You are on page 1of 9

หน่ วยที่ การควบคุมการสตาร์ตมอเตอร์แบบ ใบเนื้ อหา

1 ตรงด้วย PLC 1 6

http://www.lpc.rmutl.ac.th/elcen/elearning/motorco
ntrol/home_thai.html
หน่ วยที่ 1
การควบคุมการสตาร์ตมอเตอร์แบบตรงด้วย PLC

1.1 การสตาร์ทมอเตอร์โดยตรง (Direct Online Starting)


ความหมาย หมายถึงวงจรที่มีการต่อแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากำาลังเข้าส่่
ตัวมอเตอร์เพื่อเริ่มเดิน (Start)
มอเตอร์โดยตรง โดยไม่ผ่านอุปกรณ์ หรือวิธีการลดแรงดันใด ๆ ก่อน
ถึ ง ตั ว มอเตอร์ เป็ น การสตาร์ ต ด้ ว ยแรงดั น เต็ ม พิ กั ด (Full-Voltage
Starting) วิธีการสตาร์ทมอเตอร์แบบนี้ เป็ น ที่นิ ยมกัน มากใช้สำา หรับ
มอเตอร์ท่ีมีขนาดเล็ก ซึ่งมอเตอร์จะถ่กต่อผ่านอุปกรณ์สตาร์ตแล้วต่อ
เข้ากับสายไฟกำาลังโดยตรงทำาให้มอเตอร์สตาร์ ตด้วยแรงดันเท่ากับสาย
จ่ายแรงดันทันทีทันใดทำาให้มอเตอร์มีกระแสขณะ
สตาร์ตส่งถึงประมาณ 600 % ของแรงดันเต็มพิกัด
L 1 L 2 L 3 L 1 L 2 L 3

F 1 F 1

Q 1 K 1

F 2

การโปรแกรมและการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า

M M
3 ~ 3 ~
หน่ วยที่ การควบคุมการสตาร์ตมอเตอร์แบบ ใบเนื้ อหา
1 ตรงด้วย PLC 2 6

1. ข.
ภาพที่ 1-1 การต่อสายเมนไปยังมอเตอร์

การต่อมอเตอร์ไปยังสายเมนด้วยสวิตซ์กำาลัง ไฟจากสายเมนก็จะ
ผ่านฟิ วส์เมนเข้าสวิตซ์กำาลังและต่อไปยังมอเตอร์ดังภาพที่ 1-1 ก. แต่
ถ้ าต่ อมอเตอร์ ไปยังสายเมนด้ว ยคอนแทคเตอร์ ไฟจากสายเมนก็จ ะ
ผ่านฟิ วส์เมน ผ่านคอนแทคเตอร์ ผ่านโอเวอร์โหลดรีเลย์และต่อเข้าที่
มอเตอร์
ดังภาพที่ 1-1 (ข)

1.2 ส่วนประกอบของวงจรสตาร์ทมอเตอร์โดยตรง
วงจรแสดงการทำางาน (Schematic Diagram) ของวงจรสตาร์ท
มอเตอร์โดยตรงแสดง
ดังภาพที่ 1-2 แบ่งออกเป็ น 4 ส่วน คือ
1.2.1 วงจรหยุ ด (Stop Circuit) ทำา หน้ า ที่ ตั ด กระแสไฟฟ้ า
ออกจากคอล์ยแม่เหล็กของ
การโปรแกรมและการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า
หน่ วยที่ การควบคุมการสตาร์ตมอเตอร์แบบ ใบเนื้ อหา
1 ตรงด้วย PLC 3 6

คอนแทกเตอร์ และทำา ให้ม อเตอร์ห ยุดทำา งานตำา แหน่ งของป่ ุ ม Stop


มักจะวางไว้เหนื อป่ ุม Start
1.2.2 วงจรสตาร์ท (Start Circuit) ทำาหน้ าที่จ่ายกระแสไฟฟ้ า
ไปเข้าคอล์ยแม่เหล็ก ทำาให้
คอนแทกเตอร์ทำางานจ่ายกำาลังไฟฟ้ าไปยังมอเตอร์
1.2.3 วงจรคงสภาพการทำา งาน (Holding หรือ Maintaining
Circuit) ทำาหน้ าที่รักษาสภาพการ
ทำางานของคอนแทกเตอร์เอาไว้ หลังจากวงจรสตาร์ทเปิ ดวงจร
1.2.4 วงจรป้ องกั น มอเตอร์ (Protection Circuit) ประกอบ
ด้วยฟิ วส์ และโอเวอร์โหลดทำาหน้ าที่
ป้ องกันมอเตอร์จากการเกิดโอเวอร์โหลด และป้ องกันการลัดวงจร
L

F 2
Ç § ¨ Ã » é Í § ¡ Ò Ã Á Í à µ Í Ã ì
p r o t e c t i o n c i r c u i t
F 3

Ç § ¨ Ã Ë Â Ø ´
s t o p c S i r1 c u i t

Ç § ¨ Ã Ê S µ2 Ò Ã ì µ Ç § ¨ Ã ¤ § Ê À Ò ¾ ¡ Ò Ã · Ó § Ò ¹
s t a r t c i r c u i t
K 1 h o l d i n g o r m a i n t a i n i n g
c i r c u i t

K 1
N

การโปรแกรมและการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า
หน่ วยที่ การควบคุมการสตาร์ตมอเตอร์แบบ ใบเนื้ อหา
1 ตรงด้วย PLC 4 6

ภาพที่ 1-2 ส่วนประกอบของวงจรควบคุมการสตาร์ตมอเตอร์


โดยตรง
อุปกรณ์ในวงจรประกอบด้วย
F1 คือฟิ วส์หลัก (Main fuse)
F2 คือฟิ วส์วงจรควบคุม (Control fuse)
K1 คือคอนแทกเตอร์หลัก (Main contactor)
S1 คือสวิตช์ปุ่มกด OFF
F3 คือโอเวอร์โหลดรีเลย์ (Overload relay)
S2 คือสวิตช์ปุ่มกด ON
M1 คือมอเตอร์สามเฟสแบบเหนี่ ยวนำ า (Three phase
induction motor)

1.3 ลักษณะการทำางานของวงจร
1.3.1 เริ่ ม ต้ น ทำา งานด้ ว ยการกดสวิ ต ช์ ปุ่ ม กด S2 ทำา ให้ ค อน
แทกเตอร์ K1 ทำางาน และหน้ าสัมผัสหลัก (Main contact) จ่ายไฟฟ้ า
กำาลังเข้าส่่มอเตอร์
1.3.2 คอนแทกเตอร์ทำางานไปตลอดเวลาถึงแม้ว่าจะปล่อยมือออก
จากสวิตช์ปุ่มกดเนื่ องจาก
หน้ าสัมผัสช่วยของคอนแทกเตอร์ (K1) หรือ (self holding contact
หรือ maintaining contact)
ทำาหน้ าที่จ่ายไฟเข้าไปส่่คอล์ยของคอนแทกเตอร์
การโปรแกรมและการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า
หน่ วยที่ การควบคุมการสตาร์ตมอเตอร์แบบ ใบเนื้ อหา
1 ตรงด้วย PLC 5 6

1.3.3 ถ้ าต้ องการหยุด วงจรทำา ได้ โดยการกดสวิ ตช์ ปุ่ ม กด S1


(Push button OFF)
1.3.4 เมื่อเกิดการโหลดเกินหรือโอเวอร์โหลด (Overload) ขึ้น
โอเวอร์โหลดรีเลย์ (F3)จะทำาการตัดวงจร และสามารถกลับมาทำา งาน
ใหม่ได้อีกครัง้ เมื่อทำาการรีเซ็ท (RESET) ที่โอเวอร์โหลดรีเลย์
1.3.5 เมื่อเกิดการลัดวงจรขึ้นที่วงจรกำาลัง ฟิ วส์ (F1) ทำาหน้ าที่
ตัดวงจรกำาลัง หรือถ้าเกิดการลัดวงจรขึ้นที่วงจรควบคุม ฟิ วส์ (F2) ทำา
หน้ าที่ตัดวงจรควบคุมออกไป

1.4 ไทม์ม่ิงไดอะแกรมของวงจร
L 1 L 1
L 2
L 3
P E

F 2

F 1
F 3

K 1

S 1

การโปรแกรมและการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า F 2

S 2 K 1

M
3 ~
K 1
N
หน่ วยที่ การควบคุมการสตาร์ตมอเตอร์แบบ ใบเนื้ อหา
1 ตรงด้วย PLC 6 6

ภาพที่ 1-3 Schematic Diagram ของวงจรกำาลังและวงจรควบคุม

สิ่ ง สำา คั ญ ในการออกแบบวงจรควบคุ ม หรื อ การเขี ย น


โปรแกรมควบคุมก็คือ จะต้องทำาความเข้าใจระบบการทำางานของวงจร
หรือระบบงาน วิธีการที่สามารถทำาความเข้าใจการทำางานที่สัมพันธ์กัน
ระหว่า งอุ ป กรณ์ อิ น พุ ตและเอาต์ พุ ตสามารถทำา ได้ โ ดยการเขี ย นเป็ น
ไทม์ม่ิงไดอะแกรม

O v e r l o a d
S t a r t S W .
S t o p S W .
K 1 ( M o t o r )

การโปรแกรมและการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า
หน่ วยที่ การควบคุมการสตาร์ตมอเตอร์แบบ ใบเนื้ อหา
1 ตรงด้วย PLC 7 6

ภาพที่ 1-4 ไทม์ม่ิงไดอะแกรมของวงจรการสตาร์ตมอเตอร์โดยตรง


1.5 การกำาหนดอินพุต เอาต์พุต
ในวงจรควบคุมดังภาพที่ 1-3 เมื่อใช้การควบคุมโดย PLC เราจะ
ต้องกำาหนดอินพุต เอาต์พุตของวงจรที่สอดคล้องกับโปรแกรมที่เขียน
ขึ้นโดยจากวงจรสามารถกำาหนดได้ดังตารางที่ 1-1

ตารางที่ 1-1 การกำาหนดอินพุต เอาต์พุต


ตำาแหน่ ง ความหมายและสัญลักษณ์
000.00 โอเวอร์โหลดรีเลย์

000.01 สวิตซ์ Stop


000.02 สวิตซ์ Start
010.00 คอยล์คอนแทคเตอร์

1.6 แลดเดอร์ไดอะแกรม
จากไทม์ม่ิงไดอะแกรมเมื่อนำ ามาเขียนแลดเดอร์ไดอะแกรม
สามารถเขียนได้ดังภาพที่ 1-5

0 0 0 0. 0 0 0 0 0 . 0 0 1 0 . 0 02 0 0 . 0 3
0 1 0 . 0 0
0 1 0 . 0 0

การโปรแกรมและการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า

E N D
หน่ วยที่ การควบคุมการสตาร์ตมอเตอร์แบบ ใบเนื้ อหา
1 ตรงด้วย PLC 8 6

ภาพที่ 1-5 แลดเดอร์ไดอะแกรมของวงจรควบคุมมอเตอร์แบบส


ตาร์ตตรง

1.7 นี โมนิ กส์โค้ด


จากแลดเดอร์ไดอะแกรมดังภาพที่ 1-5 สามารถเขียนนี โมนิ กส์
โค้ดได้ดังตารางที่ 1-2

ตารางที่ 1-2 นี โมนิ กส์โค้ดของวงจรควบคุมการส


ตาร์ตมอเตอร์แบบตรง
ADDRESS MNEMONIC OPERAND

0000 LD NOT 000.00


0001 AND NOT 000.01

การโปรแกรมและการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า
หน่ วยที่ การควบคุมการสตาร์ตมอเตอร์แบบ ใบเนื้ อหา
1 ตรงด้วย PLC 9 6

0002 AND NOT 000.02


0003 LD 000.03
0004 OR 010.00
0005 AND LD
0006 OUT 010.00
0007 END

การโปรแกรมและการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า

You might also like