You are on page 1of 49

12/12/2013

บริษัท อรัญเพาเวอร จํากัด


อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี
CATERPILLAR
G3516 S/N L6E00102, L6E00103
400 Vac 50 Hz 1000 KW
MAINTENANCE GUIDELINES
บรรยายโดย นายสมบูรณ พุมพวง

Services Training : Metro Machinery Co.,Ltd. 1


11/12/13

วัตถุประสงค
¾ เพื่อใหผปู ฏิบตั ิงาน ใชงานเครื่องยนตแคตเตอรพิลลารไดอยางถูกตองตาม
มาตรฐาน และขอกําหนด
¾ เพื่อใหผูปฏิบตั ิงาน สามารถแกไขปญหาเบื้องตนในการใชงานได
¾ เพื่อลดความเสี่ยง ของการเกิดปญหาหนัก
¾ เพื่อใหผูปฏิบตั ิงาน มีความรูความเขาใจเบื้องตนในการใชงาน
¾ เพื่อใหผปู ฏิบตั ิงาน สามารถสื่อสารกับบริษัทฯ ถึงปญหาไดอยางถูกตอง
ที่สุด
2

1
12/12/2013

หัวขอในการอบรม
¾ สัญลักษณและแผนปายดานความปลอดภัย(Safety Signs and Labels)
¾ภาพโดยรวมของชุดเครื่องกําเนิดไฟฟาแบบใชกาซชีวภาพ และตู GCP
¾ เครื่องยนต BIO GAS รุน G3516A
¾ เครื่องกําเนิดไฟฟา รุน SR4B
¾ การใชงานตู EMCP II+
¾ การใชงานตู GCP
¾ การบํารุงรักษาชุดเครื่องกําเนิดไฟฟา BIO GAS รุน G3516A
3

สัญลักษณและแผนปายดานความปลอดภัย(Safety Signs and Labels)


รูปภาพเตือน ตําแหนงที่ติดตั้ง ขอความเตือน
ปายคําเตือนสากล (Universal Warning) หามเดินเครื่อง หรือ ทํางานที่ตัวเครื่องยนต ถาทานมิไดอาน และ ทําความ
เขาใจในขอแนะนํา และ คําเตือนในคูมือนี้ การไมทําตามขอแนะนําหรือ
ละเลยคําเตือนอาจทําใหเกิดการบาดเจ็บ หรือ ถึงแกชีวิตได ติดตอตัวแทน
ตูควบคุม Caterpillar เมื่อตองการคูมือนี้ การเอาใจใสอยางถูกตองเปนหนาที่ของทาน

ปายคําเตือนทําใหเกิดการกระตุก (Shock) WARNING! Shock/Electrocution Hazard!


ตําแหนงแผนปายเตือนความปลอดภัยอยูบน คําเตือน! อันตรายทําใหกระตุกถึงแกชีวิตดวยไฟฟา ! อานและทําความเขาใจ
กลองตอสายและตูควบคุม คําแนะนําและคําเตือนในคูมือการดําเนินงานและการบํารุงรักษาดวยตนเอง
การไมปฏิบัติตามคําแนะนําหรือใสใจตอคําเตือนอาจทําใหเกิดการบาดเจ็บ
สาหัสหรือเสียชีวิตได

ปายคําเตือนการถูกไฟฟาดูดตาย หามตอเครื่องกําเนิดไฟฟาเขากับไฟหลวง กระแสไฟฟาที่จายกลับมาจาก


(Electrocution) ไฟหลวงเขามาที่ เครื่องอาจกอใหเกิดการบาดเจ็บ และ ถึงแกชีวิตได เปด
วงจร และ รักษาการเปดสวิทซที่ไฟหลวงไว หรือ ถามีการตอสวิทซไวเปน
การถาวรแลว จะตองติดตั้งสวิทซสลับทางไฟฟาปองกันไฟหลวงจายเขา
แผนปายเตือนเกี่ยวกับแรงดันไฟฟาสูงจะติดไว เครื่องกําเนิด ไฟฟา เครื่องกําเนิดไฟฟาอาจจะเดินขนานกับไฟหลวงไดใน
ที่ตําแหนงตอไปนี้: กลองเขาสาย กลองตอสาย บางกรณี ควรขอคําแนะนําจากเจาหนาที่ การไฟฟาถึงอุปกรณปองกันที่
จําเปนในการเดินเครื่องขนาน

ปายคําเตือนสตารทอัตโนมัติ (Auto Start) เมื่อเครื่องยนตอยูในโหมดการทํางานแบบอัตโนมัติเครื่องสามารถสตารท


ไดทุกเวลา เพื่อหลีกเลี่ยงจากการบาดเจ็บควรอยูหางจาก เครื่องยนตเมื่อ
ตําแหนงแผนปายเตือนความปลอดภัยอยู
เครื่องยนตอยูในโหมดอัตโนมัติ
ดานขางกลองตอสาย อยูบนตูควบคุม และที่
หมอน้ํา

2
12/12/2013

สัญลักษณและแผนปายดานความปลอดภัย(Safety Signs and Labels)


รูปภาพเตือน ตําแหนงที่ตดิ ตั้ง ขอความเตือน
ปายคําเตือนระวังโดนทับ (Crushing) อันตรายจากการยก! การยกไมเหมาะสมอาจทําใหเกิดการบาดเจ็บ
ตําแหนงแผนปายเตือนความปลอดภัยอยู สาหัสหรือเสียชีวิตได ทําตามคําแนะนําการยก ในคูม ือการ
ขางกลองตอสายและตูควบคุม ดําเนินงานและการบํารุงรักษาดวยตนเอง สําหรับวิธีการยกที่
ปลอดภัย

ปายคําเตือนพื้นผิวที่รอน (Hot Surface)


แผนปายเตือนเกี่ยวกับพื้นผิวที่รอน จะ ชิ้นสวนหรือสวนประกอบที่รอนสามารถทําใหเกิดการไหมหรือ
ติดไวทตี่ ําแหนงดานขางของหมอน้ํา oil ได รับบาดเจ็บได ไมควรสัมผัสชิ้นสวนที่รอนหรือสวนประกอบที่
cooler ฝาครอบ crankcase เครื่องกําเนิด รอน ควรใชชุดปองกันหรืออุปกรณปองกัน เพื่อปกปองผิวของคุณ
ไฟฟา ฝาครอบวาลว
ปายคําเตือนไอน้ํามัน(Vapor Explosion คําเตือน : การระเบิดของไอน้ํามัน อาจทําใหเกิดการบาดเจ็บสาหัส
(Oil Filter) and (Fuel Filter)) หรือเสียชีวิตได อานคูมือการดําเนินงานและการบํารุงรักษาดวย
ตนเองกอนที่จะดําเนินการใด ๆ ในการบํารุงรักษากรองน้ํามันเครื่อง
ตําแหนงแผนปายเตือนความปลอดภัยอยู
และกรองเชื้อเพลิง
ขางกรองน้ํามันเครื่องและกรองเชื้อเพลิง
ปายสมาคมมาตรฐานของประเทศแคนาดา
(Canadian Standards Association) การแยกการปองกัน และ การควบคุมจะตองจัดทําตาม
Canadian Electrical Code, part 1.
ตําแหนงแผนปายติดอยูดา นขางของ
เครื่องกําเนิดไฟฟา

สัญลักษณและแผนปายดานความปลอดภัย(Safety Signs and Labels)


รูปภาพเตือน ตําแหนงที่ตดิ ตั้ง ขอความเตือน
ปายการยกเครื่องกําเนิดไฟฟา
Lifting the Product (Not Including กอนทําการยกเครื่องกําเนิดไฟฟา โปรดอานหัวขอ “การ
the Radiator) ยกเครื่องยนต”ของคูมือนี้ (Operation and Maintenance
ปายการยกเครื่องกําเนิดไฟฟา Manual, “Engine Lifting”)
Lifting the Product (Including the
Radiator) การใชอุปกรณการยกที่ไมเหมาะสมจะกอใหเกิดการ
ตําแหนงแผนปายติดอยูดานขางของ บาดเจ็บ และความเสียหายขึ้นได ใชสายเคเบิลที่สามารถรับ
กลองตอสาย น้ําหนักของเครื่องได ใชเหล็กค้ํายัน และ ผูกสายเคเบิลตาม
ตําแหนงแผนปายติดอยูที่ตัวยก ขอมูลทีอ่ ยูบนแผนปายเตือน
เครื่องยนต

น้ํารอนที่มีแรงดัน
น้ําหลอเย็นที่รอนสามารถทําใหเกิดอันตรายได เมื่อ
ตองการเปดฝาหมอน้ําเพื่อตรวจเช็คหรือเติมเพิ่ม ควรหยุด
ตําแหนงแผนปายติดอยูที่หมอน้ํา
เครื่องรอใหเครื่องเย็นลงกอน และเปดฝาชาๆ เพื่อคลายความ
ของเครื่องยนต
ดันในระบบออกกอน กอนที่จะเปดฝาออก

3
12/12/2013

ภาพโดยรวมของระบบเครื่องกําเนิดไฟฟาแบบใชกาซชีวภาพ และตู GCP

แกสชีวภาพ
¾ สวนประกอบของแกสชีวภาพ
¾ แกสมีเทน (CH4)
¾ แกสคารบอนไดออกไซด (CO2)
¾ แกสไนโตรเจน (N2)
¾ แกสไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S)
¾ คุณสมบัติของกาซชีวภาพ (ที่ 0 oC ความดัน 1
บรรยากาศ)
¾ ปริมาณ CH4: 45-70%
¾ ปริมาณ CO2: 30-35%
¾ ปริมาณ H2S: 1,000ppm
8

4
12/12/2013

ขอมูลเตรื่องยนต G3500 Engines


¾ Engine Design
¾ Number and arrangement of cylinders ...
60 degree V−16
¾ Valves per cylinder ... 4
¾ Displacement ... 69.1 L (4216.7 cu in)
¾ Bore ... 170 mm (6.7 inch)
¾ Stroke ... 190 mm (7.5 inch)
¾ Combustion ... Spark Ignited
(A) Inlet valve .020
(B) Exhaust valve .050
9

ภาพโดยรวมของระบบเครื่องยนตกาซ รุน G3516A


S/N 4EK
Root Blower

low pressure gas fuel system 10

5
12/12/2013

ระบบเชื้อเพลิงของเครื่องยนตกาซ
¾ หนาที่พื้นฐานของระบบ
¾ ทําหนาที่รับเชื้อเพลิงจากแหลงจาย
¾ ทําหนาที่ควบคุมปริมาณเชื้อเพลิงใหผสมกับอากาศ
¾ ทําหนาที่ควบคุมปริมาณเชื้อเพลิงที่ผสมกับอากาศแลวไปยัง
หองเผาไหม

11

¾ อุปกรณประกอบหลักของระบบเชื้อเพลิง
¾ ชุดอุปกรณกาซ (Gas Train)
¾ Butterfly Valve
¾ Gas filter
¾ Gas pressure regulator
¾ Double solenoid valve
¾ Ball valve
¾ Manometer
¾ Fuel Metering Valve
¾ Throttle Valve

12

6
12/12/2013

อุปกรณประกอบหลักของระบบเชื้อเพลิง
¾ วาลว ปด-เปด กาซแบบธรรมดา ( Manual shut off
valve )
¾ เปนวาลวที่ใช ปด-เปด ดวยมือแบบดามจับ เพื่อจาย
กาซใหกับชุดอุปกรณกาซ ( Gas train )

13

อุปกรณประกอบหลักของระบบเชื้อเพลิง
¾ หมอกรอง ( Filter )
¾ ทําหนาที่ดักกรองแยกฝุน ผง หรืออนุภาคของเข็ง
ตางๆ ที่ปนมากับกาซ ปองกันไมใหสิ่งเจือปนตางๆ
เหลานั้นหลุดเขาไปยังสวนของสวนของอุปกรณ
ควบคุมกาซ
¾ Max. Working Temperature 70° C
¾ Differential Pressure
 Max. adm. differential pressure: Δ p = 0,5 bar
pressure loss with gas flow velocity of 20 m/s. In the
inlet connection: Ve = 20 m/s: Δ p approx. 25 mbar

14

7
12/12/2013

อุปกรณประกอบหลักของระบบเชื้อเพลิง
¾ วาลวปรับความดันกาซ (Gas pressure
regulator)
¾ ทําหนาที่ปรับลดความดันกาซขาออก
ใหคงที่ หรือเกือบคงที่ จาก Blower จาก
แรงดัน 300-400 Mbar ปรับลดลงเหลื่อ
200 Mbar เพื่อสงใหกับFuel Metering
Valve ของระบบเชื้อเพลิงเครื่องยนต

15

อุปกรณประกอบหลักของระบบเชื้อเพลิง
¾ โซลินอยดวาลวคู ( Double solenoid
valves )
¾ เปนโซลินอยดวาลวชนิดปกติปดคู ทํา
หนาที่ เปด-ปดกาซอัติโนมัติ จะรับคําสั่งมา
จาก EMCP II

16

8
12/12/2013

อุปกรณประกอบหลักของระบบเชื้อเพลิง
¾ วาลวควบคุมจังหวะการไหลของ
เชื้อเพลิง ( Fuel Metering Valve )
¾ ทําหนาที่ควบคุมจังหวะการไหลของ
เชื้อเพลิง เพื่อเขาไปผสมกับอากาศ โดย
ใช EGS Control System เปนตัว
ควบคุม

17

ภาพโดยรวมของ EGS
CONTROL SYSTEM และ
Fuel metering valve (TecJet)
MAP

TecJet

MPU

UEGO

18

9
12/12/2013

อุปกรณประกอบหลักของระบบเชื้อเพลิง
¾ ลิ้นเรง ( Throttle Valve )
¾ มีหนาที่ควบคุมปริมาณอากาศกับ
เชื้อเพลิงทีผสมกันแลว ใหไหลเขาไป
ในกระบอกสูบ ซึ่งจะเปนการควบคุม
ความเร็วของเครื่องยนต โดยจะทํางาน
รวมกับ PLC ที่ตู GCP

19

ระบบจุดระเบิดของเครื่องยนต G3516A
¾ Electronic Ignition System (EIS)
¾ แคตเตอรพิลลาร ใชระบบจุดระเบิดแบบ
อิเล็กทรอนิกส ( EIS )
¾ Electronic Control Module
¾ Ignition Transformer
¾ Spark Plug
¾ Manifold Pressure Sensor
¾ Speed /Timing Sensor
¾ Detonation Sensor
20

10
12/12/2013

คุณสมบัตขิ อง EIS
¾ Electronic Control Module
¾ สามารถกําหนดและปรับระยะเวลาการเผา
ไหมใหเปนไปตามที่ระบุไวตามขอมูลของ
ลูกคาและสภาพการทํางานของเครื่องยนต
¾ สรางรหัสการวินิจฉัยหากมีความบกพรอง
เกิดขึ้น โดยใชเครื่องมือ DDT หรือ ET ใน
การตรวจสอบ

21

คุณสมบัตขิ อง EIS
¾ หมอแปลงจุดระเบิด (Ignition Transformer)
¾ ทําหนาที่เพิ่มแรงเคลื่อนไฟฟาตํา 108 โวลต
เปนเคลื่อนไฟฟาแรงสูงถึง 31000 โวลต เพื่อให
แรงเคลื่อนไฟฟากระโดคขามเขี้ยวหัวเทียน
ตามจังหวะการจุดระเบิดของเครื่องยนต
¾ หัวเทียน ( Spark plug )
¾ เปนอุปกรณที่ใหประกายไฟฟาสําหรับจุด
ระเบิดเชื้อเพลิงของเครื่องยนต

22

11
12/12/2013

คุณสมบัตขิ อง EIS และตําแหนงของ SENSOR

23

คุณสมบัตขิ อง EIS และตําแหนงของ SENSOR


¾ เซ็นเซอรวัดความดันอากาศในทอ
รวมไอดี (Manifold Air Pressure
Sensor)
¾ ตัวรับสัญญาณแรงดันจากทอรวม
ไอดี เพื่อสงสัญญาณไปยัง EIS
¾ EIS ใชโมดูลนีเ้ พื่อคํานวณโหลด

24

12
12/12/2013

คุณสมบัตขิ อง EIS และตําแหนงของ SENSOR


¾ Speed /Timing Sensor & Timing Disc
¾ เซ็นเซอรตรวจจับความเร็วรอบและ
ตรวจจับจังหวะของเครื่องยนต จาก
แผนดิสก ที่ติดตั้งติดกับเพลาลูกเบี้ยว
ทายเครื่องยนต เพื่อสงสัญญาณไปให
EIS เพื่อประมวลผลในการทํางานของ
ระบบจุดระเบิด

25

คุณสมบัตขิ อง EIS และตําแหนงของ SENSOR


¾ เซ็นเซอรรับสัญญาณการเผาไหมผิดปกติ (Detonation
Sensor )
¾ เปนตัวรับสัญญาณการเผาไหมของเครื่องยนต ที่ติดตั้ง
อยูที่ดานซายและดานขวาของเครื่องยนต
1. Buffer module โมดูลบัฟเฟอร ¾ ตัวรับสัญญาณจะสรางแรงดันไฟฟา เมื่อมีแรงดันหรือ
2. Accelerometer มาตรความเรง แรงกระแทก เมื่อการเผาไหมผิดปกติ และจะสง
สัญญาณไปยัง EIS
¾ เซ็นเซอรจะตรวจสอบอยางตอเนื่องสําหรับการเผา
ไหมของเครื่องยนตเพื่อปองกันการเผาไหมผิดปกติ
โดยการปรับไฟใหออนลง หรือสังดับเครื่องยนต เพื่อ
ไมใหเครื่องยนตเปนอันตราย
26

13
12/12/2013

การตรวจเช็คและบํารุงรักษาระบบเชื้อเพลิง
¾ ระบบจุดระเบิดของเครื่องยนต
¾ ตรวจเช็คปรับแตงหัวเทียนทุก 1000
¾ ตรวจเช็คเปลี่ยนหัวเทียน 1000 - 3000 ชม. พรอม
เปลี่ยนซีลโอลิงที่ ชุดหมอแปลงของหัวเทียน

greater than 9:1, set the electrode gap to 0.29 ± 0.03 mm


Tighten the spark plug in the cylinder head to the following torque. ... 68 ± 4 N·m (50 ± 3 lb.ft
27

การตรวจเช็คและบํารุงรักษาระบบเชื้อเพลิง

28

14
12/12/2013

ระบบหลอเย็นเครื่องยนต (Cooling System)


Cooling system is closed and PRESSURIZED

29

A/C

J/W
30

15
12/12/2013

ระบบหลอเย็นเครื่องยนต (Cooling System)


¾ แรงคันน้ําในระบบ J/W ควรอยู
ที่ประมาณ 1 bar ถึง 3 bar
ตลอดเวลา
¾ ถาแรงดันน้ําในระบบ J/W ตกลง
1.2 bar
ต่ํากวา 1 bar เครื่องยนตจะถูกสั่ง
ดับโดยระบบปองกันทีต่ ู GCP
¾ ใหตรวจเช็คหาสาเหตุ อาจเกิด
1 bar Pressure
Switch Shutdown การรั่วไหลเกิดขึ้น

31

ระบบหลอเย็นเครื่องยนต (Cooling System)


¾ น้ํายาเติมหมอน้ํา ชนิด (SCA)
¾ ใชเติมผสมกับน้ําสะอาด
¾ ความเขมขน 6 - 8 %
¾ เติมเพิ่มทุกๆ 1000 ชั่วโมง
¾ เปลี่ยนถายน้ําและน้ํายา SCA ทุก 16000
ชั่วโมง หรือ 2 ป
P/N 217-0616
J/W =1,240
A/C = 635
32

16
12/12/2013

เริ่มแรก

บํารุงรักษา

33

ระบบหลอลื่น ( Lubrication System )


¾ น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต
¾ ตองทําหนาที่หลอลื่นชิ้นสวนเคลื่อนไหวทุกชิ้นเ
¾ เพื่อปองกันการสึกหรอ ลดแรงเสียดทาน และเพิ่ม
ประสิทธิภาพของเครื่องยนต
¾ ตองทําหนาทีเ่ ปนซีลเพื่อรักษากําลังอัดในกระบอกสูบและ
ระบายความรอน
¾ ตองรักษาและปองกันเครื่องยนตจากของเสียที่ไดจากการ
เผาไหม เชน เขมา และกรดกํามะถัน น้ํา
¾ ตองชวย ชะลางและกระจายคราบเขมาในเครื่องยนต
¾ ตองมีคุณสมบัตเิ ปนดางเพื่อทําปฏิกิริยากับกรดกํามะถันที่
ไดจากการเผาไหม เพื่อปองกันการกัดกรอนและสนิม
34

17
12/12/2013

การตรวจเช็คระบบหลอลื่น
¾ ระบบน้ํามันหลอลื่น (Lubrication System)
1. "FULL" mark ¾ ตรวจเช็คระดับน้ํามันเครื่อง ใหระดับ
2. "ADD" mark น้ํามันเครื่องอยูระหวางขีด add และ full
ขณะที่เครื่องยนตหยุดนิ่ง สําหรับขอมูลของ
การเลือกใชน้ํามันที่ถูกตอง ใหศึกษาจากคูมือ
ความจุ 423 L O & M Manual
¾ เช็ครอยรั่วที่บริเวณ ซีลเพลาขอเหวี่ยง อาง
น้ํามันเครื่อง กรองน้ํามันเครื่อง ปลั๊กอุด
ทางเดินน้ํามันที่เสื้อสูบ เซ็นเซอร ตางๆ และ
ฝาครอบวาลว
¾ ตรวจเช็คทอทางเดินของทอหายใจ
น้ํามันเครื่อง
35

ระบบหลอลื่น
¾ กรองและน้ํามันเครื่อง เปลีย่ นทุก
750 -1000 ชม. ขึ้นอยูกับผล S.O.S
¾ น้ํามันเครื่อง ใชตามมาตรฐาน API
และเปนน้ํามันหลอลื่นเกรด SAE40 โม
บิล ปกาซัส 605
¾ เก็บตัวอยางน้าํ มันเครื่องไปวิเคราะห
( S.O.S ) เพื่อตรวจสภาพเครื่องยนต
และ ดําเนินการบํารุงรักษา

36

18
12/12/2013

ระบบสตารท ¾ ใชแบบมอเตอรสตารทไฟฟา 24 Vdc 2 ตัวขนาน


แบต 200 Ahr 4 ลูก 120 Ahr ใชชุด Control Gen
¾ ปญหาของมอเตอรสตารทไฟฟาอาจเกิดจาก การ
ทํางานที่ผิดปกติของโซลินอยด และระบบมอเตอร
สตารทไฟฟา สามารถตรวจดูระบบมอเตอร
สตารทไฟฟาดังตอไปนี้
¾ การหลุดหลวมที่จุดตอสาย
¾ การกัดกรอน
¾ สายขาดหรือเสื่อม
¾ ความสะอาด
¾ ทําการซอมแซม ตามที่จําเปน
37

การตรวจเช็คระบบแบตเตอรี่และชุดชารจ
¾ ถอดฝาเติมแบตเตอรี่ ตรวจดูระดับน้ํากรด วาที่ตําแหนง “FULL” ถา
จําเปนตองเติมน้ําใหใชนํากลั่น ถาไมมีน้ํากลั่นใหใชน้ําทีม่ ีการเจือปนของ
โลหะต่ํา (Softened water)
¾ ตรวจสภาพของน้ํากรด โดยการวัดคา ถ.พ. ( 1.225 )
¾ รักษาแบตเตอรี่ใหสะอาดอยูเสมอ
¾ ลางทําความสะอาดดวยน้ําสะอาดบริเวณเปลือกหุมแบตเตอรี่ ใชกระดาษ
ทรายทําความสะอาดขั้วแบตเตอรี่ และตัวรัดแบตเตอรี่ จนกระทั่งสะอาดขึ้น
เงา เคลือบตัวรัดสายและขั้วแบตเตอรีด่ วย 5N-5561 Silicone Lubricant
เจลปโตเลียม หรือ จาระบี MPGM
¾ เปลี่ยนแบตเตอรี่ตามความเหมาะสม
38

19
12/12/2013

ระบบนําอากาศและบบไอเสีย
¾ กรองอากาศเปาได 6 ครั้ง/1 ปใช
แรงลมเปาที่ 30 psi หรือตรวจดูจากตัว
บอกสภาพกรองอากาศความดัน
แตกตาง Min 10 Max 15 นิ้วน้ํา
¾ เปลี่ยนทุก 1000 ชม.
¾ ทอรวมไอดีตรวจเช็ค
¾ เทอรโบตรวจเช็คสภาพ
¾ ทอรวมไอเสียและทางออกตรวจเช็ค

39

ขอมูลเครื่องกําเนิดไฟฟา
¾ เครื่องกําเนิดไฟฟารุน SR4B
¾ Permanent Magnet
¾ Form Wound, Bearing
¾ RTDs for Stator Winding Temperatures
¾ 6 Lead
¾ Reactive Droop
¾ Class H insulation with Class F temperature rise,
¾ 105°C temperature rise
¾ SR4B w/ Caterpillar Digital Voltage Regulator
(CDVR) 3-phase sensing
40

20
12/12/2013

ภาพโดยรวมของวงจรเครื่องกําเนิดไฟฟา
¾ วงจรชุดเครื่องกําเนิดไฟฟา SR4B
¾ ไดโอด (CR1-C6)
¾ วาริสเตอร (CR7)
¾ ขดลวดชุด Exciter (L1) (Stator)
¾ อารเมเจอร Exciter (L2) (Rotor)
¾ เมนโรเตอร(L3)(Rotor)
¾ เมนอารเมเจอร (L4) (Stator)
¾ อารเมเจอรPilot Exciter (L5)
¾ แมเหล็กถาวร (PM)
¾ รีซิสเตอร (R5)
¾ หมอแปลง (CT1)
¾ ขั้วตอสาย (T0, T1, T2, T3, T7, T8, T9)
41

42

21
12/12/2013

การบํารุงรักษาเครื่องกําเนิดไฟฟา - ปกติ
¾ ระหวางการดําเนินการ ชุดเครื่องกําเนิดไฟฟา
¾ ตรวจสอบ Phase current, Neutral
current, Voltage, Frequency, Power
Factor, Harmonic content, and Load
¾ ตรวจสอบ variation
¾ ตรวจสอบ Room Temperatures
¾ ตรวจสอบ Bearing and Stator
temperatures
¾ ตรวจสอบ Alarm and Shutdown

43

การบํารุงรักษาเครื่องกําเนิดไฟฟา - ตามระยะเวลา
¾ หลังจากหยุดเครื่องกําเนิดไฟฟาสําหรับการ
บํารุงรักษาตามระยะเวลา
¾ การบํารุงรักษาในชวงระยะเวลาจะ ¾ ตรวจ Main Stator & Rotor, Exciter,
ขึ้นอยูกับการประยุกตใช OMM ที่ and PMG
เกี่ยวของ ¾ ทําความสะอาด (Moisture, Salt, Dirt,
¾ ตรวจสอบเครื่องกําเนิดไฟฟา เศษวัตถุ Grease, Oil)
แปลกปลอม การรั่วไหลและการ ¾ ตรวจเช็ค space heaters
เชื่อมตอที่อาจหลุดหลวม, อุปกรณที่หัก
¾ ตรวจเช็ค Air Gap (main generator,
, การเสียดสีที่ทําใหเกิดความเสียหาย
exciter, & PMG)
ของสายไฟและสวนประกอบ ซอมแซม
ตามความจําเปน ¾ ทดสอบสภาพการเปนฉนวน

44

22
12/12/2013

ภาพโดยรวมของ EMCP ll+ และตู GCP

45

ตําแหนง SENSOR ของ EMCP II+


Temperature Sensor
Pressure Sensor

ตัวรับสํญญาณแรงดันน้ํามันเครื่องยนต

ตัวรับสัญญาณอุณหภูมิ
Speed Sensor
ตัวรับสัญญาณความเร็วรอบเครื่องยนต

46

23
12/12/2013

การใชงานตูควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟา EMCP II+


¾ แผงควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟา - Generator
Set Control +
¾ ระบบสตารท (Starting System)
¾ ปุมหยุดฉุกเฉิน (Emergency Stop Button)
¾ สวิตชเปดปดหลอดไฟ
¾ สวิตชปรับรอบและโวลต
¾ สวิตช Reset

47

2
การใชงานตูควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟา EMCP II+
4 1. EMCP II+
2. หลอดไฟสีแดงแสดง Fault Shutdown
3. หลอดไฟสีเหลืองแสดง Fault Alarm
3
4. จอแสดงคาดานบน แรงดันไฟฟา ความถี่
กระแสไฟฟา และรหัสปญหา
5 5. จอแสดงคาดานลาง ดานซายมือแสดงคา
ทางกําลังไฟฟา ทางดานขวามือแสดงคา
ของระบบเครื่องยนต
6 6. ปุมกด ดูคา Parameter บนหนาจอ
3

48

24
12/12/2013

หลอดไฟแสดงคาความผิดปกติของเครื่องยนต
¾ หลอดไฟสีแดงเตือนแรงดันน้ํามันหลอลื่นต่ํา Shutdown
¾ Shutdown set point 30 psi
¾ กอนถึง set point 5 psi หลอดไฟสีเหลือง Alarm จะแสดง
เตือน
¾ ในการReset Low oil pressure Shutdown ตองบิด ECS มา
ที่ตําแหนง OFF/RESET

49

หลอดไฟแสดงคาความผิดปกติของเครื่องยนต
¾ หลอดไฟสีแดงเตือนสวิทวดบั เครื่องยนตฉกุ เฉิน
(Emergency Stop)
¾ ใชในกรณีดับเครื่องฉุกเฉิน
¾ ในการ Reset Emergency Stop ตอง Reset ที่ Switch กอน
และถึงจะไป Reset ที่ ECS โดยการบิดสวิทว ไปทีต่ ําแหนง
Off/Reset

50

25
12/12/2013

หลอดไฟแสดงคาความผิดปกติของเครื่องยนต
¾ หลอดไฟสีแดงเตือนอุณหภูมน้ําหลอเย็นสูง Shutdown
¾ Shutdown Set point 120 ̊c
¾ Alarm Set point 114 ̊c
¾ ในการ Reset High Water Temp ตองบิด ECS มาที่
ตําแหนง OFF/RESET

51

หลอดไฟแสดงคาความผิดปกติของเครื่องยนต
¾ หลอดไฟสีแดงเตือนเครื่องยนตรอบสูงเกิน Shutdown
¾ ปองกันรอบของเครื่องยนตสูงเกิน
¾ Shutdown Setpoint 2210 rpm.
¾ ในการ Reset Engine Overspeed ตองบิด ECS มาที่
ตําแหนง OFF/RESET

52

26
12/12/2013

หลอดไฟแสดงคาความผิดปกติของเครื่องยนต
¾ หลอดไฟสีแดงเตือน Overcrank Shutdown
¾ ปองกันชุด Starting Motor ไหม
¾ Set point 5 ครั้ง. เวลารวม 90sec. Start 10sec. Stop
10sec.
¾ ในการ Reset Overcrank ตองบิด ECS มาที่ตําแหนง
OFF/RESET

53

หลอดไฟแสดงคาความผิดปกติของเครื่องยนต
¾หลอดไฟสีแดงเตือน Fault Shutdown
¾ สีแดงจะกระพริบเมื่อเกิด Shutdown Fault ทั้งหมด
¾ Fault Code จะแสดงที่จอดานบน
¾ ในการ Reset Fault Shutdown ตองบิด ECS มาที่ตําแหนง
OFF/RESET

54

27
12/12/2013

หลอดไฟแสดงคาความผิดปกติของเครื่องยนต
¾หลอดไฟสีเหลืองแสดง Fault Alarm
¾ สีเหลืองจะกระพริบเมื่อ GSC ตรวจพบสิ่งผิดปกติ
¾ Alarm Code จะโชวที่จอดานบน
¾ สามารถกดดู Alarm code ไดที่ปมุ กด Alarm

55

การสตารทแบบ Manual (Manual Starting)


¾ การสตารทเครื่องโดย Manual ใหทําการหมุน
สวิทซควบคุมเครื่องยนตไปที่ตําแหนง
“MAN. START”
¾ หลังจากที่ติดตั้งเครื่องยนตแลว ควรทําการ
ตรวจสอบระบบตัวตรวจจับสัญญานตางๆของ
เครื่องยนตเพื่อดูวามีสิ่งผิดปกติใด ๆ หรือไม
¾ ตรวจมาตรวัดทุกตัวระหวางที่ทําการอุน
เครื่อง
สวิทซควบคุมเครื่องยนตอยูในตําแหนง “MAN. START”
¾ เดินรอบเครื่องเพื่อตรวจดูวามีของเหลวใด ๆ
หรือ อากาศรั่วซึม หรือไม
56

28
12/12/2013

การสตารทแบบอัตโนมัติ (Automatic Starting)


¾ คําเตือน! เมื่อเครื่องยนตอยูในโหมดการทํางาน
แบบอัตโนมัติ เครื่องยนตสามารถสตารทไดทุก
เวลา เพื่อหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บ อยูใหหางจาก
เครื่องยนตอยูเสมอ ขณะที่เครื่องยนตอยูใน
โหมดการทํางานแบบอัตโนมัติ
¾ หมุนตําแหนงของสวิทซควบคุมเครื่องยนตไป
ที่ตําแหนง “AUTO” เครื่องยนตจะสตารทโดย
อัตโนมัติตามสัญญาณ Start/Stop จากตู GCP

57

การหยุดเครื่องยนต (Engine Stopping)


¾ การหยุดเครื่องยนตฉุกเฉิน (Emergency Stopping)
¾ อุปกรณควบคุมการหยุดเครื่องยนตฉุกเฉิน ใชในการ
หยุดเครื่องยนตฉุกเฉินเทานั้น หามใชอุปกรณควบคุม
การหยุดเครื่องยนตฉุกเฉินในการหยุดเครื่องยนต
ตามปกติ
¾ ปุมหยุดฉุกเฉินจะอยูในตําแหนง “OUT” เมื่อ
เดินเครื่องปกติ กดเพื่อหยุดฉุกเฉินเครื่องยนต
เครื่องยนตจะไมสามารถสตารทไดเมื่อปุมนี้อยูที่
ตําแหนง“LOCKED” หมุนปุมนี้ตามเข็มนาฬิกา เพื่อ
“RESET”
58

29
12/12/2013

ขั้นตอนการหยุดแบบ MANUAL (Manual Stop Procedure)


¾ เมื่อหมุนสวิทซควบคุมเครื่องยนตมาที่
ตําแหนง “OFF/RESET“ เครื่องยนตจะดับ
ทันที
¾ เมื่อหมุนสวิทซควบคุมเครื่องยนตมาที่
ตําแหนง “COOLDOWN/STOP” ถา GSC
ไดรับการตั้งโปรแกรมใหทํางานแบบ
Cooldown เครื่องจะเดินตอไปจนพน
ชวงเวลา Cooldown แลวจึงดับ ถาเครื่อง
ไมไดรับการตั้งโปรแกรมไวเครื่องจะดับทันที

59

การหยุดแบบอัตโนมัติ (Automatic Stopping)


¾ เครื่องจะหยุดอัตโนมัติไดตอเมื่ออยูในโหมด
การทํางานแบบอัตโนมัติ และ สัญญาณ
Start/Stop เครื่องเปดวงจรออก ถามีการตั้ง
โปรแกรมใชงานแบบ Cooldown เครื่องจะ
เดินตอไปจนพนชวงเวลา Cooldown แลวจึง
ดับ ถาไมไดรับการตั้งโปรแกรมไวเครื่องจะ
ดับทันที

60

30
12/12/2013

61

ตูควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟา (GENERATOR CONTROL PANEL)


¾หนาตูจัดใหมีอุปกรณใหใชงานดังนี้
¾ Auto and Manual Operation On
Dead Bus Switch
¾ Auto and Manual Operation On
Live Bus
¾ Auto and Manual Operation Fan
Switch
¾ LCD Touch Screen Display
¾ Emergency Shutdown Switch
¾ Off / Reset Shutdown Switch

62

31
12/12/2013

การใชงานตูควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟา (GCP )
¾ เมนูหลัก (Main Manu)
¾ Generator Metering
¾ Engine Metering
¾ Power Management
¾ Engine / Generator Control
¾ Synchronizing Control
¾ Support
¾ Heavy Fault
¾ Medium Fault
¾ Light Fault
¾ Fault History
¾ Fault History
¾ PLC Signal
63

การใชงานตูควบคุมเครือ่ งกําเนิดไฟฟา (GCP )


¾ หนาที่และการทํางานของตู GCP
¾ แสดงผลอยางตอเนื่องและการตรวจสอบ
generator voltage, frequency, ampere, power
factor, 3 phases active power, reactive power
and operating hours.

64

32
12/12/2013

การใชงานตูควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟา (GCP )
¾ ในการแสดงผลอยางตอเนื่องของ
generator voltage, frequency,
ampere, power factor, 3 phases
active power, reactive power and
operating hours.
¾ จะถูกบันทึกเก็บไวใน Data
Logging History

65

การใชงานตูควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟา (GCP )
¾ หนาที่และการทํางานของตู GCP
¾ ปองกันความผิดพลาดที่เกิดใน
ระหวางการทํางานของเครื่องยนต/
เครื่องกําเนิดไฟฟา หรือระบบไฟฟา
¾ Heavy Fault
¾ รายการแสดงสภาวะความผิดปกติชุด
ควบคุมจะทําการปลด BREAKER
ออก และดับเครื่องยนต พรอมเสียง
ในการ Reset ตองบิด ECS มาที่ตําแหนง เตือน
OFF/RESET ที่ GCP และ EMCP II

66

33
12/12/2013

การใชงานตูควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟา (GCP )
¾ หนาที่และการทํางานของตู GCP
¾ Medium Fault
¾รายการแสดงสภาวะความผิดปกติ
ชุดควบคุมจะทําการปลด
BREAKER ออก พรอมเสียงเตือน

67

การใชงานตูควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟา (GCP )
¾ หนาที่และการทํางานของตู GCP
¾ Light Fault
¾ รายการแสดงสภาวะความผิดปกติ
จะมีเสียงเตือนขึ้นมาเครื่องยนตไม
ถูกสั่งดับ

68

34
12/12/2013

การใชงานตูควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟา (GCP )
¾ ในรายการแสดงสภาวะความ
ผิดปกติ Heavy Fault, Medium
Fault, Light Fault จะถูกบันทึก
ไวใน Alarm History

69

การใชงานตูควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟา (GCP )
¾ หนาที่และการทํางานของตู GCP
¾ ทําหนาที่ตดั และตอวงจรไฟฟา
ของเครื่องกําเนิดไฟฟาไปยังบัสโดย
ใช เซอรกิจเบรคเกอรของเครื่อง
กําเนิดไฟฟา 52G

70

35
12/12/2013

การใชงานตูควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟา (GCP )
¾ หนาที่และการทํางานของตู GCP
¾ ทําหนาทีค่ วบคุมความเร็วรอบ
ของเครื่องยนต และแรงดันไฟฟา

71

การใชงานตูควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟา (GCP )
¾ หนาที่และการทํางานของตู GCP
¾ To provide synchronization: The
Generator Control Panel is
equipped with the synchronizing
equipments, which allow the
generator to be synchronized to the
live common bus bar and load
sharing.

72

36
12/12/2013

การใชงานตูควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟา (GCP )
¾ หนาที่และการทํางานของตู GCP
¾ แสดงสัญญาณของ PLC
¾ หนาจอสัมผัสนี้จัดใหแสดงภาพ
โดยรวมของ สัญญาณดิจิตอล
input และ output ของ PLC

73

การใชงานตูควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟา (GCP )-กอนเริ่มเดินเครื่อง


¾ ตรวจสอบใหแนใจวาไมมี fault เกิดขึ้น โดย
ตําแหนงของ สวิซตองอยูในตําแหนง off/reset
ที่ EMCP II+ อยูที่ ตําแหนง Auto
¾ ตรวจสอบใหแนใจวารีเลยปอ งกันถูกตั้งคาไว
ถูกตอง
¾ตรวจสอบใหแนใจวาคาอุณหภูมิ ระดับน้ํา
ระดับน้ํามันเครื่อง แรงดัน และคา CH4 ของ
เครื่องกําเนิดไฟฟาอยูในชวงพรอมใชงาน

74

37
12/12/2013

โหมดการใชงานของตู GCP
¾ Base Load Mode.
¾ กอนทําการ close circuit breaker
ตรวจเช็คและเช็ค base load Kilowatt เมื่อ
ตองการขนานกับการไฟฟา
¾ หลังจาก close circuit breaker เครื่อง
กําเนิดไฟฟาจะปรับโหลดไปยังคา base
load ที่ตงั้ ไว และคา Kilovar หรือคา
Power Factor จะควบคุมโดย PLC

75

การใชงานโหมด MANAUL
¾A
¾ ในการเชื่อมตอ Circuit Breaker
¾ ตองแนใจวาไมมี fault ที่ Generator
Protection Relay หรือที่ LCD Touch Panel
ถามีให เคลีย faults ใหหมดกอน
¾ เลือก Engine Control Switch(1E) จาก
Off/Reset Æ Stop ÆMan.

76

38
12/12/2013

การใชงานโหมด MANAUL
¾ [Step B]
¾ เครื่องกําเนิดไฟฟา อยูที่ 1500 รอบ 400 V ความถี่ 50 Hz
¾ Dead Bus
¾เลือก สวิทซควบคุม C.B. หมุนไปทางขวาแลวคางไว
ในตําแหนง (Close)
¾ Live Bus
¾generator จะออโต synchronizing – หมุน สวิทซ
ควบคุม C.B. ไปทางขวาแลวคางไวในตําแหนง
(Close)
¾Circuit Breaker closed
77

การใชงานโหมด MANAUL
¾ [Step C] การหยุดเครื่องกําเนิดไฟฟาที่ตู (GCP):
¾ Manual transfer load โดยปรับ Base Load มาที่ minimum load
¾ เลือก Circuit Breaker Control Switch (69) มาที่ตําแหนง
“OPEN”
¾ หรือเลือก Engine Control Switch (1E) มาที่ตําแหนง Man Æ
Stop โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา โหลดจะ transfer โดยอัตโนมัติ และ
open C.B เครื่องกําเนิดไฟฟา จะ cooldown และดับลง
¾ หลังจากเครื่องกําเนิดไฟฟาดับแลวใหเลือก Engine Control
Switch (1E) กลับไปที่ตําแหนง “OFF”

78

39
12/12/2013

การใชงานโหมด AUTO
¾ [Step AA]
¾ ในการเชื่อมตอ Circuit Breaker
¾ ตองแนใจวาไมมี fault ที่ Generator
Protection Relay หรือที่ LCD Touch Panel
ถามีให clear faults ใหหมดกอน
¾ เลือก Engine Control Switch(1E) จาก
Off/Reset Æ Stop Æ Auto.

79

การใชงานโหมด AUTO
¾ [Step BB]
¾ เครื่องกําเนิดไฟฟาอยูท ี่ 1500 รอบ 400 V 50 Hz
¾ Dead Bus
¾ circuit breaker จะ automatic closed
¾ Live Bus
¾ generator จะออโต synchronizing และ close
Circuit Breaker

80

40
12/12/2013

การใชงานโหมด AUTO
¾ [Step CC] ในการดับเครื่องกําเนิดไฟฟา
¾ ถาเลือก Engine Control Switch (1E) มาที่ Man. Manual
transfer load โดยการปรับ Base Load ให load นอยที่สุด
¾ เลือก Circuit Breaker Control Switch (69) มาที่ตําแหนง
“OPEN” หรือ เลือก Engine Control Switch (1E) มาที่
ตําแหนง “STOP” ชุดควบคุมจะทํางานออโต transfer load
และ open C.B เพื่อที่จะ stop gen set. (ใหหมุนสวิตชตามเข็ม
นาฬิกา Auto Æ Man Æ Stop )
¾ เครื่องกําเนิดไฟฟา จะ cooldown และดับลง หลังจากเครื่อง
กําเนิดไฟฟาดับแลวใหเลือก Engine Control Switch (1E)
กลับไปที่ตําแหนง “OFF”

81

Troubleshooting
Circuit Breaker cannot closed and open.
closed
1.1:Check the power supply for closing coil..
1.2:Aux.Closing Relay (3X) energize
1.3:Check the circuit at circuit breaker panel.
open
2.1:Check the power supply for under voltage coil.
2.2:Aux.Trip Relay (3Y) de-energize.
2.3:Check the circuit at circuit breaker panel

82

41
12/12/2013

การบํารุงรักษาชุดเครื่องกําเนิดไฟฟา BIO GAS รุน G3516A

83

กอนติดเครื่องยนต ปกติ ผิดปกติ


เดินตรวจรอบ ๆ ตัวเครื่องฯ หาสิ่งผิดปกติ
ระดับน้ํามันหลอลื่น (จากเล็กวัดดานเครื่องยนตดับ)
ระดับน้ําหลอเย็น
ระดับอุนน้ําหลอเย็น
ระดับน้ํากลั่นแบตเตอรี่
ขั้วแบตและสายแบตเตอรี่
ชุดชารจแบตเตอรี่
ระบบเชื้อเพลิง
สภาพกรองอากาศ
สายพานพัดลม, หมอน้ํา
เกจวัดดานเครื่องยนต และแผงควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟา
สาย MAIN และสาย CONTROL 84

42
12/12/2013

ขณะเครื่องยนตติด ปกติ ผิดปกติ


เดินตรวจรอบ ๆ ฟงเสียงผิดปกติและการเปดบานเกร็ด
ระดับน้ํามันหลอลื่น (จากเหล็กวัดดานเครื่องยนตติด)
แรงดันน้ํามันหลอลื่น
แรงเคลื่อนไฟฟา 400 โวลท
ความถี่ไฟฟา 50 เฮิรท
อุณหภูมิหลอเย็น
ความเร็วรอบเครื่องยนต 1500 RPM.
อุณหภูมิเชื้อเพลิง
คาทางไฟฟาของเครื่องกําเนิดไฟฟา
85

ขณะเครื่องยนตดับ ปกติ ผิดปกติ


สวิทซเครื่องยนตตองอยูตําแหนง “AUTO”
ระดับเชื้อเพลิงเ
กระแสชุดชารจแบตเตอรี่
รายงานของการตรวจเช็ค เพื่อแจงซอมอุปกรณที่ผิดปกติ

86

43
12/12/2013

การบํารุงรักษาชุดเครื่องกําเนิดไฟฟา BIO GAS รุน G3516A


ตารางระยะการบํารุงรักษาเครื่องยนตกาซ (Maintenance Interval Schedule)
¾ ทุกวัน Daily ¾ ทุก 4000 ชม.
¾ ทุก 125 ชม. ¾ ระหวาง 7500 และ 8000 ชม.
¾ ทุก 250 ชม. ¾ ทุก 8000 ชม.
¾ ครัง้ แรกที่ 1000 ชม. ¾ ระหวาง 22500 และ 24000 ชม.
¾ ทุก 750-1000 ชม. ¾ ทุก 24000 ชม.หรือ 3 ป
¾ ทุก 2000 ชม. ¾ ระหวาง 37500 และ 40000 ชม.

87

การบํารุงรักษาประจําวัน
¾ ถายน้ําและสิ่งเจือปนออกจากถังลม
¾ ตรวจเช็คการทํางานของแผงควบคุม ( Control Panel)
¾ ตรวจเช็คเรงดันในระบบหลอเย็น และระดับน้ําของระบบ
¾ ตรวจเช็ค/เปลี่ยน/หลอลื่น ของอุปกรณขับเคลื่อนตางๆ
¾ ตรวจเช็คตัวบอกสภาพกรองอากาศ ( Air Cleaner Indicator )
¾ เช็คระดับน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต
¾ เช็คความความดันแตกตางของกรองเชื้อเพลิงกาซ
¾ เดินตรวจดูรอบเครื่องยนต
¾เช็คจดบันทึกคาทางไฟฟา คาความรอนของขดลวดและลูกปน ของ Generator
88

44
12/12/2013

ตารางระยะการบํารุงรักษาเครื่องยนตกาซ (Maintenance Interval Schedule)


¾ ทุก 125 ชม.
¾ เก็บตัวอยางน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตไปตรวจวิเคราะหที่หองแล็บเมโทรฯ
¾ ทุก 250 ชม.
¾ ตรวจเช็คระดับน้ํากลั่นในหมอแบตเตอรรี่
¾ ครัง้ แรกที่ 1000 ชม.
¾ ทดสอบความเข็มขนของน้ํายาเติมระบบหลอเย็น ( SCA)
¾ เช็คชุดสปงแทนเครื่อง และ การสั่นของเครื่อง
¾ ตรวจเช็คทําความสะอาด Engine Speed Timing Sensor และ Speed Sensor
¾ วัดและจดบันทึก Valve Stem Projection
89

ตารางระยะการบํารุงรักษาเครื่องยนตกาซ (Maintenance Interval Schedule)


¾ ทุก 750-1000 ชม.
¾ ระบายน้ําออกจาก Aftercooler ที่เกิดจากการควบแนน
¾ ตรวจเช็คไดชารจ
¾ ตรวจเช็ค Crankshaft Vibration Damper
¾ ทําความสะอาดเครื่องยนตและเครื่องกําเนิดไฟฟา
¾ ตรวจเช็คอุปกรณสงจายระบบเชื้อเพลิง
¾ ทําความสะอาด Crankcase Breather ของเครื่องยนต
¾ เปลี่ยนถายน้ํามันหลอลื่นและกรองน้ํามันหลอลื่นของเครื่องยนต
¾ ปรับแตง Valve Lash และ Bridge ของเครื่องยนต
90

45
12/12/2013

ตารางระยะการบํารุงรักษาเครื่องยนตกาซ (Maintenance Interval Schedule)


¾ ทุก 750-1000 ชม.
¾ ตรวจเช็ค Valve Rotators ของเครื่องยนต
¾ ตรวจเช็คทอไอเสีย
¾ เช็ค Gas Pressure Regulator และถายน้ําที่เกิดจากการควบแนนออก
¾ ตรวจเช็ค/เปลียน Hoses and Clamps ที่ผิดปกติ
¾ ตรวจเช็ค/เปลี่ยน ระบบจุดระเบิดหัวเทียน
¾ เช็ค/ปรับแตง Ignition System Timing
¾ ตรวจเช็ค/เปลี่ยน ระบบไอดี/กรองอากาศ
¾ ทําความสะอาดหมอน้ํา
¾ ตรวจเช็คเครื่องกําเนิดไฟฟา
91

ตารางระยะการบํารุงรักษาเครื่องยนตกาซ (Maintenance Interval Schedule)


¾ ทุก 2000 ชม.
¾ หลอลื่น Actuator Control Lingage
¾ เก็บตัวอยางน้าํ หลอเย็นไปวิเคราะห
¾ ทอสอบ/เติมเพิ่ม น้ํายาเติมหมอน้ํา SCA
¾ ตรวจเช็ค/ทําความสะอาด Engine Speed Timing Sensor
¾ ตรวจเช็ค/ทําความสะอาด Engine Speed Sensor
¾ ตรวจเช็คการสั่นของเครื่องกําเนิดไฟฟา
¾ อัดจารบีลูกปนเครื่องกําเนิดไฟฟา
¾ ตรวจเช็คขดลวดของเครื่องกําเนิดไฟฟา
92

46
12/12/2013

ตารางระยะการบํารุงรักษาเครื่องยนตกาซ (Maintenance Interval Schedule)


¾ ทุก 4000 ชม.
¾ วัดและจดบันทึก Crankcase Blowby
¾ วัดและจดบันทึก แรงดันในกระบอกสูบ
¾ เช็คอุปกรณขับเคลื่อนตางๆ
¾ เช็คชุดสปงแทนเครื่อง และ การสั่นของเครื่อง
¾ เช็คระบบปองกันเครื่องยนต
¾ ตรวจเช็ค Exhaust Bypass
¾ ตรวจเช็ค มอเตอรสตารท
¾ ตรวจเช็คปมน้ํา
¾ ตรวจเช็ค เทอรโบชารจ
93

ตารางระยะการบํารุงรักษาเครื่องยนตกาซ (Maintenance Interval Schedule)


¾ ระหวาง 7500 และ 8000 ชม.
¾ Overhaul ( Top End ) ¾ ทุก 16000 ชม.
¾ ทุก 8000 ชม. ¾ เปลี่ยนน้ําและน้ํายา SCA ในหมอน้ํา
¾ เปลี่ยนวาลวน้ํา ¾ ระหวาง 22500 และ 24000 ชม.
¾ Overhaul ( In-Frame )
¾ เช็ค Rotating Rectifier
¾ ระหวาง 37500 และ 40000 ชม.
¾ ทดสอบ Insulation Gen ¾ Overhaul ( Major )

94

47
12/12/2013

¾ สิ่งที่ควรจดบันทึกไวเพื่อแจงปญหาที่เกิดขึ้นกับชางเมโทรแคต
¾ รุน ( Model ) ของเครือ่ งยนต เชน G3516
¾ ซีเรียลนัมเบอร ของเครื่องยนต เชน 4EK05300
¾ ชั่วโมงการทํางานของเครื่องยนต (SMU)….. Hr.
¾ รหัสปญหาที่เกิดขึ้นบนหนาจอ เชน CID 190 FMI 3
¾ บอกถึงอาการกอนและขณะที่เกิดปญหา

บุคคลที่สามารถติดตอประสานงาน บริการหลังการขาย
¾ นาย สมเกียรติ ชวิศเจริญวงศ โทร 084-874-3642 ผจก. ขายเครื่องยนตกาซ
¾ นาย อรุณ มาประทุม โทร. 084 874 3656 ผูจัดการบริการเครื่องกําเนิดไฟฟา
¾ นาย สุชาติ สุวรรณเจริญ โทร. 084 874 3657 หัวหนาบริการเครื่องกําเนิดไฟฟา
¾ นาย สมบูรณ พุมพวง โทร. 084 874 3614 หัวหนาสวนบริการดานทดสอบ
¾ นาย นายสุพจน เลาหะเศรษฐศิริ โทร 084-874-3645
EMERGENCY CALL
¾สวนกลาง 02-742-8000
¾นาย อรุณ มาประทุม โทร. 084 874 3656 ผูจัดการบริการเครื่องกําเนิดไฟฟา

96

48
12/12/2013

12/12/2013 97

12/12/2013 98

49

You might also like