You are on page 1of 75

ตัวอยา่ งการนากระบวนการ

HDG ไปใช้งานจริ ง

62
ระบบการส่ งผ่ าน
กาลังไฟฟ้ า
เสาส่ งกาลัง
ไฟฟ้ าแรงสูงซึ่งผลิต
จากกระบวนการ
Hot dip
Galvanized

63
ระบบการส่ งผ่ าน
กาลังไฟฟ้ า
เสาส่ งกาลังไฟฟ้ าซึ่ ง
ผลิตจากกระบวนการ
Hot dip
Galvanized

64
หมุดยึดซึ่งผ่ านกระบวนการ
Hot Dip Galvanized

65
ระบบการส่ งผ่ านกาลังไฟฟ้ า
สถานีไฟฟ้ าย่อย (ใช้เหล็กล้าชุบสังกะสี ในโครงสร้างทุกชิ้น)

66
ระบบการส่ งผ่ าน
กาลังไฟฟ้ า
ชิ้นส่ วนขนาดเล็ก
(brackets, clips,
straps)

67
ระบบการส่ งผ่ าน
กาลังไฟฟ้า
หม้อแปลงไฟฟ้ า

68
ระบบการส่ งผ่ านกาลังไฟฟ้า

แผ่นป้ องกันสาย
Cable ที่ผา่ น
กระบวนการ
HGD

69
ภาพใกล้

70
ระบบการผลิตและขนส่ งกาลังไฟฟ้า
เป็ นส่ วนที่สาคัญหนึ่งของระบบ
โครงสร้ างพืน้ ฐานของชาติ.

ความมั่นคงเนื่องจากการได้ รับการ
ป้ องกันการกัดกร่ อนเป็ นสิ่ งจาเป็ น
อย่ างยิง่ ยวด. และนี่จึงเป็ นเหตุผลที่
ส่ วนผลิตไฟฟ้าเลือกกระบวนการ
galvanizing.

71
โครงสร้ างพืน้ ฐานของการสื่ อสาร
เสาสัญญาณซึ่งผ่านกระบวนการ
HDG

72
ระบบการขนส่ ง
โครงสร้างพื้นฐานของ
ถนนและทางหลวง

ทีก่ ้นั ขอบทาง เสาไฟฟ้า 73


ระบบการขนส่ ง
โครงสร้างพื้นฐานของ
ถนนและทางหลวง

เสาของป้าย
เสาสั ญญาณไฟจราจร ทางทาง
74
ระบบการขนส่ ง
ระบบการระบายน้ าของถนน
และถนนหลวง

75
ระบบการขนส่ ง
ระบบการระบายน้ าของถนนและถนนหลวง (ท่อน้ าใต้ดิน)

76
77
ระบบการขนส่ ง

สะพานข้ามแม่น้ า

78
สร้ างขึน้ ในปี 1986
แต่ ไม่ เกิดการกัดกร่ อนมาเป็ น
เวลา 25 ปี
79
ระบบการขนส่ ง
สะพานคนเดิน

80
สะพานคนเดิน

โครงสร้างเหล็กกล้าซึ่ งผ่าน
กระบวนการ HDG พร้อม
กับการทาสี เพื่อความ
สวยงาม
81
ระบบการขนส่ ง
ที่ก้ นั ใช้ในการป้ องกันหิ นทล่มและดินทล่ม

82
รั้วและราว
รั้วนิรภัย

83
รั้วและราว
ราวนิรภัย

84
รั้วและราว

ราวเกาะบนทางเดิน
คอนกรี ต

85
รั้วและราว
รั้วล้อมซึ่ งผ่านกระบวนการ HDG

86
การก่อสร้ างตึก

กระบวนการ HDG
สาหรับเหล็กกล้าที่ใช้ทา
นัง่ ร้านตอนนี้เป็ น
สิ่ งจาเป็ นตามกฎหมาย
ในบางประเทศ (ตย.
เช่น ญี่ปุ่น และ
สิ งค์โปร)
87
การก่อสร้ างตึก (ภาคอุตสาหกรรม)
โครงสร้างเหล็กกล้า

88
การก่อสร้ างตึก
โครสร้างภายในตัวอาคาร

89
โครงสร้ างต่ างๆ
ถาดเหล็ก

90
โครงสร้ างต่ างๆ
ทางเดิน

91
การก่อสร้ างตึก (ที่พกั อาศัย)
โครงสร้างระเบียง

92
โครงสร้ างต่ างๆ

การกัดกร่ อน
ของขั้นบันได
ที่ทาสี

93
โครงสร้ างต่ างๆ
ขั้นบันไดซึ่งโดยผ่านกระบวนการ HDG

94
โครงสร้ างต่ างๆ
ทางเข้าตัวอาคารและบันไดหนีไฟ

95
โครงสร้ างต่ างๆ
ถังเก็บน้ า

96
บรรยากาศน้ าทะเล

97
การใช้ งานในบรรยากาศชายทะเล
การเปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพของการทาสี แบบเดิมๆและกระบวนการ HDG

ทาสี
HDG

98
การใช้ งานในบรรยากาศชายทะเล
ส่ วนสิ่ งก่อสร้างต่างๆบริ เวณชายทะเล (เช่น ท่าเรื อ) มีการใช้งานชิ้นงานซึ่ งผ่าน
กระบวนการ HDG กันอย่างกว้างขวาง

99
การใช้ งานในบรรยากาศชายทะเล
HDG

100
การใช้ งานในบรรยากาศชายทะเล
ตัวอย่าง แสดงให้เห็น การก่อสร้างเขตอุตสาหกรรมซึ่ งอยูใ่ กล้กบั ทะเล (Formosa Plastics
Mai Liao plant, Taiwan)

101
การใช้ งานในบรรยากาศชายทะเล
ตัวอย่าง แสดงให้เห็น การก่อสร้างเขตอุตสาหกรรมซึ่ งอยูใ่ กล้กบั ทะเล (Formosa Plastics
Mai Liao plant, Taiwan)
เหล็กกล้าผ่าน
กระบวนการ HDG
จานวนถึง 3 แสนตัน
ถูกใช้ในการก่อสร้าง

102
HDG เพื่องานทางด้าน
สถาปัตยกรรมศาสตร์และการใช้
งานทางด้านศิลปะ

103
งานทางสถาปัตยกรรมศาสตร์

การใช้ชิ้นงาน
จากกระบวนการ
HDG ในที่พกั
อาศัยสมัยใหม่

104
งานทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
หลังคาอาคารสมัยใหม่

105
โครงสร้างศิลปกรรมในอาคารจัดแสดง

106
ทางเดินสาธารณะ (ความยาว 1 กม.) แสดงการใช้งานองเหล็กกล้า
ที่ผา่ นกระบวนการ HDG เพื่อวัตถุประสงค์ทางศิลปกรรม

107
การออกแบบทางสถาปัตยกรรม ทางเดินระหว่างป่ าใจกลางเมือง
เป็ นการผสมผสานระหว่าง
ประโยชน์ในการใช้งานและ
สภาพภายนอก. โครงสร้าง
เหล็กกล้าทั้งหมดผ่าน
กระบวนการ HDG

108
การปกป้ องเหล็กกล้า
เสริ มแรง(rebar) ใน
โครงสร้างคอนกรี ต

109
เนื่องจากว่าคอนกรี ตขณะยังไม่แข็งตัว
มีสภาพเป็ นด่างแก่ ซึ่งทาให้เกิดปฏิกิริยา
กับผิวของเหล็ก rebar ทาให้เกิดชั้น
“passivation” ต้านทานการกัดกร่ อน
ชั้น Passivation
ผิวเหล็ก Rebar

คอนกรีต
110
เมื่อเวลาผ่านไป O2, H2 O และ CO2 จะเกิดการแพร่ เข้าสู่ คอนกรี ตผ่านทาง
รู พรุ นอย่างช้าๆ. ในการใช้งานในบรรยากาศชายทะเล,
เกลือ (chloride) ก็สามารถแพร่ เข้าสู่ คอนกรี ตได้เช่นเดียวกัน

O2 H2O CO2 Cl-

111
ผลกระทบของ CO2 เมือ่ เกิดการแพร่ เข้ าสู่ คอนกรีต

 CO2 เมื่อแพร่ เข้าสู่ คอนกรี ตจะลดความเป็ นด่างของคอนกรี ตลง. ซึ่ง


เรี ยกว่าคอนกรี ตเกิดการ “carbonation”
 เมื่อความเป็ นด่างลดลง, ชั้น passivation ของผิวของเหล็ก rebar จะสู ญเสี ย
ความสามารถในการปกป้ องผิวจากการกัดกร่ อน
 เหล็ก rebar จึงมีความเสี่ ยงต่อการเกิดการกัดกร่ อนเมื่อความชื้นและ
ออกซิเจนแพร่ เข้าสู่ คอนกรี ต

112
ผลกระทบของการกัดกร่ อนต่ อคอนกรีตเสริมแรง

ด้วยเหตุผลที่วา่ ปริ มมาตรของสนิมมีค่ามากกว่าเหล็กกล้าที่เกิดการกัดกร่ อน,


ความเค้นดึงจึงเกิดขึ้นในเนื้อคอนกรี ต, เป็ นเหตุให้คอนกรี ตเกิดการแตกหักได้

113
ผลกระทบของการกัดกร่ อนต่ อคอนกรีตเสริมแรง
Concrete spalling

ท้ายที่สุดรอยแตกนั้นก็จะแตกขึ้นมาถึงบริ เวณผิวของคอนกรี ต. และเมื่อการ


กัดกร่ อนกระจายตัวไป จะทาให้มีชิ้นส่ วนของเนื้อคอนกรี ตแตกหักออกมา
ซึ่งเรี ยกว่า “spalling”

114
ตัวอย่างการซ่อมแซมภายในตัวอาคารของผนังคอนกรี ตซึ่ งเหล็ก Rebar เกิดการกัดกร่ อน
อย่างเห็นได้ชดั . ซึ่ งอาคารในรู ปดังกล่าวตั้งอยูใ่ นกรุ งเทพฯ

115
ตัวอย่างการเกิด
การกัดกร่ อน
ของเหล็ก
Rebar ของตึกที่
เป็ นอาคาร
สานักงาน

116
ตัวอย่างการเกิด
การกัดกร่ อนของ
เหล็ก Rebar ของ
ตึกที่เป็ นอาคาร
จอดรถ

117
ผลกระทบของเกลือ (chloride) เมือ่ เกิดการแพร่ ซึมเข้ าสู่ คอนกรีต

 เมื่อระดับความเข้มข้นของ chloride ในคอนกรี ตมากเพียงพอ, สภาพความ


เป็ นด่างโดยธรรมชาติของคอนกรี ตจะไม่สามารถทาให้เกิดชั้น passivation
บนผิวของเหล็ก rebar ได้

 ดังนั้น เหล็ก rebar จึงมีความเสี่ ยงสู งที่จะเกิดการกัดกร่ อน ถ้าความชื้นและ


ออกซิเจนแพร่ เข้าสู่ภายในคอนกรี ต , และ chloride ก็จะเร่ งให้เกิดการกัดกร่ อน
ได้เร็ วขึ้น

118
ตัวอย่ างการกัดกร่ อนของเหล็ก rebar ในบรรยากาศชายทะเล
ทีม่ กี ารกัดกร่ อนรุนแรง

119
ตัวอย่ างการกัดกร่ อนของเหล็ก rebar ในบรรยากาศชายทะเล
ทีม่ กี ารกัดกร่ อนรุนแรง

120
ตัวอย่ างการกัดกร่ อนของเหล็ก rebar ในบรรยากาศชายทะเล
ทีม่ กี ารกัดกร่ อนรุนแรง

121
เหล็กกล้ าเสริมแรงที่ผ่าน
กระบวนการ Hot-dip galvanized
ในคอนกรีต
“ทาให้ การลงทุนของคุณมีความมัน่ คง”

122
ผลิตภัณฑ์จากเหล็กกล้าเสริ มแรงจากกระบวนการ Galvanizing

Welded mesh
Straight bars

Stirrups and ties


Cages
123
เปรียบเทียบข้ อดีเชิงเทคนิคระหว่างเหล็ก Rebar ทีผ่ ่ าน
กระบวนการ galvanizing กับ แบบดั้งเดิม
 มีความต้านทานสูงต่อผลกระทบจาก carbonation ในคอนกรี ต

 ความต้านทานต่อการกัดกร่ อนอันเนื่องมาจากผลกระทบของกระ
เหนี่ยวนาโดย chloride เพิม่ สู งขึ้นอย่างมีนยั สาคัญ.

 อายุการใช้งานยาวนานขึ้นถึงอย่างน้อยที่สุด 4-5 เท่า

 ประหยัดค่าใช้จ่ายเนื่องจากสามารถลดปริ มาณการใช้คอนกรี ตโดยไม่ลด


ความทนทานลง
124
การใช้ งานโดยทัว่ ไปของเหล็ก Rebar ทีผ่ ่ าน
กระบวนการ galvanizing
 โครงสร้างที่ต้ งั อยูใ่ กล้บรรกาศชายทะเล (ท่อใต้สมุทร, ผนังในทะเล, ท่าเทียบเรื อ, กาแพง
กันคลื่น, โป๊ ะ)

สิ่ งก่อสร้างที่เปี ยกน้ าเกือบตลอดเวลา (พื้นห้องน้ า, บางส่ วนของระเบียงและเพดาน


คอนกรี ต)

 โครงสร้างที่มีสิ่งก่อสร้างที่มีคนสังเกตุตลอดเวลา ซึ่ งแค่เกิดเป็ นคราบสนิมก็อาจจะเป็ น


เกิดปั ญหาได้

 ท่อหรื อโครงสร้างพื้นฐานใต้ดินที่น้ าซึ มผ่านได้ ซึ่ งมีปริ มาณเกลือ chlorides/sulphate อยู่


สูงกว่าปกติ (ตย. เช่น ที่ดินรกร้าง)

125
Slides ต่ อไปนีแ้ สดงให้ เห็นตัวอย่ างของ
การใช้ งานเหล็ก Rebar ทีผ่ ่ าน
กระบวนการ HDG

126
กรณีศึกษา Galv Rebar : Sydney Opera House

127
กรณีศึกษา Galv Rebar : Sydney Opera House

128
กรณีศึกษา Galv Rebar : Sydney Opera House

การเสริ มแรงเหล็กกล้า Galv ถูกใช้งานโครงสร้าง


หลังคา และกาแพงริ มทะเล
129
กรณีศึกษา Galvanized Rebar : โรงแรม Intercontinental,
Sydney, Australia

• มีการใช้งานเหล็ก Rebar ที่ผา่ น


กระบวนการ HDG ถึง 200 ตัน.
• ค่าใช้จ่ายคิดเป็ นเพียง 4% ของราคาจาก
สัญญาทั้งหมดในการก่อสร้าง

130
กรณีศึกษา Galv Rebar
โครงการสร้ างระบบท่ อระบายของเสี ยใต้ ทะเลลึก
สถานที:่ ประเทศสิ งค์โปร

รายละเอียดโครงการ:

 ท่อคอนกรี ตเสริ มแรงขนาด 2 x 5 กม. ตั้งอยูบ่ นพื้นทะเลสาหรับขนส่ งและ


ปล่อยของเสี ยที่บาบัดแล้ว (จากโรงบาบัดน้ าเสี ย Changi)

 รัฐบาลของประเทศสิ งค์โปรมีความต้องการให้มีอายุการใช้งานนานถึง 100 ปี

131
กรณีศึกษา Galv Rebar : DTSS (สิ งค์ โปร)
ท่อคอนกรี ตที่ถูกเตรี ยมพร้อมไว้สาหรับวางลงใต้พ้ืนทะเล. เหล็กกล้า
เสริ มแรง galvanized จานวนถึง 10000 ตันถูกนามาใช้งาน

132
กรณีศึกษา Galv Rebar : DTSS (สิ งค์ โปร)
Galvanized reinforcement cages

133
การเปรียบเทียบเชิงเทคนิคของเหล็ก Rebar Hot Dip Galvanized (HDG) กับ
เหล็ก Rebar จากการเคลือบโดย Fusion Bonded Epoxy (FBE)
 การเคลือบผิวด้วยกระบวนการ HDG สามารถทนต่อความเสี ยหายภายนอกได้. ไม่ตอ้ งการการ
เตรี ยมอะไรเป็ นพิเศษระหว่างการขนส่ ง, การจัดเก็บในบริ เวณก่อสร้าง หรื อ แม้แต่จงั หวะที่
เคลื่อนย้ายโดยคน
 การเคลือบผิวด้วยวิธี FBE ไม่ทนทานต่อความเสี ยหายจากภายนอกเนื่องจากโดยธรรมชาติแล้วมี
ความอ่อนกว่าชั้นเคลือบ HDG (ตย. เช่น, ความเสี ยหายจากการขัดสี ระหว่างการเคลื่อนย้ายใน
สถานที่ก่อสร้าง)

134
หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมของกระบวนการ
Hot Dip Galvanizing สามารถดูเพิม่ เติมได้จาก
websites

www.galvanizingasia.com
www.gaa.com.au
www.galvanizeit.org
135
Thank you
136

You might also like