You are on page 1of 38

คู่มอื การใช้ งานและบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ

ชนิดฝังฝ้ าเป่ าลม 4 ทิศทาง


รุ่น CSE/AR

                                                                                         

 
SPECIFICATION
Specification : CSE/ AR 

                                                                                                                                                     

                                                               

 แพนคอยล์ยนู ิต                                                   คอนเดนซิ่งยูนิต                                   
 

Page 1.
REMOTE CONTROLLER
 

   รี โมทสําหรั บรุ่ นเก่ า

 
 

Page 11.
REMOTE CONTROLLER
รี โมทสําหรั บรุ่ นใหม่  

                                                                                                                                                                                                                 

Page 12. 
REMOTE CONTROLLER
 

Page 13. 
REMOTE CONTROLLER 

Page 14. 
REMOTE CONTROLLER
 

Page 15. 
MALFUNCTION CHECK
สัญญาณไฟกระพริบเตือนความผิดปกติ :
ที่หน้ าจอแสดงผล การกระพริบเตือน จอเอลซีดแี สดงโค๊ ต ปั ญหา
เมื่อหยุดเครื่ อง หลอดไฟ ไฟ RUN กระพริ บ 1 ครัง้ ใน E0 ระบบการละลายนํ ้าแข็งล้ มเหลว
อลาร์ มติด, ไฟรัน (RUN) วินาที หรื อเสียหายชํารุด
กระพริบ
เมื่อเดินเครื่ องหลอดไฟ ไฟ RUN กระพริ บ 1 ครัง้ ใน P3 อยูใ่ นสภาวะการละลายนํ ้าแข็ง
อลาร์ มติด, ไฟรัน (RUN) วินาที (ซึง่ ระบบเป็ นปกติ)
กระพริบ
เมื่อเดินเครื่ องหลอดไฟ ไฟ RUN กระพริ บ 1 ครัง้ ใน P1 อยูใ่ นสภาวะการต่อต้ านลมเย็น
อลาร์ มติด, ไฟรัน (RUN) วินาที (ซึง่ ระบบเป็ นปกติ)
กระพริบ
เมื่อหยุดเครื่ อง หลอดไฟ ไฟ RUN กระพริ บ 2 ครัง้ ใน 4 E2 ชุดรูมเซ็นต์เซอร์ ชํารุดเสียหาย
อลาร์ มติด, ไฟรัน (RUN) วินาที
กระพริบ
เมื่อหยุดเครื่ อง หลอดไฟ ไฟ RUN กระพริ บ 3 ครัง้ ใน 5 E3 ชุดเซ็นต์เซอร์ ทอ่ นํ ้ายาชํารุด
อลาร์ มติด, ไฟรัน (RUN) วินาที เสียหาย
กระพริบ
เมื่อเดินเครื่ องหลอดไฟ ไฟ RUN กระพริ บ 4 ครัง้ ใน 6 P5 ผิดปกติที่คอนเดนซิ่งยูนิต
อลาร์ มติด, ไฟรัน (RUN) วินาที
กระพริบ
เมื่อหยุดเครื่ อง หลอดไฟ ไฟ RUN กระพริ บ 4 ครัง้ ใน 6 P5 ผิดปกติที่คอนเดนซิ่งยูนิต ขนาด
อลาร์ มติด, ไฟรัน (RUN) วินาที 5 kW.
กระพริบ
เมื่อหยุดเครื่ อง หลอดไฟ ไฟ RUN กระพริ บ 5 ครัง้ ใน 7 E9 กําลังละลายนํ ้าแข็งที่คอยล์เย็น
อลาร์ มติด, ไฟรัน (RUN) วินาที
กระพริบ
เมื่อหยุดเครื่ อง หลอดไฟ ไฟ RUN กระพริ บ 6 ครัง้ ใน 8 F4 ตัดระบบเนื่องจากแรงดันนํ ้ายา
อลาร์ มติด, ไฟรัน (RUN) วินาที ตํ่า (Low-pressure)
กระพริบ
เมื่อหยุดเครื่ อง หลอดไฟ ไฟ RUN กระพริ บ 7 ครัง้ ใน 9 F2 ชุดสายไฟคอนโทรลหลวม,ชํารุด
อลาร์ มติด, ไฟรัน (RUN) วินาที
กระพริบ
เมื่อหยุดเครื่ อง หลอดไฟ ไฟ RUN กระพริ บ 8 ครัง้ ใน 10 EA เกิดโอเวอร์ ฮีตในระบบ
อลาร์ มติด, ไฟรัน (RUN) วินาที
กระพริบ

 
 
Page 24. 
MALFUNCTION CHECK
 

  ที่หน้ าจอแสดงผล การกระพริบเตือน จอเอลซีดแี สดงโค๊ ต ปั ญหา


  เมื่อหยุดเครื่ อง หลอดไฟ ไฟ RUN กระพริ บ 9 ครัง้ ใน 11 F5 ปั๊ มนํ ้าทิ ้งผิดปกติชํารุดเสียหาย
  อลาร์ มติด, ไฟรัน (RUN) วินาที
  กระพริบ
  เมื่อหยุดเครื่ อง หลอดไฟ ไฟ RUN กระพริ บ 10 ครัง้ ใน E5 เซ็นเซอร์ ทอ่ นํ ้ายาที่คอนเดนซิ่งยู
 
อลาร์ มติด, ไฟรัน (RUN) 12 วินาที นิตผิดปกติชํารุดสียหาย
กระพริบ
 
ไฟ TIMER กระพริ บตลอด ไฟ TIMER กระพริบตลอด E2 รูมเซ็นเซอร์ รผิดปกติชํารุดสีย
 
หาย
 
ไฟ RUN กระพริ บตลอด ไฟ RUN กระพริ บตลอด E3 เซ็นเซอร์ ที่แฟนคอยล์ผิดปกติ
ชํารุดสียหาย
ไฟ DEFROST กระพริ บ ไฟ DEFROST กระพริบตลอด E5 เซ็นเซอร์ ที่คอยล์ร้อนผิดปกติ
ตลอด ชํารุดสียหาย
ไฟ อลาร์ มเตือน กระพริบ ไฟ อลาร์ มเตือน กระพริบตลอด F5 นํ ้าเต็มถาด กําลังจะล้ น
ตลอด ตลอด
ไฟ DEFROST กระพริบ ไฟ DEFROST กระพริบพร้ อม F2 คอนเดนซิ่งยูนิตผิดปกติ
พร้ อมกับ ไฟอลาร์ มเตือน กับ ไฟอลาร์ มเตือน กระพริบ
กระพริบตลอด ตลอด
ไฟ RUN กระพริ บพร้ อม ไฟ RUN กระพริบพร้ อมกับ ไฟ E1 ระบบหรื อสายสัญญาณ
กับ ไฟDEFROST DEFROST กระพริบตลอด ผิดปกติ
กระพริ บตลอด
ไฟ RUN กระพริ บพร้ อม ไฟ RUN กระพริบพร้ อมกับ P6 ระบบ EEPROM หรื อ
กับ TIMER กระพริ บตลอด TIMER กระพริบตลอด สายสัญญาณผิดปกติ
ไฟ RUN กระพริ บพร้ อม ไฟ RUN กระพริบพร้ อมกับ No อยูใ่ นโหมดเทอร์ โบ (ปกติ)
กับ ไฟอลาร์ มเตือน ไฟอลาร์ มเตือน กระพริบตลอด
กระพริ บตลอด
ไฟ DEFROST ติดตลอด ไฟ DEFROST ติดตลอด P3 กําลังละลายนํ ้าแข็ง

Page 25.

 
MALFUNCTION CHECK
การวิเคราะห์ และแก้ ไขปั ญหาในเบือ้ งต้ น :

Page 26. 

 
 

   EMINENT AIR (THAILAND) CO.,LTD. 

   SIMILAR CO.,LTD. 

   235 LASALLE RD., BANGNA, BANGNA, BANGKOK 10260 (THAILAND) TEL.(662)744‐6777 FAX.(662)749‐3031  

   www.eminent.co.th 
คู่มอื การติดตั้งและใช้ งาน
(Installation and Operation Manual)
เครื่องปรับอากาศฝังฝ้ ากระจายลม 4 ทิศทางหรือรอบทิศทาง
รุ่น CSD/ ASD , CD/ AR
Four ways or Round ways cassette Type
CSD/ ASD

CD/ AR

1
EMI-CSD_CD-8042014
สารบัญ (Content)

คําเตือน 3
รายการชิ้นส่ วนหลัก 6
ขนาดของตัวเครื่ อง (Dimension) 7
วงจรสารทําความเย็น 11
วงจรไฟฟ้ า 11
คําแนะนําสําหรับการติดตั้ง 13
ขั้นตอนการติดตั้ง 14
การใช้งานรี โมทคอนโทรล 19
โค๊ตรหัสแจ้งเตือนการทํางานผิดปกติ 22
การบํารุ งรักษา 22
การแก้ไขปั ญหาเบื้องต้น 23

2
คําเตือน ( Warning )

ปลอดภัยไว้ ก่อน
การติดตั้งและบํารุ งรักษาอุปกรณ์เครื่ องปรับอากาศอาจเกิดอันตรายได้เนื่องจากระบบความดันและ
ส่ วนประกอบเกี่ยวกับไฟฟ้ าอื่นๆ ดังนั้นในการติดตั้งทุกครั้งควรให้ผผู ้ า่ นการฝึ กอบรมและมีความรู ้ความเชี่ยวชาญ
เป็ นผูด้ าํ เนินการติดตั้ง และซ่อมบํารุ งอุปกรณ์เครื่ องปรับอากาศ สําหรับผูใ้ ช้สามารถดูแลเครื่ องปรับอากาศของท่าน
เองได้เช่นกัน โดยทําความสะอาดแผงกรองอากาศ และการเปลี่ยนแผงกรองอากาศอันใหม่ และก่อนการต่อสายไฟฟ้ า
เข้าสู่ เครื่ องปรับอากาศ ควรใช้โวลต์มิเตอร์ตรวจสอบค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ าของแหล่งกําเนิดไฟฟ้ าก่อน (Power sup-
ply voltage) ควรอยูใ่ นระหว่าง +/- ไม่เกิน 10% ของระบบไฟที่ระบุในเครื่ องปรับอากาศ

ข้ อควรระวัง
ก่อนทําความสะอาดอุปกรณ์เครื่ องปรับอากาศทุกครั้ง ต้องแน่ใจว่าได้ปิด หรื อสับเบรกเกอร์สะพานไฟลงก่อนเสมอ การช๊อต
ของไฟฟ้ าจะทําให้เกิดอันตรายต่อร่ างกายได้

การเลือกสถานทีต่ ดิ ตั้ง
ข้ อควรหลีกเลีย่ ง :
- บริ เวณที่คาดว่ามีการรั่วหรื อเกิดการติดไฟได้ง่ายของก๊าซไวไฟ
- บริ เวณที่มีไอนํ้ามันปะปนอยูม่ าก
- บริ เวณที่รับแสงแดดโดยตรง
- ใกล้แหล่งกําเนิดความร้อนที่จะทําให้มีผลต่อการทํางานของเครื่ องปรับอากาศ
- บริ เวณที่จะทําให้เครื่ องโดนนํ้ากระเด็นใส่ หรื อ สถานที่มีความชื้น
- การติดตั้งเครื่ องส่ งลมเย็นไว้ดา้ นหลังม่านหรื อมู่ลี่ รวมทั้งเฟอร์นิเจอร์เพราะจะเป็ นการกีดขวางการ
กระจายลมเย็น
- บริ เวณที่จะมีสิ่งกีดขวางทางระบายลมเข้าและออก

ข้ อควรปฏิบตั ิ :
- ควรพิจารณาติดตั้งเครื่ องส่ งลมเย็นในตําแหน่งที่สามารถกระจายลมเย็นทัว่ ถึงทุกพื้นที่ในห้อง
- เลือกสถานที่ติดตั้งที่จะรับนํ้าหนักของเครื่ องได้อย่างมัน่ คงแข็งแรง
- เลือกสถานที่ติดตั้งท่อนํ้ายา และท่อนํ้าทิ้งออกไปด้านนอกให้ใกล้ที่สุด
- สถานที่ติดตั้งเครื่ องจะต้องไม่มีสิ่งกีดขวางทางลมที่อยูร่ อบๆเครื่ อง

3
- เลือกพื้นผิวที่แข็งแรงสําหรับติดตั้งเครื่ อง ซึ่งจะไม่ทาํ ให้เกิดการสัน่ สะเทือน
- พิจารณาบริ เวณที่มีอากาศหมุนเวียนได้ดี
- ใช้ขนาดฟิ วส์ให้ถูกต้องตามขนาดที่ระบุใน Name plate ของเครื่ องระบายความร้อน และห้ามใช้วสั ดุอื่น

ข้ อแนะนําเพือ่ ความปลอดภัย (Warning and Safety)


โปรดอ่านคู่มือให้เข้าใจโดยละเอียดก่อนทําการติดตั้ง, ซ่อมแซม หรื อใช้งานทุกครั้ง และปฏิบตั ิตามคู่มืออย่าง
เคร่ งครัด

จะต้ องต่ อสายดิน ห้ ามกระทําโดยเด็ดขาด

จะต้ องถอดปลั๊กไฟหรือปิ ดเบรกเกอร์ สิ่ งที่ต้องกระทํา

WARNING คําเตือน

ห้ามกระทําการซ่อมแซมดัดแปลงหรื อเคลื่อนย้าย อย่าแย่วสั ดุใดๆเข้าไปในตัวเครื่ อง จะทํา


เครื่ องปรับอากาศด้วยตนเองเด็ดขาด เพราะจะทําให้ ให้เครื่ องได้รับความเสี ยหาย และคนจะ
ได้รับบาดเจ็บจากไฟฟ้ าช๊อต ควรแจ้งช่าง ได้รับบาดเจ็บอันตราย

ติดตั้งตามเงื่อนไขและมาตรฐานที่ ตรวจสอบสิ่ งกีดขวางทางลม


สากลยอมรับ เข้า-ออก และทําการแก้ไข

ห้ามใช้วสั ดุปลายแหลมกดปุ่ มรี โมท


คอนโทรล
นํ้าทิ้งจะต้องสามารถไหลทิ้งได้สะดวก หากติดตั้ง
ท่อนํ้าทิ้งไม่ถูกต้อง จะทําให้น้ าํ ทิ้งหยดลงสู่พ้นื ,
สิ่ งของ หรื อเฟอร์นิเจอร์ ทําให้เสี ยหายได้ ให้ปิดสวิทช์หรื อเบรกเกอร์ทนั ทีที่
สังเกตพบความผิดปกติ เช่น กลิ่น
ห้ามติดตั้ง ไหม้, เสี ยงดัง ฯลฯ.
เครื่ องปรับอากาศใน
บริ เวณที่มีการรั่วไหล
ของแก๊สไวไฟ ชุดแฟนคอยล์จะต้องไม่เปี ยก
ชื้นใดๆ ทั้งสิ้น หากพบว่าแฟน
ก่อนการเดินเครื่ องจะต้องตรวจสอบความเรี ยบร้อย
ของเครื่ องก่อนทุกครั้ง และห้ามจับตัวเครื่ องเพราะ คอยล์เปี ยกชื้น ห้ามจับต้อง
จะทําให้ได้รับอันตรายจากชิ้นส่วนที่หมุนเคลื่อนที่, ตัวเครื่ องโดยเด็ดขาด
กระแสไฟฟ้ าและความร้อน

4
WARNING คําเตือน (ต่ อ)

ให้เปิ ดหน้าต่างหรื อประตูเป็ นครั้งคราวบ้าง ห้ามใช้ยาฆ่าเมลง และสเปรย์ที่ติดไฟ


เพื่อเป็ นการเติมอากาศบริ สุทธิ์สู่หอ้ งปรับ พ่นเข้าตัวเครื่ องปรับอากาศโดยเด็ดขาด
อากาศ

ห้ามวางสัตว์เลี้ยงไว้บริ เวณที่โดนลมเย็นเป่ า ห้ามให้เด็กอยูบ่ ริ เวณที่ลมเย็นเป่ าโดน


โดยตรง เพระจะเกิดอันตรายกับสัตว์เลี้ยงได้ โดยตรง เพระจะทําให้ไม่สบายได้

ห้ามขึ้นเหยียบ หรื อวางสิ่ งของใดๆบนชุดคอน หากเครื่ องปรับอากาศ มีปัญหา ให้


เดนซิ่งยูนิต ดําเนินการติดต่อช่างผูเ้ ชี่ยวชาญ หรื อ
ศูนย์บริ การ

คําแนะนําและข้ อควรระวัง ในการติดตั้งและใช้ งานเครื่องปรับอากาศ


1. เพื่อเป็ นการประหยัดพลังงานไฟฟ้ าควรมีการปฏิบตั ิดงั นี้ :
1.1 ปิ ดเครื่ องปรับอากาศทุกครั้งเมื่อไม่ได้ใช้งาน
1.2 ปรับตั้งอุณหภูมิหอ้ งปรับอากาศที่ 25 °C
1.3 ล้างทําความสะอาดเครื่ องปรับอากาศอย่างน้อยทุกๆ 3 เดือน
2. การบรรจุสารทําความเย็นชนิด R-22 เข้าเครื่ องปรับอากาศ ต้องระวังไม่ให้รั่วไหลสู่ บรรยากาศเนื่องจากจะส่ งผล
กระทบต่อชั้นบรรยากาศโลก
3. ในกรณี ที่มีการเชื่อมท่อทองแดงในขั้นตอนการติดตั้งเครื่ องปรับอากาศ ห้ามปฏิบตั ิดงั ต่อไปนี้
3.1 ห้ามเชื่อมท่อทองแดงในขณะเดินเครื่ องปรับอากาศ หรื อมีน้ าํ ยาทําความเย็นอยูใ่ นระบบ
3.2 ก่อนการเชื่อมท่อทองแดงควรทําการตรวจสอบสภาพของเครื่ องมือและอุปกรณ์ชุดเชื่อมว่ามีความสมบูรณ์
เพียงพอที่จะทําการเชื่อมได้อย่างปลอดภัย เช่น ตรวจสอบการรั่วซึ มตามสายส่ งแก็ส, วาล์วปรับแรงดัน, และ
หัวเชื่อม ด้วยฟองสบู่
3.3 การเคลื่อนย้ายหรื อติดตั้งถังแก๊สชุดเชื่อมจะต้องให้แน่ใจว่าถังแก๊สดังกล่าวจะไม่มีการล้ม หรื อกระแทกใดๆ
4. ก่อนทําการต่อสายไฟหรื อตรวจซ่อมระบบไฟฟ้ ากับเครื่ องปรับอากาศต้องสับสวิทช์เบรกเกอร์ลงทุกครั้ง เพื่อ
ความปลอดภัยจากกระแสไฟฟ้ า
5. ต้องมัน่ ใจว่าขั้วต่อสายไฟที่ตาํ แหน่งต่างๆ มีการยึดแน่นแข็งแรงไม่หลุดหลวม
6. ควรติดตั้งระบบสายดินเพื่อป้ องกันไม่ให้ไฟฟ้ ามีการรั่วไหลและเป็ นอันตรายต่อผูใ้ ช้งาน

5
รายการชิ้นส่ วนหลัก (Main Part List)

แฟนคอยล์ ยูนิต รุ่น CSD , CD

A : ช่องอากาศเข้า
B : ช่องอากาศออกทั้ง 4 ทิศทาง
หรื อรอบทิศทาง
C : ใบปรับหรื อบังคับทิศทางลม
D : แผ่นกรองอากาศ
E : ฝาหน้า
F : รี โมทคอนโทรล

คอนเดนซิ่งยูนิต รุ่น ASD , AR

A : ช่องอากาศร้อนออก
B : ช่องอากาศเข้า

6
ขนาดของตัวเครื่อง (Dimension)

ขนาดของแฟนคอยล์ยนู ิต รุ่ น CD18, CSD18, CSD25, CSD30

หน่วย : mm.

7
ขนาดของแฟนคอยล์ยนู ิต รุ่ น CD25, CD30, CD36, CSD36, CSD36T

หน่วย : mm.

8
ขนาดของแฟนคอยล์ยนู ิต รุ่ น CD40, CD44

หน่วย : mm.

9
ขนาดของคอนเดนซิ่งยูนิต รุ่ น ASD, AR...R

MODEL
ASD18 ASD25, 30 ASD36, 36T -
DIMENSIONS AR18R AR36R, 36TR AR40R, 40TR, 40SR, 40STR
(mm.) 25R - 44TR, 44STR
30R
A 866 968 968 968
B 620 773 773 -
XB - - - 1130
C 308 308 356 356
D 641 762 720 720
E 316 316 363 363
F 21 21 21 21

10
วงจรสารทําความเย็น (Refrigerant cycle diagram)
Indoor Unit
Evaporator

fan

Packed valve Packed valve

Outdoor Unit

Compressor Fix orifice or Capillary tube

Condenser

Propeller fan

หมายเหตุ : สําหรับรุ่ นนี้ CSD/ ASD, CD/ AR จะต้องหุม้ ฉนวนกันหยดนํ้าที่ท่อนํ้ายาทั้งด้านส่ งและด้านดูด เนื่องจาก
อุปกรณ์ลดแรงดันนํ้ายาหรื อชุดฉี ดนํ้ายาติดตั้งอยูใ่ นชุดคอนเดนซิ่ งยูนิต

วงจรไฟฟ้า (Wiring diagram)


วงจรสํ าหรับไฟฟ้า 220-240V./ 1 Ph./ 50 Hz.

แฟนคอยล์ยนู ิต

คอนเดนซิ่งยูนิต
Control Circuit 220V.

Power supply
220-240V./ 1 Ph./ 50 Hz.

Earth

11
วงจรสํ าหรับไฟฟ้า 380-415V./ 3 Ph./ 50 Hz.

แฟนคอยล์ยนู ิต

คอนเดนซิ่งยูนิต

Control Circuit 220V.


Power supply
380-415V./ 3 Ph./ 50 Hz.

Earth

ภาพเครื่องมือและอุปกรณ์ การติดตั้ง (Installation Tools)


ก่อนออกไปดําเนินการติดตั้งเครื่ องปรับอากาศทุกครั้ง จะต้องทําการตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์และ
เครื่ องมือให้ครบ,พร้อม รวมถึงอ่านคู่มือการติดตั้งให้เข้าใจ

12
คําแนะนําสํ าหรับการติดตั้ง (Installation instructions)
1. ตําแหน่ งติดตั้งแฟนคอยล์ ยูนิต
 ต้องสามารถกระจายลมเย็นได้ทวั่ ทุกส่ วนของห้อง
 ตรวจสอบความแข็งแรงหรื อความแน่นหนาของเพดานที่จะทําการติดตั้ง
 หลีกเลี่ยงทิศทางที่มีแสงแดดจากดวงอาทิตย์สาดส่ องเข้าตัวแฟนคอยล์ และอย่าติดตั้งใกล้ประตู
 สะดวกต่อการเดินท่อนํ้าทิ้ง
 ควรมีพ้นื ที่วา่ งจากตัวเครื่ องตามที่กาํ หนดในคู่มือ
 ควรเดินท่อสารทําความเย็นให้มีระยะทางตามที่
กําหนดในคู่มือ
A : เพดาน
B : ฝ้ า
C : สิ่ งกีดขวาง
D : ระยะห่างจากสิ่ งกีดขวางอย่างน้อย 2 เมตร
E : ระยะห่างจากสิ่ งกีดขวางอย่างน้อย 50 ซม. หมายเหตุ : หากมีระยะการติดตั้งน้อยกว่าที่ระบุจะทําให้การทํางานของ
F : หน้ากากแฟนคอยล์ยนู ิต เครื่ องปรับอากาศมีประสิ ทธิภาพการทําความเย็นลดลงและอาจจะมีเสี ยง
ลมดังได้

2. ตําแหน่ งติดตั้งคอนเดนซิ่งยูนิต
 ต้องสามารถระบายลมร้อนได้สะดวก ควรมีพ้นื ที่วา่ งจากตัวเครื่ องตามที่กาํ หนดในคู่มือ
 หลีกเลี่ยงนํ้าฝน, แสงแดดที่สาดส่ องโดยตรง และฝุ่ นละออง
 หลีกเลี่ยงตําแหน่งที่ตอ้ งการความเงียบหรื อใกล้เคียงเพื่อนบ้าน เนื่องจากขณะที่เครื่ องทํางานจะมีเสี ยงการทํางาน
รวมถึงเสี ยงลมที่อาจจะดังรบกวนได้
 ตรวจสอบความแน่นหนาของชุดยึด,ขาตั้ง หรื อเหล็กแขวนให้ดี เพื่อป้ องกันเสี ยงที่อาจจะเกิดจากการ
สัน่ สะเทือน
 หลีกเลี่ยงสถานที่มีวตั ถุไวไฟ เช่นแก๊ส, นํ้ามัน ฯลฯ เพื่อป้ องกันอัคคีภยั
 หากติดตั้งในที่สูงๆ ต้องตรวจสอบความแข็งแรงให้ดี เพื่อป้ องกันอันตรายจากการร่ วงใส่ คนหรื อสิ่ งของ
 ไม่ควรติดตั้งสวนทางกับทิศทางลมแรง ระ cm
.
ยะม ่า 2 0
ากก
วา่ 2 ะม ากกว
0c ระย
m.

หมายเหตุ : หากมีระยะการติดตั้งน้อยกว่าที่ ระย


ระบุจะทําให้การทํางานของเครื่ องปรับอากาศ . ะมา
0 cm กกว
20 า่ 6
มีประสิ ทธิภาพการทําความเย็นลดลงและ า กกว่า 0c
ม m.
อาจจะมีเสี ยงลมดังได้ ระยะ
13
ขั้นตอนการติดตั้ง (Installation)
การเตรียมท่ อนํา้ ยา
1. การตัดท่อนํ้ายา และสายไฟ
- ตัดท่อด้วยคัตเตอร์ (Pipe Cutter) ที่ใช้สาํ หรับตัดท่อทองแดงโดยเฉพาะ

- ตัดสายไฟให้ยาวกว่าความยาวท่อนํ้ายาประมาณ 1.5 เมตร


ตารางขนาดท่อนํ้ายาที่ตวั เครื่ องปรับอากาศ
PIPE SIZE
MODEL
LIQUID GAS
CD18/AR18R, CSD18/ASD18, CSD25/ASD25, CSD30/ASD30 3/8" 5/8"
CD25/AR25R, CD30/AR30R, CD36/AR36R, CD36/AR36TR,
CSD36/ASD36, CSD36T/ASD36T, CD40/AR40SR, CD40/AR40STR, 3/8" 3/4"
CD44/AR44STR

2. การลบคมของท่อนํ้ายา
- ลบขอบคมของท่อนํ้ายาที่เกิดจากการตัด

- ควํา่ ท่อลง เพือ่ ป้ องกันฝุ่ นผงจากโลหะเข้าไปในท่อ


ข้อควรระวัง : หากไม่มีการลบคมตรงขอบท่อนํ้ายา จะทําการบาน
ท่อไม่สมบูรณ์ส่งผลให้เกิดการรั่วของนํ้ายาได้
3. การบานท่อ
- ใส่ แฟร์ นทั ที่ติดมากับตัวแอร์ สวมเข้าไปในท่อทองแดง
ที่เตรี ยมไว้ท้งั ด้านตัวเครื่ องในอาคารและด้านนอกอาคาร
- เลือกขนาดช่องของบาร์ให้พอดีกบั ตัวท่อให้ท่ออยูส่ ู งจาก
บาร์ ตามตารางด้านล่างนี้
Outer Diameter
A (mm.)
(mm.) (Inch.)
6.35 1/4 1.1 - 1.3
9.52 3/8 1.5 - 1.7
12.7 1/2 1.6 - 1.8
15.88 5/8 1.6 - 1.8
19.05 3/4 1.9 - 2.1

- ใช้ชุดบานท่อ ขันท่อให้บานออกจนสุ ด
หมายเหตุ : ควรใช้เทปพันปิ ดปลายท่อก่อนสวมฉนวนหุม้ ท่อ เพื่อป้ องกันฝุ่ นและความชื้น

14
 ตารางสําหรับขนาดของแฟร์
Pipe Dimension Flare Dimension A (mm.)
Tightening Torque Flare Shape
(mm.) (Inch.) Minimum Maximum
15 ~ 16 N.m
6.35 1/4 8.3 8.7
(153 ~ 163 kgf.cm)
90° ± 4
25 ~ 26 N.m
9.52 3/8 12.0 12.4
(255 ~ 265 kgf.cm) 45° ±
2
35 ~ 36 N.m A
12.7 1/2 15.4 15.8
(357 ~ 367 kgf.cm)
R 0.4 - 08
45 ~ 47 N.m
15.88 5/8 18.6 19.0
(459 ~ 480 kgf.cm)
65 ~ 67 N.m
19.05 3/4 22.9 23.3
(663 ~ 684 kgf.cm)

ทําการบานท่อและต่อท่อเข้ากับตัวเครื่ องแฟนคอยล์ก่อน จากนั้นจึงต่อท่อเข้ากับตัวเครื่ องคอนเดนซิ่ งยูนิต

 ดัดท่อให้ถูกต้องหรื อถูกวิธีอย่าให้เสี ยหาย

 มุมดัดไม่ควรตํ่ากว่า 90 องศา มิฉะนั้นจะส่ งให้เกิดแรงดันนํ้ายาตกคร่ อมสู ง ( Pressure Drop) มีผลเสี ยกับระบบ


 มุมดัดที่ดีคือยิง่ รัศมีกว้างยิง่ ดี
 ห้ามดัดท่อเกิน 3 ครั้ง มิฉะนั้นจะทําให้ท่อสู ญเสี ยความแข็งแรง ซึ่ งจะทําให้รั่วซึ มได้ง่าย
 เมื่อต่อแฟร์นทั ให้ทาด้วยนํ้ามันทั้งภายในและภายนอก และให้ขนั ด้วยด้วยมือ 3 - 4 รอบก่อนที่จะขันด้วยเครื่ องมือ

 ถ้าจะขันเข้าหรื อถอดออกให้ใช้ประแจทุกครั้ง

15
การติดตั้งท่ อนํา้ ยา
 ใช้ท่อหรื อเดินท่อให้ส้ น
ั ที่สุดเท่าที่จะเป็ นไปได้
 ท่อแก๊สและท่อของเหลวต้องหุม้ ฉนวนแยกกัน
 ใช้อุปกรณ์การดัดท่อให้ถูกต้องในการดัดท่อ
 ยึดท่อด้วยแคลมป์ ล๊อคท่อและตรวจดูวา่ การสัน ่ ของท่อส่ งผลกระทบต่อตัวเครื่ องหรื อไม่
 ควรจะมีการตรวจสอบการรั่วซึ มทุกครั้ง
 ควรจะมีการไล่ระบบท่อให้สะอาดก่อนต่อหรื อเชื่อมท่อเข้าระบบ

ข้ อแนะนํา

 ถ้ามีการติดตั้งแฟนคอยล์ยนู ิตและคอนเดนซิ่ งยูนิต มีความแตกต่างของระดับความสู งเกิน 5 เมตร ให้ทาํ ที่ดกั นํ้ามัน


(Oil Trap) ในทุกๆ 5 เมตร และท่อทางดูด (Suction Line) ควรลาดเอียงขึ้น 2% ก่อนกลับเข้าสู่ คอมเพรสเซอร์ในแนว
ระดับ
 ถ้าการเดินท่อนํ้ายามีความโค้งงอมากและมีที่ดกั นํ้ามัน (Oil Trap) หลายแห่งควรจัดให้มีการเติมนํ้ามันหล่อลื่น
คอมเพรสเซอร์เพิ่ม (Compressor oil charge) หรื อควรมีการเพิ่มอุปกรณ์แยกนํ้ามันกลับคอมฯ (Oil separator)

การเชื่อมต่ อระหว่ างท่ อนํา้ ยา (การบานแฟร์ นัท)


 ควรหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงขนาดของเครื่ องโดยพลการ เนื่องจากจะมีผลกับขนาดของท่อที่ได้ติดตั้งไปแล้วจะ
ใช้ไม่ได้ พร้อมตรวจสอบขนาดความยาวท่อที่ตารางในคู่มือได้กาํ หนดไว้
 ก่อนการเชื่อมต่อท่อนํ้ายาควรทําตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
- เลือกขนาดของท่อทองแดงตามขนาดท่อที่ตวั เครื่ อง
- ตรวจสอบท่อว่าไม่มีสิ่งแปลกปลอมในท่อ
- ใส่ แฟร์นทั ตรงปลายของท่อนํ้ายาที่จะทําการติดตั้ง
- การทําสุ ญญากาศ (Vacuum) ให้ลงถึง –28 mmHg แล้วแวกซ์ต่อไปอีกอย่างน้อย 20 นาที และควรทํา
สุ ญญากาศ (Vacuum) ให้นานขึ้นถ้าท่อนํ้ายามีความยาวเป็ นพิเศษ หรื อเป็ นเครื่ องปรับอากาศขนาดใหญ่
เป็ นพิเศษ
- เมื่อทําสุ ญญากาศ (Vacuum) แล้ว ควรปิ ดวาล์วของเกจวัดความดันทิ้งไว้ 15 นาที

ถ้าค่าที่อ่านได้จากเกจมีการเปลี่ยนแปลง แสดงว่ามีการรั่วเกิดขึ้นควรตรวจเช็คและทําซํ้าขั้นตอนเดิมอีกครั้ง

- หากไม่พบว่ามีการรั่ว ให้แวกซ์ซ้ าํ อีก 15 นาทีแล้วทําการชาร์จนํ้ายาเข้าสู่ ระบบ ในการชาร์จนํ้ายาควรไล่


อากาศในสายชาร์จก่อนทําการชาร์จ
16
หมายเหตุ : ในกรณี ที่คอนเดนซิ่งยูนิตติดตั้งสู งกว่าแฟนคอยล์ยนู ิตเกิน 5 เมตร จะต้องทํา Oil trap (อุปกรณ์ดกั นํ้ามัน) ที่
ท่อแก๊สทุกๆ 5 เมตร
ตารางแนะนําขนาดท่อนํ้ายาสําหรับการติดตั้งที่ความยาวท่อเกิน 10 เมตร
ความยาวท่ อติดตั้ง
รุ่น 15 ม. 20 ม. 25 ม. 30 ม. 35 ม.
ท่อของเหลว ท่อแก๊ส ท่อของเหลว ท่อแก๊ส ท่อของเหลว ท่อแก๊ส ท่อของเหลว ท่อแก๊ส ท่อของเหลว ท่อแก๊ส
CD18/AR18R, CSD18/ASD18 3/8" 5/8" 3/8" 5/8" 3/8" 5/8" 3/8" 5/8" 1/2" 3/4"
CSD25/ASD25, CSD30/ASD30 3/8" 5/8" 3/8" 5/8" 3/8" 5/8" 1/2" 3/4" 1/2" 3/4"
CD25/AR25R, CD30/AR30R 3/8" 3/4" 3/8" 3/4" 3/8" 3/4" 1/2" 3/4" 1/2' 3/4"
CD36/AR36R, CD36/AR36TR 3/8" 3/4" 3/8" 3/4" 3/8" 3/4" 1/2" 7/8" 1/2" 7/8"
CSD36/ASD36, CSD36T/ASD36T 3/8" 3/4" 3/8" 3/4" 3/8" 3/4" 1/2" 7/8" 1/2" 7/8"
CD40/AR40SR, CD40/AR40STR 3/8" 3/4" 3/8" 3/4" 1/2" 3/4" 1/2" 7/8" 1/2" 7/8"
CD44/AR44STR 3/8" 3/4" 3/8" 3/4" 1/2" 3/4" 1/2" 7/8" 1/2" 7/8"

หมายเหตุ : ในกรณี ท่อติดตั้งยาวตั้งแต่ 25 เมตร ขึ้นไปควรจะติดตั้งแอคคิวมูเลเตอร์ ซึ่งจะต้องรับปริ มาณนํ้ายาได้อย่าง


น้อย 60% ของนํ้ายาทั้งหมด ตามไดอะแกรมด้านล่าง (หากมีขอ้ สงสัยกรุ ณาติดต่อบริ ษทั ฯ)
หมายเหตุ : ในกรณี ที่ติดตั้งยาวเกิน 10 เมตร ควรชาร์จนํ้ายาเพิ่มตามที่แนะนําในตารางด้านล่าง
ตารางแนะนําการเติมนํ้ายาเพิ่มสําหรับการติดตั้ง
ที่ความยาวท่อเกิน 10 เมตร
คอยล์ร้อน

คอมเพรสเซอร์ ปริมาณ R22 ที่ต้องเติม


แคปพิลารี่ ทิ้ว ขนาดท่ อของเหลว
กรัม/ เมตร
หรื อออริ ฟิส
1/4” 20
แอคคิวมูเลเตอร์ 3/8” 30
คอยล์เย็น 1/2” 50

17
การติดตั้งท่อนํ้าทิ้ง
- ถาดนํ้าทิ้งต้องวางให้ได้ระดับไม่เอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง
- ท่อนํ้าทิ้งต้องเดินในแนวราบ ไม่ควรเดินขึ้นในแนวดิ่ง(เนื่องจากปั๊ มนํ้าทิ้งไม่มีกาํ ลังมากพอ)
- ท่อนํ้าทิ้งจะต้องติดตั้งชุดต่อชุด (ไม่ควรรวมท่อนํ้าทิ้ง เนื่องจะทําให้น้ าํ ทิ้งไหลย้อนไปอีกเครื่ องหนึ่งได้)
- จะต้องติดตั้งให้มีระยะไกลสุ ด (ระยะ A ตามภาพด้านล่าง) ไม่เกิน 20 เมตร และควรใช้ท่อพีวซี ี ที่มีขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง 25.4 มม. เพื่อป้ องกันการอุดตันที่จะเกิดขึ้นได้ง่าย
- ติดตั้งให้มีความลาดเอียงจากข้อต่อที่ตวั เครื่ องออกไปด้านนอกอาคารอย่างน้อยต้องอัตราส่ วน 1/100 ตามรู ปภาพ
- หุม้ ฉนวนกันหยดนํ้าให้เรี ยบร้อย A
- ห้ามเอาปลายท่อจุ่มไว้ในนํ้า
- การต่อท่อที่ถูกต้องเป็ นไปตามรู ปภาพด้านล่าง

- ปลายท่อนํ้าทิ้งควรทํา U– trap เพื่อป้ องกันกลิ่นอันไม่พึงประสงค์เข้าไปในห้องปรับอากาศตามรู ปภาพด้านล่าง

18
การใช้ งานรีโมทคอนโทรล

ชุดส่ งสัญญาณ

จอแสดงผล ปุ่ มปรั บอุณหภูมิ

ปุ่ มปรั บใบสวิงกระจายลม ปุ่ มปรั บความเร็วพัดลม

ปุ่ ม e
ปุ่ มเปิ ด-ปิ ด (Power)
ปุ่ มเปิ ดระบบสวิง
ปุ่ มเปิ ดระบบสลีป (หลับ)
ปุ่ มเลือกโหมดการทํางาน
ปุ่ มเปิ ดระบบตัง้ เวลาปิ ดล่ วงหน้ า

ปุ่ มเปิ ดระบบตัง้ เวลาเปิ ดล่ วงหน้ า Health set button

ปุ่ มตัง้ เวลาในหน่ วยชั่วโมง ปุ่ มตัง้ นาฬิกา

ปุ่ มตัง้ เวลาในหน่ วยนาที

ปุ่ มรี เซ็ท

กล่ องแบตเตอรี่ ฝาหลัง

การตั้งเวลา (นาฬิ กา) ทีต่ ัวรีโมท


1.ถอดฝาหลังออก จากนั้นให้ใส่ แบตเตอรี่

อย่าใส่สลับขั้ว + และขั้ว -

19
การใช้ งานรีโมทคอนโทรล (ต่ อ)
2. รี เซ็ทปุ่ ม ข้ อควรคํานึง :
รี โมทมีระยะการส่ งสัญญาณเพียง 6 เมตร โดยเมื่อ
ส่ งสัญญาณถึงตัวรับจะมีเสี ยงสัญญาณดัง
“บี๊บ”
หากรี โมทใช้งานไม่ได้ ในเบื้องต้นให้ทาํ การเปลี่ยน
แบตเตอร์รี่ขนาดเท่าเดิมใหม่
กดลงด้วยวัตถุแหลม
ให้ใช้รีโมทด้วยความระมัดระวัง : ห้ามทําตก, ห้าม
3. กดปุ่ มตั้งเวลานาฬิกา โยน, ห้ามทําให้เปี ยก ฯลฯ
ห้ามใช้แบตเตอรี่ ที่สามารถชาร์จใหม่ได้ ควรใช้แบบ
ที่ใช้แล้วทิ้งไป.

การทํางานแบบโหมดอัตโนมัติ
กดลงด้วยวัตถุแหลม เมื่อทําการเดิ นเครื่ องปรับอากาศ ระบบจะทํางานให้มี
อุ ณ หภู มิ ที่ เ หมาะสม โดยโหมดนี้ (Auto)จะอยู่ร ะหว่า ง
4. การตั้งเวลา ที่ปุ่มชัว่ โมง (Hour) โดยการกดปุ่ มแต่ โหมดทําความเย็น (Cool), โหมดลดความชื้ น (Dry) และ
ละครั้งจะทําให้เวลาเพิ่มขึ้นครั้งละ 1 ชัว่ โมง, ที่ปุ่ม โหมดทําความร้ อน (Heat) เมื่อเครื่ องดับ แล้วเปิ ดเครื่ อง
นาที (Min) โดยการกดปุ่ มแต่ละครั้งจะทําให้เวลาเพิ่ม ใหม่ ตัวรี โมทยังคงค่าโหมดก่อนหน้าที่จะดับเสมอ
ขึ้นครั้งละ 1 นาที
การเปิ ดเครื่องปรับอากาศ
1.ชี้รีโมทด้านที่มีตวั ส่ งสัญญาณไปยังตัวรับสัญญาณที่
แฟนคอยล์ยนู ิต
2. กดปุ่ ม “On / Off ” ที่ตวั รี โมท เพื่อเปิ ด
เครื่ องปรับอากาศ
5. เมื่อได้เวลาที่ตอ้ งการแล้ว ให้กดปุ่ ม ตั้งเวลาอีกครั้ง 3. จากนั้นเลือกโหมดการทํางาน โดยกดปุ่ ม “Mode”
เพื่อเป็ นการยืนยัน ซึ่ งจะมีการเรี ยงลําดับโหมดให้เลือกตามนี้ Auto---Cool---
Dry---Heat(โหมด Heat มีเฉพาะบางรุ่ น)

การปิ ดเครื่องปรับอากาศ
กดปุ่ ม“ On / Off ” ตัวรี โมทอีกครั้ง
การเพิม่ สปี ดพัดลม
กดลงด้วยวัตถุแหลม
กดปุ่ ม “Fan” ที่ตวั รี โมท (Auto--Low—
medium—High)
20
การใช้ งานรีโมทคอนโทรล (ต่ อ)
การเปิ ดระบบสวิงอัตโนมัติ การปรับความสบายให้ กบั การนอนหลับโดยปุ่ มสลีป
กดปุ่ ม “ ” ที่ตวั รี โมท (Sleep)
การปรับเพิม่ อุณหภูมิ 1.จะต้องเปิ ดใช้งานเครื่ องอยู่
กดปุ่ ม “ ” ที่ตวั รี โมท 2.จากนั้นกดปุ่ ม“ ” เป็ นการเริ่ มใช้งานฟั งก์ชนั่
นี้ ซึ่ งระบบลดสปี ดพัด ลม และในหนึ่ ง ชั่ว โมงจะเพิ่ ม
การปรับลดอุณหภูมิ อุณหภูมิ 1 ºC แต่ไม่เกิน 2 ºC
กดปุ่ ม “ ” ที่ตวั รี โมท
การยกเลิกฟังก์ ชั่นสลีป (Sleep) มี 3 วิธีดงั นี้ :
การปรับระดับบานส่ งลมหรือใบปรับลม 1.กดที่ปุ่ม “ ” อีกครั้ง
กดปุ่ ม “ ” ที่ตวั รี โมท 2.กดที่ ปุ่ ม “On / Off ” เพื่ อ ปิ ดเครื่ อ ง จะเป็ นการ
ยกเลิกตามที่เครื่ องหยุดอัตโนมัติ
3. เปลี่ยนโหมดการทํางาน โดยกดที่ปุ่ม “Mode”
การตั้งเวลาเปิ ด-ปิ ด 4.เปลี่ยนสปี ดพัดลม โดยกดที่ปุ่ม “Fan”
วิธี ต้ งั เวลาเปิ ด โดยกดปุ่ ม “ ” ที่ ห น้ า จอจะ
ปรากฏสัญลักษณ์ “ ” ขึ้น เพื่อแจ้งให้ทราบว่า ปุ่ ม e ฟังก์ ชั่น
สามารถเริ่ มตั้ง เวลาเปิ ดเครื่ องได้ (ซึ่ งหากภายใน เมื่อกดปุ่ ม e จะเป็ นการเข้าสู่โหมดการปรับอากาศแบบ
ระยะเวลา 1 นาที่ไม่มีการตั้งค่าใดๆ หน้าจอจะกลับสู่ อัตโนมัติ(Auto) หากต้องการยกเลิกให้กดปุ่ ม “On / Off ”
สภาวะปกติ หรื อหากต้ อ งการยกเลิ ก ก็ ใ ห้ ก ดปุ่ ม หรื อ“Mode”
“ ” อีกครั้ง)
วิธีต้งั เวลาปิ ด โดยกดปุ่ ม “ ” ที่ ห น้ า จ อ
จ ะ ป ร า ก ฏ สั ญ ลั ก ษ ณ์ “ ” ขึ้ น เ พื่ อ
แจ้งให้ทราบว่าสามารถเริ่ มตั้งเวลาปิ ดเครื่ องได้ (ซึ่ งหาก
ภายในระยะเวลา 1 นาที่ ไม่มีการตั้งค่าใดๆ หน้าจอจะ
กลับสู่ สภาวะปกติ หรื อหากต้องการยกเลิกก็ให้กดปุ่ ม
“ ” อีกครั้ง)
เมื่อสัญลักษณ์ “ ” ที่หน้ าจอปรากฏขึ ้น
ให้ เริ่ มตังเวลาได้
้ โดยกดที่ปมุ่ “ ” ซึง่ ในการ
กดแต่ละครัง้ จะทําให้ เวลาเปลี่ยนครัง้ ละ 1 ชัว่ โมง
และหากกดที่ปม“ ุ่ ” ในการกดแต่ละครัง้ จะ
ทําให้ เวลาเปลี่ยนครัง้ ละ 10 นาที

21
โค๊ ตรหัสแจ้ งเตือนการทํางานผิดปกติ (ERROR CODE ) รุ่ น CSD/ ASD, CD/ AR
สาเหตุของปัญหา ไฟกระพริบเตือน
เซ็นเซอร์วดั อุณหภูมิภายในห้องปรับอากาศชํารุ ดเสี ยหาย หรื อผิดปกติ ไฟกระพริ บ 1 ครั้งใน 8 วินาที
เซ็นเซอร์วดั อุณหภูมิคอยล์เย็นในเครื่ องส่งลมเย็นชํารุ ดเสี ยหาย หรื อผิดปกติ ไฟกระพริ บ 2 ครั้งใน 8 วินาที
ระบบมีความผิดปกติ (ตรวจสอบปริ มาณนํ้ายาสารทําความเย็น) ไฟกระพริ บ 3 ครั้งใน 8 วินาที
เซ็นเซอร์วดั อุณหภูมิคอยล์ร้อนด้านนอกชํารุ ดเสี ยหาย หรื อผิดปกติ (ในรุ่ นที่คอนเดนซิ่งยูนิตมี PCB บอร์ด) ไฟกระพริ บ 5 ครั้งใน 8 วินาที
ระบบสายสัญญาณสื่ อสารชํารุ ดเสี ยหาย หรื อผิดปกติ (ในรุ่ นที่คอนเดนซิ่งยูนิตมี PCB บอร์ด) ไฟกระพริ บ 7 ครั้งใน 8 วินาที
ไฟกลับเฟส, เฟสหาย, ตัดแรงดันไฟฟ้ า(โวลท์) สูง-ตํ่าเกินไป, ตัดอุณหภูมิที่คอนเดนซิ่งยูนิตร้อนเกินไป ไฟกระพริ บ 6 ครั้งใน 8 วินาที
ระบบจะหยุดทํางานป้ องกันนํ้าทิ่งล้นถาด (ตรวจสอบปั๊มนํ้าทิ้ง, ลูกลอยสวิทช์ และระบบนํ้าทิ้งทั้งหมด) ไฟกระพริ บ 8 ครั้งใน 8 วินาที
หมายเหตุ : ควรมีการล้างทําความสะอาดถาดนํ้าทิ้ง, ปั๊มนํ้าทิ้ง, ลูกลอยสวิทช์ และท่อนํ้าทิ้งทุกๆ 3 เดือนเป็ นอย่างน้อย
หรื อตามสภาพการใช้งาน
การบํารุ งรักษา (Maintenance)

 การบํารุงรักษาเครื่องส่ งลมเย็นภายในอาคาร
การทําความสะอาดแผ่ นกรองอากาศ
- อันดับแรกต้องปิ ดสวิตช์เบรกเกอร์และตัดไฟ
จากแหล่งจ่ายไฟฟ้ าทั้งหมด แล้วถอดแผ่น
กรองอากาศออก
- ควรทําความสะอาดแผ่นกรองอากาศทุกๆ 15 วัน
หรื อมากกว่านั้นถ้าเครื่ องส่ งลมเย็นอยูใ่ น
บริ เวณที่อากาศสกปรก แผ่นกรองอากาศ
สามารถทําความสะอาดด้วยเครื่ องดูดฝุ่ นและการล้างด้วยนํ้า เมื่อล้างแผ่นกรอง
อากาศด้วยนํ้า จะต้องให้แผ่นกรองอากาศแห้งก่อนนํากลับไปใส่ ในเครื่ องส่ งลมเย็น
การทําความสะอาดตัวเครื่องส่ งลมเย็น
- เมื่อทําความสะอาดเครื่ องส่ งลมเย็น อันดับแรกต้องปิ ดสวิตช์เบรกเกอร์ก่อน จะ
เป็ นอันตรายหากทําความสะอาดเครื่ องในขณะที่เครื่ องทํางานอยู่
- ใช้ผา้ แห้งอ่อนนุ่มในการทําความสะอาดตัวเครื่ อง สามารถใช้สบู่ที่เป็ นกลางใน
การทําความสะอาดจุดที่สกปรกได้ ถ้าจําเป็ น แล้วตามด้วยการทําความสะอาดโดย
ใช้ผา้ แห้ง
- ห้ามใช้น้ าํ ร้อนที่มากกว่า 40 ºC ในการล้างเพราะจะทําให้ตวั เครื่ องโค้งงอหรื อสี จะ
ลอกและผิดเพี้ยนได้
- ตัวเครื่ องจะเสี ยหายได้ถา้ ใช้สารเคมีเช่น แก็สโซลีน นํ้ามัเบนซิน ทินเนอร์ ยาฆ่าแมลง
หรื อสารเคมีอื่นๆ ในการล้าง
- การใช้เศษผ้าที่ขรุ ขระสามารถทําลายความมันของพื้นผิวได้
22
การบํารุ งรักษา (Maintenance) (ต่ อ)

 การบํารุงรักษาเครื่องระบายความร้ อนภายนอกอาคาร
- ตรวจกระแสไฟฟ้ าของมอเตอร์และคอมเพรสเซอร์
- ตรวจสอบปริ มาณนํ้ายา
- ล้างแผงคอยล์ร้อน

การแก้ไขปัญหาเบือ้ งต้ น (Common Section)


ก่ อนทีจ่ ะเรียกช่ างบริการ
เพื่อเป็ นการประหยัดเวลาและเงินของคุณจากการเรี ยกช่างบริ การบ่อยๆ ดังนั้น
ก่อนทําการเรี ยกช่างบริ การผูใ้ ช้ควรมีการตรวจสอบเบื้องต้น ดังต่อไปนี้

เมือ่ ความเย็นของเครื่องร้ อนกว่ าปกติ


- ตรวจสอบอุณหภูมิที่กาํ หนดไว้และอาจปรับให้เหมาะสมหากอุณหภูมิสูงหรื อ
ตํ่าเกินไป
- ตรวจดูวา่ แผ่นกรองอากาศกรองสิ่ งสกปรกไว้มากเกินไปหรื อ อาจจําเป็ นต้อง
ทําความสะอาด ซึ่งหลังจากทําความสะอาดแล้วจะทําให้อากาศหมุนเวียนได้
ดียงิ่ ขึ้น
- ตรวจดูวา่ เครื่ องปรับอากาศได้ต้งั ค่าไว้ในโหมด Cool หรื อไม่ แล้วทําการ
เลือกตั้งค่าโหมดตามความเหมาะสม
- ในห้องมีคนมากเกินไปหรื อไม่
- ตรวจดูวา่ มีอากาศร้อนจากด้านนอกสามารถผ่านเข้ามาภายในห้องทางรอย
แยกหรื อช่องว่างได้หรื อไม่

23
ตารางแสดงข้ อขัดข้ องและการแก้ ไขเบือ้ งต้ น

ปัญหาทีเ่ กิด สาเหตุอาจเกิดจาก วิธีแก้ ไข


เครื่ องปรับอากาศไม่ทาํ งาน 1. ไม่ได้เปิ ดเครื่ อง 1 ต่อสายไฟและเปิ ดเครื่ อง
2. ฟิ วส์ขาด หรื อ ไม่ได้ใส่ ฟิวส์ 2 เปลี่ยนฟิ วส์หรื อ เช็คระบบไฟ
3. ไม่ได้ต่อสายไฟ 3 ตรวจเช็คสายไฟ
คอมเพรสเซอร์ไม่ออกตัวและไม่มี 1. โอเวอร์โหลดตัด 1. ตรวจเช็คโอเวอร์โหลด
เสี ยง
2. คอนโทรลเสี ย 2. ซ่อมแซมหรื อเปลี่ยนคอนโทรลใหม่
3. สายไฟไม่ถูกต้อง หรื อหลวม 3. ตรวจสอบสายไฟ
คอมเพรสเซอร์ทาํ งาน มีเสี ยง 1. สายไฟไม่ถูกต้อง 1. ตรวจสายไฟตามผัง
แต่โอเวอร์โหลดตัด 2. กระแสไฟที่เข้ามีโวลท์ต่าํ 2. ตรวจแหล่งจ่ายไฟฟ้ า
3. สตาร์ทคาปาซิเตอร์เสี ย หรื อต้อง 3. เปลี่ยนสตาร์ทคาปาซิ เตอร์ หรื อใส่
ใส่ เพิ่ม เพิ่ม
4. สตาร์ทรี เลย์เสี ย หรื อต้องใส่ เพิ่ม 4. เปลี่ยนสตาร์ทรี เลย์ หรื อใส่ เพิ่ม
5. ระบบภายในของคอมเพรสเซอร์ 5. เปลี่ยนคอมเพรสเซอร์
ขัดข้อง
6. คอมเพรสเซอร์มีน้ าํ ยาที่เป็ น 6. ใส่ ตวั ทําความร้อน หรื อตัวดักนํ้ายา
liquid มากไป
คอมเพรสเซอร์เดินด้วยขดลวด 1. สายไฟไม่ถูกต้อง 1. ตรวจสายไฟตามผัง
สตาร์ท
2. กระแสไฟที่เข้ามีโวลท์ต่าํ 2. ตรวจแหล่งจ่ายไฟฟ้ า
3. รี เลย์ไม่ทาํ งาน หรื อต้องใส่ เพิ่ม 3. เปลี่ยนสตาร์ทรี เลย์หรื อใส่ เพิ่ม
4. รันคาปาซิเตอร์เสี ย 4. เปลี่ยนรันคาปาซิ เตอร์
5. ความดันทางด้านส่ งสู ง 5. ตรวจวาล์วเปิ ด-ปิ ด และอาจมีน้ าํ ยา
มากเกินไปหรื อคอนเดนเซอร์ระบาย
ความร้อนไม่พอ
6. ระบบภายในของคอมเพรสเซอร์ 6. เปลี่ยนคอมเพรสเซอร์
ขัดข้อง

24
ตารางแสดงข้ อขัดข้ องและการแก้ ไขเบือ้ งต้ น (ต่ อ)
ปัญหาทีเ่ กิด สาเหตุอาจเกิดจาก วิธีแก้ ไข
คอมเพรสเซอร์ทาํ งาน แต่โอเวอร์ 1. กระแสไฟที่เข้ามีโวลท์ต่าํ , เฟสไม่ 1. ตรวจแหล่งจ่ายไฟฟ้ า
โหลดตัด สมํ่าเสมอ
2. โอเวอร์โหลดเสี ย 2. เปลี่ยนโอเวอร์โหลด
3. รันคาปาซิเตอร์เสี ย 3. เปลี่ยนรันคาปาซิ เตอร์
4. ความดันทางด้านส่ งสูงเกินไป 4. ตรวจสอบระบบการระบายความร้อน
หรื อ การอุดตันในระบบ
5. ทางกลับมีความดันสู งเกินไป 5. ปล่อยนํ้ายาแอร์ส่วนที่เกินออก
6. คอมเพรสเซอร์ร้อนมาก-นํ้ายากลับ 6. ตรวจสอบการเติมนํ้ายา, รอยรั่วและเติม
ร้อน นํ้ายาเพิ่ม
คอมเพรสเซอร์เดิน ๆ หยุด ๆ 1. เทอร์โมสตัทตัด 1. ปรับช่วงอุณหภูมิ
2. ความดันด้านสูงตัด 2. (a) ลดปริ มาณนํ้ายาแอร์ ,(b) ตรวจหา
อากาศในระบบนํ้ายาแอร์และปล่อยอากาศ
ออก
3. ความดันทางตํ่าตัด 3. (a) ตรวจรอยรั่วของวาล์วคอมเพรสเซอร์,
เปลี่ยนคอมเพรสเซอร์
(b) ตรวจสอบนํ้ายาแอร์และเติมนํ้ายาเพิม่
(c) ตรวจเช็คออริ ฟิส/แคปพิลลารี่ ทิ้วป์ ,ทํา
การเปลี่ยน
คอมเพรสเซอร์เดินตลอดเวลา 1. นํ้ายาน้อย 1. ตรวจสอบนํ้ายาและเติมนํ้ายาเพิม่
2. คอนแท็คเตอร์ไม่ตดั 2. ซ่อมแซมหรื อเปลี่ยนคอนแท็คเตอร์
3. ห้องใหญ่เกินไป หรื อฉนวนที่บุหอ้ งไม่ 3. เพิม่ ขนาดเครื่ องให้เหมาะสมกับขนาดของ
ดี ห้องหรื อ แก้ไขระบบฉนวน
4. คอยล์เย็นเป็ นนํ้าแข็ง 4. ละลายนํ้าแข็ง
5. คอยล์เย็นสกปรก 5. ทําความสะอาดคอยล์เย็น
6. แผ่นกรองอากาศสกปรก 6. ทําความสะอาดหรื อเปลี่ยนแผ่นกรองอากาศ

25
ตารางแสดงข้ อขัดข้ องและการแก้ ไขเบือ้ งต้ น (ต่ อ)

ปัญหาทีเ่ กิด สาเหตุอาจเกิดจาก วิธีแก้ ไข


สตาร์ทคาปาซิเตอร์เสี ย ช็อต หรื อ 1. กระแสไฟที่เข้ามีโวลท์สูงเกินไป 1. ตรวจแหล่งจ่ายไฟฟ้ า
ระเบิด
รันคาปาซิ เตอร์เสี ย ช็อต หรื อ ระเบิด 1. กระแสไฟที่เข้ามีโวลท์ต่าํ หรื อสู ง 1. ตรวจแหล่งจ่ายไฟฟ้ า
เกินไป
อุณหภูมิสูงเกินไป 1. ตั้งอุณหภูมิสูงไว้สูงมาก 1. ปรับอุณหภูมิให้ลดลง
2. ออริ ฟิส/ แคปพิลารี่ ทิ้วป์ เล็กเกินไป 2. เปลี่ยนออริ ฟิส/ แคปพิลารี่ ทิ้วป์

ท่อทางกลับเป็ นนํ้าแข็งหรื อเป็ นเหงื่อ 1. ออริ ฟิส/ แคปพิลารี่ ทิ้วป์ เล็กเกินไป 1. เปลี่ยนออริ ฟิส/ แคปพิลารี่ ทิ้วป์

2. ออริ ฟิส/ แคปพิลารี่ ทิ้วป์ อุดตัน 2. ทําความสะอาดหรื อเปลี่ยนออริ ฟิส/


แคปพิลารี่ ทิ้วป์ ใหม่
3. พัดลมคอยล์เย็นไม่ทาํ งาน 3. ซ่อมแซมหรื อเปลี่ยนพัดลม
4. นํ้ายามากเกินไป 4. แก้ไขชาร์จนํ้ายาให้ถูกต้อง
ท่อทางส่ งเป็ นนํ้าแข็งหรื อเป็ นเหงื่อ 1. ตัวดรายเออร์ช้ืนหรื อแสตนเนอร์ตนั 1. เปลี่ยนดายเออร์ หรื อแสตนเนอร์

เครื่ องมีเสี ยงดัง 1. เครื่ องอาจยึดไม่แน่น 1. ตรวจสอบและขันให้แน่น


2. ท่อสัน่ ทําให้เกิดเสี ยง 2. ปรับท่อให้อยูใ่ นสภาพเรี ยบร้อย
3. ใบพัดบิดทําให้เกิดเสี ยง 3. เปลี่ยนใบพัด
4. ลูกปื น หรื อบุชมอเตอร์หลวม 4. เปลี่ยนมอเตอร์

หากตรวจสอบแล้วไม่พบสาเหตุและวิธีแก้ไข ให้แจ้งช่างบริ การของตัวแทนจําหน่ายที่ท่านซื้ อ


หรื อใกล้บา้ นท่านมาตรวจสอบ

26
EMINENT AIR ( THAILAND ) CO., LTD.
SIMILAR CO.,LTD.
235 LASALLE ROAD, BANGNA, BANGNA, BANGKOK 10260 ( T HAILAND )
TEL. : ( 6 62 ) -744-6777 FAX. : ( 662) - 749-3031

www.eminent.co.th 27

You might also like