You are on page 1of 37

การออกแบบชิ ้นงานเหล็ก

สาหรับการชุบสังกะสีแบบจุ่มร้ อน

1
การชุบสังกะสี
ไม่ ได้ เริ่มต้ นเมื่อชิน้ งานส่ งถึงโรงชุบ!!

แต่ การชุบสังกะสี
เริ่มต้ นตัง้ แต่ การออกแบบเหล็กแล้ ว
2
 เนื ้อหาต่างๆมีมากมายในหลายเวบไซด์

 เมื่อหาในกูเกิลจะพบ keyword หลักๆเช่น:


“Galvaniz” ชุบ + “design” ออกแบบ
“Galvaniz” ชุบ + “fabrication” การขึ ้นรูปเหล็ก

3
หัวข้ อ
 รูระบายอากาศ

 การออกแบบสาหรับสังกะสีสว่ นเกิน

 ส่วนที่เคลื่อนไหวได้

 การชุบงานเชื่อม

 เครื่ องหมายชี ้เฉพาะบนชิ ้นงาน

 การรวมชิ ้นงานชุบสังกะสีเข้ าด้ วยกัน


4
รูระบายอากาศ
รูระบายอากาศ มีไว้ เพื่อป้องกันอากาศที่ถูกกักไว้ ในชิน้ งาน ซึ่ง
อากาศที่ถูกกักไว้ นัน้ จะขยายตัวและสร้ างความดันภายใน
ชิน้ งานระหว่ างการชุบ

สังกะสี
อากาศขยายตัว
หลอมเหลว

5
หากรู้ระบายอากาศไม่ถกู ทาขึ ้นอย่างเหมาะสม ผลที่ตามมาอาจ
เกิดอันตราย รวมไปถึงชิ ้นงานอาจถูกทาลายได้

6
ความผิดพลาดที่เกิดจากความไม่ เหมาะสมของรู
ระบายอากาศทาให้ ชนิ ้ งานถูกทาลาย

7
ความผิดพลาดที่เกิดจากความไม่ เหมาะสมของรูระบาย
อากาศทาให้ ชนิ ้ งานถูกทาลาย

8
รูระบายอากาศ

9
รูระบาย
อากาศบน
รั ว้ ซี่กรง
10
รู ระบายอากาศ
บนรั ว้ ซี่กรง

11
รูรายอากาศ
บนโครงร่าง
งาน
12
หัวข้ อ
 รูระบายอากาศ

 การออกแบบสาหรับสังกะสีสว่ นเกิน

 ส่วนที่เคลื่อนไหวได้

 การชุบงานเชื่อม

 เครื่ องหมายชี ้เฉพาะบนชิ ้นงาน

 การรวมชิ ้นงานชุบสังกะสีเข้ าด้ วยกัน 13


การออกแบบที่ดีนัน้ สังกะสีหลอมเหลวต้ องสามารถ
เข้ าได้
ทุกพืน้ ผิวของเหล็ก

มุมด้ านในก็ต้องเปิ ดไว้ เพื่อป้องกันการกักเก็บอากาศ

การเปิ ดมุมด้ านใน


14
ตัวอย่างของการออกแบบที่ดี

15
เจาะรู ท่ มี ุมก่ อนชุบสังกะสี
รูท่ มี ุมถูกเจาะโดยการใช้ Oxy-acetylene
torch ก่ อนการชุบ

17
ตัวอย่ างของการออกแบบที่ดโี ดยมีการเจาะรู ท่ ถี ูกต้ อง
สังกะสีหลอมเหลวจะเข้ าถึงทุกพืน้ ที่ของชิน้ งาน
และหลังจากชุบสังกะสีแล้ ว สังกะสีส่วนเกินจะไหลออก

18
หลีกเลี่ยง
การมีมุม
ด้ านในชิน้ งาน
หัวข้ อ
 รูระบายอากาศ

 การออกแบบสาหรับสังกะสีสว่ นเกิน

 ส่วนที่เคลื่อนไหวได้

 การชุบงานเชื่อม

 เครื่ องหมายชี ้เฉพาะบนชิ ้นงาน

 การรวมชิ ้นงานชุบสังกะสีเข้ าด้ วยกัน 20


การชุบสั งกะสี กบ
ั ส่วนที่
เคลือ
่ นไหวได้
ช่ องห่ างระหว่ าง
ส่ วนที่เคลื่อนไหวได้
อยู่ท่ ี 2 มิลลิเมตร

21
หัวข้ อ
 รูระบายอากาศ

 การออกแบบสาหรับสังกะสีสว่ นเกิน

 ส่วนที่เคลื่อนไหวได้

 การชุบงานเชื่อม

 เครื่ องหมายชี ้เฉพาะบนชิ ้นงาน

 การรวมชิ ้นงานชุบสังกะสีเข้ าด้ วยกัน 22


จุดเชื่อมต้ องถูกทาความสะอาดอย่างเหมาะสม
เพื่อให้ ได้ คณ
ุ ภาพที่ดี

23
ตัวอย่ างของการเชื่อมที่แย่ บนงานชุบสังกะสีแบบจุ่มร้ อน
พบว่ าโพรงในบริเวณเชื่อมซึ่งมีนา้ ยาเคมีท่ เี กิดจากกระบวนกาล้ าง
เกิดรั่ วออกมา

การกัดกร่ อน
สนิม
บริเวณรอยเชื่อม

24
ตัวอย่างของการ
กัดกร่อนที่เกิด
หลังจากการชุบ
สังกะสีโดยการ
เชื่อมที่แย่

25
“slagจากการเชือ ่ ม” สามารถเอาออก
จากพืน
้ ผิวชิน
้ งานโดยวิธเี ชิงกล
เทานั
่ ้น

26
ตัวอย่ างงานชุบสังกะสีร้อน
ที่มีการเชื่อมที่ดี

27
28
 รูระบายอากาศ

 การออกแบบสาหรับสังกะสีสว่ นเกิน

 ส่วนที่เคลื่อนไหวได้

 การชุบงานเชื่อม

 เครื่ องหมายชี ้เฉพาะบนชิ ้นงาน

 การรวมชิ ้นงานชุบสังกะสีเข้ าด้ วยกัน 29


เครื่ องหมายชี ้เฉพาะบนชิ ้นงาน
 ชิน
้ งานเหล็กทีจ
่ ะถูกชุบสั งกะสี มก
ั มีการทา
เครือ
่ งหมายสั ญลักษณเอาไว
์ เสมอ

 สั ญลักษณจะต ์ องไม
้ เลื
่ อนหรือหลุดออกเมือ ่ เจอ
สารเคมีขณะลางเหล็ ้ กและขณะชุบสั งกะสี
สั ญลักษณนั ์ ้นจะตองไม
้ ขั
่ ดขวางการฟอรมตั
์ วของ
สั งกะสี ทช
ี่ ุบ

 ตัวอยางที
่ ถ ่ ก
ู ตองจะถู
้ กแสดงไวในหน
้ ้ าถัดไป

30
ตัวอย่างการทาสัญลักษณ์โดยใช้ แท่งเชื่อม

31
ตัวอย่างสัญลักษณ์ที่เจาะ “จุด”

32
ตัวอย่างการใช้ ป้ายสัญลักษณ์ติดโดยลวด
หรื อเชื่อมติดบนผิวเหล็กก็ได้

ป้ายสัญลักษณ์ ห้อยด้ วยลวด


33
 รูระบายอากาศ

 การออกแบบสาหรับสังกะสีสว่ นเกิน

 ส่วนที่เคลื่อนไหวได้

 การชุบงานเชื่อม

 เครื่ องหมายชี ้เฉพาะบนชิ ้นงาน

 การรวมชิ ้นงานชุบสังกะสีเข้ าด้ วยกัน 34


การต่ อเหล็กชุบสังกะสีโดยการเชื่อมนัน้
สามารถเชื่อมได้ ทุกวิธี

35
การต่ องานเหล็กชุบสังกะสีแบบจุ่มร้ อน
ด้ วยน็อตและสกรูท่ ชี ุบสังกะสีแบบจุ่มร้ อนเช่ นกัน

36
ปรึกษากับโรงชุบก่ อนออกแบบและลงมือทา

You might also like