You are on page 1of 11

คู่มือการใช้ งาน

(Operation Manual)

ระบบควบคุมแสงสว่ างอัตโนมัตสิ ่ วน WISER


C-Bus –Lighting Control System
(Wiser Home Automation System)

โครงการ
Nirvana Kasate nawamin (Beyond 3)
Type L Mock up

Prepared by
Techlighting Co.,Ltd
310/33 ซ.พหลโยธิน 30 แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กทม 10900
Tel. : 02-561-0902 , Fax : 02-561-0903
สารบัญ

ส่ วนที 1
การตังค่าอุปกรณ์เพือเชือมต่อกับ WISER HOME CONTROL
การตังค่าอุปกรณ์ 1

ส่ วนที 2
การใช้ งาน WISER HOME CONTROL 3

ส่ วนที 3
ข้ อมูลระบบเบืองต้ น 4
บริษัท เทคไลท์ติงจํากัด

ส่ วนที 1

การตังค่ าอุปกรณ์ เพือเชือมต่ อกับ WISER HOME CONTROL


การตังค่ าอุปกรณ์
- ทําการโหลดโปรแกรมชือ “WISER” ใน APP STORE โปรแกรมดังรู ปที 1.1เมือติดตังโปรแกรมเสร็ จแล้ วให้ เข้ าไป
ตังการเชือมต่อที SETTING ดังรู ปที 1.2

รู ปที 1.1 โปรแกรม WISER รูปที 1.2 หน้ าต่าง SETTING บนอุปกรณ์เชือมต่อ

- เข้ าไปที Wi-Fi เลือก Network Nirvana Type L ดังรู ป 1.3


แล้วใส่ Password : 0816491212 เพือเชือมต่อกับ ระบบ WISER

รู ปที 1.3 หน้ าต่างการเชือมต่อ Wi-Fi

LIGHTING CONTROL SYSTEM หน้ า 1


บริษัท เทคไลท์ติงจํากัด

- จากนันเข้ าไปที Setting Wiser เพือไปตังค่าการเชือมต่อเพือเข้ าไปในระบบควบคุมดังรูป 1.4


Wan URL :
Lan URL : 192.168.2.1:80
Password : admin

รู ปที 1.4 หน้ าต่าง SETTINGSบนอุปกรณ์เชือมต่อ


- เมือใส่ LAN URL และ Password ให้ Connect แล้วออกจากหน้ าต่าง Setting และเข้ าที ไอคอน Wiser ดังรูป
1.5 หน้ าจอจะเข้ าสูห่ น้ าต่างควบคุมภายในบ้ านดังรูป1.6

รูปที 1.5 หน้ าต่างหลักเพือเข้ า Wiser รูปที 1.6 หน้ าต่างควบคุมภายในบ้ าน

LIGHTING CONTROL SYSTEM หน้ า 2


บริษัท เทคไลท์ติงจํากัด

ส่ วนที 2

การใช้ งาน WISER HOME CONTROL


- การควบคุมเปิ ด ปิ ด ไฟในห้ อง จะควบคุม โดยแบ่งเป็ น SCENE ดังรูปที 2.1 และควบคุมทีละจุด ดังรู ปที 2.2

รูปที 2.1 หน้ าต่าง Scene รูปที 2.2 หน้ าต่างควบคุมทีละจุด

รู ปที 2.3 หน้ าต่างควบคุม Aircondition

LIGHTING CONTROL SYSTEM หน้ า 3


บริษัท เทคไลท์ติงจํากัด

ตัวอย่ างการควบคุม Scene

Scene Welcome จะเปิ ดไฟในห้ องบางส่วนเปิ ดโดยการสัมผัสที รูป และเมือกดที nudge scene ทาง
ขวามือไฟทีสามารถ Dimmer ได้ จะมีความสว่างเพิมทีละ 10% และถ้ ากดทางซ้ ายมือไฟทีสามารถ Dimmer ได้ จะมี
ความสว่างลดลงทีละ 10%
Scene Relax จะเปิ ดไฟในห้ องบางส่วนเปิ ดโดยการสัมผัสที รูป และเมือกดที nudge scene ทาง
ขวามือไฟทีสามารถ Dimmer ได้ จะมีความสว่างเพิมทีละ 10% และถ้ ากดทางซ้ ายมือไฟทีสามารถ Dimmer ได้ จะมี
ความสว่างลดลงทีละ 10%
Scene Movie จะเปิ ดไฟในห้ องบางส่วนเปิ ดโดยการสัม ผัสที รูป และเมือกดที nudge scene ทาง
ขวามือไฟทีสามารถ Dimmer ได้ จะมีความสว่างเพิมทีละ 10% และถ้ ากดทางซ้ ายมือไฟทีสามารถ Dimmer ได้ จะมี
ความสว่างลดลงทีละ 10%
Scene All Off จะปิ ดไฟในห้ องทังหมดโดยการสัมผัสที รู ป และเมือกดที nudge scene ทางขวามือไฟที
สามารถ Dimmer ได้ จะมีความสว่างเพิมทีละ 10% และถ้ ากดทางซ้ ายมือไฟทีสามารถ Dimmer ได้ จะมีความสว่างลดลง
ทีละ 10%
การเปิ ด/ปิ ดทีละดวงได้ โดยการสัมผัสไปที ก็จะเปิ ด/ปิ ดได้ หรือสัมผัสทีแถบแล้ วเลือนก็ได้ จะสามารถ
ควบคุมการ Dimmer ของหลอดไฟโดยการเลือนไปทางขวาแสงจะค่อยๆสว่างขึน

IP WISER HOME CONTROL และ USERNAME PASSWORD


IP : 192.168.2.2 อุปกรณ์ CNI#2 ใช้ เชือมต่อระบบ C-BUS กับ WISER เข้ าด้ วยกัน
IP : 192.168.2.1 WISER HOME CONTROL
USER Name : admin
Password : admin

LIGHTING CONTROL SYSTEM หน้ า 4


บริษัท เทคไลท์ติงจํากัด

ส่ วนที 3
ENERGY MANAGEMENT SYSTEM
”C-BUS”
(LIGHTING CONTROL SYSTEM)
What is C-Bus?
C-Bus คือ ระบบควบคุมการเปิ ด-ปิ ด ไฟแสงสว่าง ระบบปรับอากาศ หรื อ อุปกรณ์ไฟฟ้าอืนๆ ภายในอาคารสํานักงาน
หรื อ โรงงานทีต้องการความสะดวกในการใช้ งาน การควบคุมสังงาน การสังเปิ ด-ปิ ดอัตโนมัติและความต้ องการในการจัดการด้ าน
การใช้ พลังงาน (Energy Management)

C-Bus มีความปลอดภัยสูงเพราะออกแบบแรงดันให้ อยูร่ ะหว่าง 15-36 VDC โดยใช้ สายสัญญาณ Unshield Twisted
Pair (UTP, Cat.5) ซึงเป็ นสายตามมาตรฐานของระบบ LAN ทีใช้ เป็ นพาหะในการติดต่อสือสารกับอุปกรณ์ทกุ ตัวของระบบ

C-Bus สามารถทีจ ะควบคุมสังงานได้ หลายทาง เช่น แผงสวิทช์รวม (Central Selector Switch) สวิทช์ตามจุด (Local
Switch) จอสังงานแบบสัม ผัส (Touch Screen) หรื อ ผ่านทางคอมพิวเตอร์ (Personal Computer) ก็ได้

C-Bus สามารถทีจะสังงานได้ หลายรู ปแบบ (Intelligent Control) เช่น ตังตารางเวลาเปิ ด-ปิ ดอัตโนมัติ (Time
Schedule) การเปิ ด-ปิ ดเป็ นกลุม่ พืนที (Group Area Control) การเปิ ด-ปิ ดเป็ นรูปแบบ หรื อ บรรยากาศ (Pattern or Scene
Control) หรื อ เชือมต่อกับอุปกรณ์ควบคุมอืนๆ เพือมาสังงาน เช่น การควบคุมการ เปิ ดปิ ด โดยอาศัยการตรวจจับความเคลือนไหว
(Motion Detector หรื อ PIR Occupancy Sensor ), การเปิ ด ปิ ด โดยอาศัยการเปลียนแปลงระดับความเข้มของแสง (Light Level
Sensor) เป็ นตัวควบคุม และอุป กรณ์อนๆอี ื กมากมาย

แบบแสดงแผนผังพืนฐานของระบบ

LIGHTING CONTROL SYSTEM หน้ า 5


บริษัท เทคไลท์ติงจํากัด

ส่ วนประกอบหลักของระบบ
C-Bus แบ่ งออกเป็ นส่ ว นหลักๆ ดังนี

1. Input Unit :
เป็ นส่วนทีทําหน้ าทีในการส่งสัญญาณไปยังอุปกรณ์สว่ น Output Unit เพือสังให้ Relay หรือ Dimmer ทํางานโดย ส่วน
Input Unit จะมีอปุ กรณ์ต่างๆ ดังนี
1.1 Key Input Unit (Switch)
1.3 Passive Infra-red Occupancy Sensor (Motion Detector)

2. Output Unit :
เป็ นส่วนทีทําหน้ าทีในการรับสัญญาณทีส่งมาจากส่วน Input Unit แล้วทํางานตามทีได้ รับคําสัง โดยส่วน Output Unit
จะมีอปุ กรณ์ต่างๆ ดังนี
2.1 Relay Unit
2.2 Dimmer Unit
2.3 Analogue Output, 0-10 VDC.

3. System Support Unit :


ทําหน้ าทีเป็ นส่วนทีสนับสนุนการทํางานของระบบ โดยส่วน System Support Unit จะมีอปุ กรณ์ต่างๆ ดังนี
3.1 PC Interface Unit
3.2 Power Supply Unit
3.3 Network Bridge

4. C-Bus Software :
เป็ นส่วนของโปรแกรมเพือตังค่ารหัสต่างๆ กําหนดหน้ าทีการทํางานและสําหรับ ควบคุมสังงาน
4.1 Installation Software
4.2 Schedule Plus Software

LIGHTING CONTROL SYSTEM หน้ า 6


บริษัท เทคไลท์ติงจํากัด

หน้ าทีและการทํางานของอุปกรณ์

1) Power Supply / รุ่ น : 5500PS


มีหน้ าทีเป็ นตัวจ่ายไฟเลียง 15-36 VDC ให้ กบั อุปกรณ์ทางด้ าน Input Unit
โดย Power Supply หนึงตัวสามารถจ่ายไฟได้ 350mA และมีหลอดไฟ LED
แสดงสถานะของการทํางานต่างๆ ดังนี
a) หลอดไฟ LED (Unit)
• On = ปกติ (มีไฟ 220VAC จ่ายเข้ ามา)
• Off = ผิดปกติ (ไม่มีไฟ 220VAC จ่ายเข้ ามา)
b) หลอดไฟ LED (C-Bus)
• On = ปกติ (มีสญ ั ญาณจาก C-Bus Network มา)
• Off = ผิดปกติ (ไม่มีสญ
ั ญาณจาก C-Bus Network มา)
• Flash = ผิดปกติ (Power Supply ในระบบมีไม่เพียงพอ)

2) 12 Channels Relay Unit 10A / รุ่ น : L5512RVFP


เป็ นอุป กรณ์ททํี าหน้ าที On-Off Load สามารถนํากระแสไฟเข้ าได้ 10A
(Max) โดย 1 Unit จะประกอบด้ วย 12 Channel Relay สามารถควบคุม
a
วงจรไฟฟ้าได้ 12 วงจรแบบอิสระ โดยทีตัวจะมีสวิทซ์ By Pass ในกรณีฉกุ เฉิน
สําหรับ เปิ ดปิ ดไฟได้ อิสระในแต่ละวงจรและมีหลอดไฟ LED แสดงสถานะของการ
ทํางานดังต่างๆ ดังนี
a) หลอดไฟ LED (Unit)
• On = ปกติ (มีไฟ 220VAC จ่ายเข้ ามา)
• Off = ผิดปกติ (ไม่มีไฟ 220VAC จ่ายเข้ ามา)
b) หลอดไฟ LED (C-Bus)
c
• On = ปกติ (มีสญ ั ญาณจาก C-Bus Network มา)
b • Off = ผิดปกติ (ไม่มีสญั ญาณจาก C-Bus Network มา)
• Flash = ผิดปกติ (Power Supply ในระบบมีไม่เพียงพอ)
c) ปุ่ มสวิทซ์ By Pass
• On = เมือหน้ าสัมผัส Close (ไฟเปิ ด)
• Off = เมือหน้ าสัมผัส Open (ไฟปิ ด

3) 4 Channels Dimmer Unit 2A / รุ่ น : L5504D2UP


เป็ นอุป กรณ์ททํี าหน้ าที On-Off และหรี ไฟสามารถนํากระแสไฟเข้ าได้ 2A
(Max) โดย 1 Unit จะประกอบด้ วย 4 Channel Dimmer สามารถควบคุม
a
วงจรไฟฟ้าได้ 4 วงจรแบบอิสระ โดยทีตัวจะมีสวิทซ์ By Pass ในกรณีฉกุ เฉิน
สําหรับ เปิ ดปิ ดไฟได้ อิสระในแต่ละวงจรและมีหลอดไฟ LED แสดงสถานะของการ
ทํางานดังต่างๆ ดังนี
a) หลอดไฟ LED (Unit)
• On = ปกติ (มีไฟ 220VAC จ่ายเข้ ามา)
• Off = ผิดปกติ (ไม่มีไฟ 220VAC จ่ายเข้ ามา)
b) หลอดไฟ LED (C-Bus)
c • On = ปกติ (มีสญ ั ญาณจาก C-Bus Network มา)
b
• Off = ผิดปกติ (ไม่มีสญ
ั ญาณจาก C-Bus Network มา)

LIGHTING CONTROL SYSTEM หน้ า 7


บริษัท เทคไลท์ติงจํากัด

• Flash = ผิดปกติ (Power Supply ในระบบมีไม่เพียงพอ)


c) ปุ่ มสวิทซ์ By Pass
• On = เมือหน้ าสัมผัส Close (ไฟเปิ ด)
• Off = เมือหน้ าสัมผัส Open (ไฟปิ ด)

วิธีการตรวจสอบความผิดปกติเบืองต้ น
เมือทําการเปิ ดปิ ดสวิทช์แล้วระบบไม่ทํางาน ให้ สงั เกตความผิดปกติดงั ต่อไปนี
1. Indicator บนตัวสวิทช์มีการเปลียนสีเมือทําการกด แต่หลอดไฟไม่ติด
- หลอดขาดในกรณีทีมีเพียงหลอดเดียวในวงจรทีดับ
- Circuit Breaker ทริป อาจเกิดจากการ Short Circuit ทีโคมไฟ หรือตัว C-Bus Module ในตู้ Short
- ตัวอุปกรณ์ C-Bus Module หรื อ Channel นันเสียหาย
2. เมือกดสวิทช์ Indicator กระพริบ ไม่สามารถเปิ ดไฟได้
- สาเหตุอาจเกิดจาก C-Bus Power Supply ในตู้เสีย
- Circuit Breaker ทีใช้ จ่ายไฟให้ กบั Power Supply Trip
3. สวิทช์ไม่ตอบสนอง Indicator ไม่ตดิ
- สายสัญญาณทีต่ออยู่หลังสวิทช์หลุด
- Power Supply เสีย
- มีการ Short Circuit ของสายสัญญาณ C-Bus
- Circuit Breaker ทีใช้ จ่ายไฟให้ กบั ระบบ C-Bus Trip

แนวทางแก้ ไขเมือเกิดกรณีดงั กล่าว


1. สามารถทําการกด Toggle บนหน้ า Module เพือทําการเปิ ดปิ ดไฟชัวคราว โดยดูสามารถดูตําแหน่งตามคูม่ ือ
2. สังเกตทีตู้ Load Center ว่ามี Breaker ลูกไหนทริปอยูห่ รื อไม่
3. สังเกต Indicator บนตัว Module ว่าอยู่ในสถานะไหนตามหัวข้ อหน้ าทีและการทํางานของอุป กรณ์

ข้ อควรระวัง
1. ในกรณีทหลอดขาดควรเปลี
ี ยนหลอดให้ เป็ นประเภทเดิม ไม่ควรนําหลอดประหยัดไฟ หรือหลอด Fluorescent ต่อเข้ าไป
ยัง Channel ของ Dimmer Module เพราะจะทําให้ อปุ กรณ์เสียหายได้
2. ไม่ควรใช้ หลอดแบบผสมในวงจรเดียวกันของ Dimmer เช่นใช้ หลอดไส้และหลอด Halogen ในวงจรเดียวกัน
3. ในวงจรเดียวกันของ Dimmer ในกรณีทีใช้ห ลอด Halogen ไม่สามารถใช้ หม้ อแปลงแกนเหล็ก สลับ กับหม้ อแปลง
อิเล็คทรอนิคส์ได้
4. Dimmer Module แบบติดรางรับ Power ได้ ไม่เกิน 400 Watt และตัวใหญ่สามารถรับได้ ไม่เกิน 1000 Watt ควร
ระมัดระวังเรื องการนําโหลดมาติดตังว่าไม่ควรเกินค่ามาตรฐานทีตังไว้
5. วงจรปลักภายในบ้ านไม่แนะนําให้ ใช้ กบั Dimmer เนืองจากหากมีการนําเครืองดูดฝุ่ นมาต่อใช้ งานจะทําให้ วงจรในตัว
Dimmer เสียหายได้
6. หลอด Fluorescent, หลอดประหยัดพลังงาน, Motor Screen, ปลัก ถ้ าหากจะใช้ ให้ ทําการต่อเข้ ากับ วงจรทีเป็ น Relay
Module เท่านัน ซึงสามารถรับค่า Power ได้ มากสุดที 2,000 Watt

LIGHTING CONTROL SYSTEM หน้ า 8


บริษัท เทคไลท์ติงจํากัด

LIGHTING CONTROL SYSTEM หน้ า 9

You might also like