบล็อคที่มีอยู่ในไฟล์แบบงานใช้ งานทังหมดให้


้ เลือกชื่อบล็อคที่
ต้ องการสอดแทรก
Browse… ใช้ ปมนี ุ่ ้เพื่อค้ นหาไฟล์แบบงาน .dwg ที่เราต้ องการจะสอดแทรกมาใช้ งานร่วมกับไฟล์แบบงานที่
เราใช้ งานอยู่
Insertion Point กําหนดตําแหน่งของจุดสอดแทรกบล็อกหรื อจุดสอดสอดแทรกไฟล์
Scale หากต้ องการเปลี่ยนสเกลของบล็อกให้ ใหญ่ขึ ้น หรื อเล็กลงจากเดิมให้ ใส่คา่ สเกล
ไปในอิดิทบ็อกซ์ X และ Y (Z เป็ นค่าสเกลใน 3 มิต)ิ
Rotation หากต้ องการหมุนบล็อค ให้ พิมพ์คา่ มุมที่ต้องการเข้ าไปในอิดิทบ็อกซ์ Angle
Explode คลิกบนเช็คบ็อกซ์ Explode ให้ ปรากฏเครื่องหมาย เพื่อแปลงบล็อกหรือไฟล์แบบงาน .dwg
ให้ กลายเป็ นวัตถุธรรมดา

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 21 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

การนําเอา Block ที่ได้ จดั เก็บได้ แล้ ว นํามาใช้ งาน มีขนตอนดั


ั้ งนี ้

Insert > Block


- จะได้ Insert dialog box ที่ช่อง Name คลิกปุ่ ม Browse ได้ Select Drawing File dialog box ทํา
การเลือก Drawing File ที่เก็บ Block คลิกปุ่ ม Open
- ที่กรอบ Insertion point กําหนดพิกดั ที่ต้องการวาง Block
- ที่กรอบ scale กําหนด scale ของ Block ตามแกน X-Y
- ที่กรอบ Rotation กําหนดมุมที่ต้องการหมุน Block
- ในกรณีที่ต้องการกําหนด Insertion point, scale และ Rotation บน Graphic Area เองให้ คลิก
เลือก Specify On screen ของแต่ละกรอบ

การสร้ างตารางข้ อความ


เป็ นคําสัง่ สําหรับสร้ างตาราง รวมถึงสามารถเชื่อมโยงข้ อมูลกันระหว่างแบบงานและนําตารางจาก
Excel เข้ ามาในแบบงานได้ ซึ่งได้ เพิ่มชนิดรูปวาดขึ ้นอย่างหนึ่งคือ ACAD_TABLE (ใช้ คําสัง่ List ในเมนู Tools >
Inquiry > List เมื่อเลือกรูปวาดเช่นนี ้จะแสดงผลเป็ น ACAD_TABLE) ซึ่งเป็ นตารางข้ อความ การทํางานเป็ นไป
ในทํานองเดียวกับการเขียนข้ อความแบบ Single Line Text (TEXT) กล่าวคือจะอาศัยรูปแบบที่กําหนดไว้ ใน
สไตล์ที่ได้ เลือกใช้ และค่าเริ่ มต้ นที่ AutoCAD จัดเตรียมไว้ ให้ ก็คือ สไตล์ตารางข้ อความที่ชื่อ STANDARD

การเขียนตารางข้ อความทําได้ โดยใช้ ทลู Table


เมื่อเราคลิกไปที่คําสัง่ Menu Browser > Draw > Table… ก็จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Insert Table ให้
กําหนดค่าต่างๆ พร้ อมกับมีภาพตัวอย่างตามค่าที่กําหนดที่ตวั เลือก Specify insertion point ให้ เลือกจุดแทรก
วางตาราง แต่ถ้าใช้ Specify window จะให้ กําหนดโดยเลือกจุดและแดร็กเป็ นกรอบของตาราง ค่า Columns
กําหนดจํานวนคอลัมน์ (แนวตัง)้ ค่า Column width เป็ นความกว้ างของคอลัมน์ ค่า Data Rows กําหนดจํานวน
แถวข้ อมูล และค่า Row Height เป็ นความสูงของแถว

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 22 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

การกําหนดค่าของขนาดในส่วนใดๆ ก็เช่นเดียวกับรูปวาดข้ อความ ต้ องคํานึงถึงว่า รูปตารางนี ้อยู่บนพื ้นที่สว่ นใด


บน Paper Space หรื อแท็บเลย์เอาต์ที่ถกู พิมพ์ด้วยสเกล 1:1 (กล่าวคือเข้ าสัดส่วนไว้ ที่วิวพอร์ตแล้ ว) ก็จะกําหนด
ขนาดตามที่ต้องการพิมพ์ออกกระดาษได้เลย แต่ถ้ารูปตารางถูกจัดวางไว้ บน Model Space ก็จะต้ องคํานวณ
ค่าชดเชยกันเสียก่อน

สไตล์ ของตารางข้ อความ


สไตล์ตารางข้ อความก็จะเช่นเดียวกับรูปวาดแบบข้ อความ Single Line Text (TEXT) ที่ถกู เขียนโดย
อ้ างอิงจากสไตล์ที่ควบคุมมันอยู่ ตารางข้ อความ (ACAD_TABLE) ก็ถกู ควบคุมจากสไตล์ตารางข้ อความตัว
ปั จจุบนั ที่กําหนดไว้ เช่นเดียวกัน

การสร้ างและแก้ ไขสไตล์ของตารางข้ อความทําได้ ดงั นี ้

1. เลือกเมนู Menu Browser > Format > Table Style … เพื่อเปิ ดไดอะล็อกบ็อกซ์ Table Style ดัง
รูป

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 23 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

2. หากต้ องการแก้ ไขให้ คลิกเลือกชื่อสไตล์ที่มีอยู่แล้ ว และคลิกปุ่ ม Modify ส่วนการสร้ างสไตล์ของ


ตารางข้ อความตัวใหม่ขึ ้น ให้ คลิกปุ่ ม New หรื อหากต้ องการเลือกกําหนดตัวใดเป็ นสไตล์ที่จะใช้ ให้ คลิกเลือก
รายการจาก Styles แล้ วคลิก Set Current

ในที่นี ้ขอให้ ลองคลิกที่ New เพื่อสร้ างสไตล์ตารางข้ อความตัวใหม่ขึ ้น ซึ่งจะได้ เห็นถึงรายละเอียดค่าต่างๆ ที่ทกุ
กรณีทงการแก้
ั้ ไขและสร้ างใหม่ ค่าเหล่านี ้ก็จะมีความหมายตรงกัน

3. ในไดอะล็อกบ็อกซ์ Create New Table Style ให้ พิมพ์ชื่อใหม่ใน New Style Name เช่น Copy of
Standard แล้ วคลิก Continue สังเกตว่าในที่นี ้เราปล่อยค่า Standard ใน Start With ไว้ ตามเดิม ซึง่ หมายความ
ว่า เราจะใช้ รูปแบบเริ่มต้ นจากสไตล์ชื่อ Standard ที่มีอยู่แล้ ว และค่อยทําการปรับค่าแก้ ไขในรายละเอียดต่อไป

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 24 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

4. ในไดอะล็อกบ็อกซ์ถดั มาจะประกอบด้ วย 3 แท็บ ซึ่งเป็ น 3 ส่วนประกอบในตาราง ซึ่งดูจากภาพ


ตัวอย่างทางช่องขวา คือส่วนข้ อมูล (Data) ส่วนหัวตาราง (Header) และส่วนชื่อตาราง (Title) และค่ากําหนด
รายการต่างๆ ในแท็บทังสามก็
้ จะเป็ นในทํานองเดียวกัน

ภาพตัวอย่ าง

สไตล์ ข้อความ
ความสงข้ อความ
สีข้อความ
สีระบายในเซลล์
วิธีจดั เรี ยงในเซลล์
ทิศทางลําดับข้ อมูล
วิธีจดั เรี ยงในเซลล์

นํา้ หนักเส้ นกรอบ ระยะเว้ นขอบแนวนอน

ระยะเว้ นขอบแนวตัง้

ขอกล่าวถึงเฉพาะตัวเลือก Table direction ที่กําหนดทิศทางลําดับข้ อมูล ที่คา่ Down เพิ่มแถวข้ อมูลในทิศทาง


จากบนลงล่าง ส่วนค่า Up จะตรงข้ ามคือไล่จากล่างขึ ้นบน การแทรกแถวข้ อมูลเพิ่มทําได้ โดยวางเคอร์เซอร์ ไว้ ใน
เซลล์สดุ ท้ าย แล้ วกดคีย์แท็บ (ทํางานในแบบเดียวกับตารางในโปรแกรม Microsoft Word) รายการอื่นๆ ค่อนข้ าง
ตรงไปตรงมา ไม่ขอกล่าวซํ ้าอีก

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 25 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Hatch, Text, Block and Table

5. เมื่อกําหนดค่าเสร็จแล้ วให้ คลิก OK จะกลับมาที่หน้ าแรก

6. เมื่อต้ องการใช้ รายการที่สร้ างใหม่นี ้เป็ นสไตล์ของตารางข้ อความตัวปั จจุบนั ให้ คลิกเลือกชื่อสไตล์
จากหมวด Styles สังเกตภาพตัวอย่างว่าถูกต้ องตรงหรือไม่ ถ้ าใช่หรือถูกต้ องก็คลิก Set Current แล้ วคลิก
Close

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-08-I Page : 26 of 26 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

บทที่ 9 คําสั่งสําหรับการกําหนดขนาด
หลักการของการบอกขนาด
การบอกขนาด (Dimension) คือ การแสดงค่าที่ได้ จากการวัดระยะรูปภาพ หรือวัตถุ เป็ นรูปแบบของ
ระยะทาง มุมระหว่างวัตถุ หรื อค่าตามพิกดั X-Y โปรแกรม AutoCAD 2009 แบ่งการบอกขนาดเป็ นขันมู
้ ลฐานได้
เป็ น 5 ประเภท คือ
1. Linear Dimension ประกอบด้ วยการบอกขนาดตามแนว Horizontal, Vertical, Aligned,
Rotated, Baseline และ Continued
2. Radial Dimension ได้ แก่การบอกขนาดของ Radius
3. Angular Dimension เป็ นการบอกขนาดของมุม (Angular) ที่วตั ถุทํามุมซึ่งกันและกัน
4. Diameter Dimension ได้ แก่การบอกขนาดของ Diameter
5. Ordinate Dimension การบอกขนาดแบบให้ ตวั เลข

ส่ วนประกอบต่ างๆ ของเส้ นบอกขนาด


สิ่งที่เราจะต้ องคํานึงถึงอันดับแรกก่อนที่เราจะทําการเริ่มบอกขนาดให้ แก่แบบงานคือ ชนิดและ
ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเส้ นขอกขนาดและประเภทของเส้นบอกขนาดเสียก่อน ซึ่งมีสว่ นประกอบดังนี ้
1st Extension Line เป็ นเส้ นต่อที่ 1 ซึ่งลากออกจากฐานของชิ ้นงานไปจนถึงปลายสุดของ
หัวลูกศร (Arrowhead) เส้ นต่อที่อยู่ด้านเดียวกับจุดแรกที่ใช้ เมาส์คลิก
2st Extension Line เป็ นเส้ นต่อที่ 2 ซึ่งลากออกจากฐานของชิ ้นงานไปจนถึงปลายสุดของ
หัวลูกศร (Arrowhead) เส้ นต่อที่อยู่ด้านเดียวกับจุดที่สองที่ใช้ เมาส์
คลิก
1st Dimension Line เป็ นเส้ นบอกขนาดที่1 ที่เชื่อมต่อระหว่างหัวลูกศร (Arrow head) กับ
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 1 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

ตัวเลขบอกขนาด (Dimension Text) ซึ่งอยู่ด้านเดียวกับเส้ นต่อที่1


2st Dimension Line เป็ นเส้ นบอกขนาดที่ 2 ที่เชื่อมต่อระหว่างหัวลูกศร (Arrowhead) กับ
ตัวเลขบอกขนาด (Dimension Text) ซึ่งอยู่ด้านเดียวกับเส้ นต่อที่ 2
Extension คือส่วนปลายของเส้ นตรงที่ตอ่ Extension Line ที่ยื่นออกไปด้ านนอก
จากปลายหัวลูกศร
Origin Offset คือช่องว่างระหว่างฐานของชิ ้นงานตรงจุดที่บอกขนาดกับเส้ นต่อ
Extension Line
Dimension Text ตัวเลขหรือตัวอักษรหรือเครื่องหมายที่ใช้ ในการบอกขนาด
Suffix, prefix คือตัวอักษรพ่วงท้ าย และตัวอักษรนําหน้ า
Arrowhead หัวลูกศร

ประเภทของเส้ นบอกขนาด
• เส้ นบอกขนาดเชิงเส้นในแนวแกน X และแกน Y (Linear Dimension)
• เส้ นบอกขนาดเชิงเส้ นทํามุมเอียง (Aligned Dimension)
• เส้ นบอกขนาดสําหรับเส้ นโค้ ง (Arc Length)
• เส้ นบอกขนาดออร์ดิเนท (Ordinate Dimension)
• เส้ นบอกขนาดรัศมี (Radius Dimension)
• เส้ นบอกขนาดของรัศมี เส้ นโค้ ง และวงกลมแบบลากขนาดไปข้ างนอก (Jogged)
• เส้ นบอกขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง (Diameter Dimension)
• เส้ นบอกขนาดเชิงมุม (Angular Dimension)
• เส้ นบอกขนาดอย่างรวดเร็ว (Quick Dimension)
• เส้ นบอกขนาดระดับชัน้ (Baseline Dimension)
• เส้ นบอกขนาดต่อเนื่อง (Continue Dimension)
• เส้ นบอกขนาดที่มีตวั หนังสือกํากับ หรือ ชี ้นํา (Quick Leaders)
• ใช้ บอกระยะค่าความคลาดเคลื่อนและพิกดั ความเผื่อ (Tolerance)
• เส้ นระบุจดุ ศูนย์กลางวงกลม และเส้ นโค้ ง (Center Mark)
• ใช้ แก้ ไขเส้ นบอกขนาด และตัวหนังสือ (Dimension Edit)
• ใช้ ย้ายตําแหน่งของตัวหนังสือ (Dimension Text Edit)

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 2 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

• ลิสต์รายชื่อ เส้ นบอกขนาดที่สร้ างเก็บไว้ (Dim Style Control)


• ไดอะล็อกบ็อกซ์ปรับแต่งคุณสมบัติของเส้ นบอกขนาด (Dimension Style)

การสร้ าง Dimension Style ใหม่


การปรับเปลีย่ นคุณสมบัตหิ รื อสร้ างใหม่ของเส้ นบอกขนาด เป็ นการปรับแต่งลักษณะต่างๆ ของเส้ นบอก
ขนาด ไม่วา่ จะเป็ นหัวลูกศร เส้ นบอกขนาด สี ตัวอักษร ระยะห่างระหว่างตัวอักษร และเส้ นบอกขนาด ทังนี ้ ้ต้ อง
ขึ ้นอยู่กบั ความต้ องการของผู้ที่จะใช้ งานเป็ นสําคัญ เพราะว่าการเขียนแบบชิ ้นงานตัวละประเภท ไม่วา่ จะเป็ น
ทางด้ านสถาปัตยกรรม หรือทางด้ านวิศวกรรม ล้ วนมีข้อแตกต่างกันในรายละเอียดปลีกย่อย
ทังนี
้ ้การปรับเปลีย่ นคุณสมบัติของเส้ นบอกขนาด ขึ ้นอยูก่ บั วัตถุประสงค์ของงานแต่ละประเภทเป็ นหลัก
สําคัญ และไม่จําเป็ นที่วา่ แบบงาน 1 โปรเจคทุกแผ่นงานจะต้ องใช้ การบอกขนาดรูปแบบเดียวกันตลอดไป โดย
ในหัวข้ อนี ้จะกล่าวถึงขันตอนการสร้
้ าง และเก็บรูปแบบของเส้ นบอกขนาดเอาไว้ รวมทังอธิ ้ บายถึงคุณสมบัติ
ต่างๆ ในการปรับเปลีย่ นเส้ นบอกขนาด Dimension Style เพื่อใช้ กบั งานเขียนแบบ มีขนตอนการกํั้ าหนด
Dimension Style ดังนี ้

Menu Browser > Dimension > Style หรื อ Format > Dimension Style

เมื่อเรียกใช้ คําสัง่ จะปรากฎไดอะล็อกบ็อกซ์ Dimension Style Manager ขึ ้นมาดังรูป

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 3 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

ไดอะล็อกบ็อกซ์ Dimension Style Manager


เริ่มจากที่บรรทัดแรกในไดอะล็อกบ็อกซ์ Dimension Style Manager จะแสดงสไตล์ตวั ปัจจุบนั ที่ใช้ งาน
อยู่ในบรรทัด Current Dimstyle ในส่วนดร็อปดาวน์ลิสต์ List มีรายการให้ เลือกกําหนดว่าจะแสดงทุกสไตล์
(All styles) ที่มีในไฟล์แบบนันๆ
้ หรื อแสดงเฉพาะตัวที่ถกู ใช้ งานด้ วยเท่านัน้ (Styles in use) และจะแสดงรายการ
สไตล์ตามที่กําหนดนี ้ในส่วนลิสต์ Styles และตัวที่ถกู เลือกจะแสดงภาพตัวอย่างในอิมเมจบ็อกซ์ Preview of ใน
รูป เป็ นสไตล์ ISO-25 โดยทัว่ ไปเมื่อเริ่ มแบบจาก Start from Scratch และใช้ หน่วยแบบ Metric จะได้ สไตล์เส้ น
บอกขนาดดีฟอลต์เป็ น ISO-25 ส่วนหน่วย English (Feet and inches) จะได้ สไตล์ Standard เป็ นตัวดีฟอลต์
ซึ่งแบบ Metric และ English นี ้ถูกออกแบบมารองรับหน่วยมิลลิเมตรและนิ ้ว ตามลําดับ

ปุ่ ม Set Current


ใช้ กําหนดสไตล์ปัจจุบนั ที่จะใช้ โดยเลือกไฮไลต์รายการที่ต้องการในลิสต์ Styles ไว้ แล้ วคลิกปุ่ มนี ้

ปุ่ ม New
ใช้ สร้ างสไตล์เส้นบอกขนาดตัวใหม่ขึ ้นเอง โดยจะมีไดอะล็อกบ็อกซ์ Create New Dimension Style ดัง
รูป

เราสามารถเลือกว่าจะเริ่มอ้ างอิงค่าจากสไตล์ใด จะมีอย่างน้ อยหนึง่ ตัวเป็ นค่าดีฟอลต์ ในที่นี ้คือ ISO-25


และชื่อเริ่มต้ นจะถูกกําหนดเป็ น Copy of ชื่อของสไตล์ที่ใช้ อ้างอิง และใช้ ลิสต์ Use for เพื่อกําหนดว่าสไตล์ที่
สร้ างนี ้จะใช้ กบั เส้ นบอกขนาดชนิดใด หรื อจะใช้ กบั ทังหมด
้ (All dimensions) ดังรูปข้ างล่างนี ้ จากนันจะไปที
้ ่
New Dimension Style ซึ่งจะมีแท็บต่างๆ เหมือนกับในไดอะล็อกบ็อกซ์จากการคลิกปุ่ ม Modify ทุกประการ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 4 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

ปุ่ ม Modify
ปุ่ มนี ้ใช้ ปรับเปลี่ยนค่ากําหนดประจําตัวที่ใช้ ในการเขียนเส้นบอกขนาด โดยจะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์
Modify Dimension Style ดังรูป โดยแยกหมวดหมูเ่ ป็ นแท็บต่างๆ ดังมีรายละเอียดดังนี ้

DIMCLRD
DIMLWD
DIMDLE
DIMDLI
DIMSD1
DIMSD2

DIMEXE
DIMEXO
DIMLWE

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 5 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

แท็บ Lines
ใช้ กําหนดคุณสมบัติของส่วนประกอบ Dimension Line
หมวด Dimension Line
DIMCLRD เลือกสีให้ กบั เส้ นบอกขนาด
DIMLWD Extension Lines
DIMCLRE เลือกสีให้ กบั เส้ นต่อ
DIMLWE เลือกนํ ้าหนักเส้ นให้ กบั เส้ นต่อ
DIMEXE ปรับความยาวของเส้ นต่อที่เลยเกินเส้ นบอกขนาดไป
DIMEXO ปรับระยะห่างของเส้ นต่อ จากวัตถุที่ทําการวัดขนาด
DIMSE1 สัง่ ให้ มเี ส้ นต่อด้ านขวาของตัวหนังสือหรื อไม่
DIMSE2 สัง่ ให้ มเี ส้ นต่อด้ านซ้ ายของตัวหนังสือหรื อไม่

หมวด Extension Line


DIMCLRE เลือกสีให้ กบั เส้ นต่อ
DIMLWE เลือกนํ ้าหนักเส้ นให้ กบั เส้ นต่อ
DIMEXE ปรับความยาวของเส้ นต่อที่เลยเกินเส้ นบอกขนาดไป
DIMEXO ปรับระยะห่างของเส้ นต่อจากวัตถุที่ทําการวัดขนาด

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 6 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

DIMBLK1
DIMBLK2
DIMLDRB
DIMASZ

DIMCEN

แท็บ Symbols and Arrows

หมวด Arrowheads
DIMBLK1 เลือกรูปแบบหัวลูกศรด้ านขวา
DIMBLK2 เลือกรูปแบบหัวลูกศรด้ านซ้ าย
DIMLDRB เลือกหัวลูกศรของเส้ นบอกขนาด (ไม่จําเป็ นต้ องปรับ)
DIMASZ ขนาดของหัวลูกศร
DIMCEN ตังขนาดของ
้ Center Mark

หมวด Arc length symbol


กําหนดรูปแบบการวางตัวอักษรของคําสัง่ Arc Length

หมวด Radius dimension jog


กําหนดรูปแบบองศาของเส้ นบอกขนาดสําหรับคําสัง่ Jogged

หมวด Linear jog dimension


กําหนดรูปแบบความสูงของตัวหนังสือสําหรับคําสัง่ Jogged
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 7 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

DIMTXSTY
DIMCLRT

DIMTXT
DIMTFAC
DIMGAP
DIMTAD
DIMJUST
DIMTOH
DIMGAP DIMTIH

แท็บ Text

หมวด Text Appearance


DIMTXSTY เลือกรูปแบบตัวอักษร คลิกช่องสี่เหลี่ยมขวาเข้ าสูไ่ ดอะล็อกบ็อกซ์ Text Style
DIMCLRT เลือกสีของตัวหนังสือ
DIMTXT ปรับความสูงของตัวหนังสือ
DIMTFAC ปรับความสูงของตัวหนังสือของคําสัง่ Tolerance
DIMGAP สัง่ ให้ มีกรอบตัวหนังสือหรือไม่

หมวด Text Placement


DIMTAD เลือกจุดการวางตัวหนังสือกับเส้นบอกขนาด
DIMJUST เลือกจุดการวางตัวหนังสือที่เส้นต่อ
DIMGAP ปรับระยะห่างของเส้ นบอกขนาดกับตัวหนังสือ

หมวด Text Alignment


DIMTOH ปรับการวางตัวหนังสือแบบแนวนอน หรือให้ เอียงตามเส้ นบอกขนาด
DIMTIH ปรับการวางตัวหนังสือแบบแนวนอน หรือให้ เอียงตามเส้ นบอกขนาด
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 8 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

DIMATFIT

DIMTIX
DIMSOXD

DIMTMOVE DIMSCALE
DIMUPT
DIMTOFL

แท็บ Fit

หมวด Fit Options


DIMATFIT เลือกจุดที่จะวางตัวหนังสือบอกระยะ
DIMTIX วางตัวเลขบอกระยะภายในเส้นต่อ
DIMSOXD ต้ องการให้ มเี ส้ นบอกขนาดข้ างนอกเส้ นต่อ ในกรณีที่ตวั หนังสือใหญ่กว่าช่องที่
วัดได้

หมวด Text Placement


DIMTMOVE เลือกจุดที่จะวางตําแหน่งเลขบอกระยะ

หมวด Scale for Dimension Features


DIMSCALE เลือกมาตราส่วนของเลขบอกระยะ

หมวด Fine Tuning


DIMUPT เลือกเพื่อกําหนดจุดวางตัวเลขบอกระยะเอง ในขณะใช้ คําสัง่ การวัดอื่นๆ อยู่
DIMTOFL เลือกให้ มีเส้ นต่อยาวออกไปอีก เช่น เมื่อใช้ Diameter เส้ นต่อจะยาวจนถึงจุด
ศูนย์กลาง
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 9 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

DIMLUNIT
DIMDEC
DIMFRAC
DIMDSEP
DIMRND
DIMPOST
DIMLFAC
DIMAUNIT
DIMZIN
DIMADEC
DIMAZIN

แท็บ Primary Units


หมวด Linear Dimensions
DIMLUNIT เลือกหน่วยการวัดระยะ
DIMDEC เลือกจํานวนจุดทศนิยม
DIMFRAC รูปแบบของการวางเศษส่วน
DIMDSEP เลือกรูปแบบของจุดทศนิยม
DIMRND ตังค่
้ าจํานวนเต็ม
DIMPOST ตังค่
้ าตัวเลขทังจํ
้ านวนเต็ม และจํานวนของจุดทศนิยม
หมวด Measurement Scale
DIMLFAC ตังค่้ าหน่วยวัดของ Linear
หมวด Zero Suppression
DIMZIN เลือกการแสดงจุดทศนิยมหรื อไม่
หมวด Angular Dimensions
DIMAUNIT เลือกค่าองศาของการวัดแบบ Angular
DIMADEC เลือกจุดทศนิยมขององศา
หมวดย่ อย Zero Suppression
DIMAZIN เลือกการแสดงจุดทศนิยมหรื อไม่
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 10 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

DIMALT
DIMALTU
DIMALTD
DIMALTF
DIMALTRND
DIMAPOST

DIMALTZ
DIMAPOST

แท็บ Alternate Units

หมวด Display Alternate Units


DIMALT เลือกให้ เพิ่มตัวเลขต่อจากระยะที่วดั ได้ มีผลแสดงในวงเล็บ [ ]
DIMALTU เลือกหน่วยการวัดระยะ
DIMALTD เลือกจํานวนจุดทศนิยม
DIMALTF กําหนดค่าตัวคูณของเลขฐาน
DIMALTRND ตังค่
้ าจํานวนเต็ม
DIMAPOST ตังค่
้ าตัวเลขทังจํ
้ านวนเต็ม และจํานวนของจุดทศนิยม

หมวด Zero Suppression


DIMALTZ เลือกการแสดงจุดทศนิยมหรื อไม่

หมวด Placement
DIMAPOST เลือกการวางตัวเลขต่อจากระยะที่วดั ได้ ทงต่
ั ้ อท้ าย และวางไว้ ข้างล่าง

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 11 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

DIMTOL
DIMTDEC
DIMTP
DIMTM
DIMTFAC
DIMTOLJ
DIMALTTD
DIMALLZ
DIMTZIN

แท็บ Tolerances

หมวด Tolerance Format


DIMTOL เลือกรูปแบบของค่า Tolerance
DIMTDEC เลือกจํานวนจุดทศนิยม
DIMTP กําหนดค่าเลขฐานตัวบน
DIMTM กําหนดค่าเลขฐานตัวล่าง
DIMTFAC กําหนดความสูงของตัวเลข
DIMTOLJ กําหนดจุดวางตัวเลขในแนวตัง้

หมวด Zero Suppression


DIMTZIN เลือกการแสดงจุดทศนิยมหรื อไม่

หมวด Alternate Unit Tolerance


DIMALTTD เลือกจํานวนจุดทศนิยม

หมวด Zero Suppression


DIMALTTZ เลือกการแสดงจุดทศนิยมของค่า Tolerance หรื อไม่
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 12 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

ขัน้ ตอนของการสร้ าง Dimension Style


- ที่ Dimension Style Manager dialog box คลิกปุ่ ม New
- ที่ Create New Dimension Style dialog box พิมพ์ชื่อ Style ใหม่ที่ช่อง New Style Name คลิกปุ่ ม
Continue
- ได้ New Dimension Style dialog box คลิกที่ Tab ของ Line and Arrow, Text, Fit Option, Primary
Units, Alternate Units และ Tolerances เพื่อกําหนดรูปแบบและเปลี่ยนค่า Options ต่างๆ ตาม
ต้ องการ
- ที่ Dimension Style Manager dialog box คลิกปุ่ ม Set Current เพื่อกําหนดให้ Dimension Style ที่
เลือกเป็ นรูปแบบสําหรับเขียนบอกขนาด คลิกปุ่ ม Close

เมื่อเราได้ สร้ างรูปแบบของเส้ นบอกขนาดได้ แก้ ไขเปลีย่ นแปลงตามที่ต้องการแล้ ว ต่อไปเราจะมาดูใน


เรื่องของวิธีการบอกขนาดของแต่ละประเภท

การบอกขนาดแบบ Quick Dimension


ใช้ คําสัง่ นี ้สําหรับเขียนเส้ นบอกขนาดพร้ อมกันหลายๆ เส้ นในคราวเดียวกันมีวิธีการดังนี ้
Menu Browser > Dimension > Quick Dimension
Select geometry to dimension: Specify opposite corner: เลือกวัตถุทงั ้ หมด
Select geometry to dimension: กดปุ่ ม Enter
Specify dimension line position, or
[Continuous/Staggered/Baseline/Ordinate/Radius/Diameter/datumPoint/Edit/seTtings]
<Baseline>: กําหนดประเภทของเส้ นบอกขนาดที่ต้องการ แล้ วเลื่อนเคอร์ เซอร์ เพื่อกําหนด
ตําแหน่ งเส้ นบอกขนาดเหมาะสมแล้ วคลิกเมาส์ ซ้ายเพือ่ วางตําแหน่ ง

ตัวเลือกในคําสั่ง QDIM
Continuous เลือกเส้นบอกขนาดแบบต่อเนื่อง
Staggered เลือกเส้นบอกขนาดแบบซ้ อน
Baseline เลือกเส้ นบอกขนาดแบบระดับชัน้
Ordinate เลือกเส้นบอกขนาดแบบออร์ ดิเนท
Radius เลือกเส้ นบอกขนาดแบบรัศมี
Diameter เลือกเส้นบอกขนาดแบบเส้นผ่าศูนย์กลาง
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 13 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

Datum Point ให้ พิมพ์ตวั เลือก P เพื่อกําหนดจุดกําเนิดให้ แก่เส้ นบอกขนาดแบบออร์ดิเนทให้


วัดค่าจาก 0,0
Edit เพิ่มหรือถอดจุดในการเขียนเส้ นบอกขนาด โดยการคลิกตรงจุดที่ต้องการเพิ่ม
หรือถอดจุดนัน้

การบอกขนาดแบบ Linear
ใช้ สําหรับเขียนเส้ นบอกขนาดแบบเชิงเส้ น (Linear dimension) ซึ่งเป็ นเส้ นบอกขนาดตามแนว
Horizontal และ Vertical มีวิธีการดังนี ้

Menu Browser > Dimension > Linear


Specify first extension line origin or <select object>: คลิกเลือกจุด Endpoint ที่ 1 ของวัตถุ
Specify second extension line origin: คลิกเลือกจุด Endpoint ที่ 2 ของวัตถุ
Specify dimension line location or [Mtext/Text/Angle/Horizontal/Vertical/Rotated]: เลื่อน
mouse หาตําแหน่ งในการวาง Dimension Line แล้ วคลิกกําหนดตําแหน่ งที่ต้องการคือจุดที่ 3
Dimension Line

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 14 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

ก่อน หลัง

การบอกขนาดแบบ Aligned
ใช้ สําหรับการวัดระยะทางด้ านแนวเฉียง หรื อเอียงของชิ ้นงานนันๆ้ (Aligned dimension) โดยที่เราไม่
สามารถที่จะใช้ Linear ในการวัดได้ เพราะจะทําให้ คา่ ที่ได้ มีความคลาดเคลื่อนนัน่ เอง โดยที่ Aligned นันมี

ทางเลือกย่อยทังหมด
้ 3 รายการ ได้ แก่ Mtext, Text และ Angle ซึ่งเป็ นเส้นบอกขนาดที่ขนานไปกับวัตถุ มีวิธีการ
ดังนี ้

Menu Browser > Dimension > Aligned


Specify first extension line origin of <select object>: คลิกเลือกจุด Endpoint ที่ 1 ของวัตถุ
Specify second extension line origin: คลิกเลือกจุด Endpoint ที่ 2 ของวัตถุ
Specify dimension line location or [Mtext/Text/Angled]: คลิกกําหนดตําแหน่ งจุดที่ 3
Dimension text = ได้ ระยะที่ต้องการทราบ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 15 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

ก่อน หลัง

การบอกขนาดแบบ Arc Length


เป็ นคําสัง่ ที่เพิ่มเข้ ามาใหม่ตงแต่
ั ้ ในเวอร์ชนั่ 2006 แล้ ว ใช้ สําหรับการวัดขนาดของความยาวส่วนของเส้ น
โค้ งเท่านัน้ ซึ่งถ้ าเป็ นเวอร์ชนั่ ก่อนหน้ านี ้จะไม่สามารถทําได้ เลย

Menu Browser > Dimension > Arc Lenght


Select arc or polyline arc segment: คลิกเลือกเส้ นโค้ งจุดที่ 1
Specify arc length dimension location, or [Mtext/Text/Angle/Partial]: ลากเมาส์ ออกมาเพื่อวาง
เส้ นบอกขนาด จุดที่ 2
Dimension text = ได้ ระยะที่ต้องการทราบ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 16 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

ก่อน หลัง

การบอกขนาดแบบ Ordinate
ใช้ สําหรับเขียนเส้ นบอกขนาดที่อ้างอิงจากจุดกําเนิดของระบบคอร์ดิเนท X และ Y ซึ่งจะต้ องอาศัยคําสัง่
UCS เข้ ามาช่วย เพื่อที่จะย้ ายจุดกําเนิด 0,0 ชัว่ คราวไปไว้ ยงั ตําแหน่งที่ต้องการ

ก่อน หลัง

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 17 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

การบอกขนาดแบบ Radius และ Diameter


การเขียน Dimension เพื่อบอกขนาดรัศมีและเส้นผ่าศูนย์กลางของวงกลมหรือส่วนโค้ ง มีขนตอนดั
ั้ งนี ้

Menu Browser > Dimension > Radius หรือ Dimension > Diameter
Select arc or circle: คลิกเลือกวงกลมหรือส่ วนโค้ งที่ต้องการ
Dimension text = 6
Specify dimension line location or [Mtext/Text/Angle]: คลิกกําหนดตําแหน่ งที่ต้องการวาง
Dimension Line

ก่อน หลัง

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 18 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

การบอกขนาดแบบ Jogged
เป็ นคําสัง่ ที่บอกขนาดรัศมี และเส้นผ่าศูนย์กลางให้ กบั เส้นโค้ งวงกลม และวงรี สามารถลากเส้ นบอก
ขนาดออกไปบอกภายนอกวัตถุได้ ซึ่งเป็ นคําสัง่ ใหม่ที่เพิ่มขึ ้นมาในเวอร์ชนั่ ล่าสุดนี ้

Menu Browser > Dimension > Jogged


Select arc or circle: คลิกเลือกวัตถุจุดที่ 1
Specify center location override: ลากเมาส์ ออกมาด้ านนอก
Dimension text = 16 (รั ศมีท่ ไี ด้ )
Specify dimension line location or [Mtext/Text/Angle]: คลิกวางตําแหน่ งตัวหนังสือ
Specify jog location: คลิกวางเส้ น

ก่อน หลัง

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 19 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

การบอกขนาดแบบ Angular
เป็ นการบอกขนาดมุมของงวัตถุ มีขนตอนดั
ั้ งนี ้

Menu Browser > Dimension > Angular


Select arc, circle, line, or [specify vertex]: เลือกเส้ นประกอบมุมจุดที่ 1
Select second line: เส้ นประกอบมุมที่สองจุดที่ 2
Specify dimension arc line location or [Mtext/Text/Angle]: เลือ่ นเมาส์ ไปคลิกยังตําแหน่ งที่
ต้ องการให้ เส้ นบอกขนาดปรากฏ

ก่อน หลัง

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 20 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

การบอกขนาดแบบ Baseline
การบอกขนาดงานแบบซ้ อนกันเป็ นระดับชัน้ อาจจําเป็ นต้ องบอกขนาดจากจุด Base Point ตาม แกน X
และ แกน Y เรียกการบอกขนาดแบบนี ้ว่า Baseline Dimensioning มีขนตอนการใช้
ั้ คําสัง่ 2 ขันตอนดั
้ งนี ้

ขัน้ ตอนที่ 1 เพื่อกําหนด Dimension ชุดแรก สําหรับการอ้ างอิง มีขนตอนดั


ั้ งนี ้

Menu Browser > Dimension > Linear


Specify first extension line origin or<select object>: คลิกจุด Endpoint ที่ 1 ของวัตถุเป็ น
first extension line
Specify second extension line origin: คลิกเลือกจุด Endpoint ที่ 2 ของวัตถุเป็ น
second extension line
Specify dimension line location or[Mtext/Text/Angle/Horizontal/Vertical/Rotated]: คลิกกําหนด
ตําแหน่ งที่ต้องการวาง Dimension Line

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 21 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

ขัน้ ตอนที่ 2 เขียนบอกขนาดแบบ Baseline มีขนตอนดั


ั้ งนี ้

Menu Browser > Dimension > Baseline


Specify a second extension line origin or [Undo/Select] <Select>: คลิกเลือก 2 Extension line
ของวัตถุถัดไป
Dimension text = 4.5000
จนกระทัง่ เขียน Dimension เสร็จ จึงกด Enter เพื่อออกจากคําสัง่

ก่อน หลัง

การบอกขนาดแบบ Continue
การบอกขนาดแบบ Continue จะเป็ นแบบต่อเนื่องกัน ต้ องเขียนบอกขนาดแบบ Linear โดยการเลือก
First Extension และ Second Extension ก่อน มีขนตอนการใช้
ั้ คําสัง่ 2 ขันตอนดั
้ งนี ้

ขัน้ ตอนที่ 1 เพื่อกําหนด Dimension ชุดแรก สําหรับการอ้ างอิง มีขนตอนดั


ั้ งนี ้
เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ
Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 22 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

Menu Browser > Dimension > Linear


Specify first extension line original or <select object>: คลิกเลือกจุด Endpoint ที่ 1 ของวัตถุ
เป็ น first extension line
Specify second extension line origin: คลิกเลือกจุด Endpoint ที่ 2 ของวัตถุเป็ น
second extension line
Specify dimension line location or [Mtext/Text/Angle/Horizontal/Vertical/Rotated]: คลิกกําหนด
ตําแหน่ งที่ต้องการวาง Dimension Line

ขัน้ ตอนที่ 2 เขียนบอกขนาดแบบ Continue มีขนตอนดั


ั้ งนี ้

Menu Browser > Dimension > Continue


Specify a second extension line origin or[Undo/Select]<Select>: คลิกเลือก 2 Extension line
ของวัตถุถัดไป
Dimension text=2.0000
Specify a second extension line origin or[Undo/Select] <Select>: คลิกเลือก 2 nd Extension
line ของวัตถุถัดไป จนกระทั่งเขียน Dimension เสร็จ จึงกด Enter เพื่อออกจากคําสั่ง

ก่อน หลัง

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 23 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

การบอกขนาดแบบ Dimension Break


ใช้ สําหรับจัดวางเส้ นบอกขนาดต่างๆ ให้ มีระยะห่างตามค่าที่กําหนด มีวิธีการดังนี ้

Menu Browser > Dimension > Dimension Break


Select dimension to add/remove break or [Multiple]: คลิกเลือกเส้ นบอกขนาดที่ต้องการ
Select object to break dimension or [Auto/Manual/Remove] <Auto>: กด Enter

การบอกขนาดแบบ Multileader
ใช้ สําหรับเขียนเส้ นชี ้นํา (Leader Line) เพื่อใช้ เป็ นคําอธิบายชิ ้นงาน มีวิธีการดังนี ้

Menu Browser > Dimension > Multileader


Specify first leader point, or [Settings]<Settings>: คลิกจุดที่ต้องการเพื่อกําหนดจุดปลาย
ของหัวลูกศร
Specify next point: คลิกตรงจุดที่จะวาง
Specify next point: กด Enter
Specify text width <0>: กด Enter
Enter first line of annotation text <Mtext>: พิมพ์ ข้อความที่ต้องการ
Enter next line of annotation text: กด Enter

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 24 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

ก่อน หลัง

การบอกขนาดแบบ Tolerance
ใช้ สําหรับเขียนสัญลักษณ์พิกดั ความเผื่อ (Tolerance) ซึ่งเป็ นค่าสูงสุดหรือค่าตํ่าสุดภายในขอบเขตที่
กําหนด ที่จะยอมให้ ผลิตชิ ้นงานได้ ดังรูปตัวอย่าง

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 25 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

เราสามารถใส่คา่ Tolerance ได้ ตามต้ องการ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 26 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

Sym เมื่อคลิกบนช่องว่างนี ้จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ของสัญลักษณ์พิกดั ความเผื่อ (Geometric Tolerance)


มีรายการดังนี ้
Position พิกดั ความเผื่อของตําแหน่ง
Concentricity พิกดั ความเผื่อของความเที่ยงตรงของศูนย์
Sysmetry พิกดั ความเผื่อของความสมมาตร
Parallelism พิกดั ความเผื่อของความขนาน
Perpendiculurity พิกดั ความเผื่อของความตังฉาก

Anqularity พิกดั ความเผื่อของมุม
Cylindricity พิกดั ความเผื่อของความเที่ยงตรงของทรงกระบอก
Flatness พิกดั ความเผื่อของราบเรียบ
Circularity พิกดั ความเผื่อของกลม
Straightness พิกดั ความเผื่อของตรง
Profile of a surface พิกดั ความเผื่อของรูปทรงของพื ้นผิว
Profile of a line พิกดั ความเผื่อของรูปทรงในแนวเส้น
Circular runout พิกดั ความเผื่อของการหนีศนู ย์กลางของวงกลม
Total runout พิกดั ความเผื่อของการหนีแนวระนาบ

Tolerance 1 ใช้ สําหรับกําหนดค่าพิกดั ความเผื่อที่ 1พร้ อมทังสามารถสอดแทรกสั


้ ญลักษณ์
เส้ นผ่าศูนย์กลางและสัญลักษณ์ของสถานะวัสดุ มี 3 ช่องดังนี ้
ช่ องแรก คลิกเพื่อแสดงสัญลักษณ์เส้นผ่านศูนย์กลางหรื อไม่
ช่ องที่สอง กําหนดตัวเลขค่าที่ต้องการระบุลงไป
ช่ องที่สาม กําหนดค่าการใช้ วสั ดุ Material Condition มีทางเลือกย่อยดังนี ้

ให้ วสั ดุมากตามจํานวนที่ให้ ไว้

ให้ วสั ดุน้อยตามจํานวนที่ให้ ไว้

ให้ วสั ดุเท่าไรก็ได้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 27 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

Tolerance 2 ใช้ สําหรับกําหนดค่าพิกดั ความเผื่อที่ 2 เหมือนกับพิกดั ความเผื่อที่ 1

Datum 1 ใช้ สําหรับสร้ างดาตัมอ้ างอิงที่ 1


Datum 2 ใช้ สําหรับสร้ างดาตัมอ้ างอิงที่ 2
Datum 3 ใช้ สําหรับสร้ างดาตัมอ้ างอิงที่ 3
Height สร้ างค่าขอบเขตของพิกดั ความเผื่อ
Project Tolerance Zone เขียนสัญลักษณ์ P หลังค่าขอบเขตพิกดั ความเผื่อ
Datum Identifier สร้ างสัญลักษณ์ซึ่งบรรจุดาตัมอ้ างอิง

การบอกขนาดแบบ Center Mark


ใช้ สําหรับเขียนศูนย์กลางให้ กบั ส่วนโค้ งหรือวงกลม มีวิธีการดังนี ้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 28 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

คําสั่ง Dimedit
คําสัง่ Dimedit ใช้ แก้ ไขข้ อความ มุมหมุนข้ อความ และเส้นขอบเขต ดูรูปด้ านล่าง และรันได้ จากทูลบาร์
Dimension Edit (หรื อเมนู Dimension > Oblique ตัวเลือกเดียว) มีพรอมต์ดงั นี ้

เมื่อใช้ ตวั เลือก New ซึ่งใช้ เพื่อแก้ ไขข้ อความ จะมีไดอะล็อกบ็อกซ์ Multiline Text Editor ให้ พิมพ์แก้ ไขข้ อความ
ได้ เครื่องหมาย <> ในส่วนเอดิเตอร์เป็ นส่วนแทนค่าถึงค่าวัด หากลบส่วนนี ้ออกไป ก็จะไม่มีคา่ วัดจากคําสัง่ เส้ น
บอกขนาดเองอีก และเมื่อคลิก OK แล้ วจะมีพรอมต์ Select objects : ให้ เลือกวัตถุที่ต้องการจะแก้ ไข

ตัวเลือก Rotate ใช้ หมุนข้ อความ จะมีพรอมต์ดงั นี ้


Command: dimedit
Enter type of dimension editing [Home/New/Rotate/Oblique] <Home>: R
Specify angle for dimension text : ให้ กรอกค่ ามุมที่ต้องการ
Select objects : ให้ เลือกวัตถุท่ ตี ้ องการจะแก้ ไข
ตัวเลือก Oblique ใช้ หมุนเส้ นขอบเขต จะมีพรอมต์ดงั นี ้
Command: dimedit
Enter type of dimension editing [Home/New/Rotate/Oblique] <Home>: O
Select objects : ให้ เลือกวัตถุท่ ตี ้ องการจะแก้ ไข (เมื่อครบแล้ วให้ กด Enter)
Enter obliquing angle (press ENTER for none): ให้ กรอกมุมที่ต้องการ

ตัวเลือก Oblique นี ้ปกติจะใช้ กบั การวาดรูปไอโซเมตริ ก


ตัวเลือก Home ใช้ กลับคืนมุมดีฟอลต์ของข้ อความในเส้ นบอกขนาด จะมีพรอมต์ Select objects :
ให้ เลือกวัตถุท่ ตี ้ องการแก้ ไข

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 29 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Dimensioning

คําสั่ง Dimtedit
คําสัง่ Dimtedit ใช้ แก้ ไขตําแหน่งของข้ อความในเส้ นบอกขนาด สามารถรันได้ จากทูล Dimension Text
Edit (หรือเมนู Dimension > Text Edit > ที่รายการ Home, Angle, Left, Center หรือ Right) มีพรอมต์ดงั นี ้

Command: dimtedit
Select Dimension : ให้ เลือกเส้ นบอกขนาด
Specify new location for dimension text or [Left/Right/Center/Home/Angle]: กําหนดตําแหน่ ง
ใหม่ สําหรั บข้ อความของเส้ นบอกขนาดหรือ ตัวเลือก

เมื่อป้อนจุดกับพรอมต์นี ้ จะเป็ นการกําหนดตําแหน่งใหม่ให้ กบั ข้ อความตามจุดที่เลือก ส่วนตัวเลือก


Left, Right, และ Center ใช้ กําหนดให้ วางข้ อความไว้ ที่ชิดซ้ าย ชิดขวา และกึ่งกลางของเส้นบอกขนาด
ตามลําดับ

ส่วนตัวเลือก Home ใช้ กําหนดข้ อความกลับคืนตําแหน่งเดิมตามดีฟอลต์ของมัน และตัวเลือก Angle ใช้


กําหนดมุมหมุนข้ อความ เช่นเดียวกับในคําสัง่ Dimedit

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-09-I Page : 30 of 30 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Unit name : DesignCenter Properties and Revision : 
Tool Palettes

บทที่ 10 DesignCenter Properties และ Tool Palettes


การใช้ DesignCenter
DesignCenter เป็ นเครื่ องมือใหม่ที่มปี ระสิทธิภาพในการใช้ งานสูงใน AutoCAD ซึ่งเป็ นศูนย์กลางรวม
ในการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการออกแบบที่จะช่วยให้ เราค้ นหาไฟล์เป็ นแบบงานจัดการข้ อมูลแบบงานใช้ งาน
โดยเราสามารถที่จะลากข้ อมูลจากไฟล์อื่น ๆ หรือจากระบบเครือข่าย (Network) หรือจากอินเตอร์เน็ตมาวางลง
ในไฟล์แบบงานใช้ งานได้ จุดเด่นของ DesignCenter ก็คอื การเรี ยกข้ อมูลทุกประเภท การแทรก Block การ
แก้ ไขข้ อมูลรวมทังหมด
้ การแลกเปลี่ยนข้ อมูลระหว่างไฟล์ที่เป็ นไฟล์เขียนแบบด้ วยกัน
1 2 3 4 5 6 7 8 9

11

12
10

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-10-I Page : 1 of 9 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Unit name : DesignCenter Properties and Revision : 
Tool Palettes

1. Load : เป็ นการเรียกไฟล์โดยผ่านไดอะล็อกบ็อกซ์ Load แต่ไฟล์ที่ทําการโหลดมาจะไม่เปิ ดอยู่


ในหน้ าต่าง Drawing โดยจํากัดการแสดงผลอยู่ในส่วนของ AutoCAD Design Center เพื่อการดึงข้ อมูล
บางส่วนมาใช้ งานเท่านัน้
2. Up : เป็ นการย้ อนการมองโครงสร้ างของ Tree Diagram ที่แสดงในหน้ าต่าง Tree View
กลับไปก่อนหน้ านี ้ (ครัง้ ที่ผา่ นมา) เป็ นอีกวิธีการหนึ่งที่ช่วยในการค้ นหาไฟล์ที่ต้องการ
3. Search : เป็ นการค้ นหา Design Center ในโปรแกรมเพิ่มเติม
4. Favorites : ใช้ สําหรับเรี ยกดูไฟล์ หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการใช้ บ่อยๆ เป็ นการค้ นหาและเรียกใช้ งาน
แบบเร่งด่วน ซึ่งสามารถบันทึกไฟล์เอาไว้ ใน Favorites วิธีการใช้ งานก็คือ คลิกที่โฟลเดอร์ที่ต้องการ แล้ วคลิก
เมาส์ที่ปมขวาเลื
ุ่ อก “Add to Favorites”
5. Home : ย้ อนกลับไปที่โฟลเดอร์ Design Center
6. Tree View Toggle : เป็ นการควบคุมการแสดงผลของวินโดวส์ Tree View ที่มีการแสดงตําแหน่ง
ของไฟล์วา่ จัดเก็บไว้ ที่ใดในรูปของ Tree Diagram เราจะใช้ การคลิกปุ่ มนี ้สําหรับการปิ ด / เปิ ดการแสดงของ
หน้ าต่าง Tree View
7. Preview : เป็ นการควบคุมการใช้ งานวินโดวส์ Preview เป็ นพื ้นที่หน้ าต่างที่ใช้ แสดงภาพตัวอย่าง
สามารถปรับย่อ / ขยายขนาดได้เช่นเดียวกับ วินโดวส์ทวั่ ไป
8. Description : เป็ นการควบคุมการใช้ งานวินโดวส์ของ Description ที่เป็ นพื ้นที่แสดงข้ อมูล
รายละเอียดที่มีลกั ษณะเป็ นข้ อความ สามารถคลิกปุ่ มนี ้เพื่อปิ ด / เปิ ด ได้ เช่นเดียวกับวินโดวส์
9. View : ควบคุมลักษณะการแสดงผลของวินโดวส์ Palette ให้ เป็ นไปตามความเหมาะสมของ
การใช้ งาน เช่น Large Icon, Small Icon, List และ Details
10. Tree View : เราสามารถใช้ งานทัว่ ๆ ไป ในลักษณะเช่นเดียวกับโครงสร้ างไฟล์ของวินโดวส์ แต่
สามารถที่จะทําการ Cut, Copy และ Paste ไฟล์ได้
11. Block Icon : เป็ นรูปไอคอนที่แสดงรูปภาพคร่าวๆ ของชิ ้นงานของ Block ที่ใช้ ใน Drawing นันๆ ้
คลิกเมาส์ที่ปมขวาเพื
ุ่ ่อทําการ Copy ได้
12. Preview Area : เป็ นพื ้นที่หน้ าต่างที่สามารถปรับย่อ / ขยายเพื่อแสดงรูปทรงของชิ ้นงานให้ เราได้
เลือกใช้ ได้ สะดวกขึ ้น

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-10-I Page : 2 of 9 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Unit name : DesignCenter Properties and Revision : 
Tool Palettes

การเรียกใช้ DesignCenter ออกมาใช้ งาน Tool > DesignCenter เราก็จะได้ ไดอะล็อกบ็อกซ์เกิดขึ ้นดัง
รูป ซึ่งเราสามารถที่จะใช้ DesignCenter สําหรับช่วยในงานต่อไปนี ้
 เราสามารถที่ จะนํ าบล็อก (Block) รู ปแบบเส้ นบอกขนาด (Dimension style) เลเยอร์ (Layer)

เลอาท์ (Layout) รูปแบบเส้ น (Linetype) รูปแบบตัวอักษร (Text style) เอกซ์เรฟ (Xref) จาก
 ไฟล์แบบงานใดเข้ าไปในแบบงานใช้ งานได้ โดยง่าย ด้ วยการคลิกและลากมาวางหรือใช้ Copy
และ Paste ได้ ตามต้ องการ
 ถ้ ามีการเปิ ดไฟล์แบบงานหลาย ๆ ไฟล์พร้ อม ๆ กัน เรายังสามารถที่ จะคัดลอกวัตถุจากไฟล์หนึ่งไป

ยังอีกไฟล์หนึ่งด้ วย DesignCenter ได้ เราสามารถใช้ DesignCenter เพื่อที่จะนําข้ อมูลที่มีอยู่แล้ ว


จากแบบงานหนึง่ ไปใช่ร่วมกันในอีกแบบงานหนึ่งได้ อย่างรวดเร็ว ด้ วยการคลิกและลากมาวางหรื อ
ใช้ Copy และ Paste ได้ เช่นเดียวกัน
 เราสามารถใช้ DesignCenter สําหรับเปิ ดดูรายละเอียดของไฟล์แบบงานที่ อยูใ ่ นไดรฟ์และโฟลเดอร์
ใด ๆ หรื อแม้ กระทัง่ ในระบบเน็ตเวิร์คหรือในอินเตอร์เน็ต
 เราสามารถใช้ DesignCenter สําหรับดูรายละเอียดหรื อรูปภาพของวัตถุที่มีชื่อ (Named objects)

อาทิ เช่น ดูรูปบล็อก ชื่อเลเยอร์หรื อวัตถุอื่น ๆ ในไฟล์แบบงานใดๆ โดยที่ไม่ต้องเปิ ดไฟล์นนออกมา


ั้
 เราสามารถสร้ างทางลัด (Shortcuts) ไปยังไฟล์แบบงานหรื อโฟลเดอร์ หรื อที่ อยูใ ่ นอินเตอร์เน็ตที่มี
การใช้ งานบ่อย เพื่อให้ เรียกออกมาใช้ งานได้ ทนั ที
 สามารถค้ นหาไฟล์แบบงาน โดยใช้ รายละเอียดต่าง ๆ ของไฟล์แบบงานเป็ นเงื่อนไขในการค้ นหา
อาทิ เช่น เราสามารถใช้ ชื่อเลเยอร์ ชื่อบล็อก ชื่อรูปแบบเส้ น ชื่อรูปแบบเส้ นบอกขนาดและอื่น ๆ
ในการค้ นหาไฟล์แบบงานใด ๆ จากในฮาร์ดิสค์หรือจากระบบเน็ตเวิร์คได้
 เราสามารถเปิ ดไฟล์แบบงาน โดยคลิกและลากบนไอคอนไฟล์แบบงานในหน้ าต่าง DesignCenter

ไปวางบนพื ้นที่วาดภาพได้
 เราสามารถใช้ DesignCenter สําหรับดูรูปบิ ทแม็ป (Preview) ในฟอร์ มแมตต่าง ๆ อาทิ เช่น

.jpg, .bmp, .tif และฟอร์ มแมตอื่น ๆ และสามารถสอดแทรกรูปบิทแม็ปเข้ าในแบบงานใช้ งานได้


 เราสามารถใช้ พื ้นที่บางส่วนของ DesignCenter ในการดูรูปตัวอย่างของไฟล์แบบงานดูรูปบล็อก

หรือดูรูปบิทแม็ป โดยสามารถกําหนดขนาดของรูปให้ มีขนาดใหญ่หรือเล็กหรือแสดงรายละเอียด


ข้ อมูลของไฟล์ได้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-10-I Page : 3 of 9 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Unit name : DesignCenter Properties and Revision : 
Tool Palettes

ขัน้ ตอนการใช้ DesignCenter ในการคัดลอกบล็อก


ในการใช้ DesignCenter เพื่อคัดลอกบล็อกจากไฟล์อื่น ๆ เข้ าไปในแบบงานใช้ งานมีอยู่ 3 วิธี วิธีแรก
ใช้ เมาส์คลิกและลากบล็อกไปวางบนพื ้นที่วาดภาพ วิธีนี ้ไม่จําเป็ นที่จะต้ องกําหนดจุดสอดแทรกซึ่งเป็ นวิธีง่าย
และสะดวกที่สดุ วิธีที่สองเมื่อค้ นหาบล็อคที่ต้องการแล้ วเราจะคลิกขวาแล้ วเลือกคําสัง่ Insert Block.... เพื่อ
สอดแทรกบล็อกลงบนพื ้นที่วาดภาพของไฟล์ใช้ งาน วิธีที่สามคลิกขวาแล้ วเลือกคําสัง่ Copy เพื่อคัดลอกบล็อก
เข้ าไปเก็บไว้ ในหน่วยความจําคลิ๊บบอร์ ด ของวินโดว์แล้ วจึงใช้ คําสัง่ Edit > Paste เพื่อสอดแทรกบล็อกลงบน
พื ้นที่วาดภาพของไฟล์แบบงาน ใช้ งานโดยมีขนตอนดั ั้ งต่อไปนี ้
1. ใช้ คําสัง่ Menu Browser > Tools > Palettes > DesignCenter เพื่อเรียกหน้ าต่าง
DesignCenter ออกมาใช้ งาน
2. ให้ แน่ใจว่าปุ่ ม Folders เป็ นปุ่ มใช้ งานเราจะมองเห็น Tree View แสดงโฟลเดอร์และไฟล์ตา่ ง ๆ
3. ค้ นหาชื่อไฟล์แบบงานที่บรรจุบล็อคที่ต้องการคัดลอกในที่นี ้เราจะเรียกไฟล์เดอร์ DesignCenter
จาก Favorites โดยคลิกบนปุ่ ม จะปรากฎโฟลเดอร์ DesignCenter ในช่องหน้ าต่าง Palette
แล้ วดับเบิลคลิกบนโฟลเดอร์ DesignCenter แล้ วคลิกบนเครื่องหมาย + ของไฟล์แบบงาน จะ
ปรากฏส่วนประกอบย่อยของไฟล์แบบงานแล้ วเลือก Block แล้ วคลิกบนไอคอนบล็อกในช่อง
หน้ าต่าง Palette จะปรากฏดังรูป

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-10-I Page : 4 of 9 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Unit name : DesignCenter Properties and Revision : 
Tool Palettes

4. เมื่อไอคอนบล็อกปรากฏบนช่องหน้ าต่าง Palette แล้ วเราสามารถคลิกและลากไอคอน บล็อกใด ๆ


ในหน้ าต่าง Palette ไปวางลงบนพื ้นที่วาดหรือคลิกขวาบนไอคอนบล็อกในหน้ าต่าง Palette แล้ ว
เลือกคําสัง่ Insert Block... หรือคําสัง่ Copy ได้ ก็จะปรากฏบล็อกนันบนพื
้ ้นที่วาดภาพ

Note
ในการสอดแทรกไฟล์แบบงาน .dwg หรือไฟล์รูปบิทแม็ป (Bitmap) ในฟอร์มแมตต่าง ๆ สามารถทํา
ตามขันตอนการใช้
้ DesignCenter ในการคัดลอกบล็อกได้ เช่นเดียวกันแต่เราจะต้ องเลือกโฟลเตอร์ ซึ่งบรรจุไฟล์
แบบงานหรือไฟล์รูปบิทแม็ปบนช่องหน้ าต่าง Tree View เสียก่อน เพื่อให้ รายชื่อไฟล์ (ไม่ใช่สว่ นประกอบย่อย
ของไฟล์) มาปรากฏในช่องหน้ าต่าง Palette แล้ วจึงคลิกบนชื่อไฟล์ที่ต้องการในหน้ าต่าง Palette เราจะ
มองเห็นรูปตัวอย่างของไฟล์นนในช่
ั ้ องหน้ าต่าง Preview จากนันจึ
้ งคลิกและลากบนชื่อไฟล์ในช่องหน้ าต่าง
Palette ไปวางลงบนพื ้นที่วาดภาพ นอกจากจะใช้ ขนตอนดั
ั้ งกล่าวนี ้ในการคัดลอกบล็อกหรือสอดแทรกไฟล์
แบบงานหรือสอดแทรกไฟล์รูปบิทแม็ปเข้ าไปยังไฟล์แบบงานใช้ งานแล้ วเรายังสามารถใช้ ขนตอนดั
ั้ งกล่าวนี ้ใน
การคัดลอกรูปแบบเส้ นบอกขนาด (Dimstyles) เลเยอร์ (Layers) เลเอาท์ (Layouts) รูปแบบเส้ น (Linetypes)
รูปแบบตัวอักษร (Textstyles) หรือเอกซ์เรฟ (Xrefs) จากไฟล์แบบงานใด ๆ เข้ ามายังไฟล์แบบงานใช้ งาน โดย
การคลิกและลากมาวางได้ เช่นเดียวกัน

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-10-I Page : 5 of 9 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Unit name : DesignCenter Properties and Revision : 
Tool Palettes

การใช้ Properties Window


การเรียกใช้ Properties Window ออกมาใช้ งาน Menu Browser > Tools > Palettes Properties
คําสัง่ นี ้ใช้ ร่วมกับการเลือกวัตถุโดยใช้ กริ๊ บส์ หากก่อนเรียกคําสัง่ ออกมาใช้ งานไม่มีวตั ถุใด ๆ ถูกเลือกอยู่ (สังเกต
ว่าจะไม่มีวตั ถุใด ๆ ที่ปรากฏจุดกริ๊ บส์สีนํ ้าเงิน) จะปรากฏหน้ าต่าง Properties ดังรูป

1
2

1. แสดงรายชื่อประเภทวัตถุที่ถกู เลือก ถ้ าไม่มีวตั ถุใดถูกเลือก จะปรากฏข้ อความ No selection ถ้ ามี


วัตถุถกู เลือกพร้ อมกันหลาย ๆ ชิ ้น จะปรากฏ All (3) ซึ่งหมายถึงมีวตั ถุถกู เลือกพร้ อมกันทังหมด
้ 3 ชิ ้น เรา
สามารถคลิกบนปุ่ ม ของแถบรายการเพื่อเลือกประเภทของวัตถุที่ต้องการจากวัตถุทงั ้ 3 ชิ ้นนัน้ ถ้ ามีวงกลมถูก
เลือกอยู่เพียงชิ ้นเดียวจะปรากฏ Circle บนแถบรายการนี ้หากมีวตั ถุถกู เลือกพร้ อมกันจํานวนมาก ๆ เราสามารถ
ใช้ ปมุ่ เพื่อกําหนดเงื่อนไขในการกลัน่ กรองการเลือกวัตถุตา่ ง ๆ ได้

2. 3., 4., 5., 6. เป็ นชื่อหมวดหมูแ่ สดงคุณสมบัติของวัตถุ จะปรากฏเมื่อแถบคําสัง่ Categorized ถูก

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-10-I Page : 6 of 9 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Unit name : DesignCenter Properties and Revision : 
Tool Palettes

เลือกวัตถุแต่ละประเภทจะมีหมวดหมูแ่ ละคุณสมบัติแตกต่างกันซึง่ อาจจะมีจํานวนหมวดหมูน่ ้ อยกว่าหรือ


มากกว่าที่ปรากฏบนหน้ าต่างดังรูป ชื่อของหมวดหมูก่ ็ขึ ้นอยู่กบั ประเภทของวัตถุที่ถกู เลือก วัตถุตา่ งประเภทกัน
จะมีชื่อหมวดหมูแ่ ละคุณสมบัตทิ ี่ปรากฏบนหน้ าต่าง Properties แตกต่างกันอีกด้ วย

ในไดอะล็อกบ็อกซ์ properties จะปรากฏคุณสมบัติของวัตถุที่เราจะทําการปรับปรุงแก้ ไข เช่น


General บอกคุณสมบัติทวั่ ๆ ไปของวัตถุ ได้ แก่ สี เลเยอร์ ชนิดของเส้ น สเกล นํ ้าหนักเส้ น และ
ความหนาของเส้ น
Plotstyle บอกคุณสมบัติที่เกี่ยวกับการพล็อตชิ ้นงาน ไม่วา่ จะดูงานที่ Model Space หรือ Paper
Space
View บอกคุณสมบัติที่เกี่ยวกับจุด Coordinate ของวัตถุทงแกนั้ X แกน Y และแกน Z
Misc บอกคุณสมบัติของ UCS ว่ามีสถานะเป็ นเช่นไร ทังแบบแสดงให้
้ เห็นหรือไม่
หรือชื่อของ UCS เป็ นต้ น

ขัน้ ตอนการใช้ Properties Window


1. เรี ยกคําสัง่ Menu Browser > Tools > Palettes Properties เพื่อเรียกหน้ าต่าง properties
ออกมาใช้ งาน
2. ให้ แน่ใจว่าบรรทัด Command: ไม่ปรากฏคําสัง่ ใด ๆ แล้ วใช้ เคอร์ เซอร์ คลิกบนวัตถุที่ต้องการแก้ ไข
คุณสมบัติ โดยสามารถจะเลือกวัตถุชิ ้นเดียวหรื อหลายชิ ้นก็ได้ จะปรากฏจุดกริ๊บส์สีนํ ้าเงินบนวัตถุที่
ถูกเลือก แล้ วแก้ ไขคุณสมบัติของวัตถุในหมวดต่าง ๆ ได้ ตามต้ องการ

บนหน้ าต่าง Properties หากวัตถุที่เลือกมีชิ ้นเดียวเราสามารถแก้ ไขคุณสมบัตติ า่ ง ๆ ได้ ทนั ที หากวัตถุ


ที่ถกู เลือกมีมากกว่า 1 ชิ ้น บนหน้ าต่าง Properties จะปรากฏคุณสมบัติของวัตถุในหมวดทัว่ ไปเท่านันหาก ้
ต้ องการแก้ ไขคุณสมบัตเิ ฉพาะของวัตถุให้ คลิกบนปุ่ ม เพื่อเลือกประเภทของวัตถุที่ต้องการ

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-10-I Page : 7 of 9 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Unit name : DesignCenter Properties and Revision : 
Tool Palettes

การใช้ Tool Palettes


Tool Palettes เป็ นอินเตอร์เฟซใหม่ที่เพิ่งเริ่มมีขึ ้นตังแต่
้ AutoCAD 2004 และได้ รับการปรับปรุง
เพิ่มเติมความสามารถต่อมาใน AutoCAD 2009 นี ้ รายการต่างๆ ที่อยู่ในทูลแพลเล็ตนี ้เรียกว่า “ทูล (tool)”
สามารถใส่ทลู เพิ่มเข้ าในทูลแพลเล็ตนี ้ได้ โดยการแดร็กรายการต่างๆ อันได้ แก่ รูปวาด เช่น Line, Circle, Polyline
ฯลฯ เส้ นบอกขนาด บล็อก ลวดลายจาก Hatch การลงสีแบบ Gradient ภาพราสเตอร์ ไฟล์อ้างอิงภายนอก
(Xrefs) ไปวางไว้ ในทูลแพลเล็ต

โดยหลักแล้ วทูลแพลเล็ตก็คือที่จดั เก็บคําสัง่ ใดๆ นัน่ เอง รวมไปถึงการเก็บบล็อก ลวดลายและการลงสี


แบบ Hatch และรูปภาพ

1. เปิ ดทูลแพลเล็ตขึ ้น โดยคลิกทูล Tool Palettes จากทูลบาร์ Standard หรือกดคีย์ Ctrl+3 (เลข 3
ต้ องไม่ใช่จากคีย์สว่ น Numeric Pad)
2. คลิกเลือกแท็บต่างๆ ที่มีมาให้ อยู่แล้ ว ดังรูป

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-10-I Page : 8 of 9 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Unit name : DesignCenter Properties and Revision : 
Tool Palettes

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-10-I Page : 9 of 9 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Layout

บทที่ 11 การสร้ าง Template Drawing


การจัดหน้ ากระดาษ (Layout)
หลักโดยทัว่ ไปในการเขียนแบบด้ วย AutoCAD นันคื ้ อเราเขียนชิ ้นงานด้ วยขนาดจริง (Full scale) ใน
Model Space แล้ วบันทึกไฟล์ชิ ้นงานในฟอร์แมต .dwg และเขียนตารางแสดงรายการแบบหรื อไตเติ ้ลบล็อก
(Titleblock) ใน Paper Space แยกเก็บไว้ ในไฟล์เทมเพลทฟอร์แมต .dwt เพื่อที่จะสามารถใช้ ไฟล์ไตเติ ้ลบล็อก
ไปใช้ กบั ไฟล์ชิ ้นงานอื่นๆ แล้ วจึงนําชิ ้นงาน และไตเติ ้ลบล็อกเข้ าไปรวมกันใน Paper Space ของไฟล์ชิ ้นงานเพื่อ
กําหนดมาตราส่วน (Scale) ที่เหมาะสมซึ่ง Paper Space ของ AutoCAD2009 ก็คือเลเอาท์ (Layout) ซึ่งจะ
แสดงตัวอย่างของหน้ ากระดาษที่เราจะทําการพิมพ์ปรากฏให้ เห็นบนจอภาพ
หลังจากที่เราเขียนชิ ้นงานเสร็จเรี ยบร้ อยแล้ วและพร้ อมที่จะเริ่มจัดหน้ ากระดาษ

เมื่อคลิกขวาบนไอคอน Quick View Layouts จะแสดงเมนูชอร์ตคัตดังในรูป

 New layout ใช้ สร้ างเลเอาท์ขึ ้นใหม่


 From template ใช้ สร้ างเลเอาท์โดยใช้ ไฟล์เทมเพลทที่มีอยู่แล้ ว
 Move or Copy ใช้ ย้ายตําแหน่งหรื อคัดลอกเลเอาท์

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-11-I Page : 1 of 7 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Layout

 Select All Layouts ใช้ กําหนดเลือกแท็บเลเอาท์ทงหมดพร้


ั้ อมกันในคราวเดียว ก่อนที่จะรันคําสัง่
อื่น เช่น พิมพ์ หรื อกําหนด Page setup ใหม่ ฯ
 Activate Previous Layout ย้ ายไปยังแท็บ Layout ตัวที่ผา่ นมา (มีประโยชน์กรณีกําหนดแท็บ
เลเอาท์ไว้ จํานวนมาก
 Page Setup Manager ใช้ เข้ าถึงไดอะล็อกบ็อกซ์ Page Setup Manager

การกําหนดในวิวพอร์ตเมื่อสวิตช์เข้ าไปสูใ่ น Model space ทังที


้ ่ยงั อยู่หน้ า Paper space หรือแท็บเล
เอาท์ ซึ่งการเข้ าไปนี ้ทําได้ ด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งดังต่อไปนี ้
1. ดับเบิลคลิกบนพื ้นที่ในกรอบของวิวพอร์ต
2. คลิกปุ่ ม PAPER บนบรรทัดสถานะจะกลายเป็ นคําว่า MODEL
3. พิมพ์ MSPACE กด Enter หรือ MS กด Enter

ส่วนการสวิตช์กลับออกมาเมื่อพิมพ์คา่ Zoom nXP แล้ ว รวมถึงแพนปรับตําแหน่งภาพจนเรียบร้ อยแล้ วให้ ใช้ วิธี


ใดวิธีหนึง่ ดังต่อไปนี ้
1. ดับเบิลคลิกบนพื ้นที่นอกกรอบของวิวพอร์ ตใดๆ
2. คลิกปุ่ ม MODEL บนบรรทัดสถานะจะกลายเป็ นคําว่า PAPER
3. พิมพ์ PSPACE กด Enter หรือ PS กด Enter

จากรูปด้ านล่างแสดงให้ เห็นขอบกระดาษเลเอาท์ (Layout) โดยมีขนาดของกระดาษที่เราได้ เลือกไว้ ใน


ขันต้
้ นด้ วยไดอะล็อกบ็อกซ์ Page Setup พื ้นที่ที่สามารถพิมพ์ได้ (Printable area) จะปรากฏเป็ นเส้ นประแสดง
ให้ เราทราบขอบเขตที่เราควรจะเขียนวัตถุลงไปหากเราเขียนวัตถุออกไปนอกกรอบของเส้ นประนี ้ เมื่อทําการ
พิมพ์แบบงาน วัตถุที่อยู่นอกกรอบเส้ นประนี ้ อาจจะปรากฏหรื อไม่ปรากฏลบนกระดาษได้ เราไม่สามารถแก้ ไข
เปลี่ยนแปลงพื ้นที่นี ้ได้ โดยตรง เพราะพื ้นที่ขึ ้นอยู่กบั ยี่ห้อของเครื่องพิมพ์ที่เราเลือก ส่วนเส้นกรอบวิวพอร์ทจะเป็ น
ตัวที่จะทําให้ เราเห็นแบบงานของเราที่อยูใ่ นโมเดลสเปสเข้ ามารวมกับไตเติ ้ลบล็อกที่อยู่ในเปเปอร์ สเปสได้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-11-I Page : 2 of 7 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Layout

ขอบเขตกระดาษ
(Layout)

พื ้นที่ที่สามารถพิมพ์ได้
(Printable area)

วิวพอร์ท (viewport) ที่


โปรแกรมสร้ างให้

การสอดแทรกไตเติล้ บล็อก
ในการสร้ าง Layout ใหม่ เราสามารถที่จะสอดแทรกตารางรายการแบบหรื อไตเติ ้ลบล็อกเข้ ามาพร้ อมกัน
กับเลเอาท์ใหม่ โดยใช้ คําสัง่ Insert > Layout > Layout from Template หรือคลิกขวาบนแถบ Layout ใดๆ
แล้ วเลือกคําสัง่ From template... จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ Select File ขึ ้นมาบนจอภาพแสดงโฟลเดอร์
Template และรายชื่อไฟล์ .dwt ให้ เราเลือกดังรูปซ้ าย เมื่อเลือกไฟล์ .dwt แล้ วจะปรากฏไดอะล็อก
บ็อกซ์ Insert Layout(s) โดยใช้ ชื่อบล็อกในไฟล์ต้นแบบเป็ นชื่อของ Layout ดังรูป

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-11-I Page : 3 of 7 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Layout

แล้ วคลิก OK เพื่อออกจากไดอะล็อกบ็อกซ์ จะปรากฏ Layout ใหม่บรรจุไตเติ ้ลบล็อกพร้ อมทังมี


้ การสร้ าง
วิวพอร์ทให้ สามารถมองเห็นชิ ้นงานในโมเดลสเปสดังรูป

พื ้นที่ที่สามารถพิมพ์ได้ (Printable
area)

วิวพอร์ท (viewport) ที่โปรแกรม


สร้ างให้

จากรูปเป็ นหน้ ากระดาษของแถบเลเอาท์ ISO A4 Title Block ที่ถกู สร้ างขึ ้นด้ วยคําสัง่ Insert > Layout
> Layout from Template สังเกตว่าวิวพอร์ทที่โปรแกรมสร้ างมาให้ ไม่ได้ เป็ นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ า แต่มีรูปร่างตาม
พื ้นที่วา่ งที่เป็ นเส้ นประเล็กของไตเติ ้ลบล็อก วัตถุตา่ ง ๆ ที่อยู่ในโมเดลสเปสจะปรากฏภายในขอบเขตของ
เส้ นประเล็กนี ้ สังเกตอีกอย่างหนึง่ ว่าไตเติ ้ลบล็อกมีสว่ นที่ยื่นออกไปนอกขอบเขตของเส้ นประใหญ่ ซึง่ แทน
ขอบเขตที่เครื่องพิมพ์สามารถพิมพ์ได้ หากทําการพิมพ์แบบงานส่วนที่ยื่นออกไปนอกขอบเขตของเส้ นประใหญ่
จะไม่ปรากฏบนเครื่ องพิมพ์ อย่างไรก็ตามเราสามารถที่จะลดขนาดความกว้ างกับความยาวของกรอบไตเติ ้ล
บล็อคให้ อยู่ภายในขอบเขตที่เครื่ องพิมพ์สามารถพิมพ์ได้ อย่างที่กล่าวมาแล้ วว่าขอบเขตเส้นประใหญ่แทนพื ้นที่
ที่เครื่องพิมพ์สามารถพิมพ์ได้ ดังนันขนาดของเส้
้ นประใหญ่จะเปลี่ยนไปตามขนาดกระดาษของเครื่องพิมพ์แต่ละ
ยี่ห้อที่ถกู เลือกในคําสัง่ Page Setup

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-11-I Page : 4 of 7 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Layout

ขัน้ ตอนการจัดหน้ ากระดาษ


สมมุติวา่ เรามีชิ ้นงานอยู่ชิ ้นหนึ่งเราเขียนขึ ้นบนโมเดลสเปสตามขนาดจริง (Full Scale) และเราได้ บอก
ขนาดต่างๆ เรียบร้ อยแล้ วเราต้ องการที่จะพิมพ์ชิ ้นงานดังกล่าวโดยใช้ ไตเติ ้ลบล็อกขนาด A4 และ A3 ที่บรรจุไว้ ใน
เทมเพลทไฟล์ .dwt เรามีวิธีการจัดหน้ ากระดาษ และกําหนดสเกลที่เหมาะสมตามขันตอนดั ้ งต่อไปนี ้

1. เรี ยกไตเติ ้ลบล็อก ISOA4 – Color Dependent Plot Style.dwt ออกมาใช้ งานโดยคลิกขวาบนแถบ Model
หรือ Layout1 แล้ วเลือกที่คําสัง่ From Template… จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ Select File ขึ ้นมาบนจอภาพ
จากนันก็
้ หาเลือกไฟล์ ISO A4 Color Dependent Plot Style.dwt แล้ วคลิกบนปุ่ ม Open จะปรากฏ
ไดอะล็อกบ็อกซ์ Insert Layout(s) ขึ ้นมาบนจอภาพ คลิกบนปุ่ ม OK จะปรากฏแถบ Layout ใหม่ ISO A4
Title Block (portriat)

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-11-I Page : 5 of 7 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Layout

2. คลิกบนแถบ Layout ISO A4 Title Block (portriat) จะปรากฏไตเติ ้ลบล็อกดังรูป (ขวา) จะเห็นว่าชิ ้นงาน
ของเรามีขนาดเล็กไม่เหมาะสมกับขนาดกระดาษ
3. ดับเบิ ้ลคลิกบนที่วา่ งในวิวพอร์ ทเส้ นกรอบของวิวพอร์ทจะเปลี่ยนเป็ นเส้ นหนาทึบดังรูปที่ (ขวา) ซึ่งจะบอกให้
เราทราบว่าตอนนี ้เราอยู่ใน Model space
4. ใช้ คําสัง่ View > Zoom > Extents ชิ ้นงานก็จะปรากฏเต็มขนาดของวิวพอร์ทพอดีจะปรากฏดังรูปที่
(ซ้ าย)

5. ดับเบิลคลิกบนพื ้นที่วา่ งนอกขอบเขตของกรอบวิวพอร์ท เพื่อกลับสู่ Layout ใน Paper space


6. ใช้ คําสัง่ Tools > Properties หรื อ Modify > Properties เพื่อเรียกหน้ าต่าง Properties ออกมาใช้ งานดังรูป
ที่ (ขวา)

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-11-I Page : 6 of 7 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Layout

7. เลื่อนเคอร์เซอร์ไปบนเส้ นกรอบของไตเติ ้ลบล็อก แล้ วคลิกซ้ ายจะปรากฏจุดกริ๊ บและเส้ นประบนวัตถุที่ถกู


เลือกดังรูปที่ (ซ้ าย) และแถบรายการบนหน้ าต่าง Properties จะปรากฏ All (2) แสดงว่ามีวตั ถุถกู เลือก
ทังหมด
้ 2 ชิ ้นให้ คลิกบน
ปุ่ ม ของแถบรายการแล้ วเลือกวัตถุ Viewport (1) แล้ วค้ นหาหมวดเบ็ดเตล็ด (Misc) บนหน้ าต่าง
Properties
8. อ่านค่า Custom scale ซึ่งได้ เท่ากับ 2.09 นัน่ หมายถึงว่า สเกลแฟคเตอร์ปัจจุบนั ของวิวพอร์ทเท่ากับ 2.09:1
ซึ่งเราก็สามารถที่จะสรุปได้ วา่ สเกลของวิวพอร์ทที่เหมาะสมควรจะเป็ น 2:1 ซึ่งเป็ นค่าที่ใกล้เคียงที่สดุ
ในขณะที่ยงั ปรากฏจุดกริ๊บส์และเส้ นกรอบของวิวพอร์ทยังคงเป็ นเส้นประให้ คลิกบน Standard scale แล้ ว
เลือกสเกล 2:1 แล้ วออกจากหน้ าต่าง Properties เราก็จะได้ แบบงานของเราที่เหมาะสมกับไตเติ ้ลบล็อก
ขนาด A4 ดังรูป

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-11-I Page : 7 of 7 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Ploting and Printing Drawing

บทที่ 12 การพิมพ์ แบบงานบน AutoCAD


การพิมพ์ แบบงาน
ภายหลังจากที่ได้ มีการเขียนแบบด้ วยคําสัง่ ต่าง ๆ จนได้ แบบงานที่ถกู ต้ องสมบูรณ์แล้ ว จากนันจึ
้ งต้ องมี
การพิมพ์แบบงานออกมาซึ่งขันตอนนี
้ ้เราเรียก การพิมพ์หรือการพล็อตแบบงานซึ่งเราสามารถที่จะพิมพ์แบบงาน
ทางเครื่องพิมพ์ (Printer) หรือพล็อตแบบงานออกทางเครื่องพล็อตเตอร์ (Plotter)

การคอนฟิ กพล็อตเตอร์
ขันตอนแรกของการจั
้ ดเตรียมเพื่อพิมพ์แบบ เริ่มจากต้ องคอนฟิ กเครื่องพิมพ์ที่จะใช้ เสียก่อน ซึ่งเป็ นการ
กําหนดค่าเริ่ มต้ นที่จะใช้ วา่ เป็ นอย่างไร โดยกระทําเพียงครัง้ เดียวตอนติดตังใหม่
้ แล้ วค่อยปรับแต่งเสริมในสไตล์
ของการพล็อต (plot styles) และการจัดหน้ ากระดาษ (page setup) ต่อไป

AutoCAD ซัพพอร์ ตเครื่ องพิมพ์และพล็อตเตอร์ชนิดต่างๆ มากมาย และยังได้ จดั เตรียมไดรเวอร์ทงหลาย


ั้
ให้ ด้วย ไดรเวอร์เป็ นตัวอํานวยให้ AutoCAD สื่อสารกับอุปกรณ์พิมพ์ตา่ งๆ ได้ รวมถึงรูปแบบไฟล์ราสเตอร์ และ
โพสต์สคริปต์ด้วย ไดรเวอร์ ที่มีมาให้ เลยจะซัพพอร์ตเครื่องพิมพ์จากค่าย Hewlett Packard, Xerox และ Oce’
นอกจากนี ้ ยังสามารถกําหนดให้ AutoCAD พิมพ์ไปยัง Windows System Printers ซึ่งอาจเป็ นตัวหนึ่งตัวใดใน
โฟลเดอร์ Printer หรื อแม้ แต่ Adobe Acrobat PDF Writer ที่ใช้ สร้ างไฟล์ PDF ด้ วย

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-12-I Page : 1 of 13 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Ploting and Printing Drawing

Plotter Managers
ตังแต่
้ AutoCAD 2000 เป็ นต้ นมา ใช้ Plotter Manager ช่วยจัดการคอนฟิ กเครื่องพิมพ์ ทังที ้ ่เป็ น
Windows System Printers และไม่ใช่ก็ตาม และยังใช้ เพื่อคอนฟิ ก AutoCAD ให้ ใช้ เครื่องพิมพ์ได้ ทงแบบั้
โลคอลและแบบเน็ตเวิร์กก็ได้ โดยมีไฟล์คอนฟิ กมีนามสกุลเป็ น .pc3 เพื่อเก็บบันทึกข้ อมูลเกี่ยวกับการคอนฟิ ก
เลือกสื่อและอุปกรณ์ที่ใช้ พิมพ์ ส่วนในรี ลีสก่อนๆ นันจะใช้
้ .pcp และ .pc2 ทังนี
้ ้ไฟล์ .pc3 ก็คล้ ายๆ กับไฟล์ใน
รีลีสก่อนๆ เพียงแต่ไม่ได้ เก็บบันทึกข้ อมูลเกี่ยวกับค่ากําหนดของปากกา (pen settings) ไว้ เท่านัน้
ซึ่งเกี่ยวกับค่ากําหนดของปากกา (pen settings) ถูกจัดเก็บแยกจากไฟล์ .pc3 โดยบันทึกไว้ กบั สไตล์
การพล็อต (plot styles) แทน

สําหรับขันตอนการคอนฟิ
้ กเครื่ องพิมพ์ตวั ใหม่ กระทําได้ ดงั นี ้

1. ไปที่ Control Panel ใน Windows


โดยเลือกเมนูปมุ่ Start > Control
Panel หรือเลือกที่เมนู File >
Plotter Manager ใน AutoCAD
และดับเบิลคลิกที่ไอคอน Autodesk
Plotter Manager

2. ให้ ผลแสดงโฟลเดอร์ Plotters ของ


ส่วนโปรแกรม AutoCAD 2009 ให้
ดับเบิลคลิกไอคอน Add-A-Plotter
Wizard เพื่อใช้ วซิ าร์ดสําหรับการ
เพิ่มเครื่ องพิมพ์ใหม่

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-12-I Page : 2 of 13 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Ploting and Printing Drawing

3. ขันตอนแรกของวิ
้ ซาร์ ดจะแจ้ งข้ อ
ความให้ ทราบเกี่ยวกับรายละเอียด
ของวิซาร์ดนี ้ อ่านทําความเข้ าใจ
แล้ วคลิก Next

4. ขันตอน
้ Begin ของวิซาร์ ดให้ เลือก
ว่าจะใช้ พล็อตเตอร์ แบบใด ใช้
ไดรเวอร์ Heidi, Network Plotter
Server หรื อ System Printer ในที่นี ้
ให้ เลือก System Printer ซึ่ง
หมายถึงว่าจะใช้ เครื่ องพิมพ์ที่ได้
คอนฟิ กไว้ ในระบบปฏิบตั กิ าร
Windows อยู่แล้ ว จากนันคลิ
้ ก Next

5. ขัน้ System Printer ให้ เลือกเครื่อง


พิมพ์จากรายการของ System Printer
ซึ่งเป็ นเครื่ องพิมพ์ที่ตดิ ตังไว้
้ ใน
Windows ให้ เลือก แล้ วคลิก Next

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-12-I Page : 3 of 13 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Ploting and Printing Drawing

6. ขันตอน
้ Import PcP or Pc2
หากต้ องการใช้ ข้อมูลจากไฟล์คอน
ฟิ กในรี ลีสก่อนให้ คลิกปุ่ ม Import
File… เพื่อเลือกไฟล์ PCP หรือ
PC2 ในที่นี ้ให้ คลิก Next

7. ขันตอน
้ Plotter Name ให้ พิมพ์ชื่อที่
จะใช้ อ้างอิง ตอนเลือกกําหนดใช้
เครื่องพิมพ์นี ้ในไดอะล็อกบ็อกซ์การ
พิมพ์ตา่ งๆ ใน AutoCAD ต่อไป
แล้ วคลิก Next

8. ขันตอน
้ Finish สุดท้ ายนี ้เราสามารถ
คลิกที่ปมุ่ Edit Plotter Configuration
เพื่อเข้ าแก้ ไขค่าปรับแต่งต่างๆ สําหรับ
เครื่ องพิมพ์ที่เลือกไว้ นี ้ได้ อีก รวมถึงปุ่ ม
Calibrate Plotter ที่ใช้ ปรับชดเชย
ขนาดการพิมพ์ให้ ถกู ต้ อง
แต่ในที่นี ้ให้ คลิก Finish เพื่อจบออก
ไปก่อน

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-12-I Page : 4 of 13 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Ploting and Printing Drawing

โฟลเดอร์ Plotters ของ AutoCAD


ในตอนนี ้ไฟลเดอร์ Plotters ของ AutoCAD ก็จะมีไฟล์คอนฟิ กเครื่องพิมพ์นี ้แล้ ว สังเกตว่ามีนามสกุลเป็ น
PC3

การกําหนดชนิดของสไตล์ การพล็อตกับไฟล์ แบบ


ในไฟล์แบบตัวหนึ่งๆ จะเลือกใช้ งานสไตล์การพล็อตได้ เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง (แบบอิงกับสีหรือแบบอิง
กับชื่อ) สําหรับการเริ่ มต้ นด้ วยไฟล์เทมเพลท เมื่อเลือกเมนู File > New ให้ สงั เกตที่สว่ นลงท้ ายของชื่อไฟล์เทม
เพลท จะมีวลี Color Dependent Plot Styles และ Named Plot Styles เป็ นตัวแจ้ งให้ เราทราบได้ วา่ เทมเพลทนี ้
จะกําหนดไฟล์งานแบบตัวใหม่ที่เกิดขึ ้นด้ วยการใช้ สไตล์การพล็อตแบบใด
ส่วนวิธีการเริ่ มไฟล์ใหม่แบบใหม่ทงหมดใน
ั้ AutoCAD 2009 เมื่อคลิกเลือกที่เมนู File > New ก็จะเปิ ด
ไฟล์ใหม่ด้วยไดอะล็อกบ็อกซ์ Select template ซึ่งไม่ใช่เทมเพลทใดๆ เลย ให้ เลือกที่ไฟล์ acadiso.dwt และปุ่ ม
Open ให้ คลิกเลือกที่ Open with no Template – Metric ดังรูปข้ างล่างนี ้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-12-I Page : 5 of 13 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Ploting and Printing Drawing

ในแบบหลักนี่เริ่ มต้ นไฟล์ใหม่โดยไม่ใช้ ผลจากเทมเพลทใดๆ เลย กลไกที่ควบคุมว่าจะใช้ สไตล์การพล็อต


แบบใดอยูท่ ี่การกําหนดค่าในไดอะล็อกบ็อกซ์ Options บนแท็บ Plot and Publish โดยคลิกที่ปมุ่ Plot Style
Table Settings ดูการกําหนดค่าต่อไปในรูป

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-12-I Page : 6 of 13 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Ploting and Printing Drawing

ผลการกําหนดใช้ ตวั เลือก Use color dependent plot style และ Use named plot style จะถูกบันทึกที่ตวั แปร
ระบบ PSTYLEMODE ที่คา่ เป็ น 1 และ 0 ตามลําดับ ผลการเปลี่ยนแปลงตัวเลือกนี ้ขอยํ ้าว่าจะมีผลเฉพาะกับ
ไฟล์ที่จะเริ่มใหม่ถดั ใหม่ ค่ากําหนดนี ้จะถูกบันทึกกับไฟล์แบบด้ วย เมื่อกําหนดไว้ เป็ นแบบอิงกับสีไปแล้ ว
การเปลี่ยนประเภทเป็ นอิงกับชื่อต้ องใช้ ยลู ิตี ้

จุดสังเกตง่ายๆ อย่างหนึ่งหลังว่าใช้ สไตล์การพล็อตแบบใดอยู่ ให้ ดจู ากทูลบาร์ Object Properties หากทูลตัว


สุดท้ ายแสดงรายการแบบพร้ อมใช้ การได้ แสดงว่าใช้ สไตล์การพล็อตแบบอิงกับชื่อ แต่ถ้าทูลตัวสุดท้ ายนี ้แสดง
แบบใช้ การไม่ได้ (เป็ นสีเทาอ่อน) แสดงว่าใช้ สไตล์การพล็อตแบบอิงกับสี

การพิมพ์ แบบด้ วยคําสั่ง Plot


เนื ้อหาที่ผา่ นมาข้ างต้ นเพียงพอแล้ วที่จะทําให้ เกิดภาพรวมในการทําความเข้ าใจกับการพิมพ์แบบใน
AutoCAD 2009 ซึ่งมีอินเตอร์ เฟซที่ใช้ งานได้ ง่ายขึ ้นอย่างมากและมีความคล่องตัวสูง เมื่อได้ จดั หน้ ากระดาษ
เรียบร้ อยแล้ ว และอยู่บนแท็บเลเอาท์หรื อโมเดลที่ต้องการ นอกจากจะสัง่ พิมพ์แบบด้ วยวิธีข้างต้นแล้ ว ยัง
สามารถกําหนดโดยตรงด้ วยการใช้ คําสัง่ plot จากเมนูรายการ File > Plot … หรื อคลิกทูล Plot ซึ่งจะทํางาน
ผ่านไดอะล็อกบ็อกซ์ Plot ดังรูป

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-12-I Page : 7 of 13 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Ploting and Printing Drawing

หมวด Page Setup


Page Setup สามารถกําหนดบันทึกเพื่อให้ ไฟล์แบบตัวอื่นเรียกใช้ มนั ได้ อีก ซึ่งกระทําได้ ด้วยการคลิกปุ่ ม
Add การทํางานก็จะเหมือนในไดอะล็อกบ็อกซ์ Page Setup Manager เมื่อคลิกปุ่ ม New

หมวด Printer/Plotter
กําหนดเครื่ องพิมพ์ที่ต้องการจากรายการ Name ดังกล่าวไปแล้ วในข้ างต้ นที่เราได้ บนั ทึกการคอนฟิ กไว้
ในไฟล์ .pcp3 และยังสามารถกําหนดรายละเอียดของเครื่องพิมพ์ที่เลือกจากปุ่ ม Properties
เช็กบ็อกซ์ Plot to file ใช้ กําหนดให้ พิมพ์ลงบนไฟล์ (แทนการพิมพ์ออกกระดาษ)

หมวด Paper Size


ใช้ เลือกขนาดกระดาษที่จะใช้ พิมพ์

หมวด Plot area


ที่รายการ What to plot ใช้ กําหนดว่าจะพิมพ์อะไร มีตวั เลือกเป็ น
 Layout / Limits จะแสดงชื่ อรายการนี ้แทนที่ กน ั ในแท็บเลเอาท์และโมเดลตามลําดับ เมื่อพิมพ์บน
แท็บเลเอาท์ จะพิมพ์ทกุ สิ่งในขอบเขต (margins) ของขนาดกระดาษที่กําหนด ด้ วยจุดกําเนิดที่
คํานวณจาก 0,0 ของพื ้นที่เลเอาท์
หากพิมพ์บนแท็บโมเดล จะพิมพ์ทกุ สิ่งในพื ้นที่ที่กําหนดไว้ ด้วย Limits ของพื ้นที่วาดรูป (แต่ถ้าวิว
พอร์ ตขณะนันไม่
้ ได้ แสดงที่วิวแปลน ตัวเลือกนี ้จะให้ ผลเหมือนตัวเลือก Extents)
 Extents พิมพ์แบบสุดขอบเขตทีย่ งั มีรูปวาดใดๆ อยู่ (หากใช้ ในการพิมพ์ที่วิวิแบบเพอร์สเปกทีฟ
และตําแหน่งกล้ องกําหนดไว้ ใน drawing extents ตัวเลือกนี ้ให้ ผลเหมือนตัวเลือก Display)
 Display พิ มพ์ เฉพาะที่ แสดงบนวิวพอร์ ตปั จจุบน ั ในแท็บโมเดล
 View กํ าหนดให้ พิมพ์จากวิวที่ บน ั ทึกไว้ ด้ วยคําสัง่ View ซึ่งเลือกชื่อวิวได้ จากลิสต์บ็อกซ์ หากไม่มี
การบันทึกวิวใดๆ เลย ตัวเลือกนี ้ก็จะแสดงแบบไม่พร้ อมใช้ งาน
 Window ให้ กําหนดกรอบพื ้นที่ที่ต้องการจะพิ มพ์ โดยมีพรอมต์ Specify first coner : และ Specify

other corner : ให้ เลือกสองจุดในแนวทแยงตรงข้ ามกัน

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-12-I Page : 8 of 13 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Ploting and Printing Drawing

หมวด Plot offset (origin set to printable area)


ใช้ ปรับตําแหน่งจุดกําเนิด (origin) หรือจุดอ้ างอิงแรกของการคํานวณผลที่จะพิมพ์ หากพบว่าการพิมพ์
ให้ ผลเยื ้องไปหรือรูปวาดตกขอบกระดาษ (คือดูจากผลพรีวิวก่อน ไม่จําเป็ นต้ องพิมพ์ออกกระดาษจริงๆ) ให้ ลอง
ปรับค่าออฟเซ็ตนี ้ เพื่อดึงจุดกําเนิดเลื่อนไปในทิศทางที่ต้องการจะชดเชยผล กล่าวคือเลือกกรอกค่า X และ Y
ที่คา่ เป็ นบวกและลบได้ตามทิศทางแกนปกติทวั่ ไป

หมวด Plot scale


 Fit to paper กํ าหนดให้ พิมพ์ เต็มพื ้นที่ กระดาษพอดี (ไม่ได้ คํานึงว่าค่าสเกลเป็ นอย่างไร)

 Scale ดร็ อปดาวน์ ลิสต์นี ้ใช้ กําหนดตัวเลขสเกลของความเร็ ว ปกติบนแท็บเลเอาท์ จะถูกกํ าหนดไว้ ที่

1 : 1 แต่จะใช้ การปรับขนาดสเกลของวิวพอร์ตแทน
 หากในดร็ อปดาวน์ ลิสต์ไม่มีคา ่ สเกลที่ต้องการให้ กําหนดจากบ็อกซ์ NN mm = MM unit
 Scale lineweight เช็กบ็อกซ์ ที่ให้ ผลเข้ าสเกลกับนํ ้าหนักเส้ น

ปุ่ ม Preview
ใช้ แสดงภาพตัวอย่าง ผลลัพธ์ในการพิมพ์จะเป็ นอย่างไร โดยแสดงภาพครบทุกส่วน (full) ของรูปวาด
จริงบนพื ้นกระดาษ ซึ่งหากตรงความต้ องการแล้ ว ก็ให้ คลิกขวาเลือกรายการ Plot จากเมนูชอร์ตคัด หรือคลิก
Close preview window เพื่อออกจากภาพตัวอย่างนี ้กลับไปที่ไดอะล็อกบ็อกซ์ หรื อจะเลือก Pan, Zoom,
Zoom Window หรื อ Zoom Original เพื่อดูสว่ นต่างๆ ของภาพตัวอย่างก็ได้

หมวด Plot style table (pen assignments)


ใช้ กําหนดสไตล์การพล็อตซึ่งเป็ นไฟล์ .ctb หรื อไฟล์ .stb สําหรับแบบอิงกับสีและอิงกับชื่อตามลําดับ
สังเกตว่าในวงเล็บแจ้ งว่าเป็ นการกําหนดปากกานัน่ เอง
 ดร็ อปดาวน์ ลิสต์แสดงชื่ อของไฟล์สไตล์การพล็อตที่ เลือกไว้ สังเกตว่าแท็บเลเอาท์ หนึง ่ ๆ และแท็บ
โมเดลจะใช้ ไฟล์สไตล์คนละตัวกันได้
 ปุ่ ม Edit ใช้ เข้ าถึง Plot Style Table Editor ที่ ใช้ ในการแก้ ไขค่ากํ าหนดในไฟล์สไตล์ที่เลือกไว้ ใน

Name

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-12-I Page : 9 of 13 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Ploting and Printing Drawing

หมวด Drawing orientation


กําหนดแนววางพื ้นที่วาดรูป (drawing) ลงบนกระดาษของเครื่องพิมพ์วา่ จะใช้ แนวนอน (Landscape)
หรือแนวตัง้ (Portrait) และยังกําหนดกลับหัวได้ จากเช็กบ็อกซ์ Plot upside-down สังเกตผลลัพธ์ได้ จาก
ตัวอักษร A ที่แสดงอยู่ โดยรวมแล้ วการกําหนดในหมวดนี ้จะทําให้ เราสามารถเลือกหมุนแบบที่วาดไว้ ไปได้ ที่ 0,
90, 180, และ 270 องศาบนกระดาษ

หมวด Shaded viewport options


กําหนดวิธีการลงเฉดสีและแสงเงาในวิวพอร์ตต่างๆ ในการพล็อตไฟล์งานแบบ และระดับความละเอียด
การพิมพ์ (dpi)
 Shaded plot กําหนดวิธีการพล็อตต่อวิวพอร์ต โดยคุณสมบัติของวิวพอร์ตบนแท็บเลเอาท์ถกู
กําหนดไว้ จากการคลิกเลือกวิวพอร์ ตที่ต้องการไว้ และเลือกเมนู Tools > Properties ที่รายการ
Shade plot
 Quality กํ าหนดคุณภาพของงานพิ มพ์ ปกติจะใช้ ที่คา ่ NORMAL หากใช้ แบบ Draft จะให้ ผลที่
เส้ นแบบบางทังหมด

Draft วิวที่ลงเฉดสีและเร็นเดอร์ จะถูกพิมพ์แบบ wireframe
Preview วิวที่ลงเฉดสีและเร็นเดอร์จะถูกพิมพ์ที่ระดับความละเอียดหนึ่งในสี่ของระดับ
ความละเอียดของุปกรณ์ที่ใช้ ค่าสูงสุดเป็ น 150 dpi
Normal วิวที่ลงเฉดสีและเร็นเดอร์ จะถูกพิมพ์ที่ระดับความละเอียดค่าครึ่งหนึ่งของ
ระดับความละเอียดของอุปกรณ์ ที่ใช้ ค่าสูงสุดเป็ น 300 dpi
Presentation วิวที่ลงเฉดสีและเร็นเดอร์จะถูกพิมพ์ที่ระดับความละเอียดค่าครึ่งหนึ่งของระดับ
ความละเอียดของอุปกรณ์ ที่ใช้ ค่าสูงสุดเป็ น 600 dpi
Maximum วิวที่ลงเฉดสีและเร็นเดอร์จะถูกพิมพ์ที่ระดับความละเอียดค่าครึ่งหนึ่งของระดับ
ความละเอียดของอุปกรณ์ ที่ใช้ ไม่จํากัดค่าสูงสุด (dpi)
Custom วิวที่ลงเฉดสีและเร็นเดอร์ จะถูกพิมพ์ที่ระดับความละเอียดของระดับความ
ละเอียด ตามที่กําหนดไว้ ในบ็อกซ์คา่ DPI โดยขึ ้นกับความละเอียดของล
อุปกรณ์ที่ใช้ ด้วย
 DPI กํ าหนดความละเอียดการพิ มพ์ ของวิวที่ มก ี ารลงเฉดสีและเร็นเดอร์ หน่วยเป็ น Dots per inch
หรือจํานวนจุดต่อหนึ่งนิ ้ว

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-12-I Page : 10 of 13 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Ploting and Printing Drawing

หมวด Plot scale


เช็กบ็อกซ์ Plot in background กําหนดให้ กระบวนการพิมพ์ทํางานอยูใ่ นฉากหลัง (background) ทํา
ให้ กลับมาทํางานกับไฟล์งานแบบต่อไปได้ เกือบจะทันที แทนที่จะต้ องรอจนกว่าพิมพ์เสร็จ
เช็กบ็อกซ์ Plot with lineweight เมื่อไม่ได้ กําหนดใช้ ไฟล์สไตล์การพล็อตใดๆ สามารถใช้ ตวั เลือกนี ้
ควบคุมว่าจะใช้ การพิมพ์ตามค่านํ ้าหนักเส้ นที่กําหนดไว้ กบั รูปวาดหรือไม่
เช็กบ็อกซ์ Plot with plot styles ใช้ กําหนดว่าจะให้ ผลพิมพ์ตามที่กําหนดไว้ จากไฟล์สไตล์การพล็อต
หรือไม่
เช็กบ็อกซ์ Plot Paperspace last ใช้ บงั คับให้ พิมพ์โดยเริ่มจากรูปวาดของส่วน Model space ก่อนปกติ
แล้ วรูปวาดบน Paper space จะถูกพิมพ์ก่อนรูปวาดบน Model space
เช็กบ็อกซ์ Hide paperspace objects กําหนดซ่อนรูปวาดที่เขียนไว้ บน Paperspace
เช็กบ็อกซ์ Plot stamp on กําหนดให้ พิมพ์คา่ วันที่ตอนพิมพ์ด้วย (กรณีพบปั ญหาว่าขนาดไม่เหมาะสม
ขอแนะนําให้ ใช้ ความสามารถฟิ ลด์แบบวันที่ (Date) ร่วมกับการเขียนข้ อความแบบ Single Line Text
เช็กบ็อกซ์ Save changes to layout กําหนดบันทึกการเปลี่ยนแปลงกับเลเอาท์
ปกติเมื่อกําหนด Page Setup เสร็จเรียบร้ อยแล้ ว จะยังไม่คลิกปุ่ ม Plot นี ้ แต่จะคลิกปุ่ ม OK แทน
เพื่อออกมาตรวจสอบด้ วยการคลิกทูล Print Preview หรือเมนู File > Plot Preview ดูผลว่าตรงกับที่ต้องการ
หรือยัง จนแน่ใจแล้ วค่อยคลิกขวาเลือก Plot จากเมนูชอร์ตคัตเพื่อสัง่ พิมพ์ หากยังไม่ถกู ต้ องอีก ก็เลือก Exit
และเข้ าไปปรับใหม่จาก Page Setup จนกว่าจะได้ที่ถกู ต้อง

การให้ ขนาดสเกลมาตรฐานโดยการพล็อต
หัวข้ อนี ้ค่อนข้ างที่จะสําคัญเพราะนอกเหนือจากที่เราใช้ แบบแปลนในการสื่อสารความหมายให้ เข้ าใจ
แล้ ว การสร้ างความถูกต้ องของชิ ้นงานถือได้ วา่ เป็ นหัวใจของการเขียนแบบ ถึงแม้ วา่ รูปร่างของชิ ้นงานอาจจะ
ใกล้ เคียงกับของจริ งก็ตาม แต่ก็มิอาจที่จะวัดหรือให้ ขนาดที่ถกู ต้ องได้ อย่างแท้ จริง เราควรให้ ความสําคัญกับเรื่อง
นี ้มากๆ
จุดที่สําคัญของการกําหนดสเกลมาตรฐานให้ มีขนาดเท่าใดนัน้ จะขึ ้นอยูก่ บั หน่วย (Units) ของการ
พล็อตที่เรากําหนด เช่น

Plotted MM = Units

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-12-I Page : 11 of 13 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Ploting and Printing Drawing

ซึ่งจะหมายความว่า “ จากขนาดความยาว 1 หน่วยของระยะบนจอภาพ จะต้ องการให้ ปากกาของเครื่องพล็อต


เตอร์ลากไปยาวกี่มิลลิเมตร (MM)” นัน่ เอง
ถ้ ากําหนดให้ 1 หน่วยยูนิตมีขนาดความยาวเท่ากับ 1 เมตร ก็จะได้ ความยาว 1 เมตรจากของจริ งถูก
เขียนขึ ้นบนกระดาษยาว 10 มิลลิเมตร หรือ 1 เซนติเมตร เมื่อเราทําการจับมาเทียบสเกลเข้ าด้ วยกันก็จะได้ ดงั นี ้

ระยะบนรู ป : ระยะจริง = 1 เซนติเมตร : 1 เมตร


= 1 เซนติเมตร : 100 เซนติเมตร
= 1 : 100

ดังนัน้ Drawing แปลนแผ่นนี ้จะมีสเกลมาตรฐานเท่ากับ 1 : 100 นัน่ เอง ตัวอย่างอีกตัวอย่างเพื่อให้ เข้ าใจยิ่งขึ ้น
ถ้ าสมมุติเรากําหนดให้ เท่ากับ 100 = 1 ก็จะแสดงว่าเมื่อเราเขียนเส้ นตรงที่มีความยาว 1 เมตรบนจอภาพ (ให้ 1
หน่วย = 1 เมตร) เราก็จะได้ ความยาวที่ถกู เขียนบนกระดาษมีความยาว 100 มิลลิเมตร และถ้ านํามาเทียบสเกล
เข้ าด้ วยกันก็จะได้
ระยะบนกระดาษ : ระยะจริง = 100 มิลลิเมตร : 1 เมตร
= 10 เซนติเมตร : 100 เซนติเมตร
= 1 : 10

นัน่ ก็คือ แปลนรูปนี ้ก็จะมีสเกลมาตรฐานเท่ากับ 1 : 10 เช่นกัน


ดังนันการกํ
้ าหนด Plotted MM = Drawing Units จึงเป็ นตัวจักรสําคัญในการควบคุมความถูกต้ องของ
สเกลที่พล็อตออกมาบนกระดาษ ซึง่ เราจะต้ องพิจารณาก่อนว่าจะเขียนชิ ้นงานอยูบ่ นกระดาษขนาดเท่าไร เช่น
A0, A1, A2, A3, A4 เมื่อนํามาเทียบกับขนาดของชิ ้นงานจริงแล้ วน่าจะมีการย่อส่วน หรือขยายด้ วยสเกลเท่าไร
จึงจะเหมาะสม แล้ วจึงทําการกําหนดสเกลของการพล็อตให้ สมั พันธ์กนั ภายหลัง

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-12-I Page : 12 of 13 Pages
CD-15-00
Thai-German Institute Module name : CAD Part 1 - 2D Information Sheet
สถาบันไทย-เยอรมัน Revision : 
Unit name : Ploting and Printing Drawing

การสร้ างสเกลมาตรฐาน
การสร้ างสเกลมาตรฐานจะต้ องเป็ นสิ่งที่ได้ รับการพิจารณาเป็ นอันดับแรกก่อนที่จะสร้ างชิ ้นงานเพื่อส่ง
เครื่องพล็อต และการมีสเกลมาตรฐานนี ้ จะต้ องเป็ นขนาดสเกลที่นิยมใช้ กนั มากที่สดุ เพราะจะได้ ไม่เสียเวลาใน
การปรับเปลีย่ นสเกลอีกภายหลัง การกําหนดสเกลมาตรฐานนี ้จะขึ ้นกับตัวแปร 2 ตัวนัน่ ก็คือ
1. การกําหนดให้ Drawing Units มีขนาดเป็ นเท่าไร
2. การกําหนดยูนิตของการพล็อตบนไดอะล็อกบ็อกซ์
ทังสองจะต้
้ องสัมพันธ์กนั เสมอซึง่ Drawing Units ก็คือระยะความยาวบนจอภาพนัน่ เอง ดังนันค่ ้ า
ตัวเลขโคออร์ ดิเนตจะเป็ นตัวแทนของระยะต่างๆ ของชิ ้นงาน เช่น ต้ องการระยะชิ ้นงาน 1 เมตรก็ลากเส้ นบน
จอภาพไป 1 หน่วย
การกําหนดให้ Drawing Units มีขนาดความยาวเท่าใดนัน้ ก็จะขึ ้นกับลักษณะงานที่หน่วยงานนันๆ ้
ทํางานอยู่ เช่น ในการออกแบบชิ ้นส่วนเครื่ องจักร ความละเอียดของชิ ้นงานจะต้ องมีหน่วยเป็ นมิลลิเมตรหรือ
มากกว่านี ้ ก็อาจจะกําหนดให้ Drawing Units เท่ากับ 1 มิลลิเมตร
หลักในการเขียนภาพชิ ้นงานบน AutoCAD เราจะยึดถือหลักในลักษณะ Full Scale หรือเขียนแบบ 1 : 1
ตามที่ได้ กําหนดไว้ ใน Drawing Units ซึ่งเราจะไม่สนใจว่าจะมีขนาดใหญ่ หรือเล็กสักเพียงใด โดยจะเขียนลงไป
ในหน้ าจอแบบเป็ นตามระยะจริ งของชิ ้นงาน (โดยที่เรามีเครื่องมือก็คือคําสัง่ Zoom ช่วยในการทํางานอยู่แล้ ว)
แต่การกําหนดให้ มีสเกลขนาดเท่าไรก็จะขึ ้นอยู่ที่การตังค่
้ าในการพล็อตเท่านัน้

เรียบเรียงโดย อ.สนธยา สุวรรณโชติ


Sheet Code : PT-CAD-AT3-12-I Page : 13 of 13 Pages
CD-15-00

You might also like