You are on page 1of 158

กอนเริ่มใชงาน

สารบัญ

ดัชนีการใชงานดวน

กลองดิจิตอล 1. การเตรียมกลอง

TG-6 2. ถายภาพ

คูมือแนะนําการใชงาน 3. แสดงภาพ

4. ฟงกชั่นเมนู

5. การเชื่อมตอกลองกับสมารทโฟน

6. การใชขอมูล Field Sensor

7. การเชื่อมตอกับคอมพิวเตอร

8. ขอควรระวัง

9. การแกไขปญหา

10. ขอมูล

11. ขอควรระวังในเรื่องความปลอดภัย

Model No. : IM015

ขอบคุณทีเ่ ลือกซื้อกล องดิจต


ิ อล Olympus ศึกษาคูม
 อ
ื นีใ้ นขณะทีใ่ ช งานกล องเพือ
่ ให แนใจวาทานกําลัง
ใช ผลิตภัณฑอยางปลอดภัยและถูกต อง
โปรดอานและทําความเข า ใจเนือ ้ หาใน “11. ข อควรระวังในเรื่องความปลอดภัย” กอนเริ่มใช งานผลิตภัณฑ
เก็บคูม
 อ
ื การใช งานนีไ้ ว สําหรับใช อ า งอิงในอนาคต
เราขอแนะนําให ท
 า นทดลองถายภาพ เพือ
่ ให คุ น
 เคยกับกล องกอนทีจ
่ ะถายภาพสําคัญ
ภาพประกอบหน า จอและกล องทีป
่ รากฏในคูม
 อ
ื นีไ้ ด จ ด
ั ทําขึน
้ ระหวางขัน
้ ตอนการพัฒนา และอาจแตกตาง
จากผลิตภัณฑจริง
เนือ
้ หาจะแตกตางออกไปหากมีการเพิ่มและ/หรือการแก ไขฟ งกชั่นเนือ
่ งจากการอัพเดทเฟ ร ม
 แวร ส
 ําหรับ
กล อง โปรดเยีย
่ มชมเว็บไซต Olympus เพือ
่ ดูข อมูลลาสุด
กอนเริ่มใชงาน

อานและปฏิบัติตามขอควรระวังเพื่อความปลอดภัย
ในการปองกันไมใหเกิดการใชงานที่ไมถูกตองจนทําใหเกิดไฟไหมหรือความเสียหายอื่นๆ ตอ
กอนเริ่มใชงาน

ทรัพยสินหรือรางกาย หรืออื่นๆ โปรดอาน “11. ขอควรระวังในเรื่องความปลอดภัย” (หนา 148)


ใหครบถวนกอนเริ่มใชงานกลอง
ศึกษาคูมือนี้ในขณะที่ใชงานกลองเพื่อใหแนใจวาทานกําลังใชผลิตภัณฑอยางปลอดภัยและถูก
ตอง โปรดเก็บคูมือการใชงานนี้ไวในที่ปลอดภัยเมื่ออานแลว
Olympus จะไมรับผิดชอบตอการละเมิดขอบังคับทองถิ่นที่เกิดขึ้นจากการใชผลิตภัณฑนี้นอก
ประเทศหรือภูมิภาคที่ซื้อ
LAN ไรสายและ GPS
กลองถายรูปนี้มีระบบ LAN ไรสายและ GPS อยูในตัวกลอง การใชคุณลักษณะตางๆ ดังกลาวนอก
ประเทศหรือภูมิภาคของทานอาจกอใหเกิดการละเมิดกฎขอบังคับทองถิ่นในเรื่องของสัญญาณไร
สายได; กรุณาตรวจสอบใหแนใจวา ทานไดตรวจสอบในเรื่องดังกลาวกับหนวยงานทองถิ่นกอนที่
จะใชงานกลองถายรูป Olympus จะไมรับผิดชอบแตอยางใดในกรณีที่ผูใชงานไมปฏิบัติตามกฎขอ
บังคับทองถิ่น
ปดใช LAN ไรสายและ GPS ในบริเวณที่หามใชงาน g “5. การเชื่อมตอกลองกับสมารทโฟน”
(หนา 106), “6. การใชขอมูล Field Sensor” (หนา 111)

การลงทะเบียนผูใช
เยี่ยมชมเว็บไซต OLYMPUS สําหรับขอมูลเกี่ยวกับการลงทะเบียนผลิตภัณฑ OLYMPUS ของทาน

2 TH
คูมือของผลิตภัณฑ
นอกเหนือจาก “คูมือแนะนําการใชงาน” (pdf นี้) ก็ยังมีเอกสารสําหรับผลิตภัณฑนี้ ไดแก “การ

กอนเริ่มใชงาน
รักษาคุณสมบัติปองกันนํ้า” (ใหมาดวย) ศึกษาคูมือเหลานี้เมื่อใชงานผลิตภัณฑ

คูมือแนะนําการใชงาน (pdf นี้)


คูมือวิธีใชกลองและคุณสมบัติตางๆ ของกลอง ดาวนโหลดคูมือแนะนําการ
ใชงานไดจากเว็บไซต OLYMPUS หรือใชไดโดยตรงจากแอพสมารทโฟน
“OLYMPUS Image Share” (OI.Share)

การรักษาคุณสมบัติปองกันนํ้า
เอกสารนี้จะระบุขอควรระวังเกี่ยวกับระบบกันนํ้า โปรดอานคําแนะนําเหลานี้ที่
“ขอมูลสําคัญเกี่ยวกับคุณสมบัติการกันนํ้า และ กันแรงกระแทก” (หนา 123)

ขอบงชี้ที่ใชในคูมือนี้
เครื่องหมายตอไปนี้จะถูกใชตลอดคูมือนี้

$ หมายเหตุ จุดที่ควรทราบเมื่อใชงานกลอง

g หนาอางอิงที่อธิบายรายละเอียดหรือขอมูลที่เกี่ยวของ

TH 3
สารบัญ

กอนเริ่มใชงาน 2 การเลือกโหมดถายภาพที่เหมาะกับ
ฉาก (โหมด SCN) .................... 28
สารบัญ

[Live Composite]: การถายภาพ Live


ดัชนีการใชงานดวน 8 Composite .............................. 31
พาโนรามา ............................... 32
ชื่อชิ้นสวนตางๆ 10
การถายภาพระยะใกล
(Microscope) (โหมด k) .......... 33
1. การเตรียมกลอง 12 การเลือกการตั้งคาที่เหมาะกับฉากใต
แกะกลองผลิตภัณฑ .................. 12 นํ้า (โหมด ^) ........................ 34
การใสและถอดแบตเตอรี่และ โหมดโปรแกรมอัตโนมัติ
การด ....................................... 13 (โหมด P) ................................ 35
การถอดแบตเตอรี่...................... 14 การเลือกรูรับแสง (โหมด A) ...... 36
การถอดการด ........................... 15 โหมดกําหนดเอง
การดที่ใชได ............................ 15 (Custom mode C1/C2) .......... 37
การชารจแบตเตอรี่ .................... 16 การบันทึกการตั้งคา ................... 37
รีเซ็ตการตั้งคา .......................... 37
การเปดกลอง ............................ 17
การบันทึกภาพเคลื่อนไหว........... 38
การตั้งคาเริ่มตน ........................ 18
การบันทึกภาพเคลื่อนไหวในโหมด
กลองแสดงภาษาที่อานไมได/ ถายภาพ .................................. 38
ไมใชภาษาที่เลือก ..................... 20
การบันทึกภาพเคลื่อนไหวในโหมด
การฟอรมแมทการด .................. 21 ภาพเคลื่อนไหว (โหมด n) ........ 39
การใชการตั้งคาตางๆ ................ 40
2. ถายภาพ 22
การตั้งคาที่สามารถเขาถึงไดผานปุม
ขอมูลที่แสดงในขณะถายภาพ..... 22 สั่งตรง ..................................... 41
การสลับหนาจอแสดงขอมูล ......... 24 การควบคุมการรับแสง
การถายภาพพื้นฐาน .................. 25 (คาแสง F)............................. 41
การถายภาพ (โหมดอัตโนมัติ)...... 25 ซูม (ดิจิทัลเทเลคอน) ................ 42
การใชงานระบบซูม .................... 26 การถายภาพตอเนื่อง/ตั้งเวลา ....... 42
การเลือกโหมดถายภาพ ............. 27 Pro Capture ............................ 44
ประเภทของโหมดถายภาพ .......... 27 การใชแฟลช (การถายภาพโดยใช
แฟลช) ................................... 45
การล็อคโฟกัส .......................... 46
การใชไฟ LED .......................... 47

4 TH
การตั้งคาตางๆ ผาน การใชงานเมนูแสดงภาพ ............ 67
Live Control ........................... 48 เลน H ................................... 67
ตัวเลือกการประมวลผล แกไขภาพ RAW/แกไข JPEG ...... 68
(โหมดภาพ) ............................. 50
ดูภาพเคลื่อนไหว ...................... 69
การตั้งคาความไวแสง (ISO) ........ 52

สารบัญ
แกไขภาพเคลื่อนไหว ................. 69
การปรับสมดุลแสงสีขาว
(ไวทบาลานซ) ......................... 53 คําสั่งแบงปน ............................ 71
การเลือกโหมดโฟกัส 0 ....................................... 71
(โหมด AF) .............................. 55 R .......................................... 72
การตั้งคาสัดสวนภาพ ................. 55 หมุน ....................................... 72
การเลือกคุณภาพของภาพ y ......................................... 73
(คุณภาพของภาพนิ่ง) ................ 56 ภาพซอน ................................. 74
การเลือกคุณภาพของภาพ < ......................................... 75
(คุณภาพของภาพเคลื่อนไหว) ..... 57
ลบ ......................................... 75
การปองกันกลองสั่น
(ปองกันภาพสั่น) ....................... 59 การเลือกภาพ
(0, ลบภาพที่เลือก,
การปรับแสงแฟลช (ควบคุม เลือกคําสั่งแบงปน) .................... 76
ความเขมของแสงแฟลช) ............ 59
การเลือกวิธีวัดความสวางของ การเลื่อนภาพพาโนรามา ............ 77
กลอง (ระบบวัดแสง) .................. 60
การตรวจจับใบหนาอัตโนมัติ 4. ฟงกชั่นเมนู 78
(โฟกัสใบหนา) ......................... 60 การใชงานเมนูพื้นฐาน ................ 78
การใชอุปกรณเสริม
การใชเมนูถายภาพ 1/
(อุปกรณเสริม) .......................... 61
เมนูถายภาพ 2 .......................... 80
การกูคืนการตั้งคาตั้งตน/
3. แสดงภาพ 62 การบันทึกการตั้งคา
การแสดงขอมูลระหวางการดู (รีเซ็ต/เลือกโหมดกําหนดเอง) ..... 80
ภาพ ........................................ 62 ตัวเลือกการประมวลผล
ขอมูลภาพที่แสดง ..................... 62 (โหมดภาพ) ............................. 81
การสลับหนาจอแสดงขอมูล ......... 63 เลือกบริเวณปรับโฟกัส
(พื้นที่กรอบ AF) ........................ 82
การดูภาพถายและภาพ
เคลื่อนไหว................................ 64 การถายภาพโดยอัตโนมัติที่กําหนด
ระยะเวลาไว (ระยะเวลาตอภาพ/
การแสดงภาพแบบดัชนี/การแสดง Time Lapse) ........................... 84
ภาพบนปฏิทิน .......................... 65
การโฟกัสที่แตกตางกันไปเล็กนอยใน
การขยายดูภาพถาย ................... 65 ภาพแตละชุด (Focus BKT) ......... 85
เลนภาพเคลื่อนไหว ................... 66 การเพิ่มระยะชัดลึก
การลบภาพระหวางการเลน .......... 66 (ตั้งคาโฟกัสซอน) ..................... 86
พิมพวันที่ (พิมพวันที่) ................ 86

TH 5
การใชเมนูวิดีโอ ........................ 87 5. การเชื่อมตอกลองกับสมารท
การใชเมนูแสดงภาพ ................. 88 โฟน 106
การหมุนภาพที่แสดงบนจอ
(R) ...................................... 88 การปรับการตั้งคาสําหรับการเชื่อม
ตอไปยังสมารทโฟน.................107
สารบัญ

การแกไขภาพ (แกไข) ............... 88


การถายโอนภาพไปยังสมารท
การแคปภาพนิ่งจากไฟลวีดิโอ โฟน ......................................108
(จับภาพนิ่งในภาพภยนตร) .......... 92
การแกไขภาพเคลื่อนไหว การถายภาพระยะไกลดวยสมารท
(แกไขภาพเคลื่อนไหว) .............. 93 โฟน ......................................108
การยกเลิกการปองกันภาพ การเปลี่ยนวิธีการเชื่อมตอ ........109
ทั้งหมด ................................... 93 การรีเซ็ตการตั้งคา LAN
การใชเมนูตั้งคา ........................ 94 ไรสาย ...................................109
การลบภาพทั้งหมด การเปลี่ยนรหัสผาน .................110
(ตั้งคาการด) ............................ 95 การยกเลิกคําสั่งแบงปน............110
การเลือกภาษา (W) ................ 95
การใชเมนูกําหนดเอง ................ 96 6. การใชขอมูล
a AF/MF ............................... 96 Field Sensor 111
M Disp/8/PC ...................... 96 GPS: ขอควรระวังในการใชงาน... 111
C คาแสง/ISO ........................ 97 กอนใชฟงกชั่น GPS
D #ตั้งคาเอง ......................... 98 (ขอมูล A-GPS)....................... 111
b K/WB/สี ......................... 98 การใช GPS ............................ 112
W บันทึก................................ 99 การแสดงการเคลื่อนที่ที่ถูกติดตาม
X Field Sensor .................... 100 ของแฟมบันทึก GPS ................ 112

c Kยูติลิตี่ ......................... 100 การบนั ทกึ และการเซฟ Logs ...113


การปรับปรุงโฟกัสในบริเวณที่มืด การใชงานบัฟเฟอรและ Logs
(ไฟชวย AF) .......................... 101 ที่เซฟไว .................................114
ตัวชวยปรับโฟกัส MF ............... 101 การเปดดูขอมูลระบุตําแหนง......115
การเพิ่มการแสดงผลขอมูล ........ 102 ขอมูลตําแหนงจะปรากฏขึ้น ....... 115
การดูภาพของกลองบนทีวี ......... 104
ตัวเลือกคารวมของขนาดภาพ JPEG
และอัตราการบีบอัด ................. 105

6 TH
7. การเชื่อมตอกับ 10. ขอมูล 136
คอมพิวเตอร 116 รายการของการตั้งคาที่ใชไดใน
การเชื่อมตอกลองกับ โหมดถายภาพแตละโหมด ........136
คอมพิวเตอร ...........................116 การตั้งคาเริ่มตน/กําหนดเอง .....140

สารบัญ
การคัดลอกภาพไปยัง ขอมูลจําเพาะ ..........................145
คอมพิวเตอร ...........................117
การติดตั้งซอฟตแวร PC ...........117 11. ขอควรระวังในเรื่องความ
ปลอดภัย 148
8. ขอควรระวัง 118
ขอควรระวังในเรื่องความ
แบตเตอรี่ ...............................118 ปลอดภัย ................................148
การใชเครื่องชารจในตาง
ประเทศ ..................................118 ดัชนี 154
จํานวนภาพ (ภาพนิ่ง)/
ความยาวของฟุตเทจ
(ภาพเคลื่อนไหว) ตอการด .......119
การทําความสะอาดและการเก็บรักษา
กลอง .....................................121
การทําความสะอาดกลอง .......... 121
การเก็บรักษา.......................... 122
พิกเซลแมบปง - การตรวจสอบฟงกชั่
นการประมวลผลภาพ ............... 122
ขอมูลสําคัญเกี่ยวกับคุณสมบัติการ
กันนํ้า และ กันแรงกระแทก .......123
การใชอุปกรณเสริมที่แยก
จําหนาย .................................125
การตอแจ็คเก็ตซิลิโคนเสริม ....... 125
การถายภาพดวยระบบแฟลช RC ไร
สายของ Olympus .................. 125
อุปกรณเสริม ..........................126

9. การแกไขปญหา 130
ปญหาทั่วไปและการแกไข ........130

TH 7
ดัชนีการใชงานดวน

ถายภาพ g
ดัชนีการใชงานดวน

ถายภาพโดยไมตองมีการตั้งคาที่ยุงยาก โหมดอัตโนมัติ (B) 25

การถายภาพแบบเปนเสนแสง (การซอน
Live Composite (SCN) 31
ความสวาง)
การถายภาพแบบขยายวัตถุขนาดเล็ก/
โหมดไมโครสโคป (k) 33
มาโคร (ระยะใกล)

รักษาพื้นหนาและพื้นหลังใหอยูในโฟกัส โฟกัสซอน 33

การถายภาพแบบมีสไตล/การถายภาพแบบ
ART (โหมดภาพ) 50
โมโนโทน

การปรับการตั้งคาสําหรับการถายภาพใตนํ้า โหมดใตนํ้า (^) 34

การปรับคาความสวางของแสง การชดเชยแสง 41

การบันทึกขอมูลตําแหนง GPS อุณหภูมิของ


นํ้าและอากาศ ระดับความสูง ระดับความลึก Field Sensor 111
และทิศทาง

ถายภาพใหไดเฉดสีที่สมจริง ไวทบาลานซ 53

การปรับอัตราสวนภาพ อัตราสวนภาพ 55

เมื่อกลองไมไดโฟกัสที่วัตถุของทาน/การ
การตั้งคาเปา AF 82
โฟกัสที่พื้นที่เดียว

การโฟกัสติดตามวัตถุที่เคลื่อนที่ การติดตาม 83

ไฟ LED 47
การถายภาพในที่มืด/การถายภาพในสภาพ
แสงนอย
ไฟชวย AF 101

การจับภาพชวงเวลาที่ผานไปอยางรวดเร็ว Pro Capture 44

การตรวจสอบทิศทางแนวนอนหรือแนวตั้ง
มาตรวัดระดับ 24, 102
กอนการถายภาพ

การถายภาพดวยการจัดองคประกอบไวกอน แสดงเสนตาราง 96

การปรับหนาจอ/การปรับโทนสีหนาจอ การปรับความสวางของจอภาพ 94

วิธีเพิ่มจํานวนภาพที่ถายได โหมดคุณภาพของภาพนิ่ง 56

การถายภาพระยะไกลดวยสมา
การใชรีโมทคอนโทรล 108
รทโฟน

8 TH
การแสดงภาพ/การตกแตงภาพ g

ดัชนีการใชงานดวน
การดูภาพบนทีวี/การดูภาพที่มีคุณภาพสูง HDMI 97
บนทีวีความละเอียดสูง การดูภาพของกลองบนทีวี 104
ปรับเงาแสงหรือสวนมืด (แกไข
ปรับแสงเงาใหสวางขึ้น 68, 90
JPEG)

การแกไขตาแดง แกตาแดง (แกไข JPEG) 68, 90

พิมพไดงาย การสรางคําสั่งพิมพ 75

ลบเสียงที่บันทึกไวกับภาพนิ่ง R 72

การเปลี่ยนจํานวนเฟรมหรือการเพิ่มเฟรมไป
G/ตั้งคาแสดงภาพ 102
ยังหนาจอแสดงภาพแบบดัชนี

การตั้งคากลอง g

การซิงควันที่และเวลา การตั้งคาวันที่/เวลา 18, 94

การกูคืนการตั้งคาตั้งตน รีเซ็ต 80

การเปลี่ยนภาษาการแสดงเมนู W 95

การปดเสียงโฟกัสอัตโนมัติ 8 (เสียงบี๊ป) 97

การบันทึกการตั้งคา โหมดกําหนดเอง (C1/C2) 37

การพิมพวันที่บนภาพถาย พิมพวันที่ 86

การซอนคําแนะนําเมนู การใชงานเมนูพื้นฐาน 78

TH 9
ชื่อชิ้นสวนตางๆ
ชื่อชิ้นสวนตางๆ

ไฟแสดงการตั้งเวลาถายภาพ /
ไฟ LED /ไฟชวย AF
(หนา 42 / หนา 47 / หนา 101) แฟลชในตัวกลอง (หนา 45)

ฝาปดขั้วตอ (หนา 16)

ตัวล็อคฝาปดขั้วตอ
(หนา 16)

ปุม LOCK (หนา 16)

เลนส

วงแหวนเลนส (ถอดได)
(หนา 127)
ลําโพง
ปุมปลดวงแหวนเลนส
(หนา 127) ขั้วตอ HDMI แบบไมโคร (หนา 104)

หัวตอ Micro-USB (หนา 16, 116)

ฝาปดชองใสแบตเตอรี่/การด (หนา 13)

จอภาพ

ที่ล็อคฝาปดชองใสแบตเตอรี่/
การด (หนา 13) หูยึดสายคลอง (หนา 12)

ปุม LOCK (หนา 13) รูใสขาตั้งกลอง

10 TH
สวิตช LOG (หนา 113) เสารับสัญญาณ GPS (หนา 112) ปุม ON/OFF (หนา 17)

ชื่อชิ้นสวนตางๆ
คันปรับซูม (หนา 26, 65)
ไมโครโฟนสเตอริโอ ไฟแสดงสถานะ (หนา 16)

ปุมชัตเตอร (หนา 25)

ปุมหมุนควบคุม (P)

R (ภาพเคลื่อนไหว) / ปุมเลือก
(หนา 38 / หนา 76)

ปุมหมุนปรับโหมด (หนา 27)

ปุม q (แสดงภาพ) (หนา 64) ปุม INFO (หนา 24, 63, 115)

ปุม MENU / Wi-Fi


(หนา 78 / หนา 107)

แปนลูกศร* (FGHI)

ปุม F (ขึ้น) / F (การชดเชยแสง) (หนา 41)

ปุม H (ซาย) / u (ฟงกชั่นโหมด) ปุม I (ขวา) / # (แฟลช) (หนา 45)


(หนา 30, 33, 34)

ปุม Q / Live Control (หนา 48)

ปุม G (ลง) / jY (ถายภาพตอเนื่อง/ตั้งเวลา) (หนา 42) / ปุม  (ลบ) (หนา 66)

* ในคูมือนี้ ไอคอน FGHI จะแสดงการทํางานที่ใชงานแปนลูกศร


TH 11
1 การเตรียมกลอง

แกะกลองผลิตภัณฑ

1 รายการตอไปนี้จะใหมาพรอมกับกลอง
หากมีรายการใดสูญหายหรือเสียหาย โปรดติดตอผูจําหนายที่ทานซื้อกลองมา
การเตรียมกลอง

กลอง สายคลอง สาย USB รุน CB-USB12


(พรอมวงแหวนเลนสแบบถอดได)

หรือ

• คูมือเบื้องตน
• การรักษาคุณสมบัติปองกันนํ้า
แบตเตอรี่ลิเทียมไอออน LI-92B ตัวแปลงไฟ AC-USB รุน F-5AC • ใบรับประกัน

รายการบางอยางอาจแตกตางกันตามประเทศที่ซื้อ

การติดสายคลอง

1 2

3 4 5

• สุดทาย ใหดึงสายคลองใหตึงและดูใหแนใจวารัดแนนดีแลว

12 TH
การใสและถอดแบตเตอรี่และการด
ปดกลองกอนจะเปดฝาปดชองใสแบตเตอรี่/การด
คูมือเลมนี้เรียกอุปกรณบันทึกขอมูลทั้งหมดวา “การด”
การด SD (มีวางจําหนายทั่วไป) ตามประเภทดังตอไปนี้สามารถใชกับกลองรุนนี้ได: SD, SDHC
และ SDXC
กอนใชงานหรือหลังจากใชการดกับคอมพิวเตอรหรือกลองตัวอื่น จะตองฟอรแมทการดดวยกลอง 1
ตัวนี้ทุกครั้ง g “การฟอรมแมทการด” (หนา 21)

การเตรียมกลอง
1 การเปดฝาปดชองใสแบตเตอรี่/การด

3 ปุม LOCK

ฝาปดชองใสแบตเตอรี่/การด ที่ล็อคชองใสแบตเตอรี่/การด

2 การใสแบตเตอรี่
• ใชแบตเตอรี่ LI-92B เทานั้น (หนา 12, 147)
• ใสแบตเตอรี่ตามภาพที่แสดง โดยให
เครื่องหมาย C หันไปทางกานล็อคแบตเตอรี่
• หากทานใสแบตเตอรี่ผิดทางจะเปดกลองไมติด
โปรดดูใหแนใจวาไดใสแบตเตอรี่ถูกทาง

กานล็อคแบตเตอรี่

3 การใสการด
• เสียบการดเขาไปตรงๆ จนกระทั่งล็อคเขาที่
g “การดที่ใชได” (หนา 15)

บริเวณขั้ว

• หามฝนเสียบการดที่เสียหายหรือผิดรูปเขาไป มิฉะนั้นจะทําใหชองใสการดเสียหายได

TH 13
4 การปดฝาปดชองใสแบตเตอรี่/การด 1
• ขณะใชงานกลอง อยาลืมปดฝาปดชองใส
แบตเตอรี่/การด
3

1 2
การเตรียมกลอง

การถอดแบตเตอรี่
ในการถอดแบตเตอรี่ออก ขั้นแรกใหดันกานล็อตแบตเตอรี่ไปตาม
ทิศทางลูกศรเพื่อปลดล็อค

• อยาถอดแบตเตอรี่ขณะที่เครื่องหมายแสดงการเขียนการดกําลัง เครื่องหมายแสดงการเขียนการด
แสดงอยู
S-IS ON
ISO-A
200

LN
FHD F
30p

01:02:03
P 125 F5.6 0.0 1023

• ติดตอตัวแทนจําหนายหรือศูนยบริการที่ไดรับอนุญาตหากทานไมสามารถถอดแบตเตอรี่ออกได หาม
ถอดออกมาอยางรุนแรง

$ หมายเหตุ
• ขอแนะนําใหเตรียมแบตเตอรี่สํารองไวเผื่อแบตเตอรี่ที่ใชจะหมด ในกรณีที่ตองถายภาพเปนเวลานาน
• โปรดอาน “แบตเตอรี่” (หนา 118)

14 TH
การถอดการด
กดการดที่เสียบไวเบาๆ และการดจะดีดตัวออกมา ดึง
การดออกมา
• อยาถอดการดขณะที่เครื่องหมายแสดงการเขียน
การดกําลังแสดงอยู (หนา 14)

การเตรียมกลอง
การดที่ใชได
คูมือเลมนี้เรียกอุปกรณบันทึกขอมูลทั้งหมดวา “การด” การด SD (มีวาง
จําหนายทั่วไป) ตามประเภทดังตอไปนี้สามารถใชกับกลองรุนนี้ได: SD, SDHC
และ SDXC โปรดเยี่ยมชมเว็บไซต Olympus เพื่อดูขอมูลลาสุด

สวิตชปองกันการบันทึกการด SD
ตัวการด SD จะมีสวิตชปองกันการบันทึก การตั้งคาสวิตชเปน “LOCK” จะ
ปองกันขอมูลที่เขียนไวในการด ดันสวิตชกลับไปที่ตําแหนงปลดล็อคเพื่อเปด
LOCK

ใชการบันทึก

• กอนใชงานหรือหลังจากใชการดกับคอมพิวเตอรหรือกลองตัวอื่น จะตองฟอรแมทการดดวยกลองตัวนี้
ทุกครั้ง g “การฟอรมแมทการด” (หนา 21)
• ขอมูลในการดจะไมถูกลบอยางสมบูรณแมจะฟอรแมทการดหรือลบขอมูลไปแลวก็ตาม เมื่อจะทิ้ง
การด ใหทําลายการดเพื่อปองกันไมใหขอมูลสวนตัวรั่วไหล
ตําแหนงที่เก็บไฟล
ขอมูลของการดจะถูกเก็บไวในโฟลเดอรตอไปนี้:
ชื่อโฟลเดอร ชื่อโฟลเดอร: ชนิดของขอมูล
DCIM 100OLYMP: ภาพ

GPSLOG:
บันทึกของ GPS
999OLYMP: ภาพ
SNSLOG:
บันทึกของเซ็นเซอร ลําดับหมายเลขไฟลอัตโนมัติ

TH 15
การชารจแบตเตอรี่
แบตเตอรี่ที่ใหมาตอนจัดสงจะยังชารจไมเต็ม โปรดชารจแบตเตอรี่กอนใชงาน และอยาหยุดชารจ
จนกวาไฟแสดงสถานะจะดับเพื่อแสดงวาแบตเตอรี่ไดชารจจนเต็มแลว

1 ตรวจดูวาใสแบตเตอรี่ในกลองแลว และเสียบสาย USB กับตัวแปลง AC-USB


1 ตัวแปลงไฟ AC-
USB (ใหมาดวย)
การเตรียมกลอง

2 เตาเสียบไฟ AC

หรือ
หัวตอ Micro-USB
1

สาย USB (ใหมาดวย)


ฝาปดขั้วตอ

2 เลือก [Charge] (ชารจ) โดยใชปุม FG บนแปนลูกศรและกดปุม Q


USB

Storage
MTP
Charge
Exit

Set

• ไฟแสดงสถานะจะติดและการชารจจะเริ่มขึ้น
• ไฟแสดงสถานะจะดับเมื่อการชารจเสร็จสิ้น
• การชารจแบตเตอรี่จะใชเวลาประมาณ 3 ชั่วโมง เวลาที่
ชารจอาจเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิโดยรอบสูง

ไฟแสดงสถานะ

• ทานจะตองถอดปลั๊กไฟของตัวแปลงไฟ AC-USB ออกจากเตาเสียบที่ผนังเมื่อชารจเสร็จแลว

• สําหรับการชารจแบตเตอรี่ในตางประเทศ โปรดดู “การใชเครื่องชารจในตางประเทศ” (หนา 118)


• หามใชสายอื่นๆ นอกเหนือไปจากที่มีใหหรือสาย USB ที่ Olympus กําหนดใหใช มิฉะนั้นจะทําให
เกิดควันหรือไฟไหม
• ตัวแปลงไฟ AC-USB F-5AC (ตอไปนี้จะเรียกวาตัวแปลงไฟ AC-USB) จะแตกตางกันไปตามทองถิ่น
ที่ทานไดซื้อกลอง หากทานไดรับตัวแปลงไฟ AC-USB ชนิดปลั๊กอิน ใหเสียบเขากับชองเสียบ AC
โดยตรง
• สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับแบตเตอรี่ โปรดดู “ขอควรระวังในเรื่องความปลอดภัย” (หนา 148)
สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับตัวแปลงไฟ AC-USB โปรดดู “ขอควรระวังในเรื่องความปลอดภัย”
(หนา 148)

16 TH
• หากไฟแสดงสถานะไมติด ใหเสียบสาย USB และตัวแปลงไฟ AC-USB เขากับกลองใหมอีกครั้ง
• หากขอความ “ไมมีการเชือ ่ มตอ” ปรากฏขึ้นในหนาจอ ใหถอดสายออกและเสียบใหม
• เครื่องชารจ (UC-92: จําหนายแยกตางหาก) สามารถใชเพื่อชารจแบตเตอรี่ได
ชารจแบตเตอรี่เมื่อใด
หากกลองแสดงขอความที่แสดงในภาพประกอบ ใหชารจแบตเตอรี่
กะพริบสีแดง ขอความผิดพลาด 1
S-IS ON

การเตรียมกลอง
ISO-A
200

LN
FHD F
ѰэшѯшѠіѨў
ѷ єч
30p

01:02:03
P 125 F5.6 0.0 1023

การเปดกลอง
1 กดปุม ON/OFF เพื่อเปดกลอง
• กลองจะเปดขึ้น จากนั้นไฟแสดงสถานะและหนาจอจะติด

ปุม ON/OFF
จอภาพ
ระดับแบตเตอรี่
ไอคอนแสดงระดับแบตเตอรี่จะปรากฏขึ้น
7 (สีเขียว): กลองพรอมถายภาพ
8 (สีเขียว): แบตเตอรี่ไมเต็ม
9 (กะพริบเปนสีแดง): ชารจแบตเตอรี่

S-IS ON
ISO-A
200

LN
FHD F
30p

01:02:03
P 125 F5.6 0.0 1023

ระบบ Sleep ของกลอง


หากไมมีการใชงานกลองเปนเวลาหนึ่งนาที กลองจะเขาสูโหมด “sleep” (สแตนดบาย) เพื่อปด
จอภาพและยกเลิกการดําเนินการทั้งหมด กลองจะทํางานอีกครั้งเมื่อทานสัมผัสปุมใดๆ ก็ตาม (ปุม
ชัตเตอร, ปุม q เปนตน) กลองจะปดโดยอัตโนมัติหากอยูในโหมด Sleep เปนเวลา 5 นาที โปรด
เปดกลองอีกครั้งกอนใชงาน ทานสามารถเลือกระยะเวลาที่จะใหกลองยังคงเปดอยูกอนที่จะเขาสู
โหมด Sleep ได g [Sleep] (หนา 100)

TH 17
การตั้งคาเริ่มตน
หลังจากการเปดกลองครั้งแรก ใหดําเนินการตั้งคาเริ่มตนโดยการเลือกภาษาและตั้งคานาฬกาของ
กลอง
• ขอมูลวันที่และเวลาจะถูกบันทึกไวในการดพรอมกับภาพถาย
• ชือ
่ ไฟลก็จะรวมอยูกับขอมูลวันที่และเวลาเชนเดียวกัน ทานจะตองตั้งวันที่และเวลาใหถูกตองกอนใช
1 งานกลองถายรูป เนื่องจากฟงกชันบางอยางจะใชงานไมไดหากไมไดตั้งวันที่และเวลาไว
การเตรียมกลอง

1 กดปุม Q เมื่อกลองโตตอบการตั้งคาเริ่มตนปรากฏขึ้น
มาเพื่อใหทานเลือกภาษา Please select your language.
Veuillez choisir votre langue.
Bitte wählen Sie Ihre Sprache.
Por favor, selecciona tu idioma.

2 ไฮไลทภาษาที่ตองการโดยใชปุมหมุน
ควบคุมหรือปุม FGHI บนแปนลูก
ศร

• การตั้งคาภาษาจะมีใหเลือกอยูสองหนา ใหใชปุมหมุน เคอรเซอร


ควบคุมหรือปุม FGHI บนแปนลูกศรเพื่อเลื่อน
W
เคอรเซอรไปมาระหวางสองหนา
Hrvatski ýHVN\ Ȼɴɥɝɚɪɫɤɢ
Dansk English Nederlands
Eesti Suomi Français
Deutsch ǼȜȜȘȞȚțȐ 0DJ\DU
Indonesia Italiano
Latviski /LHWXYLǐN
Norsk Polski Português(Pt)

Set

W
Romanian Ɋɭɫɫɤɢɣ Srpski
Slovensky 6ORYHQãþLQD
Español Svenska
Türkçe ɍɤɪɚʀɧɫɶɤɚ
Viet Nam

Setare

18 TH
3 กดปุม Q เมื่อเลือกภาษาที่ตองการแลว W
Romanian Ɋɭɫɫɤɢɣ Srpski
• หากทานกดปุมชัตเตอรกอนที่จะกดปุม Q กลองจะออกไป Slovensky 6ORYHQãþLQD
ยังโหมดถายภาพและภาษาจะยังไมถูกเลือก ทานสามารถ Español Svenska

ทําการตั้งคาเริ่มตนไดโดยการปดกลองแลวเปดใหมอีกครั้ง Türkçe ɍɤɪɚʀɧɫɶɤɚ


Viet Nam
เพื่อแสดงกลองโตตอบการตั้งคาเริ่มตนแลวดําเนินการซํ้า
ตั้งแตขั้นตอนที่ 1
• ทานสามารถเปลี่ยนภาษาไดตลอดเวลาที่เมนูตั้งคา e
g “การเลือกภาษา (W)” (หนา 95)
шкзҕ
Ѥҟ ѥ
1
4 กําหนดวันที่ เวลา และรูปแบบวันที่ X

การเตรียมกลอง
• ใชปุม HI บนแปนลูกศรเพื่อไฮไลทรายการตางๆ
• แกไขรายการที่ไฮไลทโดยใชปุมหมุนควบคุมหรือปุม FG ю ч њ ѯњјѥ

บนแปนลูกศร 2019 ю/ч/њ

• กดปุม Q เพื่อตั้งนาฬกา
• ทานสามารถปรับนาฬกาไดตลอดเวลาที่เมนูตั้งคา e
g [X การตั้งคา] (หนา 94) ѕдѯјѧд

เวลาจะแสดงโดยใชนาฬกา
24 ชั่วโมง

5 ตั้งคาไทมโซนโดยใชปุมหมุนควบคุมหรือปุม FG บน ѱоьѯњјѥ

แปนลูกศรและกดปุม Q UTC+09:00 (12:30)


• สามารถเปดหรือปดเวลาออมแสงไดโดยใชปุม INFO
Seoul
Tokyo

шкзҕ
Ѥҟ ѥ

• หากถอดแบตเตอรี่ออกจากกลองและทิ้งกลองทิ้งไวครูหนึ่ง วันที่และเวลาอาจถูกรีเซ็ตเปนการตั้งคา
ตั้งตนจากโรงงาน
• ทานอาจจะตองปรับอัตราเฟรมกอนที่จะถายภาพเคลื่อนไหว g [เฟรมเรตของวิดีโอ] (หนา 87)

TH 19
กลองแสดงภาษาที่อานไมได/ไมใชภาษาที่เลือก
หากกลองแสดงภาษาที่ทานไมรูหรือใชตัวอักษรที่ทานอานไมได ทานอาจจะเลือกผิดภาษาโดย
ไมไดตั้งใจในกลองโตตอบการเลือกภาษา ปฏิบัติตามขั้นตอนตอไปนี้เพื่อเปลี่ยนภาษา

1 กดปุม MENU เพื่อแสดงเมนูตางๆ


1 ঩ࠒ ֩Ѝ 1
11 ࢢ۶ࢽ/‫ ࢂࢽ ࢕ࡈی‬ҟԼ
การเตรียมกลอง

2 ୘ۘ୪˕۶ࢽ
AF ࠒࠇ I

ҋԻ ۶ࢽ

2 ไฮไลทแท็บ e โดยใชปุม FGH บนแปนลูกศรและกดปุม Q


۶ࢽ ֩Ѝ
1 ৞Җ ۶ࢽ
2 X ۶ࢽ
W ଞ˲߭
s k±0
୘ۘ‫̛ؿ‬ 0.5 sec
Wi-Fi ۶ࢽ

ҋԻ ۶ࢽ

3 เลือก [W] โดยใชปุม FG บนแปนลูกศรและกดปุม Q


۶ࢽ ֩Ѝ
1 ৞Җ ۶ࢽ
2 X ۶ࢽ
W ଞ˲߭
s k±0
୘ۘ‫̛ؿ‬ 0.5 sec
Wi-Fi ۶ࢽ

ҋԻ ۶ࢽ

4 ไฮไลทภาษาที่ตองการโดยใชปุม FGHI บนแปนลูกศรและกดปุม Q


W
Romanian Ɋɭɫɫɤɢɣ Srpski
Slovensky 6ORYHQãþLQD
Español Svenska
Türkçe ɍɤɪɚʀɧɫɶɤɚ
Viet Nam

дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

20 TH
การฟอรมแมทการด
กอนใชงานหรือหลังจากใชการดกับคอมพิวเตอรหรือกลองตัวอื่น จะตองฟอรแมทการดดวยกลอง
ตัวนี้ทุกครั้ง
ขอมูลทั้งหมดที่เก็บไวในการด รวมถึงภาพที่ปองกันไว จะถูกลบเมื่อฟอรแมทการด
เมื่อฟอรแมทการดที่ใชอยู โปรดตรวจดูใหแนใจกอนวาไมมีภาพที่ทานตองการจะเก็บไวในการด
แลว g “การดที่ใชได” (หนา 15) 1

การเตรียมกลอง
1 กดปุม MENU เพื่อแสดงเมนูตางๆ
ѯєьѬщѥҕ ѕѓѥё 1
11 іѨѯоѶ ш/ѯјѪѠдѱўєчдѼѥўьчѯѠк
2 ѱўєчѓѥё
ёѪь ѷ іѠэ AF
ҟ ъѨд I

дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

2 ไฮไลทแท็บ e โดยใชปุม FGH บนแปนลูกศรและกดปุม Q


ѯєьѬшкзҕ
Ѥҟ ѥ
1 шкзҕ
Ѥҟ ѥдѥіҙч
2 X дѥішкзҕѤҟ ѥ
W ѳъѕ
s k±0
чѬѓѥёэ Ѥьъѩд 0.5 њѧьѥъѨ
Wi-Fi дѥішкзҕ
Ѥҟ ѥ

дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

3 เลือก [ตั้งคาการด] โดยใชปุม FG บนแปนลูกศรและกดปุม Q


• หากมีขอมูลบนการด รายการเมนูจะปรากฏขึ้น ไฮไลท шкзҕ
Ѥҟ ѥдѥіҙч

[ฟอรแมท] และกดปุม Q

јэъкўєч
Ѥҟ
ђѠіҙѰєъ

дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

4 เลือก [ใช] และกดปุม Q


• กลองจะทําการฟอรแมท

TH 21
2 ถายภาพ

ขอมูลที่แสดงในขณะถายภาพ
การแสดงขอมูลของจอภาพขณะการถายภาพนิ่ง

2 12 6789 a de g h
HDR BKT 2 2
1.4 x 2.0 x
ถายภาพ

34 5 0 bc f i
J Date HDR FD-1 2
1.4 x j
I S-IS ON k
ISO-A
H 200 l
G WB
AUTO m
F AF n
E 4:3 o
D Focus
LOG
LN p
C FHD F
30p q
C1
B 01:02:03 r
P 125 F5.6 +2.0 1023
A s
zy x w v u t

การแสดงขอมูลของจอภาพในโหมดภาพเคลื่อนไหว

K
L
R 1.4 x
M-IS ON
ISO-A
200
WB
AUTO

AF
16:9

LN
FHD F
30p

n +2.0 1:02:03

22 TH
1 เครื่องหมายแสดงการเขียนการด ..... หนา 14 n โหมด AF................................... หนา 55
2 สถานะการเชื่อมตอ LAN ไรสาย o อัตราสวนภาพ............................. หนา 55
..................................... หนา 106 – 110 คุณภาพของภาพ (ภาพนิ่ง)............ หนา 56
3 พิมพวันที่................................... หนา 86
p 2
q โหมดบันทึก (ภาพเคลื่อนไหว) ....... หนา 57
4 คําแนะนําในการปรับ AF อยางละเอียด r ระยะเวลาที่บันทึกได .................. หนา 119

ถายภาพ
..........................................หนา 46, 55 s จํานวนภาพนิ่งที่บันทึกได ............ หนา 119
5 เปา Af .................................หนา 25, 82 t มาตรวัดระดับ (แนวนอน) .......หนา 24, 102
6 HDR ....................................หนา 29, 34 u บน: ควบคุมความเขมของแสงแฟลช
7 ไอคอนการถายครอม ...............หนา 33, 85 ............................................... หนา 59
8 โหมดประกายดาว ........................ หนา 28 ลาง: การชดเชยแสง .................... หนา 41
9 โฟกัสซอน ................................. หนา 33 v คาชดเชยแสง ............................. หนา 41
0 อุปกรณเสริม .......................หนา 61, 126 w คารูรับแสง ................................. หนา 36
a ดิจิทัลเทเลคอน*1 ....................... หนา 42 x ความเร็วชัตเตอร ......................... หนา 35
b การถายภาพแบบ Time Lapse ....... หนา 84 y ฮิสโตแกรม ................................ หนา 24
c โฟกัสใบหนา .............................. หนา 60 z คําแนะนําของตาราง..................... หนา 96
d เสียงภาพเคลื่อนไหว ......... หนา 38, 72, 87 A โหมดถายภาพ ...................... หนา 27 – 39
e การลดเสียงลม ........................... หนา 87 B โหมดกําหนดเอง ......................... หนา 37
f มาตรวัดระดับ (ความเอียง) .....หนา 24, 102 C ไอคอน LOG/การเตือน ............... หนา 113
g อัตราสวนการซูมดวยเลนส/การขยาย*1 D ไอคอน GPS............................. หนา 111
..........................................หนา 26, 33 E โหมดวัดแสง .............................. หนา 60
h เตือนอุณหภูมิภายในกลอง .......... หนา 134 F ถายภาพตอเนื่อง/ตั้งเวลา .............. หนา 42
i แฟลช ....................................... หนา 45 การถายภาพแบบ Pro Capture ...... หนา 44
(กะพริบ: กําลังชารจ, G ควบคุมความเขมของแสงแฟลช...... หนา 59
สวางขึ้น: การชารจเสร็จสิ้น) H โหมดแฟลช ............................... หนา 45
j เครื่องหมายยืนยัน AF ................... หนา 25 I ปองกันภาพสั่น............................ หนา 59
k โหมดภาพ ............................หนา 50, 81 J ระดับแบตเตอรี่............................ หนา 17
l ความไวแสง ISO ......................... หนา 52 K ระดับการบันทึกเสียง .................... หนา 39
m ไวทบาลานซ .............................. หนา 53
*1 จะแสดงตลอดเวลาหากใชงาน [n การควบคุมไมโครสโคป] (หนา 33)

TH 23
การสลับหนาจอแสดงขอมูล
ทานสามารถสลับขอมูลที่แสดงในจอภาพระหวางการถายภาพ
ไดโดยกดปุม INFO

2 S-IS ON
ISO-A
200
INFO
ถายภาพ

LN
FHD F
30p

01:02:03
P 250 F5.6 0.0 1023

ขอมูลพื้นฐาน* ภาพเทานั้น
INFO INFO

S-IS ON S-IS ON

INFO
ISO-A ISO-A
200 200

01:02:03 01:02:03
P 250 F5.6 0.0 1023 P 250 F5.6 0.0 1023

การแสดงมาตรวัดระดับ การแสดงฮิสโตแกรม
(กําหนดเอง2) (กําหนดเอง1)
* ไมแสดงในโหมด n (โหมดภาพเคลื่อนไหว) ยกเวนในระหวางการบันทึก

• ทานสามารถเปลี่ยนการตั้งคา กําหนดเอง1 และกําหนดเอง2 ได g [G/ตั้งคาแสดงภาพ] >


[LV-Info] (หนา 102)
• ทานสามารถสับเปลี่ยนหนาจอแสดงขอมูลไปในทิศทางตางๆ ไดโดยการหมุนปุมหมุนควบคุมในขณะ
ที่กดปุม INFO
การแสดงฮิสโตแกรม
ฮิสโตแกรมจะแสดงการกระจายตัวของแสงในภาพ มาก
แกนแนวนอนแสดงระดับความสวาง แกนแนวตั้ง
แสดงปริมาณพิกเซลของแตละระดับความสวางใน นอย
ภาพ ระหวางการถายภาพ บริเวณที่สวางเกินไปจะ มืด สวาง
แสดงเปนสีแดง บริเวณที่มืดจนเกินไปจะแสดงเปนสี
ฟา และสีเขียวคือบริเวณที่อยูในชวงหรือพื้นที่วัดแสง
เฉพาะจุด
การแสดงมาตรวัดระดับ
แสดงทิศทางของกลอง ทิศทาง “เอียง” จะระบุบนแถบแนวตั้งและทิศทาง “แนวนอน” บนแถบ
แนวนอน เมื่อแถบเปลี่ยนเปนสีเขียวแสดงวากลองอยูในแนวระนาบและตั้งฉาก
• ใชตัวบงชี้บนมาตรวัดระดับเปนแนวทาง
• ขอผิดพลาดบนหนาจอสามารถแกไขไดดวยการปรับเทียบ (หนา 100)

24 TH
การถายภาพพื้นฐาน
เพียงกดปุมชัตเตอรแลวปลอยใหกลองปรับการตั้งคาใหเหมาะกับฉาก

การถายภาพ (โหมดอัตโนมัติ)

1 หมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ B

ถายภาพ
2 วางกรอบภาพ
• ระวังอยาใหนิ้วหรือสายคลองกลองบังเลนสหรือ
ไฟชวย AF

ตําแหนงแนวนอน ตําแหนงแนวตั้ง

3 ปรับโฟกัส
• แสดงวัตถุที่กึ่งกลางจอภาพ และกดปุมชัตเตอรลงเบาๆ ไปที่ตําแหนงแรก (กดปุมชัตเตอรลง
ครึ่งหนึ่ง)
เครื่องหมายยืนยัน AF (() จะแสดงขึ้น และกรอบสีเขียว (เปา AF) จะแสดงขึ้นที่ตําแหนงโฟกัส
เครื่องหมายยืนยัน AF
1.0 x
S-IS ON
ISO-A
200

LN
FHD F
30p

01:02:03
P 125 F5.6 1023

กดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง เปา AF
• หากเครื่องหมายยืนยัน AF กะพริบ แสดงวาวัตถุไมอยูในโฟกัส (หนา 131)

TH 25
4 ลั่นชัตเตอร
• กดปุมชัตเตอรลงจนสุด (กดจนสุด)
• กลองจะลั่นชัตเตอรและถายภาพ
• ภาพทีถ่ ายจะแสดงขึ้นบนจอภาพ

กดปุมชัตเตอรลงจนสุด

2 $ หมายเหตุ
• หากตองการออกจากเมนูหรือการดูภาพไปยังโหมดถายภาพ ใหกดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง
ถายภาพ

การใชงานระบบซูม
ซูมเขาเพื่อถายภาพวัตถุระยะไกลหรือซูมออกเพื่อเพิ่มพื้นที่ที่มองเห็นไดในกรอบภาพ สามารถ
ปรับการซูมไดโดยใชคันปรับซูม

ดาน W ดาน T

1.0 x 2.0 x
S-IS ON S-IS ON
ISO-A ISO-A
200 200

LN LN
FHD F FHD F
30p 30p

01:02:03 01:02:03
P 60 F2.0 0.0 1023 P 50 F3.2 0.0 1023

26 TH
การเลือกโหมดถายภาพ
ใชปุมหมุนปรับโหมดเพื่อเลือกโหมดถายภาพ จากนั้นจึงถายภาพ
ตัวบงชี้ ไอคอนโหมด

ถายภาพ
ประเภทของโหมดถายภาพ
สําหรับวิธีการใชงานโหมดถายภาพตางๆ โปรดดูที่ดานลาง

โหมดถายภาพ คําอธิบาย g
B กลองจะเลือกโหมดถายภาพที่เหมาะสมที่สุดโดยอัตโนมัติ 25
SCN กลองจะปรับการตั้งคาใหเหมาะสมกับวัตถุหรือฉากโดยอัตโนมัติ 28
โหมดไมโครสโคปสามารถถายภาพระยะใกลจากวัตถุสูงสุด 1 ซม. ใน
k โหมดนี้ ทานจะสามารถถายภาพที่มีระยะชัดลึกสูงและถายครอมโฟกัสได 33
ตามจํานวนภาพที่กําหนด
เพียงเลือกโหมดยอยตามวัตถุหรือฉาก ทานก็จะสามารถถายภาพใตนํ้า
^ 34
ดวยการตั้งคาที่เหมาะสมได
กลองจะวัดความสวางของวัตถุและปรับความเร็วชัตเตอรและรูรับแสงโดย
P 35
อัตโนมัติเพื่อผลลัพธที่ดีที่สุด
ทานสามารถเลือกคารูรับแสง แลวปลอยใหกลองปรับความเร็วชัตเตอร
A 36
เพื่อใหไดผลลัพธที่ดีที่สุดโดยอัตโนมัติ
C1 ใชโหมดกําหนดเองเพื่อบันทึกและเรียกคืนการตั้งคา
• การตั้งคาที่แตกตางกันสามารถเก็บไวในโหมดกําหนดเองทั้งสอง 37
C2 โหมด (C1 และ C2)
n ถายภาพเคลื่อนไหว 39

ฟงกชั่นที่ไมสามารถเลือกจากเมนูได
อาจไมสามารถเลือกบางรายการจากเมนูไดเมื่อใชแปนลูกศร
• รายการที่ไมสามารถตั้งคาไดกับโหมดถายภาพปจจุบัน g “รายการของการตั้งคาที่ใชไดในโหม
ดถายภาพแตละโหมด” (หนา 136)
• รายการที่ไมสามารถตั้งคาได เนื่องจากมีการตั้งคารายการไวแลว:
การตั้งคาเชนโหมดภาพจะใชไมไดเมื่อหมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ B

TH 27
การเลือกโหมดถายภาพที่เหมาะกับฉาก (โหมด SCN)
หมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ SCN และเลือกโหมด Scene ที่คุณตองการเพื่อถายภาพดวยการตั้ง
คากลองที่ปรับใหเหมาะสมกับวัตถุหรือฉาก
• ขั้นตอนสําหรับการใช [Live Composite] และ [พาโนรามา] จะแตกตางจากโหมด Scene อื่น; โปรด
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ “[Live Composite]: การถายภาพ Live Composite” (หนา 31) และ “พา
โนรามา” (หนา 32)

ประเภทของ
2 วัตถุ
โหมด Scene คําอธิบาย

ถายภาพ
เหมาะสําหรับการถายภาพบุคคล เผยผิวใหเห็นเดนชัด
ถายภาพ

B
บุคคล
โทนสีและเนื้อผิวดูเรียบเนียน โหมดนี้เหมาะสําหรับดูภาพบนทีวี
อี-พอรต
e ความละเอียดสูง กลองจะบันทึกภาพสองภาพ: ภาพหนึ่งจะมี
เทรต
เอฟเฟกต แตอีกภาพไมมี
ถายภาพคน ภาพคนกับ เหมาะสําหรับถายภาพบุคคลรวมกับภาพทิวทัศนเปนพื้นหลัง
D
ทิวทัศน บันทึกโทนสีฟา เขียว และโทนสีผิวอยางสวยงาม
ภาพบุคคล เหมาะสําหรับการถายภาพบุคคลกับฉากหลังในเวลากลางคืน
U เวลากลาง ขอแนะนําใหใชขาตั้งกลองและใชรีโมทคอนโทรลผาน OI.Share
คืน (หนา 107, 108)
m เด็ก เหมาะสําหรับการถายภาพเด็กหรือวัตถุที่มีการเคลื่อนไหว
เหมาะสําหรับการถายภาพกลางคืนโดยใชขาตั้งกลอง
ภาพกลาง
G ขอแนะนําใหใชขาตั้งกลองและใชรีโมทคอนโทรลผาน OI.Share
คืน
(หนา 107, 108)
ภาพบุคคล เหมาะสําหรับถายภาพบุคคลกับฉากหลังในเวลากลางคืน
U เวลากลาง ขอแนะนําใหใชขาตั้งกลองและใชรีโมทคอนโทรลผาน OI.Share
คืน (หนา 107, 108)
เหมาะสําหรับการถายภาพกลางคืนโดยไมใชขาตั้งกลอง ลดการ
โหมด
H เบลอขณะถายฉากที่มีแสงสลัว/มีแสงไฟ
ประกายดาว
กลองจะถายภาพแปดภาพแลวนํามารวมกันเปนภาพเดียว
เหมาะสําหรับการถายภาพพลุตอนกลางคืน
ภาพกลางคืน X พลุ ขอแนะนําใหใชขาตั้งกลองและใชรีโมทคอนโทรลผาน OI.Share
(หนา 107, 108)
กลองจะบันทึกภาพตอเนื่องหลายภาพ โดยบันทึกเฉพาะสวนที่สวาง
ขึ้นใหม รวมเปนหนึ่งภาพโดยอัตโนมัติ
การถายภาพเสนแสงตางๆ อยางเชนดาวหมุน ดวย Long Exposure
ทั่วไป จะทําใหแสงจากอาคารตางสวางจาขึ้นเรื่อยๆ และสวางมาก
Live
d เกินไป ดวยโหมดนี้ทานสามารถถายภาพโดยไมโอเวอรหรือสวาง
Composite
เกินไป อีกทั้งสามารถตรวจสอบผลลัพธหรือความคืบหนาขณะที่
ถายภาพไดดวย
• สําหรับขอมูลเกี่ยวกับการถายภาพโดยใชคุณสมบัตินี้ โปรดดู
“[Live Composite]: การถายภาพ Live Composite” (หนา 31)

28 TH
ประเภทของ
โหมด Scene คําอธิบาย
วัตถุ
เหมาะสําหรับการถายภาพเคลื่อนไหวเร็ว
C กีฬา
การเคลื่อนไหว กลองจะถายภาพหลายภาพขณะที่กดปุมชัตเตอร
m เด็ก เหมาะสําหรับการถายภาพเด็กหรือวัตถุที่มีการเคลื่อนไหว
F ทิวทัศน เหมาะสําหรับการถายภาพทิวทัศน
` อาทิตยตก เหมาะสําหรับการถายภาพพระอาทิตยตก

g
ชายทะเล เหมาะสําหรับการถายภาพภูเขาที่ปกคลุมดวยหิมะ ทิวทัศนทะเลใต 2
และหิมะ แสงอาทิตย และฉากอื่นๆ ที่มีสีขาวจัด
ถายภาพพาโนรามาดวยมุมมองภาพที่กวางกวาภาพถายอื่นๆ

ถายภาพ
ภาพทิวทัศน
ประมาณสองเทา
s พาโนรามา
• สําหรับขอมูลเกี่ยวกับการถายภาพโดยใชคุณสมบัตินี้ โปรดดู “พา
โนรามา” (หนา 32)
เหมาะสําหรับถายฉากที่มีคอนทราสตสูง ทุกครั้งที่กดปุมชัตเตอร
แบ็คไลท
E กลองจะถายภาพสี่ภาพและรวมทุกภาพเขาเปนภาพเดียวที่มีคาแสง
HDR
ถูกตอง
เหมาะสําหรับการถายภาพฉากใตแสงเทียน โดยจะรักษาโทนสีอุน
W ใตแสงเทียน
ไว
ถายภาพ เหมาะสําหรับการถายภาพบุคคล
B
บุคคล เผยผิวใหเห็นเดนชัด
โทนสีและเนื้อผิวดูเรียบเนียน โหมดนี้เหมาะสําหรับดูภาพบนทีวี
อี-พอรต
ภาพในอาคาร e ความละเอียดสูง กลองจะบันทึกภาพสองภาพ: ภาพหนึ่งจะมี
เทรต
เอฟเฟกต แตอีกภาพไมมี
m เด็ก เหมาะสําหรับถายภาพเด็กหรือวัตถุตนแบบอื่นๆ ที่เคลื่อนไหว
เหมาะสําหรับถายฉากที่มีคอนทราสตสูง ทุกครั้งที่กดปุมชัตเตอร
แบ็คไลท
E กลองจะถายภาพสี่ภาพและรวมทุกภาพเขาเปนภาพเดียวที่มีคาแสง
HDR
ถูกตอง

• เพื่อใหไดประโยชนสูงสุดของโหมด Scene การตั้งคาฟงกชั่นถายภาพบางสวนจะถูกปดการใชงาน


• บางครั้งอาจจําเปนจะตองบันทึกภาพถายโดยใช [อี-พอรตเทรต] นอกจากนี้ เมื่อโหมดคุณภาพของ
ภาพเปน [RAW] ภาพจะถูกบันทึกเปน RAW+JPEG
• ภาพ [โหมดประกายดาว] ที่ถายเมื่อเลือก [RAW] สําหรับคุณภาพของภาพจะถูกบันทึกในรูปแบบ
RAW+JPEG โดยที่ภาพแรกจะบันทึกเปนภาพ RAW และคอมโพสิตสุดทายจะเปนภาพ JPEG
• [แบ็คไลท HDR] จะบันทึกภาพถายที่ผานการประมวลผลเปนแบบ HDR ในรูปแบบ JPEG เมื่อโหมด
คุณภาพของภาพถูกตั้งเปน [RAW] ภาพจะถูกบันทึกเปน RAW+JPEG
- อาจมีนอยสที่สามารถสังเกตไดชัดเจนมากขึ้นในภาพที่ถายในสภาวะที่เกี่ยวของกับความเร็ว
ชัตเตอรชา
- เพื่อใหไดภาพที่ดีที่สุด ใหยึดกลองไวใหมั่นคง เชน ติดตั้งไวบนขาตั้งกลอง
- ภาพที่แสดงบนหนาจอขณะที่ถายจะแตกตางจากภาพที่ผานการประมวลผลเปนแบบ HDR
- โหมดภาพจะถูกกําหนดไวที่ [Natural] และพื้นที่สีจะถูกกําหนดไวที่ [sRGB]

TH 29
1 หมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ SCN

2 ไฮไลทประเภทของวัตถุที่ตองการดวย FGHI
หรือปุมหมุนควบคุม และกดปุม Q
2 щҕѥѕѓѥёзь ѓѥёдјѥкзѪь
ถายภาพ

дѥіѯзјѪѠ
ѷ ьѳўњ ѓѥёъѧњъ Ѥћьҙ

ѓѥёѲьѠѥзѥі

3 ไฮไลทโหมด Scene ที่ตองการดวย HI หรือปุม щҕѥѕѓѥёэѫззј

หมุนควบคุม และกดปุม Q
• หากตองการกลับสูหนาจอกอนหนา ใหกดปุม MENU
โดยไมตองกดปุม Q เพื่อเลือกโหมด Scene
• หากตองการเลือกโหมด Scene อื่น ใหกดปุม u (H)

4 ถายภาพ

30 TH
[Live Composite]: การถายภาพ Live Composite
1 หมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ SCN
2 เลือก [ภาพกลางคืน] ดวย FGHI หรือปุมหมุนควบคุม และกดปุม Q
3 เลือก [Live Composite] ดวย HI หรือปุมหมุนควบคุม และกดปุม Q
4 กดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งเพื่อโฟกัส
• หากตองการลดความพรามัวที่เกิดจากกลองสั่น ใหตั้งกลองไวบนขาตั้งกลองใหมั่นคงแลวใช
รีโมทคอนโทรลลั่นชัตเตอรผาน OI.Share (หนา 108) ในโหมดรีโมทไรสาย 2
• หากตัวแสดงโฟกัสกะพริบ แปลวากลองไมไดโฟกัส

ถายภาพ
5 กดปุมชัตเตอรลงจนสุดเพื่อถายภาพ
• กลองจะกําหนดการตั้งคาที่เหมาะสมโดยอัตโนมัติและเริ่มถายภาพ
• หลังจากกดปุมชัตเตอรแลวจะมีเวลาหนวงจนกวาจะเริ่มถายภาพ
• ภาพคอมโพสิตจะแสดงที่ชวงเวลาปกติ

6 กดปุมชัตเตอรอีกครั้งเพื่อหยุดถาย
• ดูผลการเปลี่ยนแปลงในจอภาพและกดปุมชัตเตอรเพื่อสิ้นสุดการถายภาพเมื่อไดภาพที่ตองการ
แลว
• ระยะเวลาการบันทึกในการถายหนึ่งครั้งจะสูงสุดถึง 3 ชั่วโมง

TH 31
พาโนรามา
1 หมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ SCN
2 เลือก [ภาพทิวทัศน] ดวย FGHI หรือปุมหมุนควบคุม และกดปุม Q
3 เลือก [พาโนรามา] ดวย HI หรือปุมหมุนควบคุม และกดปุม Q
4 กดปุมชัตเตอรเพื่อถายภาพแรก

2 5 แพนกลองชาๆ เพื่อจัดเฟรมภาพที่สอง กรอบเปา ตัวชี้


• กรอบเปาจะปรากฏขึ้น
แพนกลองชาๆ เพื่อใหตัวชี้และกรอบเปาซอนทับกัน กลอง
ถายภาพ

6
จะลั่นชัตเตอรโดยอัตโนมัติเมื่อตัวชี้และกรอบเปาซอนทับ
กัน
• หากตองการรวมสองเฟรมเขาดวยกัน ใหกดปุม Q
ѕдѯјѧд э Ѥьъѩд

หนาจอเมื่อรวมภาพจากซาย
ไปขวา

7 ทําซํ้าขั้นตอนที่ 5 เพื่อถายภาพที่สาม กลองจะรวมหลายเฟรมเขาเปนภาพพาโนรามา


เดี่ยวโดยอัตโนมัติ
• หากตองการยกเลิกฟงกชั่นพาโนรามา ใหกดปุม MENU

$ หมายเหตุ
• โฟกัส, คาแสง และคาอื่นๆ ที่คลายกันจะถูกกําหนดไวที่คาที่จะมีผลเมื่อเริ่มถายภาพ
• หากทานกดปุม Q หรือกดปุมชัตเตอรอีกครั้งกอนแพนกลองเพื่อยายเปาหมายไปที่ตัวชี้ การถายภาพ
จะสิ้นสุดและภาพพาโนรามาจะถูกสรางขึ้นจากเฟรมที่ถายไปจนถึงจุดนั้น

32 TH
การถายภาพระยะใกล (Microscope) (โหมด k)
ถายภาพไดจากระยะใกลวัตถุสูงสุด 1 ซม. ในโหมดนี้ ทานจะสามารถถายภาพที่มีระยะชัดลึกสูง
และถายครอมโฟกัสไดตามจํานวนภาพที่กําหนด
โหมดยอย การใชงาน
m ไมโครสโคป ถายภาพไดจากระยะใกลวัตถุสูงสุด 1 ซม.
กลองจะถายภาพหลายภาพและจะเปลี่ยนโฟกัสไปในแตละภาพโดยอัตโนมัติ
o โฟกัสซอน*1
จากนั้นจะสามารถรวมกันเปนภาพคอมโพสิตที่มีระยะชัดลึกสูง โดยจะมีการบันทึก 2
ภาพสองภาพ ไดแก ภาพแรกและภาพคอมโพสิต สามารถเลือกจํานวนภาพและ
ระยะเวลาที่กลองรอกอนเริ่มถายภาพไดโดยใช [ตั้งคาโฟกัสซอน] (หนา 86)

ถายภาพ
ในโหมดนี้ กลองจะถายภาพหลายภาพและจะเปลี่ยนโฟกัสไปในแตละภาพ
ถายครอม
p โดยอัตโนมัติ ตั้งคาจํานวนภาพและขั้นตอนการถายภาพไดใน [Focus BKT]
โฟกัส
(หนา 85)
ปรับใหเหมาะสมสําหรับการถายภาพระยะใกลโดยขยายวัตถุในจอภาพ โดยระดับ
การควบคุม การขยายเมื่อระยะการถายภาพเทากับ 1 ซม. จะปรากฏขึ้นบนจอภาพ กด I
n
ไมโครสโคป เพื่อซูมเขาในมุมมองผานเลนส (ซูม 2×) กดอีกครั้งเพื่อซูม 4× การกด I เมื่อ
เลือกซูม 4× จะยกเลิกการซูม ภาพอาจแตกที่ระดับกําลังขยายสูง

*1 อาจมีสถานการณที่ไมสามารถสรางภาพคอมโพสิตเนื่องจากกลองสั่นได

1 หมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ k

2 เลือกโหมดถายภาพ ดวย HI หรือปุมหมุนควบคุม ѳєѱзіѝѱзю

และกดปุม Q

3 ถายภาพ
• หากตองการถายภาพเปนชุดดวยระยะโฟกัสเทากัน ใหใชการล็อคโฟกัส (หนา 46) หรือ MF
(หนา 55)

$ หมายเหตุ
• เมื่อปุมหมุนปรับโหมดอยูที่ k หนาจอการเลือกโหมดรอง ("ยอย") จะแสดงไดโดยกดปุม u (H)

TH 33
การเลือกการตั้งคาที่เหมาะกับฉากใตนํ้า (โหมด ^)
เพียงเลือกโหมดยอยตามวัตถุหรือฉาก ทานก็จะสามารถถายภาพใตนํ้าดวยการตั้งคาที่เหมาะสม
ได
โหมดยอย การใชงาน
] V ภาพนิ่ง ปรับใหเหมาะสําหรับการถายภาพใตนํ้าที่ใชแสงธรรมชาติ
E V มุมกวาง เหมาะสําหรับการถายภาพใตนํ้า
2 w V มาโคร เหมาะสําหรับการถายภาพใตนํ้าระยะใกล
f V ไมโครสโคป เหมาะสําหรับถายภาพวัตถุที่อยูใตนํ้าจากระยะใกลสุดถึง 1 ซม.
ถายภาพ

เหมาะสําหรับการถายฉากใตนํ้า โหมดนี้จะจับภาพหลายภาพและรวมเปน
_ V HDR ภาพที่มีคาแสงเหมาะสมเพียงภาพเดียว โหมดนี้อาจทํางานไดไมดีสําหรับ
การถายภาพวัตถุที่เคลื่อนไหวเร็ว

1 หมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ ^

2 เลือกโหมดถายภาพ ดวย HI หรือปุมหมุนควบคุม V ѓѥёьѧк


ѷ

และกดปุม Q

3 ถายภาพ
• หากตองการถายภาพเปนชุดดวยระยะโฟกัสเทากัน ใหใชการล็อคโฟกัส (หนา 46) หรือ MF
(หนา 55)

$ หมายเหตุ
• เมื่อปุมหมุนปรับโหมดอยูที่ ^ หนาจอการเลือกโหมดรอง ("ยอย") จะแสดงไดโดยกดปุม u (H)

34 TH
โหมดโปรแกรมอัตโนมัติ (โหมด P)
ในโหมด P กลองจะเลือกรูรับแสงความเร็วชัตเตอรและความไวแสง ISO ที่เหมาะสมที่สุดตาม
ความสวางของวัตถุ หมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ P

S-IS ON
ISO-A
200

LN
FHD F
คาการชดเชย
แสง
2
30p

01:02:03

ถายภาพ
P 125 F5.6 0.0 1023

คารูรับแสง
ความเร็วชัตเตอร
โหมดถายภาพ

• ความเร็วชัตเตอรและคารูรับแสงที่กลองเลือกไวจะปรากฏขึ้น
• ทานสามารถปรับการชดเชยแสง (หนา 41) ไดโดยการหมุนปุมหมุนควบคุมหรือโดยการกดปุม F
(F) จากนั้นใชปุม HI เพื่อปรับชดเชยแสง

• ความเร็วชัตเตอรและคารูรับแสงที่แสดงจะกะพริบหากกลองไมไดรับคารับแสงที่ถูกตอง

TH 35
การเลือกรูรับแสง (โหมด A)
โหมด A คือโหมดถายภาพที่ทานสามารถเลือกคารูรับแสงและใหกลองปรับความเร็วชัตเตอรที่
เหมาะสมไดโดยอัตโนมัติ หมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ A แลวใชปุมหมุนควบคุมเพื่อเลือกคารูรับ
แสง

S-IS ON
ISO-A
200

2
LN
ถายภาพ

FHD F
30p

01:02:03
A 125 F5.6 1023

คารูรับแสง

• หลังจากกดปุม F (F) แลว ทานยังสามารถใช FG เพื่อเลือกรูรับแสงได

• หลังจากกดปุม F (F) แลว ทานยังสามารถปรับการชดเชยแสง (หนา 41) ไดโดยใชปุมหมุน


ควบคุมหรือ HI

• ความเร็วชัตเตอรที่แสดงจะกะพริบหากกลองไมไดรับคารับแสงที่ถูกตอง

36 TH
โหมดกําหนดเอง (Custom mode C1/C2)
ใชโหมดกําหนดเองเพื่อบันทึกและเรียกคืนการตั้งคา
• การตั้งคาที่แตกตางกันสามารถเก็บไวในโหมดกําหนดเองทั้งสองโหมด (C1 และ C2)

การบันทึกการตั้งคา
1 ปรับการตั้งคาเพื่อบันทึก
• หมุนปุมหมุนปรับโหมดไปยังตําแหนงอื่นที่ไมใช n (โหมดภาพเคลื่อนไหว) 2
2 กดปุม MENU เพื่อแสดงเมนูตางๆ

ถายภาพ
3 เลือกแท็บ W โดยใช FGH และกดปุม Q
4 เลือก [รีเซ็ต/เลือกโหมดกําหนดเอง] และกดปุม Q
5 เลือก [โหมดกําหนดเอง C1] หรือ [โหมดกําหนดเอง C2] แลวกดปุม Q
6 เลือก [ตั้งคา] และกดปุม Q
• การตั้งคาใดที่มีอยูจะถูกเขียนทับ
• หากตองการยกเลิกการลงทะเบียน ใหเลือก [ตั้งคาใหม]

รีเซ็ตการตั้งคา

1 หมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ C1 หรือ C2
• การตั้งคาที่บันทึกไวโดยใช [รีเซ็ต/เลือกโหมดกําหนด
เอง] > [โหมดกําหนดเอง C1] หรือ [โหมดกําหนดเอง
C2] ใน W เมนูถายภาพ 1 จะถูกเรียกคืน

2 ถายภาพ

TH 37
การบันทึกภาพเคลื่อนไหว
ทานสามารถถายภาพเคลื่อนไหวโดยใชโหมด n (ภาพเคลื่อนไหว) ของกลองได หรือทําการ
บันทึกขั้นพื้นฐานโดยไมหยุดการถายภาพนิ่ง
บันทึกภาพเคลื่อนไหวไดดวยปุม R (ภาพเคลื่อนไหว)
สามารถแสดงตัวเลือกและตัวบงชี้ที่เกี่ยวของกับภาพเคลื่อนไหวไดโดยหมุนปุมหมุนปรับโหมด
เพื่อเลือกโหมด n (ภาพเคลื่อนไหว)

2
ถายภาพ

โหมด n (ภาพเคลื่อนไหว) โหมดการถายภาพนิ่ง


เลือกโหมดนี้หากทานจะถายภาพ เลือกโหมดเหลานี้เพื่อถายภาพเคลื่อนไหว
เคลื่อนไหวเปนหลัก ระหวางการถายภาพนิ่ง

• เซ็นเซอรภาพ CMOS ของชนิดที่ใชในกลองจะสรางเอฟเฟกตที่เรียกวา“ ชัตเตอรหมุน” ซึ่งอาจทําให


เกิดการบิดเบือนในภาพของวัตถุเคลื่อนไหว ความผิดเพี้ยนนี้เปนลักษณะทางกายภาพที่เกิดขึ้นใน
รูปภาพของวัตถุที่เคลื่อนไหวเร็ว หรือหากเคลื่อนยายกลองระหวางการถายภาพ เมื่อใชความยาว
โฟกัสที่ยาว ลักษณะอาการนี้จะปรากฏเดนชัดยิ่งขึ้น
• ไมสามารถใชปุม R เพื่อบันทึกภาพเคลื่อนไหวไดในกรณีตอไปนี้:
ขณะที่กดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งหรือถายตอเนื่อง, การถายภาพตามชวงเวลา, Live Composite
หรือการถายภาพพาโนรามา
• เสียงปบจะไมดังเมื่อกลองโฟกัสในโหมดภาพเคลื่อนไหว

การบันทึกภาพเคลื่อนไหวในโหมดถายภาพ

1 กดปุม R เพื่อเริ่มบันทึก
• ภาพเคลื่อนไหวที่กําลังบันทึกจะแสดงขึ้นบนจอภาพ

2 กดปุม R อีกครั้งเพื่อสิ้นสุดการบันทึก

38 TH
การบันทึกภาพเคลื่อนไหวในโหมดภาพเคลื่อนไหว (โหมด n)

1 หมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ n

2
2 กดปุม Q เพื่อแสดง Live Control แลวใช FG

ถายภาพ
เลือก n คุณภาพของภาพเคลื่อนไหว (หนา 57) ISO
AUTO

WB
AUTO

AF
16:9

LN
FHD F
1920×1080 Fine 30p 30p

n FHD HS
120fps 1:02:03

n คุณภาพของภาพเคลื่อนไหว

3 เลือกคุณภาพที่ตองการดวย HI และกดปุม Q

4 กดปุม R เพื่อเริ่มบันทึก
• กดปุม R อีกครั้งเพื่อสิ้นสุดการบันทึก

• ระดับเสียงระหวางการบันทึกจะแสดงดวยระดับการบันทึก ระดับการบันทึกเสียง
เสียง ยิ่งตัววัดระดับเขาใกลสีแดงมาก ระดับการบันทึก L

เสียงก็จะยิ่งสูงขึ้น
R

M-IS ON

• สามารถปรับระดับการบันทึกไดจาก n เมนูวิดีโอ
ISO-A
200

g [ระดับเสียงบันทึก] (หนา 87) AF

FHD F
30p

● REC 00:01
n 0:07:48

$ หมายเหตุ
• เสียงปบจะไมดังเมื่อกลองโฟกัสในโหมดภาพเคลื่อนไหว

TH 39
การใชการตั้งคาตางๆ
การตั้งคาการถายภาพสามารถปรับไดดวยวิธีใดวิธีหนึ่งตอไปนี้:
ปุมสั่งตรง (หนา 41)
กําหนดฟงกชั่นที่ใชบอยให FGHI เพียงแคกดปุม
ทานก็จะสามารถเลือกฟงกชั่นที่กําหนดไวไดโดยตรง
คุณสมบัติบางอยางอาจใชไมได ทั้งนี้จะขึ้นอยูกับโหมด
2 ถายภาพและการตั้งคากลอง g “รายการของการตั้ง
คาที่ใชไดในโหมดถายภาพแตละโหมด” (หนา 136)
ถายภาพ

Live Control (หนา 48)


ปรับการตั้งคาไดในขณะที่ดูตัวอยางผลลัพธในจอแสดง
ISO
ผล ไมสามารถใชบางฟงกชั่นไดในโหมดถายภาพบาง
AUTO

WB
โหมด g “รายการของการตั้งคาที่ใชไดในโหมดถาย
ภาพแตละโหมด” (หนา 136)
AUTO

AF
4:3

LN
FHD F
WB Ѡ Ѥшѱьє Ѥшѧ 30p

P AUTO
AUTO

เมนู (หนา 78)


ѯєьѬщѥҕ ѕѓѥё 1 เขาใชฟงกชั่นตางๆ ไดแก การถายภาพ การแสดงภาพ
11 іѨѯоѶ ш/ѯјѪѠдѱўєчдѼѥўьчѯѠк เวลาและวันที่ รวมไปถึงการตั้งคาการแสดงผล
2 ѱўєчѓѥё
ёѪь ѷ іѠэ AF
ҟ ъѨд I

дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

40 TH
การตั้งคาที่สามารถเขาถึงไดผานปุมสั่งตรง
กําหนดฟงกชั่นที่ใชบอยให FGHI เพียงแคกดปุม ทานก็จะสามารถเลือกฟงกชั่นที่กําหนดไว
ไดโดยตรง
คุณสมบัติบางอยางอาจใชไมได ทั้งนี้จะขึ้นอยูกับโหมดถายภาพและการตั้งคากลอง g “รายกา
รของการตั้งคาที่ใชไดในโหมดถายภาพแตละโหมด” (หนา 136)

การควบคุมการรับแสง (คาแสง F)
เลือกคาบวก (“+”) เพื่อทําใหภาพสวางขึ้น และเลือกคาลบ (“–”) เพื่อทําใหภาพมืดลง สามารถ 2
ปรับคาแสงได ±2.0 EV

ถายภาพ
คาลบ (–) ไมมีการชดเชยแสง (0) คาบวก (+)

วิธีที่ใชจะแตกตางกันไปตามโหมดถายภาพ
โหมดถายภาพ วิธี
โหมด P/โหมดกําหนดเอง/โหมด หมุนปุมหมุนควบคุม
ภาพเคลื่อนไหว/โหมด ^/ หรือ
โหมด k กดปุม F (F) และกดปุม HI
กดปุม F (F) และหมุนปุมหมุนควบคุม
โหมด A หรือ
กดปุม F (F) และกดปุม HI

• ฟงกชั่นชดเชยแสงจะเลือกใชไมไดในโหมด B หรือ SCN

TH 41
ซูม (ดิจิทัลเทเลคอน)
ซูมเขาและบันทึกศูนยกลางของเฟรม ในโหมด P, A และ n อัตราการซูมจะเพิ่มขึ้นครั้งละ 2×
แตหากเลือก n (การควบคุมไมโครสโคป) ไวในโหมด k ทานจะเลือกไดระหวางซูม 2× และ

1 หมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ P, A, n หรือ k
• หากหมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ k ใหเลือก
n (การควบคุมไมโครสโคป)
2
ถายภาพ

2 หากหมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ P, A หรือ n ให ดิจิทัลเทเลคอน


กด H 2

หากหมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ k ใหกด I S-IS ON


ISO-A
200

• อัตราการซูมจะเพิ่มขึ้นครั้งละ 2× และไอคอน H จะ
ปรากฏขึ้น หากตองการยกเลิกการซูม ใหกด H
• หากหมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ k การกด I จะเพิ่มการ LN

ซูมครั้งละ 2× กด I อีกครั้งเพื่อซูม 4× และครั้งที่สาม


FHD F
30p

01:02:03
เพื่อยกเลิกการซูม P 125 F5.6 0.0 1023

• ภาพ JPEG จะถูกบันทึกตามอัตราสวนการซูมที่เลือก ในกรณีที่เปนภาพ RAW กรอบภาพจะแสดงการ


ครอบตัดการซูม เฟรมที่แสดงการครอบตัดการซูมจะปรากฏบนภาพในระหวางการแสดงภาพ
• ในกรณีที่เปนภาพเคลื่อนไหว 4K และความเร็วสูงแบบ ดิจิทัลเทเลคอนจะถูกปดใชงานโดยอัตโนมัติ
เมื่อเริ่มการบันทึก
• [พื้นที่กรอบ AF] จะถูกกําหนดไวที่ [I] (เปาเดียว)

การถายภาพตอเนื่อง/ตั้งเวลา
ทานสามารถถายภาพตอเนื่องเปนชุดไดดวยการกดปุมชัตเตอรลงจนสุดแลวคางไว นอกจากนี้ทาน
ยังสามารถถายภาพโดยการใชระบบตั้งเวลาได

1 กดปุม jY (G)

зікѯчѨ
Ѥҟ ѕњ

P o T S J

42 TH
2 การตั้งคาตัวเลือกดวย HI หรือปุมหมุนควบคุม
o ครั้งเดียว ถายครั้งละ 1 เฟรมเมื่อกดปุมชัตเตอร
กดปุมชัตเตอรลงจนสุดเพื่อถายภาพเปนชุด
• หากตองการเลือกอัตราเฟรมขั้นสูง ใหเลือก [ถายตอเนื่องความเร็ว
สูง] แลวกดปุม INFO กอนกดปุม Q เลือกอัตราเฟรมขั้นสูงตั้งแต
ถายตอเนื่อง
T ประมาณ 10 เฟรมตอวินาที (10 fps) หรือ 20 เฟรมตอวินาที (20 fps)
ความเร็วสูง
ใช FGHI หรือปุมหมุนควบคุมเพื่อเลือกอัตราเฟรมชั้นสูงแลวกดปุม
Q เพื่อเลือก
• ปดใชแฟลช 2
ถายตอเนื่อง
S ภาพจะถูกถายที่ประมาณ 5 fps เมื่อกดปุมชัตเตอรลงจนสุด
ชา

ถายภาพ
กดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งเพื่อโฟกัสจนเริ่มจับเวลา อันดับแรก ไฟแสดงการ
Y12s Y 12 วินาที ตั้งเวลาถายภาพอัตโนมัติจะติดเปนเวลาประมาณ 10 วินาที และจะกะพริบ
ประมาณ 2 วินาที จากนั้นกลองจึงถายภาพ
กดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งเพื่อโฟกัสจนเริ่มจับเวลา ไฟแสดงการตั้งเวลาถาย
Y2s Y 2 วินาที
ภาพอัตโนมัติจะกะพริบประมาณ 2 วินาที แลวกลองจะถายภาพ
กดปุม INFO เพื่อตั้งคา [Y ตั้งเวลาถาย], [เฟรม] และ [ชวงเวลา]
Self-timer
ใช HI เพื่อเลือกรายการแลวใชปุม FG ในการเลือกคา
YC แบบกําหนด
โฟกัส คาแสงและไวทบาลานซจะถูกกําหนดไวที่คาสําหรับภาพแรกใน
เอง
แตละชุด
การถายภาพตอเนื่องจะเริ่มตนขึ้นเมื่อทานกดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง กดปุม
ชัตเตอรลงจนสุดเพื่อเริ่มบันทึกภาพที่ถายไวในการด รวมถึงที่กดลงครึ่ง
J Pro Capture หนึ่งดวย โฟกัส คาแสงและไวทบาลานซจะถูกกําหนดไวที่คาสําหรับภาพ
แรกในแตละชุด g “Pro Capture” (หนา 44)
• ปดใชแฟลช

3 กดปุม Q
• วางกลองใหมั่นคงบนขาตั้งกลองสําหรับการตั้งเวลาถายภาพ
• หากทานยืนอยูหนากลองแลวกดปุมชัตเตอรเมื่อใชงานระบบตั้งเวลา ภาพอาจหลุดโฟกัสได
• เมื่อทานใช S Live View จะแสดงขึ้น ใน T จอแสดงผลจะแสดงภาพถายลาสุดระหวางที่ถาย
ภาพตอเนื่อง
• ในระหวางการถายภาพตอเนื่อง หากไอคอนแสดงระดับแบตเตอรี่กะพริบเนื่องจากแบตเตอรี่ตํ่า กลอง
จะหยุดถายภาพและเริ่มบันทึกภาพที่ถายไวลงในการด กลองอาจไมบันทึกภาพทั้งหมด ทั้งนี้ขึ้นอยู
กับระดับแบตเตอรี่ที่เหลืออยู

$ หมายเหตุ
• หากตองการยกเลิกการใชงานระบบตั้งเวลา ใหกดปุม MENU
• การตั้งเวลาถายจะไมยกเลิกโดยอัตโนมัติหลังจากถายภาพ

TH 43
Pro Capture
ในโหมด Pro Capture กลองบันทึกภาพในอัตราประมาณ 10 เฟรมตอวินาที โดยเริ่มตนที่
ประมาณ 0.5 วินาทีกอนที่จะกดปุมชัตเตอรลงจนสุด ใชโหมดนี้เพื่อจับภาพชวงเวลาที่ทานอาจ
พลาดไปเนื่องจากความลาชาของชัตเตอร
การถายภาพตอเนื่อง
สูงสุด 5 เฟรม ดําเนินตอไป

2
ถายภาพ

กดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง ชวงเวลาที่ตองการ กดปุมชัตเตอรลงจนสุด

ชัตเตอรชา

เพื่อลดความลาชาระหวางการกดปุมชัตเตอรลงจนสุดและการเริ่มบันทึก กลองจะเริ่มถายภาพ
หลายภาพโดยใชชัตเตอรอิเล็กทรอนิกสเมื่อกดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง และจะเริ่มบันทึกภาพไป
ยังการดเมื่อกดปุมชัตเตอรลงจนสุด รวมถึงภาพที่ถายเมื่อกดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งดวย (สูงสุด 5
ภาพ)

1 กดปุม jY (G)

2 เลือกโหมด J (Pro Capture) โดยใช HI หรือปุมหมุนควบคุม และกดปุม Q


3 กดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งเพื่อเริ่มถายภาพ
4 กดปุมชัตเตอรลงจนสุดเพื่อเริ่มบันทึกลงในการด
• กลองจะถายภาพตอไปจนสูงสุดถึงหนึ่งนาทีในขณะที่กดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง การดําเนินการถาย
ภาพตอ ใหกดปุมลงครึ่งหนึ่งอีกครั้ง
• การสั่นที่เกิดขึ้นจากแสงไฟฟลูออเรสเซนหรือการเคลื่อนไหวขนาดใหญของวัตถุ ฯลฯ อาจทําใหเกิด
ภาพบิดเบี้ยว
• จอภาพจะไมดับมืดและเสียงชัตเตอรจะไมดังออกมาในขณะที่ถายครอม
• มีการจํากัดความเร็วชัตเตอรชาสุด

44 TH
การใชแฟลช (การถายภาพโดยใชแฟลช)
ทานสามารถใชแฟลชตอนถายภาพได

1 กดปุม # (I)

2
ไฮไลทโหมดแฟลชโดยใช HI หรือปุมหมุนควบคุม และกดปุม Q

ถายภาพ
2
AUTO แฟลชอัตโนมัติ กลองจะยิงแฟลชอัตโนมัติในที่มีแสงนอยหรือยอนแสง
# ฟลอินแฟลช กลองจะยิงแฟลชไมวาสภาพแสงจะเปนอยางไร
0 ลดตาแดง แฟลชทํางานเพื่อลดการเกิดตาแดง
$ ปดแฟลช แฟลชไมทํางาน
ลดตาแดง ชัตเตอรชา
การถายภาพดวย
1 ชัตเตอรชา การถายภาพดวยชัตเตอรชารวมกับแฟลชลดตาแดง
(มานชัตเตอรที่ 1/
แฟลชลดตาแดง)
Slow
การถายภาพดวย แฟลชทํางานโดยมีความเร็วชัตเตอรชาเพื่อทําใหพื้นหลังที่มี
2 ชัตเตอรชา แสงสลัวสวางขึ้น
(มานชัตเตอรที่ 1)
ควบคุมแสงแฟลชดวยตัวเอง หากทานไฮไลท [คากําหนด
3, คากําหนดเอง เอง] และกดปุม INFO กอนที่จะกดปุม Q ทานจะสามารถ
4 ฯลฯ ปรับแสงแฟลชไดโดยใช FGHI หรือปุมหมุนควบคุม
แฟลชใตนํ้าหรือแฟลช RC ไรสายของ Olympus จะใชเพื่อ
#RC รีโมทคอนโทรล ถายภาพ โปรดดูรายละเอียดไดที่ “การถายภาพดวยระบบ
แฟลช RC ไรสายของ Olympus” (หนา 125)
ไฟ LED จะติดเมื่อถายภาพ วิธีนี้จะมีประสิทธิภาพสําหรับการ
q เปด LED
ถายภาพระยะใกล

• ใน [0 (ลดตาแดง)] หลังจากยิงแฟลชนําแลว จะตองรอประมาณ 1 วินาทีจึงจะลั่นชัตเตอรได หาม


เคลื่อนยายกลองจนกวาจะถายเสร็จ
• [0 (ลดตาแดง)] อาจทํางานไมไดผลภายใตสภาวะการถายภาพบางอยาง
• ความเร็วชัตเตอรจะชาลงเมื่อใช [2 (Slow)] ยึดกลองไวกับขาตั้งกลอง
• คุณสมบัติบางอยางอาจใชไมได ทั้งนี้จะขึ้นอยูกับโหมดถายภาพและการตั้งคากลอง g “รายการข
องการตั้งคาที่ใชไดในโหมดถายภาพแตละโหมด” (หนา 136)

TH 45
การล็อคโฟกัส
ทานสามารถล็อคโฟกัสไวในตําแหนงที่ตองการได

1 กดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งเพื่อโฟกัส กรอบ AF ล็อค

2 จับกลองใหอยูในตําแหนง ใหกดปุม Q S-IS ON

• กลองจะโฟกัสและล็อคตําแหนง

2 Focus
LN
FHD F
30p

01:02:03
125 F5.6 1023
ถายภาพ

• ในขณะที่ใชล็อคโฟกัส จะสามารถปรับระยะทางโฟกัสไดโดยใช FG หรือปุมหมุนควบคุม


• การกดปุม Q, การซูม, การกดปุม MENU และการใชงานอื่นๆ ก็สามารถปลดการล็อคโฟกัสได
• หากตัวแสดงโฟกัสกะพริบเมื่อกดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งโดยที่เลือก [d Live Composite]
(หนา 28, 31) ไวสําหรับโหมด SCN ทานจะสามารถกําหนดโฟกัสเปนจุดอนันตไดโดยการกดปุม
Q
• การล็อคโฟกัสจะใชไมไดในโหมด B และโหมด SCN บางโหมด

46 TH
การใชไฟ LED
ในขณะที่แฟลชจะสวางเพียงชั่วครูเทานั้น แตไฟ LED จะติดสวางเปนเวลานานกวา ซึ่งยังสามารถ
ใชแทนแสงแฟลชได

1 กดปุม INFO คางไว

ถายภาพ
2 ปลอยปุมเมื่อไฟ LED ติดสวาง ไฟ LED
• ไฟชวยสองสวางจะสวางแมวากลองจะปดอยู

 เมื่อเปดกลอง
ไฟ LED จะติดคางอยูประมาณ 90 วินาทีขณะที่ใชงานปุมควบคุมกลอง หรือนานถึงประมาณ 30
วินาทีหากไมมีการใชงานใดๆ
• สามารถใชไฟ LED ระหวางการบันทึกภาพเคลื่อนไหวได แตจะใชในการบันทึกภาพเคลื่อนไหว 4K
ไมได
 เมื่อปดกลอง
ไฟ LED จะติดสวางอยูประมาณ 30 วินาที ไมวาทานจะใชงานปุมควบคุมกลองหรือไม
• ไฟ LED จะดับโดยอัตโนมัติหากทาน:
• กดปุม ON/OFF,
• ใชสวิตช LOG,
• แสดงเมนู,
• เชื่อมตอหรือถอดสาย USB หรือ
• เชื่อมตอกับเครือขาย Wi-Fi
การปดไฟ LED
กดปุม INFO คางไวจนกวาไฟ LED จะดับ

TH 47
การตั้งคาตางๆ ผาน Live Control
ทานสามารถใช Live Control ในการเลือกฟงกชันการถายภาพไดในขณะที่กําลังตรวจสอบ
เอฟเฟกตบนหนาจอ
• การตั้งคาที่เลือกจะมีผลในโหมด P, A และ n ทั้งหมด

หนาจอ Live Control

2
ISO
AUTO
ถายภาพ

WB
AUTO
ฟงกชั่น
AF
4:3

LN
FHD F
WB Ѡ Ѥшѱьє Ѥшѧ 30p

P AUTO
AUTO การตั้งคา

 การตั้งคาที่ใชงานได
โหมดภาพ ....................................... หนา 50 K ปองกันภาพสั่น*3 .......................... หนา 59
โหมด Scene*1 ................................ หนา 28 n ปองกันภาพสั่น*2........................... หนา 59
ความไวแสง ISO .............................. หนา 52 แฟลช*3*4 ...................................... หนา 45
ไวทบาลานซ ................................... หนา 53 การชดเชยแฟลช*3 ........................... หนา 59
โหมด AF ........................................ หนา 55 ถายภาพตอเนื่อง/ตั้งเวลา ................... หนา 42
อัตราสวนภาพ .................................. หนา 55 โหมดวัดแสง*3................................. หนา 60
K คุณภาพของภาพนิ่ง..................... หนา 56 โฟกัสใบหนา ................................... หนา 60
n คุณภาพของภาพเคลื่อนไหว .......... หนา 57 อุปกรณเสริม .................................... หนา 61
*1 แสดงเฉพาะในโหมด Scene
*2 แสดงเฉพาะในโหมดภาพเคลื่อนไหว
*3 ไมแสดงในโหมดภาพเคลื่อนไหว
*4 กลองจะเก็บการตั้งคาสําหรับ P, A, ^ (โหมดใตนํ้า) และ k (โหมดไมโครสโคป) แยกกันและจะ
เรียกคืนในครั้งตอไปที่เลือกโหมดแมจะปดกลองแลวก็ตาม

1 กดปุม Q เพื่อแสดง Live Control


• หากตองการซอน Live Control ใหกดปุม Q อีกครั้ง

48 TH
2 ใช FG เพื่อเลือกฟงกชั่นที่ตองการ แสดงชื่อฟงกชั่นที่เลือก เคอรเซอร
และใช HI เพื่อเลือกการตั้งคาที่
ตองการ และกดปุม Q ISO
AUTO

• ทานสามารถใชปุมหมุนควบคุมเพื่อเลือก WB
AUTO
F
AF
การตั้งคาได 4:3 G
• การตั้งคาที่เลือกจะมีผลโดยอัตโนมัติหาก LN
FHD F
WB Ѡ Ѥшѱьє Ѥшѧ
ไมมีการดําเนินการใดๆ เปนเวลาประมาณ
30p

เคอรเซอร P AUTO
AUTO
8 วินาที
HI หรือ P
2
• ไมสามารถใชบางรายการไดในโหมดถายภาพบางโหมด g “รายการของการตั้งคาที่ใชไดในโหมด
ถายภาพแตละโหมด” (หนา 136)

ถายภาพ
$ หมายเหตุ
• สําหรับการตั้งคาตั้งตนของแตละตัวเลือก โปรดดู “การตั้งคาเริ่มตน/กําหนดเอง” (หนา 140)

TH 49
ตัวเลือกการประมวลผล (โหมดภาพ)
ทานสามารถเลือกโหมดถายภาพ แลวปรับคาแตละคาสําหรับความตางสี, ความคมชัด และคา
พารามิเตอรอื่นๆ (หนา 81) การเปลี่ยนเปนโหมดถายภาพแตละโหมดจะถูกบันทึกไวแยกตางหาก

1 กดปุม Q และใช FG เพื่อไฮไลทโหมดภาพ


ISO

เลือกตัวเลือกดวย HI และกดปุม Q
AUTO

2 WB
AUTO

AF
4:3

2 Natural
LN
FHD F
30p

P AUTO
ถายภาพ

โหมดภาพ

 ตัวเลือกของโหมดภาพ

i-Enhance ใหผลลัพธที่นาประทับใจยิ่งขึ้นโดยปรับใหเหมาะสมกับฉาก
Vivid สรางสีสดใส
Natural สรางสีธรรมชาติ
Muted สรางโทนสีเรียบ
Portrait สรางโทนสีผิวที่สวยงาม
โมโนโทน สรางโทนสีขาวดํา
เลือกโหมดภาพที่มีอยู แกไขพารามิเตอรและบันทึกเปนโหมด
ตั้งคาเอง
ภาพที่กําหนดเอง
สรางพื้นผิวที่เรียบเนียน โหมดนี้ไมสามารถใชกับการถายภาพ
v อี-พอรตเทรต
ครอมหรือเมื่อถายภาพเคลื่อนไหว
ประมวลผลภาพเพื่อรักษาสีที่สดใสที่เห็นใตนํ้าไว
F ใตนํ้า • ขอแนะนําใหเลือก [ปด] สําหรับ [#+WB] (หนา 98) เมื่อใช
ตัวเลือกนี้
/ * ปอปอารต ปรับปรุงสีและบรรยากาศของภาพใหสวางและสดใสยิ่งขึ้น
แสดงบรรยากาศที่บางเบาดวยโทนสีออนและทําใหภาพดูเหมือน
ภาพนุม
ความฝน
/ * สีซีดจาง แสดงความรูสึกเบาสบายดวยการทําใหภาพซีดและสวางมากขึ้น
โทนแสงออน สรางภาพคุณภาพสูงโดยทําใหทั้งเงาและไฮไลทเบาบางลง
/ * ภาพเกรนแตก แสดงความความหยาบของสีดําและสีขาว
แสดงเอฟเฟกตอุโมงคที่ดูเหมือนถายดวยกลองเกาหรือกลอง
/ / * กลองรูเข็ม
ของเลนโดยลดความสวางบริเวณขอบภาพ

50 TH
สรางภาพยอสวนโดยเนน ความอิ่มสีและความตางสี และเบลอ
/ * ไดโอรามา
สวนที่อยูนอกโฟกัส
/ * ครอสโปรเซส สรางภาพที่แสดงบรรยากาศเกินจริง
สรางภาพคุณภาพสูงโดยทําใหแสงเงาเดนชัดขึ้นและทําใหภาพ
ซีเปยนุม
ทั้งหมดนุมนวลขึ้น
สรางภาพที่เนนความแตกตางระหวางความมืดและความสวาง
/ * โทนสีเกินจริง
โดยเพิ่มความตางสีเปนบางสวน
/ * คียไลน สรางภาพที่เนนขอบภาพและเพิ่มสไตลที่ชัดเจน
สรางภาพที่นุมนวลและสดใสโดยลบสวนที่มืดออก ผสมสีออน 2
/ * สีนํ้า
บนผืนผาใบสีขาว และปรับเคาโครงใหนุมนวลยิ่งขึ้น

ถายภาพ
แสดงภาพถายประจําวันในโทนสีเกา โบราณ โดยใชสีแผนฟลม
/ / * ยอนยุค
ที่สีเปลี่ยนและซีดจาง
โหมดเลือกสี แสดงภาพวัตถุอยางนาประทับใจโดยการใหสีสวนที่ตองการเนน
/ / *
เฉพาะ และทําใหสวนอื่นๆ เปนโมโนโทน
เอฟเฟกต “บลีชบายพาส” ซึ่งทานอาจพบไดในภาพเคลื่อนไหว
/ * บลีชบายพาส และอื่นๆ ที่คลายกัน จะสามารถนํามาใชเพื่อใหเกิดเอฟเฟกตที่ดี
ไดในภาพถายภูมิทัศนถนนหรือภาพวัตถุโลหะ
ฟลมอินสแตนท การถายภาพที่มีการไลระดับโทนสีผิวและแสงเงาแบบภาพฟลม

* เวอรชั่น 2 และ 3 ปรับปรุงมาจากตนฉบับ (1)

• เมื่อเลือก [ART] สําหรับโหมดถายภาพ [ปริภูมิสี] (หนา 98) จะล็อคไวที่ [sRGB]

TH 51
 การใช [โหมดเลือกสีเฉพาะ]
บันทึกเฉพาะโทนสีที่เลือก

1 กดปุม Q และใช FG เพื่อเลือกโหมดภาพถาย


2 เลือก [โหมดเลือกสีเฉพาะ 1/2/3] โดยใช HI

3 กดปุม INFO
• วงแหวนสีจะปรากฏขึ้นในหนาจอ Color

2
ถายภาพ

วงแหวนสี

4 เลือกสีโดยใช HI หรือปุมหมุนควบคุม
• เอฟเฟกตจะสามารถมองเห็นไดในจอแสดงผล

5 ถายภาพ

การตั้งคาความไวแสง (ISO)
การเพิ่มความไวแสง ISO จะเพิ่มนอยส (เม็ดหยาบ) แตจะถายภาพเมื่อแสงสวางนอยได

1 กดปุม Q จากนั้นไฮไลทคาความไวแสง ISO โดยใช


ปุม FG ISO
AUTO
WB
AUTO

2 เลือกตัวเลือกดวย HI และกดปุม Q AF
4:3

ѰьѣьѼѥ LN
FHD F
250 F5.6 0.0 30p

P AUTO
AUTO 100 125 160 200 250 320

ISO

กลองจะปรับความไวโดยอัตโนมัติตามสภาวะการถายภาพ ทานสามารถปรับคาความ
AUTO ไวแสง ISO สูงสุดและการตั้งคา ISO อัตโนมัติอื่นๆ ไดโดยใชตัวเลือก [เซ็ต ISO
อัตโนมัติ] ในเมนูกําหนดเอง (หนา 97)
100–12800 คาความไวแสงจะถูกกําหนดไวตามคาที่เลือก

52 TH
การปรับสมดุลแสงสีขาว (ไวทบาลานซ)
ไวทบาลานซ (WB) ชวยใหมั่นใจไดวาวัตถุสีขาวในภาพที่บันทึกดวยกลองจะเปนสีขาว [W]
เหมาะที่จะใชในสถานการณสวนใหญ แตสามารถเลือกคาอื่นตามแหลงกําเนิดแสงไดเมื่อ [W]
ไมสามารถสรางผลลัพธที่ตองการหรือเมื่อตองการใหสีในภาพแปลกไป

1 กดปุม Q และใช FG เพื่อไฮไลทไวทบาลานซ


ISO

เลือกตัวเลือกดวย HI และกดปุม Q
AUTO

2 WB
AUTO

AF
4:3

LN
2
FHD F
WB Ѡ Ѥшѱьє Ѥшѧ 30p

ถายภาพ
P AUTO
AUTO

ไวทบาลานซ

โหมด WB อุณหภูมิสี สภาพแสง


สําหรับสภาพแสงสวนใหญ (เมื่อมีสวนที่เปนสีขาว
ไวทบาลานซ
W — อยูในเฟรมภาพบนหนาจอ) ใหใชโหมดนี้สําหรับ
อัตโนมัติ
การใชงานทั่วไป
สําหรับถายภาพกลางแจงในวันที่อากาศแจมใส
5 5300 K หรือเก็บภาพสีแดงของอาทิตยตก หรือสีในการ
แสดงดอกไมไฟ
สําหรับถายภาพกลางแจงแตอยูในรมเงาของวันที่
N 7500 K
อากาศแจมใส
O 6000 K สําหรับถายภาพกลางแจงในวันที่เมฆมาก
1 ไวทบาลานซ 3000 K สําหรับถายภาพใตแสงหลอดไฟ
ที่ตั้งคาไวลวง
> 4000 K สําหรับถายภาพใตแสงไฟฟลูออเรสเซน
หนา
สําหรับภาพที่ถายในนํ้าตื้น (ประมาณไมเกิน
g* —
3 เมตร)
h* — สําหรับถายภาพใตนํ้าลึกตั้งแต 3 ถึง 15 เมตร
สําหรับภาพที่ถายใตนํ้าลึกกวา 15 เมตร
i* —
• ใชเคสกันนํ้าเมื่อถายภาพใตนํ้าลึกกวา 15 เมตร
n 5500 K สําหรับถายภาพโดยใชแฟลช
กดปุม INFO เพื่อวัดไวทบาลานซโดยใชเปาสี
อุณหภูมิสีที่ตั้งคา ขาวหรือสีเทาเมื่อใชแฟลชหรือแหลงกําเนิดแส
P/Q/ ไวทบาลานซ
โดยไวทบาลานซ งอื่นๆ ที่ไมทราบประเภท หรือเมื่อถายภาพภาย
W/X One-touch
One-touch ใตแสงสวางที่ผสมกัน g “ไวทบาลานซ One-
touch” (หนา 54)
ไวทบาลานซ หลังกดปุม INFO ใหใช FGHI เพื่อเลือก
– 2000 K – 14000 K
กําหนดเอง อุณหภูมิสี จากนั้นใหกดปุม Q

* ขึ้นอยูกับสภาพอากาศและทะเล ฯลฯ

TH 53
ไวทบาลานซ One-touch
วัดคาไวทบาลานซโดยจัดกรอบบนแผนกระดาษหรือวัตถุอื่นๆ ที่เปนสีขาวภายในแสงไฟที่จะใชใน
การถายภาพ ซึ่งจะเปนประโยชนขณะถายภาพวัตถุใตแสงธรรมชาติ รวมทั้งแหลงกําเนิดแสงตางๆ
ที่มีอุณหภูมิสีตางกัน

1 เลือก [P], [Q], [W] หรือ [X] (ไวทบาลานซ


One-touch 1, 2, 3 หรือ 4) จากนั้นกดปุม INFO
• หนาจอไวทบาลานซ One-touch จะปรากฏขึ้น
2
ถายภาพ

2 ถายภาพกระดาษไรสี (สีขาวหรือสีเทา)
• จัดกรอบกระดาษเพื่อใหกรอบเต็มจอภาพและไมมีเงาบัง

3 เลือก [ใช] และกดปุม Q


• คาใหมจะถูกบันทึกไวเปนตัวเลือกไวทบาลานซที่ตั้งไวลวงหนา
• คาใหมจะถูกจัดเก็บไวจนกวาจะมีการวัดไวทบาลานซ One-touch อีกครั้ง การปดสวิตชกลองจะ
ไมทําใหขอมูลถูกลบ

54 TH
การเลือกโหมดโฟกัส (โหมด AF)
ทานสามารถเลือกวิธีการโฟกัสได (โหมดโฟกัส) ทานสามารถเลือกแยกวิธีการโฟกัสสําหรับโหมด
การถายภาพและโหมดภาพเคลื่อนไหวได

1 กดปุม Q และใช FG เพื่อเลือกโหมด AF


ISO
AUTO

WB
AUTO

AF
4:3

ѱђд ѤѝѠ Ѥшѱьє Ѥшѧ


LN
FHD F
30p
2
P AF MF  

ถายภาพ
โหมด AF

2 เลือกตัวเลือกโดยใช HI และกดปุม Q
กลองจะโฟกัสโดยอัตโนมัติเมื่อกดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง ทานสามารถ
AF (โฟกัสอัตโนมัติ) เลือกพื้นที่โฟกัสไดในเมนูถายภาพ
• กลองจะปรับโฟกัสอยางตอเนื่องระหวางการบันทึกภาพเคลื่อนไหว
ใช FG หรือปุมหมุนควบคุมเพื่อโฟกัสวัตถุดวยตัวเองไดทุกที่ในเฟรม
MF (โฟกัสดวยตัวเอง)
เปดใชงานโฟกัสดวยตัวเองไดโดยกดปุม Q คางไวระหวางการถายภาพ
d (ซุปเปอรมาโคร AF) โฟกัสที่ระยะทางสั้นๆ โดยใชโฟกัสอัตโนมัติ
e (ซุปเปอรมาโคร MF) โฟกัสที่ระยะทางสั้นๆ โดยใชการโฟกัสดวยตัวเอง

• กลองอาจไมสามารถโฟกัสไดหากวัตถุไดรับแสงไมดี ถูกบดบังดวยหมอกหรือควัน หรือขาดความตาง


สี
• สามารถใช [d] และ [e] ไดเฉพาะในโหมด P, A และ n

การตั้งคาสัดสวนภาพ
ทานสามารถเปลี่ยนอัตราสวนภาพ (อัตราสวนแนวนอนกับแนวตั้ง) เมื่อถายภาพได ทั้งนี้จะขึ้นอยู
กับความชอบของทาน ทานสามารถตั้งคาอัตราสวนภาพเปน [4:3] (มาตรฐาน), [16:9], [3:2],
[1:1] หรือ [3:4]

1 กดปุม Q และใช FG เพื่อเลือกสัดสวนภาพ


ISO

ใช HI เพื่อเลือกคาที่ตองการและกดปุม Q
AUTO

2 WB
AUTO

AF
4:3
LN
FHD F
4000×3000 30p

P 4:3 16:9 3:2 1:1 3:4

สัดสวนภาพ

• สามารถตั้งคาสัดสวนภาพสําหรับภาพนิ่งเทานั้น
• กลองจะบันทึกภาพ JPEG ที่ถูกตัดขอบตามสัดสวนภาพที่เลือกไว กลองจะไมตัดขอบภาพ RAW แต
จะบันทึกพรอมขอมูลเกี่ยวกับสัดสวนภาพที่เลือก
• เมื่อดูภาพ RAW อัตราสวนภาพที่เลือกไวจะปรากฏบนเฟรม

TH 55
การเลือกคุณภาพของภาพ (คุณภาพของภาพนิ่ง)
ทานสามารถตั้งคาโหมดคุณภาพของภาพสําหรับภาพนิ่งได เลือกคุณภาพที่เหมาะสมสําหรับการ
ใชงาน (เชน สําหรับการประมวลผลบน PC, ใชบนเว็บไซต ฯลฯ)

1 กดปุม Q และใช FG เลือกคุณภาพของของภาพนิ่ง


ISO
AUTO

WB
AUTO

AF
4:3

2 4000×3000
LN
FHD F
30p

P RAW LF LN MN SN LF
+RAW 1023
ถายภาพ

คุณภาพของภาพนิ่ง

2 เลือกตัวเลือกโดยใช HI และกดปุม Q
• ทานสามารถเลือกจากโหมด JPEG (YF, YN, XN และ WN) และ RAW*1 ได เลือกตัวเลือก
JPEG+RAW เพื่อบันทึกภาพทั้งแบบ JPEG และ RAW ในการถายแตละครั้ง*2 ขนาดภาพรวมกัน
ของโหมด JPEG (Y, X และ W) และอัตราสวนการบีบอัด (SF, F และ N)

ขนาดภาพ อัตราการบีบอัดภาพ
SF การใชงาน
จํานวน F N
ชื่อ (Super
พิกเซล (Fine) (Normal)
Fine)
Y (ใหญ) 4000×3000 YSF YF YN เลือกขนาดการ
X (กลาง) 3200×2400 XSF XF XN พิมพ
สําหรับการพิมพ
W (เล็ก) 1280×960 WSF WF WN ขนาดเล็กและการ
ใชบนเว็บไซต
• เมื่อตองการเลือกโหมดอื่นรวมกันนอกเหนือจาก YF, YN, XN และ WN ใหเปลี่ยนการตั้งคา
[K ตั้งคา] (หนา 98) ในเมนูกําหนดเอง

*1 ภาพที่ถายดวยการตั้งคาคุณภาพของภาพ RAW จะถูกบันทึกเปน JPEG + RAW โดยอัตโนมัติ


ในโหมดตอไปนี้:
[_], [o], [e], [H], [E]
*2 ไฟล JPEG และ RAW แตละไฟลที่บันทึกทุกครั้งที่ถายภาพดวยการตั้งคา JPEG + RAW จะ
ไมสามารถลบแยกกันได การลบรายการหนึ่งจะลบอีกรายการโดยอัตโนมัติ (หากทานลบ
สําเนา JPEG บนคอมพิวเตอรแลวคัดลอกภาพ RAW กลับไปที่กลอง ทานจะสามารถแกไขภาพ
(หนา 68, 88) ได แตจะเลือกสําหรับพิมพ (หนา 75) ไมได)

ขอมูลภาพ RAW
รูปแบบนี้ (นามสกุล“.ORF”) จะจัดเก็บขอมูลภาพที่ไมไดประมวลผลไวเพื่อประมวลผลในภาย
หลัง ขอมูลภาพ RAW ไมสามารถเปดดูไดโดยใชกลองอื่นหรือซอฟตแวร และไมสามารถเลือก
ภาพ RAW สําหรับทําการพิมพได สามารถสรางสําเนา JPEG ของภาพ RAW ไดโดยใชกลองนี้
ได g “แกไขภาพ RAW/แกไข JPEG” (หนา 68), “การแกไขภาพ RAW (แกไขภาพ RAW)”
(หนา 88)

56 TH
การเลือกคุณภาพของภาพ (คุณภาพของภาพเคลื่อนไหว)
ทานสามารถตั้งคาโหมดบันทึกภาพเคลื่อนไหวที่เหมาะสมกับการใชงานที่ตองการได

1 กดปุม Q และใช FG เพื่อเลือกคุณภาพของภาพ


เคลื่อนไหว ISO
AUTO

WB
AUTO

2 ใช HI เพื่อเลือกคาที่ตองการและกดปุม Q AF
16:9

• “คุณภาพของภาพเคลื่อนไหว” ประกอบดวยขนาดเฟรม บิต LN


FHD F
1920×1080 Fine 30p
เรต (อัตราสวนการบีบอัด) และเฟรมเรต
30p

n FHD HS
120fps 1:02:03 2
คุณภาพของภาพเคลื่อนไหว

ถายภาพ
 ตัวเลือกคุณภาพของภาพเคลื่อนไหวที่ใชได
ตัวเลือกที่ใชไดสําหรับคุณภาพของภาพเคลื่อนไหวจะแตกตางกันไปตามและตัวเลือกที่เลือกไว
สําหรับ [เฟรมเรตของวิดีโอ] และ [บิตเรตของวิดีโอ] ในเมนูวิดีโอ (หนา 87)
• เมื่อถายภาพเคลื่อนไหวที่จะใชดูบนโทรทัศน ใหเลือกอัตราเฟรมที่ตรงกับมาตรฐานวิดีโอในอุปกรณ
มิฉะนั้นภาพเคลื่อนไหวจะเลนไดไมราบรื่น มาตรฐานวิดีโอจะแตกตางกันไปตามแตละประเทศหรือ
ภูมิภาค: ซึ่งบางที่จะใชระบบ NTSC และที่อื่นๆ จะใชระบบ PAL
- เมื่อถายภาพสําหรับแสดงบนอุปกรณระบบ NTSC ใหเลือก 60p (30p)
- เมื่อถายภาพสําหรับแสดงบนอุปกรณระบบ PAL ใหเลือก 50p (25p)
• ภาพเคลื่อนไหวจะถูกบันทึกในรูปแบบ MPEG-4 AVC/H.264 ขนาดสูงสุดของแตละไฟลจะถูกจํากัด
อยูที่ 4 GB เวลาการบันทึกสูงสุดของภาพเคลื่อนไหวแตละไฟลจะถูกจํากัดอยูที่ 29 นาที
• ทั้งนี้จะขึ้นกับชนิดของการดที่ใช การบันทึกอาจสิ้นสุดลงกอนที่จะถึงความยาวสูงสุด
• โหมดถายภาพที่ใชไดจะแตกตางกันไปตามตัวเลือกที่เลือกไวสําหรับโหมดบันทึก
• ใชการด UHS-I ที่มีความเร็ว UHS คลาส 3 เมื่อถายภาพเคลื่อนไหวแบบ 4K หรือความเร็วสูง
• ใชการดที่มีความเร็ว Class 10 หรือดีกวาเมื่อถายภาพเคลื่อนไหว FHD/HD
• ภาพเคลื่อนไหว 4K อาจดูไมไดในระบบคอมพิวเตอรบางระบบ สําหรับขอมูลเกี่ยวกับขอกําหนดของ
ระบบสําหรับการเลนภาพเคลื่อนไหว 4K โปรดเยี่ยมชมเว็บไซต OLYMPUS

TH 57
โหมดบันทึก: 4K
บันทึกภาพเคลื่อนไหว 4K
1 1 ขนาดเฟรม
4K : 3840×2160
2 เฟรมเรต
30p, 25p

2
2
ถายภาพ

โหมดบันทึก: FHD/HD
บันทึกภาพเคลื่อนไหวมาตรฐาน
1 2 1 ขนาดเฟรม
FHD : 1920×1080
HD : 1280×720
2 บิตเรต (อัตราสวนการบีบอัด)
SF (Super Fine), F (Fine), N (Normal)
3 เฟรมเรต
60p (30p), 50p (25p)

3
โหมดบันทึก: HS (ความเร็วสูง)
บันทึกภาพเคลื่อนไหวชา วิดีโอที่ถายดวยเฟรมเรตสูงสามารถเลนไดที่ประมาณ 30 fps
1 1 ขนาดเฟรม
2 เฟรมเรต
FHD : 1920×1080 120 fps
HD : 1280×720 240 fps
SD : 640×360 480 fps

2
• โฟกัสและคาแสงจะถูกกําหนดคงที่ตอนเริ่มตนบันทึก
• การบันทึกจะดําเนินตอไปนานถึง 20 วินาที
• กลองจะไมบันทึกเสียงดวย
• [ ], [ ] และ [ ] จะใชไมไดในโหมด B หรือ SCN

58 TH
การปองกันกลองสั่น (ปองกันภาพสั่น)
ทานสามารถลดอาการกลองสั่นที่เกิดขึ้นขณะถายภาพในสภาพแสงนอยหรือถายดวยกําลังขยาย
สูง
การปองกันภาพสั่นไหวจะเริ่มตนเมื่อทานกดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง

1 กดปุม Q และใช FG เพื่อเลือกรายการปองกันภาพ S-IS ON S-IS ON


สั่น
2 เลือกตัวเลือกดวย HI และกดปุม Q
OFF
2
ѯюѧ ч IS-ѓѥёьѧкѷ ACC
OFF

ถายภาพ
P OFF ON

ปองกันภาพสั่น

S-IS Off ปดปองกันภาพสั่น


ภาพนิ่ง กลองจะตรวจจับทิศทางการแพนกลองและปรับการปองกันภาพสั่นอยาง
S-IS On
เหมาะสม
ภาพ M-IS Off ปดปองกันภาพสั่น
เคลื่อนไหว M-IS On เปดใชปองกันภาพสั่น
• ระบบปองกันภาพสั่นอาจไมสามารถชดเชยเอฟเฟกตการเคลื่อนไหวของกลองในภาพถายไดอยาง
สมบูรณหากมีการเคลื่อนไหวมากหรือความเร็วชัตเตอรชามาก ในกรณีนี้ ขอแนะนําใหใชขาตั้งกลอง
• ขอบเฟรมจะถูกครอบตัดเมื่อเลือก [M-IS On] ทําใหพื้นที่ที่บันทึกลดลง
• ปองกันภาพสั่นจะถูกตั้งคาเปน [M-IS Off] เมื่อเลือก [ ], [ ] และ [ ] ไวสําหรับคุณภาพ
ของภาพเคลื่อนไหว
• เมื่อใชขาตั้งกลอง ใหตั้งคา [ปองกันภาพสั่น] เปน [S-IS Off]/[M-IS Off]
• ทานอาจพบวามีเสียงตอนกลองทํางานหรือการสั่นสะเทือนเมื่อเปดใชงานปองกันภาพสั่น

การปรับแสงแฟลช (ควบคุมความเขมของแสงแฟลช)
กําลังขับแฟลชสามารถปรับตั้งไดหากทานเห็นวาวัตถุตนแบบสวางมากเกินไปหรือทึบเกินไปแมวา
คาแสงในสวนเฟรมที่เหลือจะถูกตองก็ตาม

1 กดปุม Q และใช FG เพื่อเลือกการควบคุมความเขม S-IS ON

ของแสงแฟลช
2 ใช HI เพื่อ เลือกคาที่ตองการและกดปุม Q
• สามารถลดความสวางของแฟลชลงไดโดยเลือกคาลบ (ยิ่ง OFF
x 0.0 ACC

คาตํ่าลง แสงแฟลชก็จะยิ่งหรี่ลงมากขึ้น) หรือเพิ่มขึ้นโดย


OFF

0
P
การเลือกคาบวก (ยิ่งคาสูงขึ้น แฟลชก็จะยิ่งสวางขึ้น)
ควบคุมความเขมของแสงแฟลช

• ใชไมไดในโหมด B เมื่อไดเลือก [_ V HDR] ไวในโหมด ^ หรือในโหมด SCN

TH 59
การเลือกวิธีวัดความสวางของกลอง (ระบบวัดแสง)
ทานสามารถเลือกวิธีที่กลองวัดความสวางของวัตถุ

1 กดปุม Q และใช FG เพื่อเลือกระบบวัดแสง S-IS ON

OFF

ESP ACC
OFF

2 P

ระบบวัดแสง
ถายภาพ

2 เลือกตัวเลือกดวย HI และกดปุม Q
ถายภาพเพื่อใหไดความสวางที่สมดุลทั่วทั้งหนาจอ (วัดความสวางที่กึ่งกลางและ
p ESP พื้นที่โดยรอบของหนาจอแยกกัน) เมื่อตั้งคาเปน [ESP] ศูนยกลางอาจมืดเมื่อถาย
ภาพที่มีแสงฉากหลังสวาง
ถายภาพวัตถุที่อยูตรงกลางระหวางทําการแบ็คไลท (วัดความสวางที่กึ่งกลางของ
5 เฉพาะจุด
หนาจอ)

การตรวจจับใบหนาอัตโนมัติ (โฟกัสใบหนา)
กลองจะตรวจจับใบหนาและปรับโฟกัสรวมถึง ESP แบบดิจิตอล

1 กดปุม Q และใช FG เพื่อเลือกระบบโฟกัสใบหนา S-IS ON

2 ใช HI เพื่อเลือกตัวเลือก และกดปุม Q

OFF
ACC
юѧ чѱђд ѤѝѲэўьҖѥ OFF

P ON OFF

โฟกัสใบหนา

ON เปดโฟกัสใบหนา เปดการใชโฟกัสใบหนา
OFF ปดโฟกัสใบหนา ปดการใชโฟกัสใบหนา

60 TH
การใชอุปกรณเสริม (อุปกรณเสริม)
ใชตัวเลือกนี้เมื่อติดตั้งอุปกรณเสริม

1 กดปุม Q และใช FG เพื่อเลือกรายการอุปกรณเสริม S-IS ON

2 ใช HI เพื่อเลือกตัวเลือก และกดปุม Q

OFF

юѧ чдѥіѲнҖѠю
ѫ діцҙѯѝіѧє ACC
OFF

P OFF FD-1 2
อุปกรณเสริม

ถายภาพ
ปดการใช
OFF ถายภาพโดยใชกลองเพียงอยางเดียว
อุปกรณเสริม
PTWC-01
TCON-T01
FCON-T01 เลือกตามอุปกรณเสริมที่ติดตั้งไว
FCON-T02
FD-1 FD-1

g “อุปกรณเสริม” (หนา 126)

TH 61
3 แสดงภาพ

การแสดงขอมูลระหวางการดูภาพ
ขอมูลภาพที่แสดง
การแสดงผลแบบงาย

12 3 4 5678
3 ×10
แสดงภาพ

39°12’ 30” N 9
145°23’ 59” W 0
20.5°C a
10m 1012hPa b
4:3 L N 100-0015 c
j 2019.06.26 12:30:00 15 d
ih f e
g
HDR 1

การแสดงผลโดยรวม

k l m n o
×10
P 125 F5.6 p
+2.0 18mm q
+1.0 r
WB
AUTO A+4 G+4 s
ISO 400 sRGB t
Natural u
A
4000×3000 1/8 v
4:3 L N 100-0015
2019.06.26 12:30:00 15

zyxw

62 TH
1 ระดับแบตเตอรี่............................ หนา 17 h ระดับความสูง/ความลึกของนํ้า...... หนา 115
2 สถานะการเชื่อมตอ LAN ไรสาย I อุณหภูมิ (อุณหภูมินํ้า) .................. หนา 115
..................................... หนา 106 – 110 j วันที่และเวลา ............................. หนา 18
3 การใสขอมูล GPS ...................... หนา 112 k กรอบสัดสวนภาพ *1 ..................... หนา 55
4 คําสั่งพิมพ l พื้นที่ AF โฟกัส ........................... หนา 25
จํานวนภาพพิมพ ......................... หนา 75 m โหมดถายภาพ .......................หนา 27–39
5 คําสั่งแบงปน .............................. หนา 71 n ความเร็วชัตเตอร ......................... หนา 35
6 บันทึกเสียง ...........................หนา 72, 87 o ชดเชยแสง ................................ หนา 41
7 ปองกัน...................................... หนา 71 p คารูรับแสง ................................. หนา 36
8 ภาพที่เลือก ................................ หนา 76 q ความยาวโฟกัส
9 ละติจูด .................................... หนา 115 ควบคุมความเขมของแสงแฟลช...... หนา 59
0 ลองจิจูด .................................. หนา 115
r 3
s ชดเชยไวทบาลานซ ..................... หนา 98
a ขอมูลทิศทาง ........................... หนา 115 t อุณหภูมิสี .................................. หนา 98

แสดงภาพ
b บรรยากาศ ............................... หนา 115 u โหมดภาพ ............................หนา 50, 81
c หมายเลขไฟล ............................ หนา 99 v อัตราการบีบอัด .................. หนา 105, 119
d หมายเลขเฟรม w จํานวนพิกเซล ................... หนา 105, 119
e คุณภาพของภาพ ......................... หนา 56 x ความไวแสง ISO ......................... หนา 52
f อัตราสวนภาพ............................. หนา 55 y ไวทบาลานซ .............................. หนา 53
g โฟกัสซอน/ภาพ HDR z โหมดวัดแสง .............................. หนา 60
..............................หนา 33/หนา 29, 34
A ฮิสโตแกรม .............................. หนา 102
*1 แสดงเฉพาะเมื่อเลือกอัตราสวนภาพอื่นที่ไมใช 4:3 ดวยตัวเลือกคุณภาพของภาพ RAW

การสลับหนาจอแสดงขอมูล
ทานสามารถสลับขอมูลที่แสดงระหวางการดูภาพไดโดยกด
ปุม INFO

×10

39°12’ 30” N
145°23’ 59” W
20.5°C

INFO INFO
10m 1012hPa
4:3 L N 100-0015
2019.06.26 12:30:00 15

การแสดงผลแบบงาย

×10
P 125 F5.6
+2.0 18mm
+1.0
WB
AUTO A+4 G+4
ISO 400 sRGB
Natural
4000×3000 1/8

INFO 2019.06.26 12:30:00


4:3 L N 100-0015
15

ภาพเทานั้น การแสดงผลโดยรวม

• ทานสามารถเพิ่มฮิสโตแกรมรวมทั้ง Highlight และ Shadow ไปยังขอมูลที่แสดงไดขณะดูภาพ


g [q คําแนะนํา] (หนา 102)

TH 63
การดูภาพถายและภาพเคลื่อนไหว

1 กดปุม q
• ภาพถายหรือภาพเคลื่อนไหวจะแสดงขึ้น
• เลือกภาพถายหรือภาพเคลื่อนไหวที่ตองการไดโดยใชปุม
หมุนควบคุมหรือแปนลูกศร
• หากตองการกลับไปยังโหมดถายภาพ ใหกดปุมชัตเตอร
ลงครึ่งหนึ่งหรือกดปุม q

การแสดงภาพแบบเฟรมเดียว: กอนหนา (s)/ถัดไป (t)


3 การดูภาพระยะใกล: ทานสามารถแสดงเฟรมถัดไปหรือเฟรมกอนหนา
ปุมหมุนควบคุม
ระหวางการดูภาพระยะใกล
แสดงภาพ

การแสดงภาพแบบดัชนี/ปฏิทิน: ไฮไลทภาพ
ดูภาพแบบเฟรมเดียว: แสดงภาพถัดไป (I)/แสดงภาพกอนหนา (H)
การดูภาพระยะใกล: การเปลี่ยนตําแหนงภาพระยะใกล
ทานสามารถแสดงเฟรมถัดไป (I) หรือเฟรมกอนหนา (H) ระหวางการดู
แปนลูกศร (FGHI) ภาพระยะใกลไดโดยกดปุม INFO
กดปุม INFO อีกครั้งเพื่อแสดงขยายเฟรม และใช FGHI เพื่อ
เปลี่ยนตําแหนง
การแสดงภาพแบบดัชนี/ปฏิทิน: ไฮไลทภาพ
หมุนคันปรับซูมทวนเข็มนาฬกาสําหรับการแสดงภาพแบบดัชนีหรือปฏิทิน
คันปรับซูม
หมุนคันปรับซูมตามเข็มนาฬกาสําหรับการดูภาพระยะใกล
ปุม INFO ดูขอมูลภาพ
ปุม  (G) ลบภาพ
แสดงเมนู (หรือออกจากการดูภาพระยะใกลหรือการแสดงภาพบนปฏิทินไปที่
ปุม Q
การดูภาพแบบเฟรมเดียว)
ทานสามารถเลือกไดหลายภาพสําหรับ [0], [ลบภาพที่เลือก] หรือ
ปุม R (H) [เลือกคําสั่งแบงปน] g “การเลือกภาพ (0, ลบภาพที่เลือก, เลือก
คําสั่งแบงปน)” (หนา 76)

64 TH
การแสดงภาพแบบดัชนี/การแสดงภาพบนปฏิทิน
หมุนคันปรับซูมทวนเข็มนาฬกา (ไปทาง G) ทวนเข็มนาฬกา ตามเข็มนาฬกา
ระหวางการดูภาพแบบเฟรมเดียวเพื่อแสดงภาพ (ดาน G) (ดาน a)
แบบดัชนี การทํากระบวนการนี้ซํ้าจะเพิ่มจํานวน
ภาพที่แสดง ซึ่งจะทําใหสิ้นสุดการแสดงภาพบน
ปฏิทิน
• ใช FGHI หรือปุมหมุนควบคุมเพื่อเลื่อน
เคอรเซอร

• หมุนคันปรับซูมตามเข็มนาฬกา (ดาน a) เพื่อเปลี่ยนจากแบบปฏิทินไปยังแบบดัชนีไปยังการดูภาพ


แบบเฟรมเดียว
• หากตองการออกจากแบบปฏิทินไปยังการดูภาพแบบเฟรมเดียว ใหกดปุม Q 3
G G 2019.6

แสดงภาพ
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat

26 27 28 29 30 31 1

2 3 4 5 6 7 8

9 10 11 12 13 14 15

20.5°C 16 17 18 19 20 21 22
10m 1012hPa
23 24 25 26 27 28 29
4:3 L N 100-0020

a a
2019.06.26 12:30:00 20 2019.02.26 12:30:00 21 30 1 2 3 4

การแสดงภาพแบบ การแสดงภาพแบบดัชนี การแสดงภาพบนปฏิทิน


เฟรมเดียว

Q
• ทานสามารถเปลี่ยนจํานวนเฟรมสําหรับการแสดงภาพแบบดัชนีได g [G การตั้งคา] (หนา 103)

การขยายดูภาพถาย
ในการซูมเขาภาพปจจุบันระหวางการดูภาพแบบ ทวนเข็มนาฬกา ตามเข็มนาฬกา
เฟรมเดียว ใหหมุนคันปรับซูมตามเข็มนาฬกา (ไป (ดาน G) (ดาน a)
ทาง a) สําหรับอัตราการซูมตั้งแต 2× ถึง 14×
และทวนเข็มนาฬกา (ไปทาง G) เพื่อซูมออก
กดปุม Q เพื่อกลับไปยังการดูภาพแบบเฟรมเดียว

a a

20.5°C
10m 1012hPa
4:3 L N 100-0020
2019.06.26 12:30:00 20 2x 14x

การแสดงภาพแบบ G ซูม 2× G ซูม 14×


เฟรมเดียว
การดูภาพระยะใกล
Q
• กด FGHI เพื่อเลื่อนดูภาพตามทิศทางปุมที่ทานกด
• หากตองการดูภาพอื่นๆ ในอัตราการซูมที่เทากัน ใหกดปุม INFO แลวกด HI กดปุม INFO อีก
ครั้งเพื่อเปดใชงานการเลื่อนอีกครั้ง และทานยังสามารถดูภาพอื่นๆ โดยใชปุมหมุนควบคุมไดเชนกัน

TH 65
เลนภาพเคลื่อนไหว
เลือกภาพเคลื่อนไหวและกดปุม Q เพื่อแสดงเมนูแสดงภาพ ѓѥёѯзјѪѠ
ѷ ьѳўњ

ไฮไลท [ดูภาพเคลื่อนไหว] และกดปุม Q เพื่อเริ่มเลน чѬѓѥёѯзјѪѠ ѷ ьѳўњ


ѰдҖѳеѓѥёѯзјѪѠѷ ьѳўњ
зѼѥѝкѷ Ѥ ѰэҕкюѤь
0

јэ

дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

 การใชงานขณะเลนภาพ

หยุดพัก กดปุม Q เพื่อพักการดูภาพ หากตองการเริ่มเลนตอ ใหกดปุม Q อีกครั้ง


3 เดินหนา กดปุม I เพื่อเดินหนา กดปุม I อีกครั้งเพื่อเพิ่มความเร็วในการเดินหนา
กรอกลับ กดปุม H เพื่อกรอกลับ กด H อีกครั้งเพื่อเพิ่มความเร็วการกรอกลับ
แสดงภาพ

การปรับเสียง ใชปุม FG เพื่อปรับเสียง

 การใชงานระหวางหยุดพักการเลน

การเลื่อนดูตามลําดับ ใช F เพื่อแสดงเฟรมแรก และกดปุม G เพื่อแสดงเฟรมสุดทาย


การขามและการกรอก ใช HI หรือปุมหมุนควบคุมเพื่อขามหรือกรอกลับครั้งละหนึ่งเฟรม กด
ลับครั้งละหนึ่งกรอบ HI คางไวเพื่อขามหรือกรอกลับเฟรมอยางตอเนื่อง
การเลนตอ กดปุม Q เพื่อเลนตอ

 ยกเลิกการเลนภาพเคลื่อนไหว
กดปุม MENU

การลบภาพระหวางการเลน
แสดงภาพที่ทานตองการลบและกดปุม  (G) ไฮไลท [ใช]
และกดปุม Q

јэ

Ѳнҕ
ѳєҕѲнҕ

дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

66 TH
การใชงานเมนูแสดงภาพ

กดปุม Q ระหวางการแสดงภาพเพื่อใหเมนูแสดงภาพปรากฏ
ขึ้น เลือกตัวเลือกที่ตองการและกดปุม Q เพื่อเลือก ตัวเลือก
ที่แสดงจะแตกตางกันไปตามชนิดของภาพที่เลือก

ภาพ
RAW JPEG RAW+JPEG
เคลื่อนไหว
3
เลน H R R R ―

แสดงภาพ
แกไขภาพ RAW R ― R ―
แกไข JPEG ― R R ―
ดูภาพเคลื่อนไหว ― ― ― R
แกไขภาพเคลื่อนไหว ― ― ― R
คําสั่งแบงปน ― R R R
0 R R R R
R R R R ―
หมุน R R R ―
y R R R R
ภาพซอน R ― R ―
< ― R R ―
ลบ R R R R

เลน H
เสียงที่บันทึก (หนา 72) จะเลนเมื่อภาพที่เกี่ยวของปรากฏขึ้น

1 เลือกรูปถายที่มีเสียงและกดปุม Q
2 เลือก [เลน H] และกดปุม Q
• การเลนเสียงจะเริ่มตน

• หากตองการหยุดเลน ใหกดปุม Q หรือ MENU


• ใช FG เพื่อปรับระดับเสียงระหวางการเลนภาพ

TH 67
แกไขภาพ RAW/แกไข JPEG
ภาพที่บันทึกไวสามารถแกไขและบันทึกเปนภาพแยกได

1 แสดงภาพถายที่ทานตองการจะตกแตงระหวางการแสดงภาพ และกดปุม Q
• [แกไขภาพ RAW] จะแสดงขึ้นหากเลือกภาพ RAW ไว และหากเลือกภาพ JPEG ไว จะแสดง
เปน [แกไข JPEG] สําหรับภาพที่บันทึกในรูปแบบ RAW+JPEG ทั้ง [แกไขภาพ RAW] และ
[แกไข JPEG] จะแสดงขึ้น เลือกตัวเลือกที่ตองการจากในนั้น

2 เลือก [แกไขภาพ RAW] หรือ [แกไข JPEG] และกดปุม Q


สําเนาภาพ JPEG จะไดรับการประมวลผลโดยใชการตั้งคากลอง
ปจจุบัน ปจจุบัน ใหปรับการตั้งคากลองกอนจะเลือกตัวเลือกนี้ การตั้งคา
3 บางอยาง เชน ชดเชยแสง จะใชไมได
ภาพจะมีไดรับการแกไขโดยใชการตั้งคาสําหรับฟลเตอรภาพพิเศษ
แสดงภาพ

ที่เลือก
• กด I เพื่อแสดงเมนูของฟลเตอรภาพพิเศษที่ปรับใชกับภาพได
ไฮไลทฟลเตอรภาพพิเศษและกดปุม Q เพื่อเลือกหรือไมเลือก
แกไขภาพ
แลวฟลเตอรที่เลือกจะมี v กํากับไว หลังจากเลือกฟลเตอรที่
RAW
ART BKT ตองการแลว ใหกดปุม MENU เพื่อกลับไปที่หนาจอกอนหนา
ไฮไลท [ART BKT] และกดปุม Q เพื่อบันทึกสําเนาที่มีการ
แกไขไปยังการด
หากตองการสรางสําเนาเพิ่มเติมจากตนฉบับเดียวกัน ใหไฮไลท
[รีเซ็ต] และกดปุม Q หากตองการออกโดยไมสรางสําเนาเพิ่ม
เติม ใหไฮไลท [ไมใช] และกดปุม Q
ไมใช ออกโดยไมแกไขภาพ
ปรับเงาแสง
เพิ่มแสงวัตถุยอนแสงที่มืด
หรือสวนมืด
แกตาแดง ลดการเกิดตาแดงเนื่องจากถายภาพโดยใชแฟลช
ตัดขอบภาพ ใชปุมหมุนควบคุมเพื่อเลือกขนาดการตัดสวนภาพและ
P
ใชปุม FGHI เพื่อระบุตําแหนงที่จะตัดสวนภาพ
เปลี่ยนแปลงอัตราสวนภาพตั้งแต 4:3 (มาตรฐาน) ถึง [3:2],
สัดสวนภาพ [16:9], [1:1] หรือ [3:4] เมื่อเปลี่ยนแปลงอัตราสวนภาพแลว ให
ใช FGHI เพื่อกําหนดตําแหนงการตัดขอบ
แกไข JPEG
ถายภาพขาวดํา สรางภาพสีขาวดํา
ซีเปย สรางภาพโทนสีซีเปย
ความอิ่มสี เพิ่มสีสันของภาพ ปรับความอิ่มสีโดยตรวจสอบภาพบนหนาจอ
แปลงภาพเปน 1280 × 960, 640 × 480 หรือ 320 × 240 ภาพที่
Q มีอัตราสวนภาพอื่นที่ไมใช 4:3 (มาตรฐาน) จะถูกแปลงเปนขนาด
ภาพที่ใกลเคียงที่สุด
ปรับสภาพผิวใหแลดูเรียบเนียน ไมสามารถปรับไดในกรณีที่ตรวจ
อี-พอรตเทรต
ไมพบใบหนา

68 TH
3 เมื่อตั้งคาเสร็จแลว ใหกดปุม Q
• การตั้งคาจะถูกนําไปใชในภาพ

4 เลือกคําสั่ง [ใช] และกดปุม Q


• ภาพที่แกไขจะถูกจัดเก็บไวในการด

• การแกไขตาแดงอาจไมไดผลกับบางภาพ
• การแกไขภาพ JPEG ไมสามารถทําไดในกรณีตอไปนี้:
เมื่อประมวลผลภาพบน PC, เมื่อมีเนื้อที่วางในการดหนวยความจําไมเพียงพอ หรือเมื่อบันทึกภาพ
ดวยกลองอื่น
• ไมสามารถเปลี่ยนขนาดภาพ (Q) เปนขนาดที่ใหญกวาขนาดเดิม
• ภาพบางภาพไมสามารถปรับขนาดได
• [P] (การตัดขอบ) และ [สัดสวนภาพ] สามารถใชเพื่อแกไขภาพที่มีสัดสวนภาพเทากับ 4:3 3
(มาตรฐาน) เทานั้น

แสดงภาพ
ดูภาพเคลื่อนไหว
ดูภาพเคลื่อนไหวในปจจุบัน g “เลนภาพเคลื่อนไหว” (หนา 66)

แกไขภาพเคลื่อนไหว
แกไขภาพเคลื่อนไหว
 การสรางภาพนิ่ง (จับภาพนิ่งในภาพภยนตร)
บันทึกภาพนิ่ง (สัดสวนภาพ 16:9) ของเฟรมที่เลือกจากภาพเคลื่อนไหว 4K ที่บันทึกไวดวยกลอง

1 แสดงภาพเคลื่อนไหวที่ทานตองการแกไขและกดปุม Q
2 เลือก [แกไขภาพเคลื่อนไหว] และกดปุม Q
3 ใช FG เพื่อเลือก [จับภาพนิ่งในภาพภยนตร] และกดปุม Q
4 ใช HI เพื่อเลือกเฟรมที่จะบันทึกเปนภาพนิ่ง และกดปุม Q
• ใช FG หรือเพื่อขามหลายภาพ
 MENU เพื่อกลับไปยังการดูภาพแบบเฟรมเดียว
• กดปุม

• วันที่ของการบันทึกภาพนิ่งอาจแตกตางไปจากวันที่ของภาพเคลื่อนไหวเดิม

TH 69
 การแกไขภาพเคลื่อนไหว (แกไขภาพเคลื่อนไหว)
แกไขภาพที่เลือกมาจากภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกดวยกลองและเขียนทับภาพตนฉบับดวยภาพที่
แกไขแลว หรือบันทึกสําเนาที่แกไขแยกตางหาก

1 แสดงภาพเคลื่อนไหวที่ทานตองการแกไขและกดปุม Q
2 เลือก [แกไขภาพเคลื่อนไหว] และกดปุม Q
3 ใช FG เพื่อเลือก [แกไขภาพเคลื่อนไหว] และกดปุม Q
4 เลือก [เขียนทับ] หรือ [ไฟลใหม] และกดปุม Q
• หากภาพไดรับการปองกันไว ทานจะไมสามารถเลือก [เขียนทับ]
3 5 เลือกวาสวนที่จะลบนั้น จะเริ่มตนดวยภาพแรกหรือสิ้นสุดดวยภาพสุดทายหรือไม โดย
ใช HI เพื่อเลือกตัวเลือกที่ตองการและกดปุม Q เพื่อเลือก
แสดงภาพ

• หากตองการขามไปยังเฟรมแรกหรือเฟรมสุดทาย ใหหมุนปุมหมุนควบคุม

6 ใช HI เพื่อเลือกสวนที่จะลบ
• สวนที่จะลบจะแสดงเปนสีแดง

7 กดปุม Q
8 เลือก [ใช] และกดปุม Q
• วันที่ของการบันทึกภาพนิ่งอาจแตกตางไปจากวันที่ของภาพเคลื่อนไหวเดิม

70 TH
คําสั่งแบงปน
ทานสามารถเลือกภาพที่ตองการจะโอนไปยังสมารทโฟนไวลวงหนาได และทานยังสามารถใช
OI.Share เพื่อเรียกดูภาพที่อยูในคําสั่งแบงปนได เมื่อกลองกําลังแสดงภาพที่ทานตองการจะโอน
ใหกดปุม Q เพื่อแสดงเมนูการแสดงภาพ หลังจากที่เลือก [คําสั่งแบงปน] และกดปุม Q แลว
ใหกด F หรือ G เพื่อตั้งคาคําสั่งแบงปนภาพและแสดง h หากตองการยกเลิกคําสั่งแบงปน ให
กดปุม F หรือ G
ทานสามารถเลือกภาพที่ตองการถายโอนลวงหนาได และตั้งคาคําสั่งแบงปนไดในครั้งเดียว
g “การเลือกภาพ (0, ลบภาพที่เลือก, เลือกคําสั่งแบงปน)” (หนา 76)
• คําสั่งแบงปนจะไมสามารถรวมภาพ RAW ดวยได

$ หมายเหตุ
• สามารถนําเครื่องหมายแบงปนออกจากภาพทั้งหมดไดจากเมนูตั้งคา e 3
g “การยกเลิกคําสั่งแบงปน” (หนา 110)

แสดงภาพ
0
ปองกันภาพจากการลบโดยไมไดตั้งใจ แสดงภาพที่ทานตองการ ไอคอน (ปองกัน) 0
จะปองกันและกดปุม Q เพื่อแสดงเมนูแสดงภาพ ไฮไลท [0]
และกดปุม Q จากนั้นใหกด F หรือ G เพื่อปองกันภาพ ภาพที่
ไดรับการปองกันจะมีไอคอน 0 (ปองกัน) กํากับไว กด F หรือ
G เพื่อลบการปองกัน
นอกจากนี้ทานยังสามารถปองกันภาพที่เลือกไดหลายภาพ 20.5°C

g “การเลือกภาพ (0, ลบภาพที่เลือก, เลือกคําสั่งแบงปน)” 4:3


10m 1012hPa
L N 100-0020
(หนา 76) 2019.06.26 12:30:00 20

• การฟอรแมทการดจะลบขอมูลทั้งหมดรวมทั้งภาพที่ปองกันไว

TH 71
R
สามารถเพิ่มเสียงลงในภาพนิ่ง (นานสูงสุด 30 วินาที)

1 แสดงภาพที่ตองการเพิ่มเสียง และกดปุม Q
• การบันทึกเสียงไมสามารถใชไดกับภาพที่ปองกันไว

2 เลือก [R] และกดปุม Q JPEG

• หากตองการออกโดยไมเพิ่มเสียง ใหเลือก [ไมใช] ѰдҖѳе JPEG


зѼѥѝкѷ Ѥ ѰэҕкюѤь
0
R
ўєѫь

3 дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

3 เลือก [R เริ่ม] และกดปุม Q เพื่อเริ่มบันทึก JPEG


แสดงภาพ

4 กดปุม Q เพื่อสิ้นสุดการบันทึก
• ภาพที่บันทึกแบบมีเสียงจะมีไอคอน H กํากับไว ѳєҕѲнҕ
R ѯіѧє
ѷ
јэ

дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

• หากตองการลบเสียงที่บันทึก ใหเลือก [ลบ] ในขั้นตอนที่ 3

$ หมายเหตุ
• การบันทึกเสียงสามารถใชไดในเมนูแสดงภาพ q (หนา 88)
• เสียงทีบ
่ ันทึกไวสามารถเลนไดโดยใช [เลน H] (หนา 67)

หมุน
เลือกวาจะหมุนภาพถายหรือไม

1 แสดงภาพถายและกดปุม Q
2 เลือก [หมุน] และกดปุม Q
3 กด F เพื่อหมุนภาพทวนเข็มนาฬกา และกด G เพื่อหมุนภาพตามเข็มนาฬกา; ภาพ
จะหมุนทุกครั้งที่กดปุม
• กดปุม Q เพื่อบันทึกการตั้งคาและออก
• ภาพทีห่ มุนแลวจะถูกบันทึกตามทิศทางในขณะนั้น
• ภาพเคลือ่ นไหวและภาพที่ปองกันไวจะหมุนไมได

72 TH
y
ฟงกชั่นนี้แสดงภาพที่เก็บไวในการดทีละภาพอยางตอเนื่อง

1 กดปุม Q ในหนาจอแสดงภาพ JPEG

ѰдҖѳе JPEG
2 เลือก [y] และกดปุม Q зѼѥѝкѷ Ѥ ѰэҕкюѤь
0
R
ўєѫь

дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

3 การปรับการตั้งคา
3
เริ่ม เริ่มสไลดโชว ภาพจะแสดงตามลําดับโดยเริ่มจากภาพปจจุบัน

แสดงภาพ
BGM ตั้งคาเพลงประกอบสไลด [Party Time] หรือ [ปด]
สไลด กําหนดประเภทของขอมูลที่จะแสดง
ชวงแสดงภาพนิ่ง เลือกระยะเวลาแตละสไลดตั้งแต 2 ถึง 10 วินาที
เลือก [ยาว] เพื่อดูคลิปภาพเคลื่อนไหวแตละคลิปแบบเต็มคลิปในสไลดโชว
ชวงแสดงภาพ
[สั้น] เพื่อดูเฉพาะสวนเริ่มตนของแตละคลิป

4 เลือก [เริ่ม] และกดปุม Q


• สไลดโชวจะเริ่มขึ้น
• กด FG ระหวางการแสดงสไลดโชวเพื่อปรับระดับเสียงโดยรวมของลําโพงกลอง กด HI
ขณะที่ตัวแสดงการปรับระดับเสียงแสดงอยู เพื่อปรับสมดุลระหวางเสียงที่บันทึกพรอมภาพถาย
หรือภาพเคลื่อนไหวและเสียงเพลงประกอบ
• กดปุม Q เพื่อหยุดสไลดโชว

BGM ที่ไมใข [Party Time]


หากตองการใช BGM อื่นนอกเหนือจาก [Party Time] ใหบันทึกขอมูลที่ทานดาวนโหลดมาจาก
เว็บไซต Olympus ลงในการดและเลือกเปน [BGM] ในขั้นตอนที่ 3 ดาวนโหลดไดจากเว็บไซตตอ
ไปนี้
http://support.olympus-imaging.com/bgmdownload/

TH 73
ภาพซอน
ภาพ RAW ที่ถายดวยกลองสามารถซอนไดสูงสุด 3 เฟรมและบันทึกเปนภาพแยกตางหาก
ภาพจะถูกบันทึกไวโดยมีการตั้งโหมดบันทึกไวขณะที่บันทึกภาพ (หากเลือก [RAW] ไว สําเนา
ภาพจะถูกบันทึกในรูปแบบ [YN+RAW])

1 แสดงภาพและกดปุม Q
2 เลือก [ภาพซอน] และกดปุม Q
3 เลือกจํานวนภาพที่จะซอน และกดปุม Q

4 ใช FGHI เพื่อเลือกภาพ RAW และกดปุม Q เพื่อ ѓѥёоҖѠь

3 เพิ่มภาพเหลานั้นไปยังการซอนภาพ RAW RAW RAW

• ภาพซอนจะแสดงขึ้น หากเลือกจํานวนที่ระบุในขั้นตอนที่ 3 RAW


แสดงภาพ

5 ปรับคาเกน (ความสวาง) สําหรับแตละภาพที่จะซอน RAW RAW RAW

• ใช HI เพื่อเลือกภาพและใช FG เพื่อปรับอีกครั้ง


дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ
• สามารถปรับคาเกนไดในชวง 0.1 – 2.0 ตรวจสอบผลลัพธบน
จอภาพ ѓѥёоҖѠь

6 กดปุม Q เพื่อแสดงกลองโตตอบการยืนยัน ไฮไลท [ใช]


และกดปุม Q

×0.3 ×1.5 ×0.5


дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

$ หมายเหตุ
• หากตองการซอนภาพ 4 เฟรมขึ้นไป ใหบันทึกภาพซอนเปนไฟล RAW และใช [ภาพซอน] ซํ้าๆ กัน

74 TH
<
ทานสามารถบันทึก “คําสั่งพิมพ” ดิจิตอลลงในการดหนวยความจําที่แสดงรายการภาพที่ตองการ
พิมพ และจํานวนพิมพของแตละภาพ จากนั้น ทานจะสามารถพิมพภาพที่รานพิมพภาพซึ่งรองรับ
Digital Print Order Format (DPOF) จําเปนตองใชการดหนวยความจําเมื่อสรางคําสั่งพิมพ

1 แสดงภาพถายและกดปุม Q
2 เลือก [<] และกดปุม Q
3 เลือก [<] หรือ [<ALL] และกดปุม Q
ภาพเดี่ยว зѼѥѝкѷ Ѥ ёѧєёҙ

กด HI เพื่อเลือกเฟรมที่ตองการสั่งพิมพ แลวกด FG เพื่อ 3


กําหนดจํานวนพิมพ
<

แสดงภาพ
• ทําซํ้าขั้นตอนนี้เพื่อทําการสั่งพิมพหลายภาพ กดปุม Q เมื่อได ALL
เลือกภาพที่ตองการทั้งหมดแลว
ทุกภาพ дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

เลือก [<ALL] และกดปุม Q

4 เลือกรูปแบบวันที่และเวลา และกดปุม Q X

ไม ภาพจะถูกพิมพโดยไมมีวันที่และเวลา ѳєҕ

วันที่ ภาพจะถูกพิมพโดยมีวันที่ถายภาพ њ ѤьъѨѷ


ѯњјѥ

เวลา ภาพจะถูกพิมพโดยมีเวลาถายภาพ
дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ
• ในขณะพิมพภาพ จะไมสามารถเปลี่ยนการตั้งคาสําหรับแตละ
ภาพได

5 เลือก [ตั้ง] และกดปุม Q


• ไมสามารถใชกลองเพื่อแกไขคําสั่งพิมพที่สรางดวยอุปกรณอื่น การสรางคําสั่งพิมพใหมจะลบคําสั่ง
พิมพที่มีอยูที่สรางดวยอุปกรณอื่น
• ไมสามารถสั่งพิมพภาพ RAW หรือภาพเคลื่อนไหว

ลบ
ลบภาพปจจุบัน

1 แสดงภาพที่ทานตองการลบ และกดปุม Q
2 เลือก [ลบ] และกดปุม Q
3 เลือก [ใช] และกดปุม Q
• ภาพจะถูกลบ

TH 75
การเลือกภาพ (0, ลบภาพที่เลือก, เลือกคําสั่งแบงปน)
ทานสามารถเลือกไดหลายภาพสําหรับ [0], [ลบภาพที่เลือก] หรือ [เลือกคําสั่งแบงปน]

1 แสดงภาพที่ทานตองการเลือกในการดูภาพแบบเฟรมเดียวหรือเลือกแสดงภาพแบบ
ดัชนี (หนา 65)

2 กดปุม H

3
แสดงภาพ

• ภาพที่เลือกจะมีไอคอน v กํากับไว กดปุมอีกครั้งเพื่อยกเลิก


การเลือกภาพ

2019.06.26 12:30:00 21

3 กดปุม Q เพื่อแสดงเมนู
4 เลือก [เลือกคําสั่งแบงปน], [0] หรือ [ลบภาพที่เลือก] และกดปุม Q

76 TH
การเลื่อนภาพพาโนรามา
สามารถดูภาพพาโนรามาที่สรางจากภาพหลายภาพรวมกันไดในการแสดงผลแบบเลื่อนได

1 เลือกภาพพาโนรามาจากการดูภาพเดี่ยว

2 หมุนคันปรับซูมตามเข็มนาฬกา
• กด FGHI เพื่อเลื่อนดูภาพตามทิศทางปุมที่ทานกด

ตามเข็มนาฬกา (ดาน a)

แสดงภาพ
1x

พื้นที่ดูภาพ

• ขณะดูภาพ ทานสามารถหมุนคันปรับซูมตามเข็มนาฬกาเพื่อซูมเขาไดตั้งแต 2× ถึง 14× หรือหมุน


ทวนเข็มนาฬกาเพื่อซูมออก กดปุม Q เพื่อกลับไปยังการดูภาพแบบเฟรมเดียว
• หากตองการดูภาพอื่นๆ ที่อัตราการซูมสูงกวา 2× ใหกดปุม
INFO จากนั้นกดปุม HI กดปุม INFO อีกครั้งเพื่อเปดใช
งานการเลื่อนอีกครั้ง และทานยังสามารถดูภาพอื่นๆ โดยใชปุม
หมุนควบคุมไดเชนกัน

TH 77
4 ฟงกชั่นเมนู

การใชงานเมนูพื้นฐาน
เมนูตางๆ สามารถใชเพื่อกําหนดการตั้งคากลองเพื่อใหใชงานไดงาย และรวมตัวเลือกการถาย
ภาพและการแสดงภาพที่ไมสามารถแสดงในหนาจอ Live Control หรืออื่นๆ
W
ตั้งคาการถายภาพและการตั้งคาการถายภาพ (หนา 80)
X
n การตั้งคาโหมดภาพเคลื่อนไหว (หนา 87)
q ตัวเลือกการดูภาพและปรับแตงภาพ (หนา 88)
4 G การกําหนดคาการตั้งคากลอง (หนา 96)
e การตั้งคากลอง (เชน วันที่และภาษา) (หนา 94)
ฟงกชั่นเมนู (การใชงานขั้นพื้นฐาน)

ฟงกชั่นที่ไมสามารถเลือกจากเมนูได
อาจไมสามารถเลือกบางรายการจากเมนูไดเมื่อใชแปนลูกศร
• รายการที่ไมสามารถตั้งคาไดกับโหมดถายภาพปจจุบัน g “รายการของการตั้งคาที่ใชไดในโหม
ดถายภาพแตละโหมด” (หนา 136)
• รายการที่ไมสามารถตั้งคาได เนื่องจากมีการตั้งคารายการไวแลว:
การตั้งคาเชนโหมดภาพจะใชไมไดเมื่อหมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ B

1 กดปุม MENU เพื่อแสดงเมนู


ѯєьѬщѥҕ ѕѓѥё 1
11 іѨѯоѶ ш/ѯјѪѠдѱўєчдѼѥўьчѯѠк
2 ѱўєчѓѥё
แท็บ ёѪь ѷ іѠэ AF
ҟ ъѨд I

คําแนะนําในการ
ใชงาน
дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

กดปุม MENU เพื่อ กดปุม Q เพื่อยืนยัน


ยอนกลับหนึ่งหนาจอ การตั้งคา

• คําแนะนําจะแสดงขึ้น 2 วินาทีหลังจากที่เลือกตัวเลือก
• กดปุม INFO เพื่อดูหรือซอนคําแนะนํา

78 TH
2 ใช FG เพื่อเลือกแท็บ และกดปุม Q
• แท็บกลุมเมนูจะปรากฏขึ้นเมื่อไดเลือก G เมนูกําหนดเองไว ใช FG เพื่อเลือกกลุมเมนู และ
กดปุม Q
A. AF/MF
1 A ѳђнҕњѕ AF юѧ ч
B ш Ѥњнҕњѕюі Ѥэѱђд Ѥѝ MF
2
C
D
E
F
G
H

дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

กลุมเมนู

3 เลือกรายการโดยใช FG และกดปุม Q เพื่อแสดงตัวเลือกสําหรับรายการที่เลือก


การตั้งคาปจจุบันจะ
ฟงกชัน ปรากฏขึ้น
4
Q
ѯєьѬщѥҕ ѕѓѥё 2 ѯєьѬщѥҕ ѕѓѥё 2

ฟงกชั่นเมนู (การใชงานขั้นพื้นฐาน)
1 іѣѕѣѯњјѥшҕѠѓѥё/Time Lapse юѧ ч 1 іѣѕѣѯњјѥшҕѠѓѥё/Time Lapse
юѧ ч юѧ ч
22 Focus BKT юѧ ч 22 Focus BKT ѯюѧ ч юѧ ч
шкзҕ
Ѥҟ ѥѱђд ѤѝоҖѠь шкзҕ
Ѥҟ ѥѱђд ѤѝоҖѠь
ёѧєёҙњ ѤьъѨѷ юѧ ч ёѧєёҙњ ѤьъѨѷ юѧ ч

дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

4 ใช FG เพื่อเลือก และกดปุม Q


• กดปุม MENU ซํ้าๆ เพื่อออกจากเมนู

$ หมายเหตุ
• สําหรับการตั้งคาตั้งตนของแตละตัวเลือก โปรดดู “การตั้งคาเริ่มตน/กําหนดเอง” (หนา 140)

TH 79
การใชเมนูถายภาพ 1/เมนูถายภาพ 2
ѯєьѬщѥҕ ѕѓѥё 1
11 іѨѯоѶ ш/ѯјѪѠдѱўєчдѼѥўьчѯѠк
2 ѱўєчѓѥё
ёѪь ѷ іѠэ AF
ҟ ъѨд I

дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

เมนูถายภาพ 1 เมนูถายภาพ 2
W รีเซ็ต/เลือกโหมดกําหนดเอง X ระยะเวลาตอภาพ/Time Lapse (หนา 84)
โหมดภาพ (หนา 50, 81) Focus BKT (หนา 85)
พื้นที่กรอบ AF (หนา 82) ตั้งคาโฟกัสซอน (หนา 86)
4 พิมพวันที่ (หนา 86)

การกูคืนการตั้งคาตั้งตน/การบันทึกการตั้งคา
ฟงกชั่นเมนู (เมนูถายภาพ)

(รีเซ็ต/เลือกโหมดกําหนดเอง)
 การกลับสูการตั้งคาตั้งตน (รีเซ็ต)
สามารถคืนคาตางๆ ของกลองกลับสูการตั้งคาตั้งตนไดโดยงาย g “การตั้งคาเริ่มตน/กําหนด
เอง” (หนา 140)

1 เลือก [รีเซ็ต/เลือกโหมดกําหนดเอง] ใน W เมนูถายภาพ 1 และกดปุม Q


2 เลือก [รีเซ็ต] และกดปุม Q
3 เลือกตัวเลือก ([ทั้งหมด] หรือ [พื้นฐาน]) และกดปุม Q
รีเซ็ตการตั้งคาทั้งหมด แตมีขอยกเวนบางประการ เชน การตั้งคาวันที่/เวลาและการ
ทั้งหมด
แสดงผล
พื้นฐาน รีเซ็ตการตั้งคาพื้นฐานที่เกี่ยวของกับการถายภาพ

4 เลือก [ใช] และกดปุม Q

80 TH
 การบันทึกการตั้งคา
สามารถบันทึกการตั้งคาปจจุบันไดในโหมดกําหนดเองทั้งสองโหมด

1 ปรับการตั้งคาเพื่อบันทึก
• หมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ตําแหนงอื่นที่ไมใช n (โหมดภาพเคลื่อนไหว)

2 เลือก [รีเซ็ต/เลือกโหมดกําหนดเอง] ใน W เมนูถายภาพ 1 และกดปุม Q


3 เลือก [โหมดกําหนดเอง C1] หรือ [โหมดกําหนดเอง C2] และกดปุม Q
4 เลือก [ตั้งคา] และกดปุม Q
• การตั้งคาใดที่มีอยูจะถูกเขียนทับ
• หากตองการยกเลิกการลงทะเบียน ใหเลือก [ตั้งคาใหม]

• สามารถเรียกใชการตั้งคาที่บันทึกไวไดอยางรวดเร็วโดยการหมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ C1 หรือ C2
g “โหมดกําหนดเอง (Custom mode C1/C2)” (หนา 37) 4
ตัวเลือกการประมวลผล (โหมดภาพ)

ฟงกชั่นเมนู (เมนูถายภาพ)
ทานสามารถปรับคาแตละคาสําหรับความตางสี, ความคมชัด และคาพารามิเตอรอื่นๆ ในการตั้งคา
[โหมดภาพ] (หนา 50) การเปลี่ยนแปลงพารามิเตอรจะถูกเก็บไวสําหรับโหมดภาพแตละโหมด
แยกกัน

1 เลือก [โหมดภาพ] ใน W เมนูถายภาพ 1 และกดปุม Q ѯєьѬщѥҕ ѕѓѥё 1


11 іѨѯоѶ ш/ѯјѪѠдѱўєчдѼѥўьчѯѠк
• กลองจะแสดงโหมดถายภาพที่สามารถใชงานไดในโหมดถาย 2 ѱўєчѓѥё
ภาพปจจุบัน ёѪь ѷ іѠэ AF
ҟ ъѨд I

дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

2 เลือกตัวเลือกดวย FG และกดปุม Q
• กด I เพื่อตั้งคาตัวเลือกโดยละเอียดสําหรับโหมดถายภาพที่เลือกไว ตัวเลือกโดยละเอียดจะไมมีใน
โหมดภาพบางโหมด
• การเปลี่ยนความตางสีไมสงผลตอการตั้งคาอื่นๆ นอกจาก [ปกติ]

TH 81
เลือกบริเวณปรับโฟกัส (พื้นที่กรอบ AF)
คุณสามารถเลือกตําแหนงและขนาดของพื้นที่โฟกัสสําหรับโฟกัสอัตโนมัติได
o (เปาทั้งหมด) กลองจะเลือกเปาโฟกัสเองโดยอัตโนมัติจากเปาหมายทั้งหมด
I (เปาเดียว) ทานสามารถเลือกเปา AF เดียว
กลองจะติดตามการเคลื่อนไหวของวัตถุตนแบบโดยอัตโนมัติเพื่อโฟกัสวัตถุ
ติดตาม
ดังกลาวอยางตอเนื่อง

 การกําหนดเปา AF (พื้นที่)
ทานสามารถเลือกตําแหนงของเปา AF ไดดวยตนเอง

1 เลือก [พื้นที่กรอบ AF] ใน W เมนูถายภาพ 1 และกดปุม Q

4 2 เลือก [I] และกดปุม Q


3 ใช FGHI เพื่อเลือกตําแหนงของเปา AF และกดปุม Q
ฟงกชั่นเมนู (เมนูถายภาพ)

• กดปุม Q คางไวกอนที่จะตั้งคาตําแหนงเพื่อสงเปา AF กลับไปที่กึ่งกลาง

• หากตองการจัดตําแหนงเปา AF ใหมเมื่อกลองพรอมที่จะถายภาพ ใหกดปุม Q


• จํานวนและขนาดของเปา AF จะเปลี่ยนไปตามอัตราสวน (หนา 55)
• ตําแหนงของเปา AF จะไมสามารถเปลี่ยนแปลงไดในขณะที่ใชงานดิจิทัลเทเลคอน

82 TH
 การติดตามโฟกัสวัตถุที่เคลื่อนที่ (ติดตาม)
กลองจะติดตามการเคลื่อนไหวของวัตถุตนแบบโดยอัตโนมัติเพื่อโฟกัสวัตถุดังกลาวอยางตอเนื่อง

1 เลือก [พื้นที่กรอบ AF] ใน W เมนูถายภาพ 1 และกดปุม Q


2 เลือก [ติดตาม] และกดปุม Q
3 กดปุม MENU เพื่อกลับไปสูหนาจอถายภาพ
4 วางเปา AF ไวเหนือวัตถุของทานและกดปุม Q โดยกดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งคางไว
5 เมื่อกลองจําวัตถุตนแบบ เปา AF จะติดตามการเคลื่อนไหวของวัตถุตนแบบโดย
อัตโนมัติเพื่อโฟกัสวัตถุตนแบบดังกลาวอยางตอเนื่อง
• หากตองการยกเลิกการติดตาม ใหกดปุม Q

• กลองอาจไมสามารถล็อกโฟกัสภาพไดหรือไมสามารถเลื่อนโฟกัสตามการเคลื่อนไหวของวัตถุ
ตนแบบได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวัตถุตนแบบหรือสภาวะการถายภาพ
4
• เมื่อกลองไมสามารถติดตามการเคลื่อนไหวของวัตถุตนแบบได เปา AF จะเปลี่ยนเปนสีแดง

ฟงกชั่นเมนู (เมนูถายภาพ)
• [I] (เปาเดียว) จะถูกเลือกโดยอัตโนมัติเมื่อใชดิจิทัลเทเลคอน

TH 83
การถายภาพโดยอัตโนมัติที่กําหนดระยะเวลาไว (ระยะเวลาตอภาพ/
Time Lapse)
ทานสามารถตั้งคาใหกลองถายภาพโดยอัตโนมัติดวย Time Lapse ที่กําหนดได สามารถบันทึก
เฟรมที่ถายเปนภาพเคลื่อนไหวหนึ่งไฟลได

1 เลือก [ระยะเวลาตอภาพ/Time Lapse] ใน X เมนูถาย ѯєьѬщѥҕ ѕѓѥё 2


1 іѣѕѣѯњјѥшҕѠѓѥё/Time Lapse
ภาพ 2 และกดปุม Q
юѧ ч
22 Focus BKT юѧ ч
шкзҕ
Ѥҟ ѥѱђд ѤѝоҖѠь
ёѧєёҙњ ѤьъѨѷ юѧ ч

дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

2 เลือก [เปด] และกด I


4
3 ปรับการตั้งคาดังตอไปนี้:
ฟงกชั่นเมนู (เมนูถายภาพ)

เฟรม 2 ถึง 299 (เฟรม) กําหนดจํานวนเฟรมที่จะถาย


00:00:00 ถึง
เวลารอเริ่มตน กําหนดเวลารอกอนเริ่มถาย
24:00:00 (นาที)
00:00:00 ถึง
ชวงเวลา กําหนดชวงเวลาระหวางแตละภาพหลังจากเริ่มถาย
24:00:00 (นาที)

ปด ตั้งคารูปแบบการบันทึกของลําดับเฟรม
Time Lapse [ปด]: บันทึกแตละเฟรมเปนภาพนิ่ง
Movie [เปด]: บันทึกแตละเฟรมเปนภาพนิ่งและสรางภาพ
เปด เคลื่อนไหวหนึ่งไฟลจากลําดับเฟรม

ขนาดภาพเคลื่อนไหว [ขนาดภาพเคลื่อนไหว]: เลือกขนาดสําหรับวิดีโอ


Time Lapse
การตั้งคาภาพยนตร
[จํานวนเฟรม]: เลือกอัตราสวนสําหรับวิดีโอ Time
จํานวนเฟรม Lapse

• เวลาเริ่มตนและเวลาสิ้นสุดที่แสดงในจอแสดงผลมีไวเพื่อเปนแนวทางเทานั้น เวลาจริงอาจแตก
ตางกันไปตามสภาวะการถายภาพ
• เลือกรายการและกดปุม Q เพื่อเลือก

4 กดปุม Q เมื่อการตั้งคาเสร็จสิ้น
5 ตัวเลือก [ปด]/[เปด] จะแสดงอีกครั้ง ตรวจสอบใหแนใจวาไดเลือก [เปด] ไวแลว จาก
นั้นกดปุม Q อีกครั้ง
6 ถายภาพ
• [ดูภาพบันทึก] (หนา 94) จะทํางาน 0.5 วินาที
• หากเวลากอนการถายภาพหรือชวงเวลาการถายภาพ อยางใดอยางหนึ่ง ถูกตั้งไวไมนอยกวา 1 นาที
31 วินาที จอภาพและกลองจะปดหลังจากผานไป 1 นาที 10 วินาทีกอนถายภาพ กลองจะเปดขึ้นอีก
ครั้งโดยอัตโนมัติ เมื่อหนาจอดับลง ใหกดปุม ON/OFF เพื่อเปดหนาจออีกครั้ง

84 TH
• วิดีโอ Time Lapse จะไมถูกสรางขึ้นหากมีภาพนิ่งที่ไมไดรับการบันทึกอยางถูกตอง
• หากพื้นที่ในการดมีไมเพียงพอ กลองจะไมบันทึกวิดีโอ Time Lapse
• การใชปุมควบคุมตอไปนี้จะยกเลิกการถายวิดีโอ Time Lapse:
ปุมหมุนปรับโหมด, ปุม MENU, ปุม q, การเชื่อมตอสาย USB, การปดกลอง
• การถายภาพตามชวงเวลาจะสิ้นสุดลงหากแบตเตอรี่เหลือนอย ตรวจสอบใหแนใจวาชารจแบตเตอรี่
เรียบรอยแลวกอนถายภาพ หากทานจะถายภาพเปนระยะเวลานานใหใชตัวแปลงไฟ AC-USB หาก
ทานใชตัวแปลงไฟ AC-USB ใหใสแบตเตอรี่ลงในกลองแลวเลือก [ชารจ] ในกลองโตตอบที่ปรากฏ
ขึ้นหลังจากเชื่อมตอสาย USB เมื่อจอภาพดับลง ทานสามารถกดปุม ON/OFF เพื่อเปดจอภาพอีก
ครั้งและถายภาพตอไปในขณะที่กําลังชารจไฟ
• ภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกโดยเลือก [4K] ไวสําหรับ [การตั้งคาภาพยนตร] > [ขนาดภาพเคลื่อนไหว]
อาจไมแสดงในคอมพิวเตอรบางระบบ ขอมูลเพิ่มเติมสามารถดูไดที่เว็บไซตของ OLYMPUS

การโฟกัสที่แตกตางกันไปเล็กนอยในภาพแตละชุด (Focus BKT)


ทุกครั้งที่กดปุมชัตเตอร กลองจะทําการปรับโฟกัสอัตโนมัติตามชุดละ 10, 20 หรือ 30 ภาพ
4
1 เลือก [Focus BKT] ใน X เมนูถายภาพ 2 และกดปุม Q

ฟงกชั่นเมนู (เมนูถายภาพ)
2 เลือก [เปด] และกด I
3 ปรับการตั้งคาตอไปนี้และกดปุม Q
เวลารอเริ่มตน 0 ถึง 30 วินาที เลือกระยะเวลาที่กลองรอกอนเริ่มถายภาพ
กําหนดจํานวนภาพ 10/20/30 เลือกจํานวนเฟรมในลําดับการถายครอม
กําหนดสวนตางโฟกัส แคบ/ปกติ/กวาง เลือกปริมาณการเปลี่ยนแปลงโฟกัสในแตละภาพ

4 กดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งเพื่อโฟกัส
• หากตัวแสดงโฟกัสกะพริบ แปลวากลองไมไดโฟกัส

5 กดปุมชัตเตอรลงจนสุดเพื่อถายภาพ
• กลองจะใชจํานวนภาพที่เลือกไวสําหรับ [กําหนดจํานวนภาพ] ในโดยที่โฟกัสจะแตกตางกันไปใน
แตละภาพ กลองจะถายภาพที่ระยะโฟกัส และที่ระยะทางดานหนาและดานหลังของระยะโฟกัสที่
เลือกไวเมื่อกดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง
• สัญลักษณ t จะเปลี่ยนเปนสีเขียวระหวางการถายครอม
• การถายภาพสิ้นสุดลงเมื่อโฟกัสไปถึง ) (จุดอนันต)
• การเลือกเปา AF จะถูกกําหนดไวที่ [I] (เปาเดียว)
• คาแสงและไวทบาลานซจะถูกกําหนดไวที่คาสําหรับภาพแรกในแตละชุด

TH 85
การเพิ่มระยะชัดลึก (ตั้งคาโฟกัสซอน)
โฟกัสจะแตกตางกันไปตามจํานวนภาพที่เลือกและจะรวมภาพที่ไดออกมาเปนภาพเดียว กลอง
จะบันทึกภาพสองภาพ คือ ภาพแรกที่ถายและภาพคอมโพสิต

1 เลือก [ตั้งคาโฟกัสซอน] ใน X เมนูถายภาพ 2 และกดปุม Q


2 ปรับการตั้งคาตอไปนี้และกดปุม Q
เวลารอเริ่มตน เลือกระยะเวลาที่กลองรอกอนเริ่มถายภาพ
เลือกจํานวนภาพที่จะถายและรวมภาพเพื่อสรางเปนภาพสุดทาย
กําหนดจํานวนภาพ
• ไมรวมภาพแรก

3 หมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ k
4 4 เลือก [โฟกัสซอน] โดยใช HI และกดปุม Q
5 กดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งเพื่อโฟกัส
ฟงกชั่นเมนู (เมนูถายภาพ)

• หากตัวแสดงโฟกัสกะพริบ แปลวากลองไมไดโฟกัส
• ใชการล็อคโฟกัส (หนา 46) หรือการโฟกัสดวยตัวเอง (หนา 55) เพื่อล็อคโฟกัสกอนถายภาพ

6 กดปุมชัตเตอรลงจนสุดเพื่อเริ่มถายภาพ
• การเลือกเปา AF จะถูกกําหนดไวที่ [I]
• คาแสงและไวทบาลานซจะถูกกําหนดไวที่คาสําหรับภาพแรกในแตละชุด

พิมพวันที่ (พิมพวันที่)
พิมพวันที่และ/หรือเวลาบันทึกลงบนภาพถาย
ปด ไมพิมพวันที่และเวลาลงบนภาพถาย
วันที่ พิมพวันที่บันทึกลงบนภาพถาย
เวลา พิมพเวลาบันทึกลงบนภาพถาย
วันที่ + เวลา พิมพวันที่และเวลาบันทึกลงบนภาพถาย

• วันที่และเวลาบันทึกจะลบไมได
• ตัวเลือกนี้จะไมสามารถใชไดหากไมไดตั้งวันที่และเวลาไว g “การตั้งคาเริ่มตน” (หนา 18)
• ตัวเลือกนี้จะใชไมไดเมื่อ:
ภาพ RAW (รวมภาพที่ถายโดยใช JPEG+RAW); ภาพเคลื่อนไหว; ภาพที่บันทึกดวย [อี-พอรต
เทรต], [โหมดประกายดาว], [Live Composite], [พาโนรามา] หรือ [แบ็คไลท HDR] ในโหมด
SCN; ภาพที่บันทึกดวย [โฟกัสซอน] หรือ [ถายครอมโฟกัส] ในโหมด k; ภาพที่ถายดวย
[V HDR] ในโหมด ^; ภาพที่ถายเมื่อเลือก [ART] ไวสําหรับโหมดภาพ; ภาพที่ถายเมื่อ
หมุนปุมหมุนปรับโหมดไปที่ n; ภาพที่ถายในโหมดถายตอเนื่อง; หรือภาพที่สรางจากตัวเลือก
[แกไข] ในเมนูแสดงภาพ
• ไอคอน จะแสดงขึ้นเมื่อเปดใช [พิมพวันที่]

86 TH
การใชเมนูวิดีโอ
ฟงกชันการบันทึกภาพเคลื่อนไหวมีการตั้งคาในเมนูวิดีโอ ѯєьѬњч
ѧ ѱѨ Ѡ
1 ѓѥёѯзјѪѠ ѷ ьѳўњ R ѯюѧ ч
2 іѣч ѤэѯѝѨѕкэ Ѥьъѩд ±0
ѯђієѯішеѠкњѧчѱѨ Ѡ 30p
эѧшѯішеѠкњѧчѱѨ Ѡ Fine

дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

ตัวเลือก คําอธิบาย g
ภาพเคลื่อนไหว R [ปด]: บันทึกภาพเคลื่อนไหวแบบไมมีเสียง
[เปด]: บันทึกภาพเคลื่อนไหวแบบมีเสียง 38
[เปด e]: บันทึกภาพเคลื่อนไหวแบบมีเสียง; เปดใชการลดเสียงลม
4
ระดับเสียงบันทึก ปรับความไวตอเสียงของไมโครโฟนภายในกลอง ปรับความไวเสียง
ไดโดยใช FG ขณะตรวจสอบระดับเสียงสูงสุดที่ไมโครโฟน เลือก ―

ฟงกชั่นเมนู (เมนูวิดีโอ)
ในชวงสองสามวินาทีที่ผานมา
เฟรมเรตของวิดีโอ เลือกเฟรมเรตสําหรับการบันทึกภาพเคลื่อนไหว
• เมื่อถายภาพเคลื่อนไหวที่จะใชดูบนโทรทัศน ใหเลือกอัตราเฟรมที่
ตรงกับมาตรฐานวิดีโอในอุปกรณ มิฉะนั้นภาพเคลื่อนไหวจะเลนได
ไมราบรื่น มาตรฐานวิดีโอจะแตกตางกันไปตามแตละประเทศหรือ
ภูมิภาค: ซึ่งบางที่จะใชระบบ NTSC และที่อื่นๆ จะใชระบบ PAL 57
- เมื่อถายภาพสําหรับแสดงบนอุปกรณระบบ NTSC ใหเลือก 60p
(30p)
- เมื่อถายภาพสําหรับแสดงบนอุปกรณระบบ PAL ใหเลือก 50p
(25p)
บิตเรตของวิดีโอ เลือกอัตราสวนการบีบอัดสําหรับการบันทึกภาพเคลื่อนไหว 57
• เสียงการทํางานของเลนสและกลองอาจถูกบันทึกไวในภาพเคลื่อนไหว เพื่อปองกันไมใหกลองบันทึก
เสียงดังกลาว ใหลดเสียงการทํางานโดยใชงานปุมตางๆ ของกลองใหนอยที่สุด
• เสียงจะไมถูกบันทึกพรอมภาพเคลื่อนไหวความเร็วสูงหรือภาพเคลื่อนไหวที่ถายโดยเลือก k (ไดโอ
รามา) ไวสําหรับโหมดภาพ
• เมื่อตั้งคา [ภาพเคลื่อนไหว R] เปน [ปด] O จะปรากฏขึ้น

TH 87
การใชเมนูแสดงภาพ
เมนูแสดงภาพ
y (หนา 73) ѯєьѬѰѝчкѓѥё

R
1

2 R ѯюѧ ч
แกไข ѰдҖѳе
зѼѥѝкѷ Ѥ ёѧєёҙ
คําสั่งพิมพ (หนา 75) јэзҕѥюҖѠкд Ѥь
ลบคาปองกัน (หนา 93) дѥіѯнѪѠ ѷ єшҕѠд Ѥэѝєѥіҙъѱђь

การเชื่อมตอกับสมารทโฟน (หนา 107) дј Ѥэ шкзҕ


Ѥҟ ѥ

การหมุนภาพที่แสดงบนจอ (R)
เมื่อตั้งคาไปที่ [เปด] ภาพที่ถายในแนวตั้งจะหมุนเพื่อแสดงตามการวางแนวภาพที่ถูกตองบนหนา
4 จอดูภาพโดยอัตโนมัติ

การแกไขภาพ (แกไข)
ฟงกชั่นเมนู (เมนูแสดงภาพ)

สรางสําเนาภาพที่แกไขแลว ในกรณีที่เปนภาพ RAW ทานจะสามารถปรับการตั้งคาที่มีผลไปใชใน


เวลาที่ถายภาพได เชน ไวทบาลานซและโหมดภาพ (รวมฟลเตอรตางๆ) หากเปนภาพ JPEG ทาน
จะสามารถทําการแกไขอยางงายได เชน การครอบตัดและการปรับขนาด
แกไขภาพ RAW สรางสําเนา JPEG ของภาพ RAW ตามการตั้งคาที่เลือก
แกไข JPEG แกไขภาพ JPEG และบันทึกสําเนาที่ไดในรูปแบบ JPEG (หนา 90)

 การแกไขภาพ RAW (แกไขภาพ RAW)

1 เลือก [แกไข] ใน q เมนูแสดงภาพ และกดปุม Q


2 ใช FG เพื่อเลือก [เลือกภาพ] และกดปุม Q
3 ใช HI เพื่อเลือกภาพที่จะแกไข และกดปุม Q
• ตัวเลือกการแกไขจะแสดงขึ้น
• หากภาพปจจุบันไมใชภาพ RAW [แกไขภาพ RAW] จะไมปรากฏขึ้น เลือกภาพอื่น

88 TH
4 เลือก [แกไขภาพ RAW] และกดปุม Q
• ตัวเลือกการแกไขจะแสดงขึ้น

5 เลือก [ปจจุบัน] หรือ [ART BKT] และกดปุม Q


• ขั้นตอนตอไปของทานจะเปนไปตามตัวเลือกที่เลือกไว

ปจจุบัน: ภาพจะไดรับการประมวลผลเพื่อแสดงผลตามการตั้งคากลองในปจจุบัน ใหปรับการตั้ง


คากอนจะเลือกตัวเลือกนี้ จะไมใชการชดเชยแสงและการตั้งคาอื่นๆ
1) กดปุม Q
• การตั้งคากลองปจจุบันจะถูกนําไปใช
2) เลือก [ใช] และกดปุม Q
• ภาพที่แกไขแลวจะถูกบันทึกไวในการด
ART BKT: ใชฟลเตอรภาพพิเศษที่เลือกไว
1) กด I
• กลองจะแสดงเมนูฟลเตอรภาพพิเศษที่มีอยู 4
2) เลือกฟลเตอรภาพพิเศษและกดปุม Q เพื่อเลือกหรือไมเลือก

ฟงกชั่นเมนู (เมนูแสดงภาพ)
• เลือกฟลเตอรที่กํากับไวดวย v
3) กดปุม MENU เพื่อกลับไปสูหนาจอกอนหนา
4) เลือก [ART BKT] และกดปุม Q
• สําเนาที่แกไขแลวจะถูกบันทึกไวในการด

6 หากตองการสรางสําเนาเพิ่มเติมจากตนฉบับเดียวกัน ใหเลือก [รีเซ็ต] และกดปุม Q


หากตองการออกโดยไมสรางสําเนาเพิ่มเติม ใหเลือก [ไมใช] และกดปุม Q
• เลือก [รีเซ็ต] เพื่อแสดงเมนูแกไข ทําซํ้ากระบวนการตั้งแตขั้นตอนที่ 4

• [ปริภูมิสี] จะถูกกําหนดไวที่ [sRGB] เมื่อเลือกฟลเตอรภาพพิเศษไวสําหรับโหมดภาพ


• ภาพ RAW จะแกไขไมได หาก:
เมื่อมีเนื้อที่วางในการดหนวยความจําไมเพียงพอ หรือเมื่อบันทึกภาพดวยกลองอื่น
• คุณยังสามารถแกไขภาพที่เลือกระหวางการแสดงภาพได g “แกไขภาพ RAW/แกไข JPEG”
(หนา 68)

TH 89
 การแกไขภาพ JPEG (แกไข JPEG)
เมนู [แกไข JPEG] จะมีตัวเลือกดังตอไปนี้
ปรับเงาแสง
เพิ่มแสงวัตถุยอนแสงที่มืด
หรือสวนมืด
แกตาแดง ลดการเกิดตาแดงเนื่องจากถายภาพโดยใชแฟลช
ตัดขอบภาพ ใชปุมหมุนควบคุมเพื่อเลือกขนาดการตัดสวนภาพและใชปุม
P
FGHI เพื่อระบุตําแหนงที่จะตัดสวนภาพ
เปลี่ยนแปลงอัตราสวนภาพตั้งแต 4:3 (มาตรฐาน) ถึง [3:2], [16:9], [1:1] หรือ
สัดสวนภาพ [3:4] เมื่อเปลี่ยนแปลงอัตราสวนภาพแลว ใหใช FGHI เพื่อกําหนดตําแหนง
การตัดขอบ
ถายภาพขาวดํา สรางภาพสีขาวดํา
ซีเปย สรางภาพโทนสีซีเปย
4 ความอิ่มสี เพิ่มสีสันของภาพ ปรับความอิ่มสีโดยตรวจสอบภาพบนหนาจอ
แปลงภาพเปน 1280 × 960, 640 × 480 หรือ 320 × 240 ภาพที่มีอัตราสวนภาพ
ฟงกชั่นเมนู (เมนูแสดงภาพ)

Q
อื่นที่ไมใช 4:3 (มาตรฐาน) จะถูกแปลงเปนขนาดภาพที่ใกลเคียงที่สุด
อี-พอรตเทรต ปรับสภาพผิวใหแลดูเรียบเนียน ไมสามารถปรับไดในกรณีที่ตรวจไมพบใบหนา

• การแกไขตาแดงอาจไมไดผลกับบางภาพ
• การแกไขภาพ JPEG ไมสามารถทําไดในกรณีตอไปนี้:
เมื่อประมวลผลภาพบน PC, เมื่อมีเนื้อที่วางในการดหนวยความจําไมเพียงพอ หรือเมื่อบันทึกภาพ
ดวยกลองอื่น
• ไมสามารถเปลี่ยนขนาดภาพ (Q) เปนขนาดที่ใหญกวาขนาดเดิม
• ภาพบางภาพไมสามารถปรับขนาดได
• [P] (การตัดขอบ) และ [สัดสวนภาพ] สามารถใชเพื่อแกไขภาพที่มีสัดสวนภาพเทากับ 4:3
(มาตรฐาน) เทานั้น

1 เลือก [แกไข] ใน q เมนูแสดงภาพ และกดปุม Q


2 ใช FG เพื่อเลือก [เลือกภาพ] และกดปุม Q
3 ใช HI เพื่อเลือกภาพที่จะแกไข และกดปุม Q
• ตัวเลือกการแกไขจะแสดงขึ้น
• หากภาพปจจุบันไมใชภาพ JPEG [แกไข JPEG] จะไมปรากฏขึ้น เลือกภาพอื่น

4 เลือก [แกไข JPEG] และกดปุม Q


• เมนูแกไขจะปรากฏขึ้น

90 TH
5 เลือกตัวเลือกดวย FG และกดปุม Q
• ทานสามารถดูตัวอยางการใชเอฟเฟกตไดบนหนาจอ หากมีหลายตัวเลือกสําหรับรายการที่เลือก
ใหใช FG เพื่อเลือกตัวเลือกที่ตองการ
• เมื่อเลือก [P] ทานจะสามารถปรับขนาดการครอบตัดไดโดยใชปุมหมุนควบคุมและจัดตําแหนง
ไดโดยใช FGHI
• เมื่อเลือก [สัดสวนภาพ] ทานจะสามารถวางตําแหนงการครอบตัดไดโดยใช FGHI

6 เลือก [ใช] และกดปุม Q


• ภาพที่แกไขแลวจะถูกบันทึกไวในการด
 การบันทึกเสียง
สามารถบันทึกเสียงลงในภาพนิ่ง (บันทึกเสียงไดสูงสุด 30 วินาที)
ฟงกชั่นนี้จะเหมือนกับ [R] ระหวางการแสดงภาพ (หนา 72)
 ภาพซอน
ภาพ RAW ที่ถายดวยกลองสามารถซอนไดสูงสุด 3 เฟรมและบันทึกเปนภาพแยกตางหาก
4
ภาพจะถูกบันทึกไวโดยมีการตั้งโหมดบันทึกไวขณะที่บันทึกภาพ (หากเลือก [RAW] ไว สําเนาภาพจะถูก

ฟงกชั่นเมนู (เมนูแสดงภาพ)
บันทึกในรูปแบบ [YN+RAW])

1 เลือก [แกไข] ใน q เมนูแสดงภาพ และกดปุม Q


2 ใช FG เพื่อเลือก [ภาพซอน] และกดปุม Q
3 เลือกจํานวนภาพที่จะซอน และกดปุม Q

4 ใช FGHI เพื่อเลือกภาพ RAW และกดปุม Q เพื่อ ѓѥёоҖѠь

เพิ่มภาพเหลานั้นไปยังการซอนภาพ RAW RAW RAW

• ภาพซอนจะแสดงขึ้น หากเลือกจํานวนที่ระบุในขั้นตอนที่ 3 RAW

5 ปรับคาเกน (ความสวาง) สําหรับแตละภาพที่จะซอน RAW RAW RAW

• ใช HI เพื่อเลือกภาพและใช FG เพื่อปรับอีกครั้ง


дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ
• สามารถปรับคาเกนไดในชวง 0.1 – 2.0 ตรวจสอบผลลัพธบน
จอภาพ ѓѥёоҖѠь

6 กดปุม Q เพื่อแสดงกลองโตตอบการยืนยัน ไฮไลท [ใช]


และกดปุม Q

×0.3 ×1.5 ×0.5


дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

$ หมายเหตุ
• หากตองการซอนภาพ 4 เฟรมขึ้นไป ใหบันทึกภาพซอนเปนไฟล RAW และใช [ภาพซอน] ซํ้าๆ กัน

TH 91
การแคปภาพนิ่งจากไฟลวีดิโอ (จับภาพนิ่งในภาพภยนตร)
บันทึกภาพนิ่ง (สัดสวนภาพ 16:9) ของเฟรมที่เลือกจากภาพเคลื่อนไหว 4K ที่บันทึกไวดวยกลอง

1 เลือก [แกไข] ใน q เมนูแสดงภาพ และกดปุม Q


2 ใช FG เพื่อเลือก [เลือกภาพ] และกดปุม Q
3 ใช HI เพื่อเลือกภาพเคลื่อนไหว และกดปุม Q
4 เลือก [แกไขภาพเคลื่อนไหว] และกดปุม Q
5 ใช FG เพื่อเลือก [จับภาพนิ่งในภาพภยนตร] และกดปุม Q
6 ใช HI เพื่อเลือกเฟรมที่จะบันทึกเปนภาพนิ่ง และกดปุม Q
• ใช FG หรือเพื่อขามหลายภาพ
4  MENU เพื่อกลับไปยังการดูภาพแบบเฟรมเดียว
• กดปุม

• วันที่ของการบันทึกภาพนิ่งอาจแตกตางไปจากวันที่ของภาพเคลื่อนไหวเดิม
ฟงกชั่นเมนู (เมนูแสดงภาพ)

92 TH
การแกไขภาพเคลื่อนไหว (แกไขภาพเคลื่อนไหว)
ตัดภาพที่เลือกมาจากภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกดวยกลองและเขียนทับภาพตนฉบับดวยภาพที่
แกไขแลว หรือบันทึกสําเนาที่แกไขแยกตางหาก

1 เลือก [แกไข] ใน q เมนูแสดงภาพ และกดปุม Q


2 ใช FG เพื่อเลือก [เลือกภาพ] และกดปุม Q
3 ใช HI เพื่อเลือกภาพเคลื่อนไหว และกดปุม Q
4 เลือก [แกไขภาพเคลื่อนไหว] และกดปุม Q
5 ใช FG เพื่อเลือก [แกไขภาพเคลื่อนไหว] และกดปุม Q
6 เลือก [เขียนทับ] หรือ [ไฟลใหม] และกดปุม Q
• หากภาพไดรับการปองกันไว ทานจะไมสามารถเลือก [เขียนทับ] 4
7 เลือกวาเลือกวาสวนที่จะลบนั้น จะเริ่มตนดวยภาพแรกหรือสิ้นสุดดวยภาพสุดทายหรือ

ฟงกชั่นเมนู (เมนูแสดงภาพ)
ไม โดยใช HI เพื่อเลือกตัวเลือกที่ตองการและปุมกด Q เพื่อเลือก
• หากตองการขามไปยังเฟรมแรกหรือเฟรมสุดทาย ใหหมุนปุมหมุนควบคุม

8 ใช HI เพื่อเลือกสวนที่จะลบ
• สวนที่จะลบจะแสดงเปนสีแดง

9 กดปุม Q
10 เลือก [ใช] และกดปุม Q
• วันที่ของการบันทึกภาพนิ่งอาจแตกตางไปจากวันที่ของภาพเคลื่อนไหวเดิม

การยกเลิกการปองกันภาพทั้งหมด
การปองกันหลายภาพสามารถยกเลิกไดในครั้งเดียว

1 เลือก [ลบคาปองกัน] ใน q เมนูแสดงภาพ และกดปุม Q


2 เลือก [ใช] และกดปุม Q

TH 93
การใชเมนูตั้งคา

ใช e เมนูตั้งคาเพื่อตั้งคาฟงกชั่นพื้นฐานของกลอง ѯєьѬшкзҕ


Ѥҟ ѥ
1 шкзҕ
Ѥҟ ѥдѥіҙч
2 X дѥішкзҕѤҟ ѥ
W ѳъѕ
s k±0
чѬѓѥёэ Ѥьъѩд 0.5 њѧьѥъѨ
Wi-Fi дѥішкзҕ
Ѥҟ ѥ

дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

ตัวเลือก คําอธิบาย g
ตั้งคาการด ฟอรแมทการดและลบภาพทั้งหมด 21, 95
X การตั้งคา (การตั้งคา
ตั้งคานาฬกากลอง 18
4 วันที่/เวลา)
W (การเปลี่ยนภาษา เลือกภาษาที่แตกตางกันสําหรับเมนูตางๆ และขอความที่แสดง
95
ฟงกชั่นเมนู (เมนูตั้งคา)

ที่แสดง) บนจอภาพ
s (การปรับความสวาง ปรับความสวางจอภาพ ใช s

ของจอภาพ) FG เพื่อเลือกตัวเลือก k
+1

дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

ดูภาพบันทึก ตั้งคาวาจะแสดงภาพที่ถายบนจอภาพหลังจากถายภาพหรือ
ไม รวมทั้งระยะเวลาที่จะแสดง ตัวเลือกนี้มีประโยชนสําหรับการ
ตรวจสอบภาพที่เพิ่งถายไปอยางคราวๆ ทานสามารถถายภาพถัด
ไปโดยกดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง แมวาจอภาพกําลังแสดงภาพ
ที่ถายก็ตาม

[0.3 วินาที] – [20 วินาที]: ตั้งระยะเวลา (วินาที) ที่จะแสดงภาพ
ที่ถายบนจอภาพ
[ปด]: ภาพที่ถายจะไมแสดงบนจอภาพ
[Auto q]: แสดงภาพที่ถาย แลวสลับเปนโหมดแสดงภาพ ตัว
เลือกนี้มีประโยชนสําหรับการลบภาพหลังจากที่ตรวจสอบแลว
Wi-Fi การตั้งคา ปรับการตั้งคาสําหรับการเชื่อมตอกับสมารทโฟนที่มี Wi-Fi โดย 109,
ใชฟงกชั่นไรสายของกลอง 110

94 TH
การลบภาพทั้งหมด (ตั้งคาการด)
ภาพทั้งหมดบนการดสามารถลบออกไดในครั้งเดียว ภาพที่ปองกันไวจะไมถูกลบทิ้ง

1 เลือก [ตั้งคาการด] ใน e เมนูตั้งคาและกดปุม Q шкзҕ


Ѥҟ ѥдѥіҙч

2 เลือก [ลบทั้งหมด] และกดปุม Q


јэъкўєч
Ѥҟ
3 เลือก [ใช] และกดปุม Q ђѠіҙѰєъ

• ภาพทั้งหมดจะถูกลบทิ้ง
дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

การเลือกภาษา (W)
เลือกภาษาที่แตกตางกันสําหรับเมนูตางๆ และขอความที่แสดงบนจอภาพ
4
1 เลือก [W] ใน e เมนูตั้งคา และกดปุม Q W
Romanian Ɋɭɫɫɤɢɣ Srpski

ฟงกชั่นเมนู (เมนูตั้งคา)
2 เลือกภาษาที่ตองการโดยใช FGHI หรือปุมหมุน Español
Slovensky
Svenska
6ORYHQãþLQD

ควบคุม Viet Nam


Türkçe ɍɤɪɚʀɧɫɶɤɚ

• กลองโตตอบการเลือกภาษาจะมีตัวเลือกใหเลือกอยูสองหนา
ใหใชปุมหมุนควบคุมหรือปุม FGHI บนแปนลูกศรเพื่อ
เลื่อนเคอรเซอรไปมาระหวางสองหนา дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

3 กดปุม Q เมื่อไฮไลทภาษาที่ตองการแลว

TH 95
การใชเมนูกําหนดเอง
กําหนดการตั้งคากลองไดโดยใช G เมนูกําหนดเอง
เมนูกําหนดเอง
a AF/MF A. AF/MF

M Disp/8/PC 1 A ѳђнҕњѕ AF
B ш Ѥњнҕњѕюі Ѥэѱђд Ѥѝ MF
юѧ ч
2
C คาแสง/ISO (หนา 97) C
D
D #ตั้งคาเอง (หนา 98) E
F
b K/WB/สี (หนา 98) G
H
W บันทึก (หนา 99) дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ
X Field Sensor (หนา 100)
c Kยูติลิตี่ (หนา 100)
4
a AF/MF MENU G a
ฟงกชั่นเมนู (เมนูกําหนดเอง)

ตัวเลือก คําอธิบาย g
ไฟชวย AF เปดใชไฟชวย AF เพื่อชวยโฟกัสเมื่อแสงนอย 101
ตัวชวยปรับโฟกัส เปดใชตัวชวยปรับโฟกัส MF เพื่อชวยโฟกัสระหวางการล็อคโฟกัส
101
MF หรือโฟกัสดวยตัวเอง

M Disp/8/PC MENU G M

ตัวเลือก คําอธิบาย g
G/ตั้งคาแสดง เลือกขอมูลที่จะแสดงเมื่อกดปุม INFO
ภาพ [q คําแนะนํา]: เลือกขอมูลที่จะแสดงในการแสดงภาพแบบเฟรม
เดียว 102,
[LV-Info]: เลือกขอมูลที่จะแสดงเมื่อกลองอยูในโหมดถายภาพ 103
[G การตั้งคา]: เลือกขอมูลที่จะแสดงในการแสดงภาพแบบดัชนีและ
การแสดงภาพบนปฏิทิน
Live View Boost [ปด]: การเปลี่ยนแปลงการตั้งคาตางๆ เชน การชดเชยแสงจะแสดง
ในจอแสดงผลของจอภาพ
[เปด]: การเปลี่ยนแปลงการตั้งคาตางๆ เชน การชดเชยแสงจะไม —
แสดงในจอแสดงผลของจอภาพ; แตความสวางจะถูกปรับเพื่อให
จอแสดงผลใกลเคียงที่สุดกับคาแสงที่เหมาะสมที่สุด
ลดภาพกะพริบ ลดผลกระทบจากการสั่นไหวภายใตแสงบางชนิด รวมถึงหลอดฟลูออ
เรสเซน เมื่อการตั้งคา [อัตโนมัติ] ไมไดลดการกะพริบ ใหตั้งคาเปน

[50Hz] หรือ [60Hz] ตามความถี่พลังงานไฟฟาทั่วไปของภูมิภาคที่
ใชงานกลอง
แสดงเสนตาราง เลือก [w] หรือ [x] เพื่อแสดงเสนตารางบนจอภาพ —
สีของฟงกชันพีคกิ้ง เลือกสีของเสนขอบ (สีแดง, สีเหลือง, สีขาว หรือสีดํา) ในจอแสดง
101
ผลโฟกัสพีคกิ้ง

96 TH
ตัวเลือก คําอธิบาย g
8 (เสียงบี๊ป) ใช FG เพื่อปรับระดับเสียงที่ตอบสนองตอการควบคุมของกลอง
เลือก “0” เพื่อปดเสียง เชน เสียงที่เกิดขึ้นเมื่อกลองโฟกัสหรือลั่น —
ชัตเตอร
HDMI [ขนาดสัญญาณออก]: การเลือกรูปแบบสัญญาณวิดีโอดิจิตอลสําหรับ
เชื่อมตอกับทีวีผานสาย HDMI
[การควบคุมผาน HDMI]: เลือก [เปด] เพื่อใหกลองทํางานโดยใช 104
รีโมทสําหรับทีวีที่รองรับการควบคุม HDMI ตัวเลือกนี้จะมีผลเมื่อ
รูปภาพแสดงบนทีวี

C คาแสง/ISO MENU G C

ตัวเลือก คําอธิบาย g
ปรับคาการเปดรับ ปรับคาแสงที่ถูกตองสําหรับแตละโหมดวัดแสงซึ่งเปนอิสระจากกัน 4
แสง • เอฟเฟกตจะไมสามารถมองเห็นไดในหนาจอ หากตองการปรับ —

ฟงกชั่นเมนู (เมนูกําหนดเอง)
ระดับแสงตามปกติ ใหทําการชดเชยแสง (หนา 41)
เซ็ต ISO อัตโนมัติ [คาสูงสุด / คาตั้งตน]: เลือกคาสูงสุดและคาตั้งตนที่จะใชสําหรับ
ความไวแสง ISO เมื่อไดเลือก [อัตโนมัติ] ไวสําหรับ ISO
[คาสูงสุด]: เลือกคาสูงสุดสําหรับการเลือกความไวแสง ISO
อัตโนมัติ
[คาตั้งตน]: เลือกคาตั้งตนสําหรับการเลือกความไวแสง ISO

อัตโนมัติ
[การตั้งคาชัตเตอรตํ่าสุด]: เลือกความเร็วชัตเตอรที่ตํ่ากวาความเร็วที่
กลองจะเพิ่มความไวแสง ISO โดยอัตโนมัติในโหมด P และ A
หากตั้งคาเปน [อัตโนมัติ] กลองจะตั้งคาความเร็วชัตเตอรโดย
อัตโนมัติ
Noise Filter เลือกปริมาณการลดนอยสที่ดําเนินการดวยความไวแสง ISO สูง —
ลดนอยส ฟงกชันนี้จะลดสัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นเมื่อถายภาพดวย Long
exposure
[อัตโนมัติ]: การลดนอยสจะดําเนินการที่ความเร็วชัตเตอรตํ่าหรือเมื่อ
อุณหภูมิภายในกลองสูงขึ้น
[เปด]: ลดนอยสในทุกภาพที่ถาย

[ปด]: ปดการลดนอยส
• เวลาที่จําเปนในการลบจุดรบกวนแสดงอยูบนจอ
• [ปด] จะถูกเลือกอัตโนมัติในชวงที่ถายภาพตอเนื่อง
• ฟงกชั่นนี้อาจทํางานไมไดผลกับสภาวะการถายภาพบางอยางหรือ
วัตถุบางชนิด

นอยสในภาพ
ขณะถายภาพดวยความเร็วชัตเตอรตํ่าอาจเกิดนอยสบนหนาจอได ลักษณะอาการเหลานี้จะเกิดขึ้น
เมื่อมีอุณหภูมิสูงขึ้นในอุปกรณรับภาพหรือวงจรขับเคลื่อนภายในของอุปกรณรับภาพ ทําใหเกิดกระแส
ไฟฟาในสวนเหลานั้นของอุปกรณรับภาพซึ่งโดยปกติจะไมไดสัมผัสกับแสง สิ่งนี้สามารถเกิดขึ้นได
เมื่อถายภาพดวยการตั้งคาความไวแสง ISO สูงในสภาพแวดลอมที่มีอุณหภูมิสูง กลองจะเปดใชงาน
ฟงกชั่นลดนอยส เพื่อลดนอยสแบบนี้

TH 97
D #ตั้งคาเอง MENU G D

ตัวเลือก คําอธิบาย g
x+F เมื่อตั้งคาเปน [เปด] คาชดเชยแสงจะถูกเพิ่มเขาไปในคาชดเชยแสง
41, 59
แฟลช
#+WB ปรับไวทบาลานซสําหรับใชกับแฟลช
[ปด]: กลองจะใชคาที่เลือกไวสําหรับไวทบาลานซ

[W]: กลองจะใชไวทบาลานซอัตโนมัติ ([W])
[n]: กลองจะใชไวทบาลานซสําหรับแฟลช ([n])

b K/WB/สี MENU G b

ตัวเลือก คําอธิบาย g
4 K ตั้งคา ทานสามารถเลือกโหมดคุณภาพของภาพ JPEG ไดจากตัวเลือกขนาด
ภาพ 3 ขนาดและอัตราการบีบอัดภาพ 3 ระดับ
ฟงกชั่นเมนู (เมนูกําหนดเอง)

1) ใช HI เพื่อเลือกรายการที่ K шкзҕ


Ѥҟ ѥ

ตองการ ([K1] – [K4]) K1 K2 K3 K4


และใช FG เพื่อเปลี่ยน L F L N M N S N
56, 105
2) กดปุม Q лѼѥьњьёѧдѯој : 4000×3000

дј Ѥэ шкзҕ
Ѥҟ ѥ

ขนาดภาพ อัตราการบีบอัด
ภาพ

WB ตั้งคาไวทบาลานซ ทานสามารถปรับไวทบาลานซอยางละเอียดใน
แตละโหมดไดอีกเชนกัน

1) เลือกตัวเลือกไวทบาลานซที่ทานตองการปรับอยางละเอียด
และกด I
2) เลือกแกน A (สีเหลืองอําพัน–สีนํ้าเงิน) หรือ G (สีเขียว–สีมวง
53
แดง) และใช FG ในการเลือกคา
• คาที่สูงกวาบนแกน A (สีเหลืองอําพัน–สีนํ้าเงิน) จะทําใหภาพ
ออกโทนสีแดง สวนคาที่ตํ่ากวาจะทําใหภาพออกโทนสีนํ้าเงิน
• คาที่สูงกวาบนแกน G (สีเขียว–สีมวงแดง) จะทําใหภาพออก
โทนสีเขียว สวนคาที่ตํ่ากวาจะทําใหภาพออกโทนสีมวงแดง

W ใชสีโทนอุน เลือก [เปด] เพื่อรักษาสี “โทนอุน” ในรูปภาพที่ถายภายใตแสงหลอด



ไส
ปริภูมิสี ทานสามารถเลือกรูปแบบเพื่อใหแนใจวาสีของภาพที่ถายจะถูกตอง
เมื่อดูบนจอภาพหรือเมื่อใชเครื่องพิมพ
[sRGB]: นี่คือมาตรฐานปริภูมิสี RGB ที่กําหนดโดย International
Electrotechnical Commission (IEC)

โดยปกติแลวจะใช [sRGB] เปนการตั้งคามาตรฐาน
[AdobeRGB]: นี่คือมาตรฐานที่จัดทําโดย Adobe Systems ตอง
ใชซอฟตแวรและฮารดแวรที่ใชงานรวมกันได เชน จอแสดงผล
เครื่องพิมพ ฯลฯ เพื่อใหไดภาพที่ถูกตอง

98 TH
W บันทึก MENU G W

ตัวเลือก คําอธิบาย g
ชื่อไฟล [อัตโนมัติ]: แมจะใสการดใหมแลว แตหมายเลขไฟลจะถูกบันทึกคา
ไวจากการดเดิม ซึ่งหมายเลขจะถูกนับตอจากหมายเลขสุดทายของ
การดเดิมหรือหมายเลขสุงสุดที่มีอยูในการด
[รีเซ็ต]: เมื่อใสการดใหม หมายเลขโฟลเดอรจะเริ่มตนที่ 100 และ —
ชื่อไฟลจะเริ่มตนที่ 0001 แตถาใสการดที่มีภาพถายอยูแลวเขาไป
หมายเลขไฟลจะเริ่มตนนับตอจากหมายเลขลาสุดหรือสูงสุดที่มีอยู
ในการด
แกไขชื่อไฟล เลือกวาจะตั้งชื่อไฟลภาพอยางไรโดยแกไขสวนของชื่อไฟลที่ไฮไลท
เปนสีเทาดานลาง
sRGB: Pmdd0000.jpg Pmdd
Adobe RGB: _mdd0000.jpg mdd
4
1) เลือก [sRGB] หรือ [AdobeRGB] และกด I —

ฟงกชั่นเมนู (เมนูกําหนดเอง)
2) ใช HI เพื่อเลื่อนเคอรเซอรและ FG เพื่อแกไขตัวอักษรที่
เลือก
3) ทําซํ้าขั้นตอนที่ 2 ตามที่จําเปนเพื่อสรางชื่อไฟลที่ตองการ
จากนั้นกดปุม Q

ตั้งคาลิขสิทธิ์* เพิ่มชื่อผูถายภาพและผูถือลิขสิทธิ์ใหกับภาพใหม ชื่อมีความยาว


สูงสุดได 63 ตัวอักษร
[ขอมูลลิขสิทธิ์]: เลือก [เปด] เพื่อใสชื่อผูถายภาพและผูถือลิขสิทธิ์
ในขอมูล Exif สําหรับภาพถายใหม
[ชื่อศิลปน]: ใสชื่อผูถายภาพ
[ชื่อลิขสิทธิ์]: ใสชื่อของผูถือลิขสิทธิ์

1) เลือกตัวอักษรจาก 1 และกดปุม Q ตัวอักษรที่เลือกจะ


ปรากฏใน 2
2) ทําซํ้าขั้นตอนที่ 1 เพื่อใสชื่อใหเสร็จ จากนั้นใหเลือก [END]
และกดปุม Q
• หากตองการลบตัวอักษรที่ปอนไวกอนหนา ใหกดปุม
INFO เพื่อวางเคอรเซอรไวในพื้นที่แสดงขอความ (2)

จากนั้นเลือกตัวอักษรที่ทานตองการจะลบ หลังจากกดปุม
INFO เพื่อกลับไปยังพื้นที่แปนพิมพแลว (1) ใหเลือก
[Delete] และกดปุม Q
ѷ јѧеѝѧъыѧѻ
нѪѠ 05/63

2 ABCDE
! ” # $ % & ’ ( ) * + , - . /
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 : ; < = > ?
@ A B C D E F G H I J K L M N O
1 P Q R S T U V W X Y Z [ ] _ Delete
a b c d e f g h i j k l m n
END
o p q r s t u v w x y z { }

ѕдѯјѧд шкзҕ
Ѥҟ ѥ

* OLYMPUS จะไมรับผิดชอบตอความเสียหายที่เกิดจากขอพิพาท
เกี่ยวกับการใชงาน [ตั้งคาลิขสิทธิ์] โปรดรับความเสี่ยงดวยตัวของ
ทานเอง

TH 99
X Field Sensor MENU G X

ตัวเลือก คําอธิบาย g
บันทึกตําแหนง GPS เลือก [เปด] เพื่อบันทึกขอมูลตําแหนงเมื่อถายภาพ —
ลําดับการใช GPS เลือกโหมด GPS
[GPS ที่แมนยํา]: เนนความแมนยําของขอมูล GPS มากกวาความ
ทนทานของแบตเตอรี่ —
[กําลังแบตเตอรี่]: เนนความทนทานของแบตเตอรี่มากกวาความ
แมนยําของขอมูล
ระดับความสูง/ เลือกหนวยที่ใชสําหรับอุณหภูมิและระดับความสูงในการแสดงขอมูล
อุณหภูมิ เซ็นเซอร ทานสามารถปรับเทียบความสูงได
[คาริเบรตระดับความสูง]: ปรับเทียบความสูงเมื่อระดับความสูงปจจุบัน
และคาที่แสดงโดยกลองที่ไมตรงกัน
4 [m/ft]: เลือกวาจะแสดงระดับความสูงเปนเมตร (m) หรือฟุต (ft)
[ºC/ºF]: เลือกวาจะแสดงอุณหภูมิเปนองศาเซลเซียส (ºC) หรือ

องศาฟาเรนไฮต (ºF)
ฟงกชั่นเมนู (เมนูกําหนดเอง)

1) ไฮไลทรายการที่ตองใชดวย FG
2) กด I
3) ไฮไลทรายการดวย FG และกดปุม Q เพื่อเลือก

c Kยูติลิตี่ MENU G c

ตัวเลือก คําอธิบาย g
พิกเซลแมบปง คุณสมบัติพิกเซลแมบปงชวยใหกลองสามารถตรวจสอบและปรับ
122
อุปกรณรับภาพและฟงกชันประมวลผลภาพ
ปรับตั้งระดับ ทานสามารถปรับตั้งมุมของมาตรวัดระดับได
[รีเซ็ต]: รีเซ็ตคาที่ปรับแลวกลับไปเปนการตั้งคาตั้งตน —
[ปรับ]: ตั้งคาทิศทางของกลองในปจจุบันเปนตําแหนง 0
Sleep กลองจะเขาสูโหมด Sleep (ประหยัดพลังงาน) หากไมมีการใชงาน
ในชวงเวลาที่เลือกไว สามารถเปดใชงานกลองอีกครั้งไดโดยกดปุม —
ชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง
การรับรอง แสดงผลไอคอนการรับรอง —

100 TH
การปรับปรุงโฟกัสในบริเวณที่มืด (ไฟชวย AF)
MENU G a [ไฟชวย AF]
ไฟชวย AF (ไฟชวย AF) จะใหความสวางเพื่อชวยการทํางานของโฟกัสในสภาพแวดลอมที่มืด
เลือก [ปด] เพื่อปดใชไฟชวย AF

ตัวชวยปรับโฟกัส MF
MENU G a [ตัวชวยปรับโฟกัส MF]
คุณสมบัตินี้ใชเพื่อชวยโฟกัสดวยตัวเอง หากตําแหนงโฟกัสเปลี่ยนไปในระหวางการล็อคโฟกัส
หรือโฟกัสดวยตนเอง กลองจะขยายขอบภาพหรือซูมจอแสดงผลในพื้นที่ของเฟรม
ขยาย ขยายสวนหนึ่งของหนาจอ
• วัตถุตนแบบกึ่งกลางเฟรมจะแสดงที่การขยายที่สูงขึ้น หากทานใชการล็อค
โฟกัส (หนา 46) ตําแหนงที่ล็อคโฟกัสจะแสดงที่การขยายที่สูงขึ้น 4
พีคกิ้ง แสดงเสนขอบที่กําหนดไวชัดเจนดวยการปรับเนนขอบภาพ ทานสามารถเลือกสี
ของเสนขอบได g [สีของฟงกชันพีคกิ้ง] (หนา 96)

ฟงกชั่นเมนู (เมนูกําหนดเอง)
• เมื่อมีการใชงาน Peaking ขอบของวัตถุขนาดเล็กมักจะถูกขยายใหหนายิ่งขึ้น จึงไมรับประกันถึงการ
โฟกัสที่แมนยํา
• ทั้งนี้จะขึ้นอยูกับวัตถุ ขอบภาพอาจมองเห็นไดยากเมื่อเลือก [เปด] ไวสําหรับทั้ง [ขยาย] และ
[พีคกิ้ง]

TH 101
การเพิ่มการแสดงผลขอมูล
MENU G M [G/ตั้งคาแสดงภาพ]

 q คําแนะนํา (การแสดงผลขอมูลการแสดงภาพ)
ใช [q คําแนะนํา] เพื่อเพิ่มการแสดงผลขอมูลการแสดงภาพ การ q зѼѥѰьѣьѼѥ

แสดงผลที่เพิ่มจะแสดงโดยการกดปุม INFO ระหวางการแสดง ѓѥёѯъҕѥьь


ъкўєч
Ѥҟ
Ѥҟ

ภาพ ทานสามารถเลือกที่จะไมแสดงการแสดงผลที่ปรากฏที่การตั้ง
Highlight Ѱјѣ Shadow
คาเริ่มตนได g “การสลับหนาจอแสดงขอมูล” (หนา 63)

дј Ѥэ H

การแสดงฮิสโตแกรม
4 ฮิสโตแกรมจะแสดงการกระจายตัวของแสงในภาพ แกนแนวนอน
แสดงระดับความสวาง แกนแนวตั้งแสดงปริมาณพิกเซลของแตละ
ระดับความสวางในภาพ
ฟงกชั่นเมนู (เมนูกําหนดเอง)

15

การแสดงฮิสโตแกรม

การแสดงผลไฮไลทและเงา
การแสดงแสงจาและเงามืดจะแสดงพื้นที่ที่รับแสงมากดวยสีแดง และ
พื้นที่ที่รับแสงนอยดวยสีฟา

Shadow Highlight 15

การแสดงผลไฮไลทและเงา

 LV-Info (การแสดงผลขอมูลการถายภาพ)
การแสดงฮิสโตแกรม, แสงจาและเงามืด และมาตรวัดระดับจะ дѼѥўьчѯѠк1

สามารถเพิ่มไปยัง [LV-Info] ได เลือก [กําหนดเอง1] หรือ [กําหนด Highlight Ѱјѣ Shadow
เอง2] และเลือกการแสดงผลที่ทานตองการจะเพิ่ม การแสดงผลที่ єѥшіњ Ѥчіѣч Ѥэ

เพิ่มจะแสดงโดยการกดปุม INFO ซํ้าๆ ขณะถายภาพ ทานสามารถ


เลือกที่จะไมแสดงการแสดงผลที่ปรากฏที่การตั้งคาเริ่มตนได
g “การสลับหนาจอแสดงขอมูล” (หนา 24) дј Ѥэ H

การแสดงมาตรวัดระดับ
แสดงทิศทางของกลอง ทิศทาง “เอียง” จะระบุบนแถบแนวตั้งและทิศทาง “แนวนอน” บนแถบ
แนวนอน เมื่อแถบเปลี่ยนเปนสีเขียวแสดงวากลองอยูในแนวระนาบและตั้งฉาก
• ใชตัวบงชี้บนมาตรวัดระดับเปนแนวทาง
• ขอผิดพลาดบนหนาจอสามารถแกไขไดดวยการปรับเทียบ (หนา 100)

102 TH
 G การตั้งคา (การแสดงภาพแบบดัชนี/ปฏิทิน)
ทานสามารถเปลี่ยนจํานวนเฟรมที่จะแสดงในหนาจอแบบดัชนีและตั้งไมใหแสดงหนาจอที่กําหนด
ใหแสดงโดยคาเริ่มตนดวย [G การตั้งคา] การแสดงภาพที่มีเครื่องหมายถูกกํากับไวสามารถดูได
โดยหมุนคันปรับซูม
ทวนเข็มนาฬกา ตามเข็มนาฬกา G дѥішкзҕ
Ѥҟ ѥ
(ดาน G) (ดาน a)
A4
B9
C 25
C 100
ютѧъь
ѧ

дј Ѥэ H

G G 4

ฟงกชั่นเมนู (เมนูกําหนดเอง)
2019.06.26 12:30:00 20
20.5°C
10m 1012hPa
2019.06.26 12:30:00 20
4:3 L N 100-0020

a a
2019.06.26 12:30:00 20 2019.06.26 12:30:00 20
2019.06.26 12:30:00 20

การแสดงภาพแบบ 4 เฟรม จํานวนเฟรม 9, 25 หรือ


เฟรมเดียว 100 เฟรม
การแสดงภาพแบบดัชนี

Sun Mon Tue


2019.6
Wed Thu Fri Sat G
26 27 28 29 30 31 1

2 3 4 5 6 7 8

9 10 11 12 13 14 15

16 17 18 19 20 21 22
Q 23 24 25 26 27 28 29

30 1 2 3 4

การแสดงภาพบนปฏิทิน a

TH 103
การดูภาพของกลองบนทีวี
MENU G M [HDMI]
ใชสายเคเบิลที่จําหนายแยกตางหากกับกลองเพื่อเลนภาพที่บันทึกบนทีวีของทาน ฟงกชั่นนี้จะ
ใชไดระหวางถายภาพ การเชื่อมตอกลองเขากับทีวีความละเอียดสูงจะชวยใหทานสามารถดูภาพ
ไดดวยความละเอียดสูง

สาย HDMI
(เสียบขั้วตอ HDMI ที่ทีวี)

4 ขั้วตอ HDMI แบบไมโคร ชนิด A

เชื่อมตอทีวีกับกลองและเปดแหลงสัญญาณเขาของทีวี
ฟงกชั่นเมนู (เมนูกําหนดเอง)

• จอภาพของกลองจะปดเมื่อเชื่อมตอสาย HDMI
• ดูรายละเอียดวิธีการเลือกสัญญาณเขาของทีวีจากคูมือการใชงานของทีวี
• ภาพที่แสดงและขอมูลอาจจะถูกตัดขอบออก ทั้งนี้ขึ้นกับการตั้งคาของทีวี
• หากกลองเชื่อมตอผานสาย HDMI ทานจะสามารถเลือกประเภทสัญญาณวิดีโอดิจิตอลได เลือกรูป
แบบที่ตรงกับรูปแบบสัญญาณเขาที่เลือกไวกับทีวี
4K ใหความสําคัญกับสัญญาณออก HDMI 4K
1080p ใหความสําคัญกับสัญญาณออก HDMI 1080p
720p ใหความสําคัญกับสัญญาณออก HDMI 720p
480p/576p สัญญาณออก HDMI 480p/576p

• หามเชื่อมตอกลองเขากับอุปกรณสงสัญญาณ HDMI อื่นๆ มิฉะนั้นจะทําใหกลองเสียหายได


• ไมสงสัญญาณออก HDMI ในขณะที่เชื่อมตอผาน USB เขากับคอมพิวเตอร
• เมื่อเลือก [4K] สัญญาณออกวิดีโอในโหมดถายภาพจะเปน [1080p]

การใชรีโมทคอนโทรลของทีวี
สามารถใชรีโมทคอนโทรลของทีวีควบคุมกลองไดเมื่อเชื่อมตอกับทีวีที่รองรับการควบคุม
HDMI เลือก [เปด] สําหรับ [การควบคุมผาน HDMI] เมื่อเลือก [เปด] ปุมควบคุมกลองจะ
สามารถใชเพื่อการดูภาพเทานั้น
• ทานสามารถใชงานกลองไดโดยทําตามคําแนะนําการใชงานที่แสดงบนทีวี
• ระหวางการแสดงภาพแบบเฟรมเดียว ทานจะสามารถแสดงหรือซอนการแสดงผลขอมูลไดโดยกด
ปุม “สีแดง” และแสดงหรือซอนการแสดงผลแบบดัชนีไดโดยกดปุม “สีเขียว”
• โทรทัศนบางเครื่องอาจไมรองรับคุณสมบัติทั้งหมด

104 TH
ตัวเลือกคารวมของขนาดภาพ JPEG และอัตราการบีบอัด
MENU G b [K ตั้งคา]
ทานสามารถตั้งคาคุณภาพของภาพ JPEG โดยรวมขนาดภาพและอัตราการบีบอัดได
ขนาดภาพ อัตราการบีบอัดภาพ
SF การใชงาน
จํานวน F N
ชื่อ (Super
พิกเซล (Fine) (Normal)
Fine)
Y (ใหญ) 4000×3000 YSF YF YN
เลือกขนาดการพิมพ
X (กลาง) 3200×2400 XSF XF XN
สําหรับการพิมพขนาดเล็ก
W (เล็ก) 1280×960 WSF WF WN
และการใชบนเว็บไซต
4

ฟงกชั่นเมนู (เมนูกําหนดเอง)

TH 105
5 การเชื่อมตอกลองกับสมารทโฟน
ใชคุณสมบัติ LAN ไรสาย (Wi-Fi) ของกลองในการเชื่อมตอกับสมารทโฟน เพื่อใหสามารถใช
แอพที่กําหนดไวเพื่อเพิ่มความเพลิดเพลินในการใชกลองถายรูปทั้งกอนและหลังถายภาพ
• ไมรับประกันการทํางานบนสมารทโฟนทุกรุน
OLYMPUS Image Share (OI.Share)
ใชสมารทโฟนในการควบคุมกลองจากระยะไกลและดาวนโหลดภาพ
สําหรับขอมูลเพิ่มเติม โปรดเยี่ยมชม:
http://app.olympus-imaging.com/oishare/

OLYMPUS Image Track (OI.Track)


ดูและจัดการบันทึกของ Field Sensor ที่บันทึกไวดวยกลอง
สําหรับขอมูลเพิ่มเติม โปรดเยี่ยมชม:
5 http://app.olympus-imaging.com/oitrack/

OLYMPUS Image Palette (OI.Palette)


การเชื่อมตอกลองกับสมารทโฟน

ตกแตงหรือครอบตัดภาพโดยใชเครื่องมือ เชน ฟลเตอรภาพพิเศษหรือ สรางสี


สําหรับขอมูลเพิ่มเติม โปรดเยี่ยมชม:
http://app.olympus-imaging.com/oipalette/

• กอนใชงานฟงกชั่น LAN ไรสาย โปรดอาน “การใชงานฟงกชั่น LAN ไรสาย” (หนา 152)


• มักจะมีความเสี่ยงจากการถูกสกัดกั้นโดยบุคคลที่สามเชนเดียวกับการสื่อสารไรสายอื่นๆ
• ฟงกชั่น LAN ไรสายของกลองจะใชเชื่อมตอกับจุดเชื่อมตอของบานหรือสาธารณะไมได
• เสาอากาศรับสงสัญญาณจะอยูภายในกริป อยาใหเสาอากาศเขาใกลวัตถุที่เปนโลหะ
• แบตเตอรี่จะหมดเร็วในระหวางการเชื่อมตอ LAN ไรสาย การเชื่อมตออาจสูญหายระหวางการถายโอน
ขอมูลหากแบตเตอรี่ใกลหมด
• การเชื่อมตออาจทําไดยากหรือชาเมื่ออยูใกลกับอุปกรณที่สรางสนามแมเหล็ก ไฟฟาสถิตหรือ
คลื่นวิทยุ เชน ใกลกับไมโครเวฟ โทรศัพทไรสาย
• หากดูเหมือนวา Wi-Fi จะเอื่อยลง ใหลองใช Wi-Fi โดยปดการใช Bluetooth ในสมารทโฟน

106 TH
การปรับการตั้งคาสําหรับการเชื่อมตอไปยังสมารทโฟน
เริ่มตนแอพ OI.Share ที่ติดตั้งไวในสมารทโฟนของทาน

1 เลือก [การเชื่อมตอกับสมารทโฟน] ใน q เมนูแสดงภาพ และกดปุม Q


• ทานสามารถเปด [การเชื่อมตอกับสมารทโฟน] ไดโดยการกดปุม MENU คางไวเมื่อกลอง
พรอมถาย

2 ทําตามคําแนะนําบนหนาจอเพื่อปรับการตั้งคา Wi-Fi
• SSID รหัสผานและ QR โคดจะแสดงอยูบนหนาจอ

ѷ єшҕѠ Wi-Fi
дѼѥј ѤкѯшіѨѕєдѥіѯнѪѠ 3/3
ѷ єшҕѠдѤэѝєѥіҙъѱђь
дѼѥјѤкѯнѪѠ
ѠҕѥьіўѤѝ QR ѱчѕ
'OLYMPUS Image Share'

QR โคด

SSID ของ Wi-Fi


SSID : X-XX-X-XXXXXXXXX 5
Password : 00000000
รหัสผานของ Wi-Fi

การเชื่อมตอกลองกับสมารทโฟน
ѕдѯјѧд Wi-Fi

3 แตะไอคอนของกลองที่ดานลางหนาจอ OI.Share
4 ทําตามคําแนะนําบนหนาจอใน OI.Share เพื่อสแกน QR โคดและปรับการตั้งคาการ
เชื่อมตอ
• สมารทโฟนบางเครื่องจําเปนตองกําหนดคาดวยตัวเองหลังจากที่อาน QR โคดแลว
• หากสแกน QR โคดไมได ใหทําตามคําแนะนําบนหนาจอใน OI.Share เพื่อปรับการตั้งคาดวย
ตนเอง
• ในการเชื่อมตอ ใหปอน SSID และรหัสผานที่แสดงบนหนาจอกลองลงในกลองโตตอบการตั้งคา
Wi-Fi ของสมารทโฟน สําหรับขอมูลเกี่ยวกับวิธีเขาถึงการตั้งคา Wi-Fi บนสมารทโฟนของทาน
โปรดดูไดจากเอกสารที่ใหมาพรอมกับอุปกรณ
• หากสมารทโฟนไดเชื่อมตอผาน Wi-Fi ไปยังเครือขายหรืออุปกรณอื่น ทานจะตองเลือกกลองใน
สวนการเชื่อมตอ Wi-Fi ของแอพตั้งคาสมารทโฟน
• w1 จะปรากฏขึ้นเมื่อการจับคูเสร็จสิ้น

5 หากตองการหยุดเชื่อมตอ ใหกดปุม MENU ของกลอง


• ทานสามารถปดกลองและยุติการเชื่อมตอไดจาก OI.Share เชนกัน

TH 107
การถายโอนภาพไปยังสมารทโฟน
ทานสามารถเลือกภาพในกลองและโหลดไปยังสมารทโฟนได และทานยังสามารถใชกลองเพื่อ
เลือกภาพที่ทานตองการแบงปนลวงหนาได g “คําสั่งแบงปน” (หนา 71)

1 เชื่อมตอกลองกับสมารทโฟน (หนา 107)


2 เปด OI.Share และแตะปุมถายโอนภาพ
• ภาพในกลองจะแสดงเปนรายการ

3 เลือกภาพที่ทานตองการถายโอนแลวแตะปุม [บันทึก]
• เมื่อการถายโอนเสร็จสิ้น ทานสามารถปดกลองจากสมารทโฟนได

การถายภาพระยะไกลดวยสมารทโฟน

5 ทานสามารถใชสมารทโฟนควบคุมกลองจากระยะไกลเพื่อถายภาพได

1 เชื่อมตอกลองกับสมารทโฟน (หนา 107)


การเชื่อมตอกลองกับสมารทโฟน

2 เปด OI.Share และแตะปุมรีโมท


3 แตะปุมชัตเตอรเพื่อถายภาพ
• ภาพที่ถายจะถูกบันทึกไปยังการดที่เสียบไวในกลอง

• ตัวเลือกการถายภาพที่ใชไดจะมีจํากัดเปนบางอยาง

108 TH
การเปลี่ยนวิธีการเชื่อมตอ
มีวิธีการเชื่อมตอกลองกับสมารทโฟนอยูสองวิธี: [สวนบุคคล] ที่จะใชการตั้งคาแบบเดียวกันทุก
ครั้ง และ [ครั้งหนึ่ง] ที่จะใชการตั้งคาที่แตกตางไปทุกครั้ง ขอแนะนําใหใช [สวนบุคคล] เมื่อเชื่อม
ตอกับสมารทโฟนของทาน และใช [ครั้งหนึ่ง] เมื่อถายโอนภาพกับสมารทโฟนเครื่องอื่น
การตั้งคาตั้งตนคือ [สวนบุคคล]

1 เลือก [Wi-Fi การตั้งคา] ในเมนูตั้งคา e และกดปุม Q


2 เลือก [Wi-Fi ตั้งคาเชื่อมตอ] และกด I
3 เลือกวิธีเชื่อมตอ LAN ไรสายและกดปุม Q
• [สวนบุคคล]: เชื่อตอสมารทโฟนหนึ่งเครื่อง (เชื่อมตออัตโนมัติโดยใชการตั้งคาหลังจากการ
เชื่อมตอครั้งแรก) ฟงกชั่น OI.Share ทั้งหมดจะใชได
• [ครั้งหนึ่ง]: เชื่อมตอสมารทโฟนหลายเครื่อง (เชื่อมตอโดยใชการตั้งคาการเชื่อมตอที่แตกตาง
กันไปในแตละครั้ง) เฉพาะฟงกชั่นถายโอนภาพของ OI.Share เทานั้นที่ใชได ทานสามารถดู
เฉพาะภาพที่กําหนดไวสําหรับคําสั่งแบงปนโดยใชกลองเทานั้น 5
• [เลือก]: เลือกวาจะใชวิธีใดในแตละครั้ง
• [ปด]: ฟงกชั่น Wi-Fi จะปด

การเชื่อมตอกลองกับสมารทโฟน
การรีเซ็ตการตั้งคา LAN ไรสาย
หากตองการเรียกคืน [Wi-Fi การตั้งคา] กลับไปเปนคาตั้งตน:

1 เลือก [Wi-Fi การตั้งคา] ในเมนูตั้งคา e และกดปุม Q


2 เลือก [รีเซ็ตการตั้งคา Wi-Fi] และกด I
3 เลือก [ใช] และกดปุม Q
• การตั้งคาตอไปนี้จะถูกรีเซ็ต:

ตัวเลือก คาตั้งตน
Wi-Fi ตั้งคาเชื่อมตอ สวนบุคคล
รหัสผานสวนตัว ― (สรางขึ้นแบบสุม) *
* การเชื่อมตอกับสมารทโฟนจะถูกรีเซ็ตเชนกัน (ยกเลิกใชงาน)

TH 109
การเปลี่ยนรหัสผาน
เปลี่ยนรหัสผานที่ใชสําหรับ [สวนบุคคล]

1 เลือก [Wi-Fi การตั้งคา] ในเมนูตั้งคา e และกดปุม Q


2 เลือก [รหัสผานสวนตัว] และกด I
3 ทําตามคําแนะนําในการใชงานและกดปุม R
• ระบบจะตั้งรหัสผานใหมขึ้นมา

• เชื่อมตอกับสมารทโฟนใหมหลังจากการเปลี่ยนรหัสผาน g “การปรับการตั้งคาสําหรับการเชื่อมตอ
ไปยังสมารทโฟน” (หนา 107)

การยกเลิกคําสั่งแบงปน
5 ยกเลิกคําสั่งแบงปนที่กําหนดบนภาพ

เลือก [Wi-Fi การตั้งคา] ในเมนูตั้งคา e และกดปุม Q


การเชื่อมตอกลองกับสมารทโฟน

1
2 เลือก [รีเซ็ตคําสั่งแบงปน] และกด I
3 เลือก [ใช] และกดปุม Q

110 TH
6 การใชขอมูล Field Sensor
กลองสามารถบันทึกขอมูลเกี่ยวกับตําแหนง ระดับความสูงและทิศทางที่ไดมาจาก GPS เชน
เดียวกับขอมูลจากเซ็นเซอรวัดอุณหภูมิและความดัน และขอมูลเหลานี้ยังสามารถบันทึกพรอม
กับภาพถายได ซึ่งสามารถดูบันทึกไดโดยใชแอพสมารทโฟน “OLYMPUS Image Track”
(OI.Track)
สําหรับขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ OI.Track โปรดเยี่ยมชม:
http://app.olympus-imaging.com/oitrack/

• กลองรองรับระบบระบุพิกัดตําแหนงบนพื้นโลกความแมนยําสูง (Quazi-Zenith Satellite System:


QZSS) และ GLONASS
• ละติจูดและลองจิจูดจะปรากฏบนภาพเมื่อมีการเพิ่มขอมูลตําแหนงเขาไปแลว
• กลองไมมีระบบ GPS นําทาง
• กรุณาใชแอพเวอรชั่นลาสุด
GPS และหนาจอแสดงผลขอมูลอื่นๆ
หนาจอเหลานี้สําหรับแอพพลิเคชันที่ตองการความแมนยําระดับสูงและไมรับประกันความถูกตอง
ของขอมูล (ละติจูดและลองจิจูด, ทิศทางของกลอง, ความสูง, อุณหภูมิและอื่นๆ) ความถูกตอง 6
ของหนาจอแสดงผลเหลานี้อาจมีผลจากปจจัยที่นอกเหนือการควบคุมของบริษัทผูผลิต

การใชขอมูล Field Sensor


GPS: ขอควรระวังในการใชงาน
• กอนใชฟงกชั่น GPS โปรดอาน “ฟงกชั่น GPS เข็มทิศอิเล็กทรอนิกส” (หนา 152)
• ในบางประเทศและภูมิภาค การรับขอมูลตําแหนงอาจเปนสิ่งผิดกฎหมายหากไมไดยื่นขออนุญาต
จากรัฐบาลไวกอนลวงหนา ดวยเหตุนี้ กลองจึงอาจไดรับการตั้งคาไมใหแสดงขอมูลตําแหนงในบาง
ภูมิภาคที่มีการจําหนายกลอง
เมื่อนํากลองไปตางประเทศ พึงระวังวาบางประเทศหรือภูมิภาคอาจมีกฎหมายควบคุมการใชฟงกชั่นนี้
โปรดปฏิบัติตามกฎหมายทองถิ่นอยางเครงครัด
• ตรวจสอบใหแนใจวาหมุนสวิตช LOG ไปที่ OFF และเลือก [ปด] สําหรับทั้ง [บันทึกตําแหนง GPS]
(หนา 100) และ [X การตั้งคา] > [ตั้งเวลาอัตโนมัติ] (หนา 94) กอนขึ้นเครื่องบินหรือเขาไปยัง
สถานที่อื่นๆ ที่หามใชอุปกรณ GPS

กอนใชฟงกชั่น GPS (ขอมูล A-GPS)


กลองอาจใชเวลานานในการรับขอมูลตําแหนง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสถานะของกลองและการสื่อสาร
เมื่อใช A-GPS เวลาในการกําหนดตําแหนงอาจสั้นลงเปนระยะเวลาตั้งแตสองสามวินาทีไปจนถึง
ยี่สิบสามสิบวินาที ขอมูล A-GPS สามารถอัพเดตไดโดยใชแอพสมารทโฟน “OLYMPUS Image
Track” (OI.Track) หรือซอฟตแวรคอมพิวเตอร “OLYMPUS A-GPS Utility”
ตรวจสอบใหแนใจวาไดตั้งวันที่ของกลองไวถูกตองแลว
• กําหนดการตั้งคาการเชื่อมตอ Wi-Fi เปน [สวนบุคคล] (หนา 109)
• ตองอัพเดตขอมูล A-GPS ทุกๆ 4 สัปดาห
ขอมูลตําแหนงอาจเปลี่ยนแปลงเมื่อเวลาผานไปหลังจากการอัพเดตขอมูล ควรใชขอมูล A-GPS ที่
ใหมที่สุดเทาที่จะทําได
• การเสนอบริการขอมูล A-GPS อาจสิ้นสุดลงโดยไมแจงใหทราบลวงหนา

TH 111
 การอัพเดตขอมูล A-GPS ดวยสมารทโฟน
กอนทําการอัพเดต ใหติดตั้งแอพของสมารทโฟน “OLYMPUS Image Track” (OI.Track) ลงใน
สมารทโฟนของทาน ดูรายละเอียดวิธีการอัพเดตขอมูล A-GPS ไดจาก URL ดานลาง
http://app.olympus-imaging.com/oitrack/
เชื่อมตอกลองกับสมารทโฟนตามขั้นตอนที่ระบุไวใน “การปรับการตั้งคาสําหรับการเชื่อมตอไปยัง
สมารทโฟน” (หนา 107) เลือก [อัพเดท ขอมูลA-GPS] ในกลองโตตอบการตั้งคา OI.Track
• หากขอผิดพลาดในการเชื่อมตอแสดงขึ้น คุณจําเปนจะตองสรางการเชื่อมตอระหวางกลองและสมา
รทโฟนขึ้นมาใหม
 การอัพเดตขอมูล A-GPS ดวยเครื่องคอมพิวเตอร
ดาวนโหลดซอฟตแวร OLYMPUS A-GPS Utility จาก URL ดานลาง แลวติดตั้งลงบนเครื่อง
คอมพิวเตอรของทาน
http://sdl.olympus-imaging.com/agps/
อาน “คูมือคําแนะนํา OLYMPUS A-GPS Utility” ทางเว็บไซตโดยใช URL ดานบน สําหรับราย
ละเอียดเกี่ยวกับวิธีการอัพเดตขอมูล
• หากทานใชงานฟงกชั่น GPS เปนครั้งแรกและยังไมไดอัพเดท A-GPS หรือหากไมไดใชงานฟงกชั่น
เปนเวลานาน อาจตองใชเวลาสักครูเพื่อใหการวัดตําแหนงสิ้นสุดลง
6
การใช GPS
การใชขอมูล Field Sensor

การกระทําตอไปนี้จะเปนการเปดใช GPS:
การหมุนสวิตช LOG ไปที่ LOG (หนา 113), การเลือก [เปด] สําหรับ [บันทึกตําแหนง GPS]
(หนา 100) หรือการเลือก [เปด] สําหรับ [X การตั้งคา] > [ตั้งเวลาอัตโนมัติ] (หนา 94)
• อยาใหมือหรือวัตถุที่เปนโลหะบังเสาอากาศ GPS
• หากทานใชฟงกชั่น GPS เปนครั้งแรก และยังไมไดอัพเดต A-GPS หรือหากไมไดใช
ฟงกชั่นนี้เปนเวลานาน กลองอาจใชเวลาสองสามนาทีกวาที่การวัดตําแหนงจะสิ้นสุดลง
• การเปดใช GPS จะทําใหแบตเตอรี่หมดเร็วยิ่งขึ้น เพื่อไมใหแบตเตอรี่หมดเร็วเมื่อเปดใช GPS ให
เลือก [กําลังแบตเตอรี่] สําหรับ [ลําดับการใช GPS] (หนา 100)

การแสดงการเคลื่อนที่ที่ถูกติดตามของแฟมบันทึก GPS
หลังจากบันทึก GPS ติดตามแลวจะสามารถดูความเคลื่อนไหวที่ติดตามของ Log ไดโดยใช
OI.Track
• การเคลื่อนที่ที่ถูกติดตามไมสามารถแสดงบนกลองได

112 TH
การบนั ทกึ และการเซฟ Logs
ขณะที่สวิตช LOG อยูในตําแหนง LOG กลองจะบันทึกขอมูล GPS และขอมูลเซ็นเซอรอื่นๆ
(หนา 111) สามารถดาวนโหลด Logs เพื่อใชกับแอพสมารทโฟน OLYMPUS Image Track (OI.
Track)
หมุนสวิตช LOG ไปที่ LOG
• การบันทึกจะเริ่มขึ้น ไฟแสดงสถานะจะสวางขึ้น ขณะที่กําลัง
บันทึก

• การบันทึก log จะหยุดลงโดยอัตโนมัติเมื่อแบตเตอรี่หมด (หนา 134)


• ในโหมด LOG กลองจะดึงไฟจากแบตเตอรี่อยางตอเนื่องเพื่อสืบคนขอมูลสถานที่
• เมื่อหนวยความจําที่จัดสรรใหกับหนวยเก็บบันทึกชั่วคราวเต็มจะไมสามารถเพิ่มขอมูลลงใน Log ได
ซึ่งในกรณีนี้ทานจะตองหมุนสวิตช LOG ไปที่ OFF เพื่อเก็บบันทึกไวที่การด (หนา 134)
การเซฟ Logs
บันทึกการบันทึกปจจุบันไวในการดแลวเมื่อหมุนสวิตช LOG ไปที่ OFF
6
• ขอความจะปรากฏขึ้นบนหนาจอในขณะที่กําลังบันทึก Log หามถอดการดออกจนกวาขอความจะหาย

การใชขอมูล Field Sensor


ไปจากจอ การถอดการดออกในระหวางที่กําลังบันทึก Log จะทําใหสูญเสียไฟล Log หรือเกิดการ
ทํางานผิดพลาดของกลองหรือการด
• กลองอาจไมเริ่มการบันทึก Log ไปยังการดเมื่อหมุนสวิตช LOG ไปที่ OFF หากกําลังดําเนินการถาย
โอนขอมูลแบบไรสาย หรือการดเต็มหรือปองกันการบันทึกไว ในกรณีนี้ทานควรยุติการถายโอนขอมูล
แบบไรสาย ลบขอมูลที่ไมตองการออกจากการดหรือเปดใชงาน Log ที่จะบันทึก หามถอดแบตเตอรี่
ออกจากกลองจนกวาจะบันทึก Log เรียบรอย
• Log จะไมถูกบันทึกหากไมไดเสียบการดไว
• Log จะไมถูกบันทึกหากแบตเตอรี่ใกลหมด ใหชารจแบตเตอรี่
• การดแตละตัวสามารถเก็บไฟลบันทึกประวัติไดสูงสุด 199 รายการ ขอความแจงขอผิดพลาดจะ
ปรากฏขึ้นเมื่อจํานวนไฟลบันทึกประวัติถึงจํานวนนี้ (หนา 134) หากเกิดกรณีนี้ขึ้น ใหเสียบการดอื่น
หรือลบไฟลบันทึกประวัติหลังคัดลอกไปยังคอมพิวเตอร
• ไฟลบันทึกประวัติจะถูกบันทึกไปยังโฟลเดอร “GPSLOG” และ “SNSLOG” ที่การด (หนา 15)

TH 113
การใชงานบัฟเฟอรและ Logs ที่เซฟไว
เรียกคนบันทึกประวัติที่จัดเก็บในบัฟเฟอรชั่วคราวของกลองหรือที่บันทึกไปยังการดโดยเรียกใช
แอพสมารทโฟน OLYMPUS Image Track (OI.Track) จากนั้นตอสมารทโฟนโดยใชฟงกชั่น LAN
ไรสายของกลอง (หนา 107)
สิ่งที่ทานสามารถทําไดดวยแอพที่กําหนด คือ OLYMPUS Image Track (OI.Track)
• การดูขอมูล log และภาพถายปจจุบัน
สามารถดูขอมูล log และภาพถายปจจุบันบนสมารทโฟนได
• การดาวนโหลดขอมูล log และภาพถายปจจุบัน
สามารถคัดลอกขอมูล log และภาพถายปจจุบันไปยังสมารทโฟนและเปดดูได
• การเปดดูแทร็ค
บันทึกประวัติที่เก็บไวในการดสามารถคัดลอกไปยังสมารทโฟนและเรียกดูเปนแทร็คได
• การเชื่อมภาพถายไปยังขอมูล log
ภาพที่ถายขณะที่เปดใชการบันทึกขอมูล log จะสามารถเชื่อมโยงไปยังขอมูล log สําหรับการดู
หรือการจัดการไฟลได
• สามารถใช OI.Track เพื่ออัพเดตขอมูล GPS (หนา 111)

6 สําหรับรายละเอียด ใหดูตามที่อยูดานลาง:
http://app.olympus-imaging.com/oitrack/
การใชขอมูล Field Sensor

114 TH
การเปดดูขอมูลระบุตําแหนง
การกดปุม INFO เมื่อกลองปด หนาจอจะแสดงขอมูลบอก
ตําแหนง
• ความแมนยําของขอมูลที่แสดงจะแตกตางกันไปตามสภาพ
อากาศและองคประกอบแวดลอม ใชเปนแนวทางเบื้องตน
เทานั้น

ขอมูลตําแหนงจะปรากฏขึ้น
1
12:34 0
W
270 30
1023 hPa
1227 m
5
6

NW 33
24 0
21 SW

2 LOG

270 .0°
0

0
180

N
S

0
240 255 W 285 300
6
SE 150

30

การใชขอมูล Field Sensor


7
60
NE
0
12

-3
90
39°12’ 30” N 8
4
E
145°23’ 59” W 9

1 เวลา 6 ความสูง (ความลึก)


2 กําลังทําการบันทึก Log 7 ไอคอน GPS
3 ขอมูลทิศทาง 8 ละติจูด
4 อุณหภูมิ (อุณหภูมินํ้า) 9 ลองจิจูด
5 แรงดันบรรยากาศ

 ละติจูดและลองจิจูด
หากไอคอน GPS กะพริบหรือไมปรากฏขึ้น กลองจะไมสามารถพิจารณาตําแหนงในปจจุบันได

GPS และหนาจอแสดงผลขอมูลอื่นๆ
• หนาจอเหลานี้สําหรับแอพพลิเคชันที่ตองการความแมนยําระดับสูงและไมรับประกันความถูกตองของ
ขอมูล (ละติจูดและลองจิจูด, ทิศทางของกลอง, ความลึก, อุณหภูมิและอื่นๆ) ความถูกตองของหนา
จอแสดงผลเหลานี้อาจมีผลจากปจจัยที่นอกเหนือการควบคุมของบริษัทผูผลิต

TH 115
7 การเชื่อมตอกับคอมพิวเตอร

การเชื่อมตอกลองกับคอมพิวเตอร

ขั้วสายเล็กลง

หัวตอ Micro-USB

สาย USB ชองตอ USB

• เมื่อกลองเชื่อมตอกับคอมพิวเตอรดวย USB กลองโตตอบจะปรากฏขึ้นในหนาจอใหเลือกโฮสต


• ถาหากไมมีภาพใดๆ ปรากฏบนหนาจอกลอง ถึงแมจะทําการเชื่อมตอกลองเขากับเครื่องคอมพิวเตอร
แลว แสดงวาแบตเตอรี่ของกลองอาจจะหมด กรุณาใชแบตเตอรี่ที่ชารจเต็มแลว
7 • หากกลองไมเชื่อมตอกับ PC ใหถอดสายแลวเสียบใหม
• แบตเตอรี่จะชารจในขณะที่กลองเชื่อมตอกับคอมพิวเตอรผาน USB ระยะเวลาในการชารจจะขึ้นอยูกับ
ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร (ในบางครั้งอาจจะใชเวลาประมาณ 10 ชั่วโมง)
การเชื่อมตอกับคอมพิวเตอร

116 TH
การคัดลอกภาพไปยังคอมพิวเตอร
ระบบปฏิบัติการตอไปนี้สามารถใชรวมกับการเชื่อมตอ USB ได:
Windows: Windows 7 SP1/Windows 8/Windows 8.1/Windows 10
Mac: OS X v10.9 – v10.11/macOS v10.12 – v10.14

1 ปดกลองและเชื่อมตอกับคอมพิวเตอร
• ตําแหนงของชองตอ USB ของคอมพิวเตอรจะแตกตางกันไปตามแตละเครื่อง โปรดดูราย
ละเอียดจากคูมือการใชงานของคอมพิวเตอร
• หนาจอเลือกการเชื่อมตอ USB จะปรากฏขึ้น

2 เลือก [เก็บขอมูล] หรือ [MTP] โดยใช FG กดปุม Q USB

เก็บขอมูล เชื่อมตอกลองเหมือนเปนตัวอานการด ѯдѶэеҖѠєѬј


MTP

MTP ปฏิบัติกับกลองเหมือนเปนอุปกรณพกพา
нѥіҙл
ѠѠд

шкзҕ
Ѥҟ ѥ

3 คอมพิวเตอรจะยอมรับกลองในฐานะอุปกรณใหม
• ไมรับประกันการถายโอนขอมูลในสภาพแวดลอมตอไปนี้ แมวาคอมพิวเตอรของทานจะมีชองตอ USB
ก็ตาม
7
คอมพิวเตอรที่มีชองตอ USB โดยเพิ่มการดตอขยาย ฯลฯ คอมพิวเตอรที่ไมมี OS ติดตั้งมาจาก

การเชื่อมตอกับคอมพิวเตอร
โรงงาน หรือคอมพิวเตอรประกอบเอง
• ปุมควบคุมของกลองจะใชไมไดในขณะที่กลองเชื่อมตอกับคอมพิวเตอรอยู
• หากคอมพิวเตอรตรวจไมพบกลอง ใหถอดสาย USB ออกแลวเสียบกับคอมพิวเตอรใหมอีกครั้ง

การติดตั้งซอฟตแวร PC
ติดตั้งซอฟตแวรตอไปนี้เพื่อเขาใชงานกลองในขณะที่เชื่อมตอกับคอมพิวเตอรโดยตรงผาน USB
Olympus Workspace
แอพพลิเคชั่นคอมพิวเตอรจะใชเพื่อดาวนโหลด ดู และจัดการภาพถายและภาพเคลื่อนไหว
ที่บันทึกดวยกลอง และยังสามารถใชเพื่ออัพเดทเฟรมแวรของกลองไดอีกดวย ดาวนโหลด
ซอฟตแวรไดจากเว็บไซตดานลาง โปรดเตรียมหมายเลขซีเรียลของกลองไวใหพรอมเมื่อทําการ
ดาวนโหลดซอฟตแวร
https://support.olympus-imaging.com/owdownload/

TH 117
8 ขอควรระวัง

แบตเตอรี่
• กลองจะใชแบตเตอรี่ลิเทียมไอออน Olympus หนึ่งกอน หามใชแบตเตอรี่อื่นนอกเหนือจากแบตเตอรี่
ของแทจาก OLYMPUS
• การใชพลังงานของกลองจะแตกตางกันไปตามการใชงานและเงื่อนไขอื่นๆ
• สภาวะดังตอไปนี้จะใชพลังงานจํานวนมากแมจะไมไดถายเลยก็ตาม แตแบตเตอรี่ก็จะหมดเร็ว
• ใชซูมบอยๆ
• ทําการโฟกัสอัตโนมัติซํ้าๆ โดยกดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งในโหมดถายภาพ
• การแสดงภาพบนจอภาพเปนระยะเวลานาน
• เมื่อเชื่อมตอกับคอมพิวเตอร
• เปดใช LAN ไรสายไว
• เมื่อใชแบตเตอรี่ที่หมดแลว กลองอาจปดโดยไมมีการแจงเตือนวาแบตเตอรี่เหลือนอย
• แบตเตอรี่ที่ใหมาเมื่อซื้อกลองยังชารจไมเต็มในตอนที่ซื้อมา ชารจแบตเตอรี่โดยใชตัวแปลงไฟ AC-
USB ที่ใหมา
• หากจะเก็บกลองไวเปนระยะเวลาหนึ่งเดือนขึ้นไป ใหถอดแบตเตอรี่ออกกอน การทิ้งแบตเตอรี่ไวใน
กลองเปนเวลานานจะทําใหอายุการใชงานสั้นลง ซึ่งอาจทําใหไมสามารถใชงานได
• การชารจแบตเตอรี่โดยใชตัวแปลงไฟ AC-USB ที่ใหมาจนเต็มจะใชเวลาประมาณ 3 ชั่วโมง เวลาที่
ชารจอาจเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิโดยรอบสูง
• หามใชตัวแปลงไฟ AC-USB หรือเครื่องชารจที่ไมไดกําหนดไวโดยเฉพาะสําหรับใชกับแบตเตอรี่
8 ประเภทที่ใหมา และหามใชตัวแปลงไฟ AC-USB ที่ใหมากับแบตเตอรี่ที่นอกเหนือจากประเภทที่
กําหนด
• เพราะจะมีความเสี่ยงในการระเบิดหากใชแบตเตอรี่ชนิดที่ไมถูกตอง
ขอควรระวัง

• กําจัดแบตเตอรี่ที่ใชแลวตามคําแนะนํา “ขอควรระวัง” (หนา 150) ในคูมือแนะนําการใชงาน


• เพื่อใหมั่นใจถึงการทํางานที่เชื่อถือได โปรดตรวจสอบใหแนใจวาไดใสแบตเตอรี่แลวเมื่อใชงานตัว
แปลงไฟ AC-USB

การใชเครื่องชารจในตางประเทศ
• เครื่องชารจและตัวแปลงไฟสามารถใชกับอุปกรณจายไฟ AC ในบานสวนใหญที่มีกําลังไฟตั้งแต
100–240 V (50/60 Hz) ไดทั่วโลก อยางไรก็ตาม เตาเสียบไฟ AC ติดผนังอาจมีรูปรางที่แตกตางกัน
ไปตามแตละประเทศและทองที่ที่ทานใชงาน ดังนั้นอาจตองใชตัวแปลงปลั๊กไฟสําหรับเครื่องชารจที่
เขากับเตาเสียบไฟ
• อยาใชตัวแปลงแรงดันไฟสําหรับการเดินทางเนื่องจากทําใหเครื่องชารจและตัวแปลงไฟ AC-USB
ของทานเสียหายได

118 TH
จํานวนภาพ (ภาพนิ่ง)/ความยาวของฟุตเทจ (ภาพเคลื่อนไหว)
ตอการด
• ตัวเลือกของจํานวนภาพนิ่งที่บันทึกไดกับความยาวในการบันทึกเปนคาโดยประมาณ คาตามจริงอาจ
แตกตางออกไปตามสภาวะการถายภาพและการดที่ใช
• ตารางดานลางจะแสดงจํานวนภาพนิ่งที่สามารถจัดเก็บไดโดยประมาณและความยาวในการบันทึกที่
สามารถเก็บไวในการด 4 GB ได
 ภาพนิ่ง
ตัวอยางขนาดภาพเมื่ออัตราสวนภาพเปน 4:3
ขนาดภาพ จํานวนภาพนิ่งที่
โหมดบันทึก การบีบอัด รูปแบบไฟล
(จํานวนพิกเซล) เก็บได
การบีบอัดที่สูญเสีย
RAW ORF 270
นอย
YSF 4000×3000 1/2.7 436
YF 1/4 638
YN 1/8 1231
XSF 1/2.7 673
XF 3200×2400 1/4 JPEG 975
XN 1/8 1846
WSF 1/2.7 3385 8
WF 1280×960 1/4 4514

ขอควรระวัง
WN 1/8 7170

• จํานวนภาพนิ่งที่บันทึกไดอาจเปลี่ยนแปลงไปตามวัตถุที่ถาย ไมวาจะสั่งพิมพหรือไม และดวยปจจัย


อื่นๆ ในบางกรณี จํานวนภาพนิ่งที่บันทึกไดที่แสดงบนหนาจอจะไมเปลี่ยนแปลงแมวาทานจะถายภาพ
หรือลบภาพที่เก็บไว
• ขนาดไฟลจริงจะแตกตางกันไปตามวัตถุ
• จํานวนภาพนิ่งที่เก็บไดสูงสุดที่แสดงบนหนาจอคือ 9999

TH 119
 ภาพเคลื่อนไหว
ขนาดภาพ/บิตเรต/เฟรมเรต ความยาวในการบันทึก
3840×2160 30p
5 นาที
3840×2160 25p
1920×1080 Super Fine 60p
1920×1080 Super Fine 50p
10 นาที
1920×1080 Super Fine 30p
1920×1080 Super Fine 25p
1920×1080 Fine 60p
1920×1080 Fine 50p
17 นาที
1920×1080 Fine 30p
1920×1080 Fine 25p
1920×1080 Normal 60p
1920×1080 Normal 50p
29 นาที
1920×1080 Normal 30p
1920×1080 Normal 25p
1280×720 Super Fine 30p
20 นาที
1280×720 Super Fine 25p
8 1280×720 Fine 30p
1280×720 Fine 25p
ขอควรระวัง

29 นาที
1280×720 Normal 30p
1280×720 Normal 25p
1920×1080 HighSpeed 120fps
1280×720 HighSpeed 240fps 20 วินาที
640×360 HighSpeed 480fps

• ที่การตั้งคาคุณภาพของภาพยนตร [ ], [ ] หรือ [ ] สามารถบันทึกวิดีโอไดสูงสุด 20 วินาที


ตอการถายหนึ่งครั้ง
• ขนาดไฟลของภาพเคลื่อนไหวจํากัดสูงสุด 4GB โดยไมขึ้นอยูกับความจุการด
วิธีเพิ่มจํานวนภาพที่ถายได
ลบภาพที่ไมตองการหรือเชื่อมตอกลองเขากับคอมพิวเตอรหรืออุปกรณอื่นและถายโอนภาพไป
ยังที่จัดเก็บขอมูลระยะยาวกอนที่จะลบออกจากการด g [ลบ] (หนา 66), [ลบภาพที่เลือก]
(หนา 76), [ลบทั้งหมด] (หนา 95), [ฟอรแมท] (หนา 21)

120 TH
การทําความสะอาดและการเก็บรักษากลอง
สําหรับขอมูลเกี่ยวกับขอควรระวังที่ตองปฏิบัติเมื่อใชกลองใตนํ้า โปรดดู “ขอมูลสําคัญเกี่ยวกับ
คุณสมบัติการกันนํ้า และ กันแรงกระแทก” (หนา 123)

การทําความสะอาดกลอง
ปดกลองและถอดแบตเตอรี่ออกกอนที่จะทําความสะอาดกลอง
• อยาใชสารละลายเขมขน เชน เบนซิน หรือแอลกอฮอล หรือผาที่ผานกระบวนการทางเคมี
ภายนอก:
• เช็ดเบาๆ ดวยผานุม ถาหากกลองสกปรกมาก ใหแชผาในนํ้าสบูออนๆ แลวบิดใหแหง เช็ดกลองดวย
ผาหมาด แลวใชผาแหงเช็ดใหแหง ถาคุณไดใชงานกลองที่บริเวณชายทะเล ใชผาชุบนํ้าสะอาดบิด
ใหแหง
• อาจมีสิ่งแปลกปลอมติดอยูในกลองเมื่อใชกลองในสภาวะที่มีสิ่งแปลกปลอม เชน
สิ่งสกปรก ฝุนหรือทราย ถาทานยังคงใชงานกลองในสภาวะนั้นตอไป กลองอาจชํารุดได เพื่อหลีก
เลี่ยงไมใหกลองชํารุด ใหลางกลองดวยวิธีดังตอไปนี้

1 ปดและล็อคฝาครอบชองใสแบตเตอรี่/การดและฝาปดขั้วตอใหสนิท (หนา 10)


2 เติมนํ้าสะอาดใสภาชนะ แชกลองควํ่าหนาลง
ในภาชนะและเขยากลองใหทั่วถึง ลางกลองให
สะอาดโดยวางผานนํ้ากอกไหลแรงโดยกดปุมเอา
ไว
8

ขอควรระวัง
หนาจอ:
• เช็ดเบา ๆ ดวยผานุม
เลนส:
• ผาอาจขูดเลนสไดถาใชโดยไมนําทราย ฝุน หรือสิ่งแปลกปลอมอื่นๆ ออกกอน กําจัดฝุนออกจาก
เลนสดวยเครื่องเปาลมของผูผลิตรายอื่น แลวทําความสะอาดเบาๆ ดวยกระดาษทําความสะอาดเลนส
• ราอาจจะกอตัวขึ้นบนเลนสถาหากปลอยใหสกปรกทิ้งไว
แบตเตอรี่/ตัวแปลงไฟ USB-AC:
• เช็ดเบา ๆ ดวยผานุมที่แหง

TH 121
การเก็บรักษา
• เมื่อไมใชงานกลองเปนเวลานาน ใหถอดแบตเตอรี่และการดออก เก็บกลองไวในที่แหงและเย็นที่มี
อากาศถายเทไดดี
• ใสแบตเตอรี่เปนระยะและทดสอบฟงกชั่นของกลอง
• ทําความสะอาดกลองหลังการใชงาน
• อยาเก็บไวกับสเปรยไลแมลง
• หลีกเลี่ยงการเก็บกลองไวในที่ที่มีสารเคมีบําบัดเพื่อปองกันกลองจากการกัดกรอน
• ราอาจจะกอตัวขึ้นบนเลนสถาหากปลอยใหสกปรกทิ้งไว
• ตรวจสอบแตละสวนของกลองกอนใชงาน หากไมไดใชงานมาเปนเวลานาน กอนทําการถายภาพที่
สําคัญ ทานจะตองทําการทดสอบถายภาพและตรวจสอบวากลองทํางานไดอยางถูกตองแลว

พิกเซลแมบปง - การตรวจสอบฟงกชั่นการประมวลผลภาพ
คุณสมบัติพิกเซลแมบปงชวยใหกลองสามารถตรวจสอบและปรับอุปกรณรับภาพและฟงกชัน
ประมวลผลภาพ เพื่อใหแนใจวาฟงกชันพิกเซลแมบปงสามารถทํางานไดอยางถูกตอง กอนการใช
งาน ใหรอ 1 นาทีหรือนานกวานั้น ทันทีหลังจากที่ถายภาพหรือดูภาพ

1 ในเมนูกําหนดเอง c ใหเลือก [พิกเซลแมบปง] (หนา 100)


2 กดปุม Q เมื่อ [เริ่ม] (เมนูยอย 2) ปรากฏขึ้น
• แถบ [รอสักครู] เมื่อพิกเซลแมบปงกําลังดําเนินการ เมื่อพิกเซลแมบปง เมนูจะกลับเปนแบบเดิม

• หากทานปดกลองโดยบังเอิญในระหวางพิกเซลแมบปง ใหเริ่มจากขั้นตอนที่ 1 ใหมอีกครั้ง

8
ขอควรระวัง

122 TH
ขอมูลสําคัญเกี่ยวกับคุณสมบัติการกันนํ้า และ กันแรงกระแทก

กันนํ้า: คุณสมบัติการกันนํ้าไดรับการรับรอง*1 ใหใชงานที่ความลึกสูงสุด 15 เมตร เปนเวลาหนึ่ง


ชั่วโมง
คุณสมบัติการกันนํ้าอาจทํางานผิดปกติถากลองถูกกระแทกอยางรุนแรงหรือมากเกินปกติ
กันกระแทก: คุณสมบัติกันกระแทกรับประกัน*2 การทํางานของกลองเมื่อถูกแรงกระแทกที่เกิด
จากการใชงานกลองดิจิตอลคอมแพ็คของทานในแตละวัน คุณสมบัติกันกระแทกไมรับประกัน
ความเสียหายจากการทํางานหรือความเสียหายภายนอกตัวกลองทั้งหมดโดยปราศจากเงื่อนไข
การรับประกันนี้ไมครอบคลุมความเสียหายภายนอกตัวกลอง เชน รอยขีดขวนหรือรอยยุบ
กลองของทานตองการการดูแลและการซอมบํารุงอยางถูกวิธีเชนเดียวกับอุปกรณไฟฟาทั่วไป เพื่อ
ใหกลองทํางานไดอยางถูกตองสมบูรณ หลังจากกลองถูกแรงกระแทกอยางรุนแรง โปรดนํากลอง
ของทานไปยังศูนยบริการ Olympus ที่ไดรับอนุญาตใกลบานทาน เพื่อตรวจเช็คประสิทธิภาพการ
ทํางานของกลอง ในกรณีที่กลองชํารุดเนื่องจากความประมาทหรือการใชผิดวิธี คาใชจายในการ
ใหบริการหรือซอมแซมกลองของทานจะไมรวมอยูในการรับประกันนี้ สําหรับขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยว
กับการรับประกัน โปรดเขาไปที่เว็บไซต Olympus สําหรับพื้นที่ของทาน
โปรดอานคําแนะนําการดูแลรักษากลองของทานดังตอไปนี้
*1 ตามที่กําหนดโดยการทดสอบภายในของ Olympus ที่ดําเนินการตามมาตรฐาน IEC 60529 IPX8
หมายความวาสามารถใชงานกลองไดตามปกติภายใตแรงดันนํ้าที่กําหนด
*2 ความสามารถในการกันกระแทกไดรับการยืนยันโดยสภาวะการทดสอบของ Olympus ตาม MIL-STD-
810F, Method 516.5, Procedure IV (Transit Drop Test) สําหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
สภาวะการทดสอบของ Olympus โปรดเขาไปดูที่เว็บไซต Olympus สําหรับพื้นที่ของทาน
กอนใชงาน:
• ตรวจสอบวามีสิ่งแปลกปลอม เชน สิ่งสกปรก ฝุน หรือทราย ติดอยูในกลองหรือไม
8
• ปดฝาครอบชองใสแบตเตอรี่/การด ฝาปดขั้วตอใหสนิท และปดปุม LOCK

ขอควรระวัง
• อยาเปดฝาปดชองใสแบตเตอรี่/การด และฝาปดขั้วตอขณะมือเปยก เมื่ออยูใตนํ้า หรือในสภาพ
แวดลอมที่เปยกชื้นหรือมีฝุน (เชน ชายทะเล)
หลังใชงาน:
• อยาลืมเช็ดหยดนํ้าหรือคราบสกปรกออกใหหมดหลังใชงานกลองใตนํ้า
• หลังจากใชงานกลองใตนํ้าเค็ม ใหแชกลองในอางใสนํ้าจืดเปนเวลา
ประมาณ 10 นาที (ปดฝาครอบชองใสแบตเตอรี่/การด และฝาปดขั้ว
ตอใหสนิท ปดตัวล็อคและถอดแหวนครอบเลนสออก) หลังจากนั้น ตั้ง
กลองทิ้งไวใหแหงในที่รมซึ่งมีการถายเทอากาศดี
• เมื่อเปดฝาครอบชองใสแบตเตอรี่/การด หรือฝาปดขั้วตอ ใหเปดชาๆ
โดยใหกลองอยูในทิศทางดังแสดงในภาพเพื่อปองกันไมใหหยดนํ้า
ไหลเขาไปในตัวกลอง ถาพบเห็นหยดนํ้าอยูที่ดานในของฝาปด ให
เช็ดออกกอนที่จะใชงานกลอง

ฝาปดแบตเตอรี่/การด

TH 123
การเก็บรักษาและการซอมบํารุง
• อยาใชสารเคมีในการทําความสะอาด กันสนิม กันหมอก ซอมแซม ฯลฯ เพราะอาจทําใหระบบกันนํ้า
เสียหายได
• อยาใหกลองอยูในนํ้าเปนเวลานาน ๆ การใหกลองอยูในนํ้าเปนเวลานานจะทําใหตัวกลอง
ภายนอกเสียหาย และ/หรือระบบกันนํ้าชํารุด
• เชนเดียวกับเคสกันนํ้าทั่วไป แนะนําใหเปลี่ยนชุดกันนํ้า (และซีล) ทุกป เพื่อคงประสิทธิภาพ
ของคุณสมบัติกันนํ้าเอาไว
สามารถดูรายชื่อตัวแทนจําหนายหรือสถานีบริการรับเปลี่ยนชุดกันนํ้า Olympus ไดที่
เว็บไซต Olympus สําหรับพื้นที่ของทาน
• อุปกรณเสริมที่ใหมาดวย (เชน ตัวแปลงไฟ USB-AC) ไมมีคุณสมบัติการกันนํ้าหรือกันกระแทก

8
ขอควรระวัง

124 TH
การใชอุปกรณเสริมที่แยกจําหนาย
การตอแจ็คเก็ตซิลิโคนเสริม
ติดแจ็คเก็ตซิลิโคนตามภาพ ทํายอนกลับขั้นตอนเพื่อถอดแจ็คเก็ต
• หามใชแรงมากเกินไป การไมปฏิบัติตามขอควรระวังนี้อาจทําใหแจ็คเก็ตเสียหายได

การถายภาพดวยระบบแฟลช RC ไรสายของ Olympus


คุณสามารถถายภาพและภาพใตนํ้าดวยแฟลชไรสาย เมื่อใชแฟลชที่ใชงานรวมกับระบบแฟลช RC
ไรสายของ Olympus
ระยะการติดตั้งที่แนะนําในการถายภาพดวยแฟลชไรสายคือตั้งแต 1 ถึง 2 ม. อยางไรก็ตาม ระยะ
การติดตั้งแตกตางกันไปขึ้นอยูกับสภาพแวดลอมโดยรอบ
• แฟลชในตัวกลองใชสําหรับเชื่อมตอการสื่อสารระหวางกลองกับแฟลช
• เมื่อตองการใชแฟลชใตนํ้าเฉพาะ ใหเตรียมกลองถายใตนํ้า สายไฟเบอรออพติค และอื่นๆ
• สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับการใชงานแฟลชไรสายและแฟลชใตนํ้า ใหดูคูมือการใชงานสําหรับแฟลช 8
ภายนอกพิเศษหรือกลองถายใตนํ้า

ขอควรระวัง
1 เปดแฟลชใตนํ้าเฉพาะ
2 ตั้งโหมดแฟลชของแฟลชใตนํ้าเฉพาะเปนโหมด RC
• เมื่อคุณตองตั้งคาแชนแนลและกลุม ใหเลือก CH1 สําหรับแชนเนล และ A สําหรับกลุม

3 เลือกการตั้งคาแฟลชใน Live Control และเลือก [#RC] (รีโมทคอนโทรล)


• “การใชแฟลช (การถายภาพโดยใชแฟลช)” (หนา 45)

4 ทดลองถายภาพเพื่อตรวจสอบการทํางานของแฟลชและภาพที่ถายได
• ตรวจสอบระดับแบตเตอรี่ของกลองและแฟลชไรสายกอนถายภาพ
• เมื่อตั้งคาแฟลชของกลองเปน [#RC] แฟลชในตัวกลองจะใชสําหรับเชื่อมตอ
การสื่อสารกับแฟลชไรสาย โดยไมสามารถใชสําหรับถายภาพได
• เมื่อตองการถายภาพดวยแฟลชไรสาย ใหหันรีโมทเซ็นเซอรของแฟลชภายนอกพิเศษไปที่กลอง และ
หันแฟลชตามทิศทางของวัตถุ

TH 125
อุปกรณเสริม

อุปกรณเสริมสามารถขยายขอบเขตการถายภาพของทานได ใหถอดวงแหวนเลนสที่ใหมาออก
กอนทําการติดตั้งอุปกรณเสริมตางๆ บนกลอง
อุปกรณเสริมสําหรับโหมด k (โหมดไมโครสโคป) และการถาย
ภาพมาโครที่ชวยใหมั่นใจไดวาไฟ LED แบบมาโครจะใหแสงที่
ไฟนํา LED (LG-1) สมํ่าเสมอ
• หามใชแฟลช
• LG-1 ไมสามารถใชใตนํ้าได
อุปกรณเสริมสําหรับโหมด k (โหมดไมโครสโคป) และการถาย
ตัวกระจายแสงแฟลช (FD-1)
ภาพมาโครที่ชวยใหใชแฟลชไดในระยะใกล
ปกปองเลนสจากฝุนและรอยขีดขวนระหวางการถายภาพและขนสง
ตัวกั้นเลนส (LB-T01)
• LB-T01 ไมสามารถใชรวมกับแจ็คเก็ตซิลิโคน
ตัวแปลงฟชอาย (FCON-T01) * บันทึกฉากไดมากขึ้น
ตัวแปลงฟชอายแบบวงกลม เปลี่ยนจากฟชอายแบบวงกลมเปนแบบเต็มเฟรมไดโดยเพียงปรับ
(FCON-T02) * การซูม
เทเลคอนเวอรเตอร
ถายฉากไดไกลมากขึ้น
(TCON-T01) *
ฟลเตอรปองกัน (PRF-D40.5
ปกปองเลนสจากฝุนและรอยขีดขวนระหวางการถายภาพและขนสง
PRO) *
8 * ตองติดตั้งอะแดปเตอรคอนเวอรเตอร CLA-T01 บนกลอง

• เมื่อใชอุปกรณเสริม ใหเลือกตัวเลือกอุปกรณเสริมที่เกี่ยวของผาน Live Control


ขอควรระวัง

g “การใชอุปกรณเสริม (อุปกรณเสริม)” (หนา 61)


• ลางผลิตภัณฑดวยนํ้าจืดหลังการใชใตนํ้า
• สําหรับรายละเอียด โปรดเยี่ยมชมเว็บไซต Olympus ในพื้นที่ของทาน

126 TH
 การถอดและติดตั้งวงแหวนเลนส
ทิศทาง “ถอด”

วงแหวนเลนส เครื่องหมายการ
ติดตั้ง

ทิศทาง “ติดตั้ง” ปุมปลดวงแหวนเลนส

การถอดวงแหวนเลนส
กดปุมปลดวงแหวนเลนสคางไวแลวหมุนวงแหวนไปในทิศทาง “ถอด”
การติดวงแหวนเลนส
จัดตําแหนงเครื่องหมายการติดตั้งและหมุนวงแหวนไปในทิศทาง “ติดตั้ง” จนกระทั่งคลิกเขาที่

 การติดตั้งและถอดไฟนํา LED
ทิศทาง “ถอด”

เครื่องหมายการ
ไฟนํา LED
ติดตั้ง
8

ขอควรระวัง
ทิศทาง “ติดตั้ง” ปุมปลดวงแหวนเลนส

การติดตั้งไฟนํา
จัดตําแหนงเครื่องหมายการติดตั้งและหมุนไฟนําไปในทิศทาง “ติดตั้ง” จนกระทั่งคลิกเขาที่
การถอดไฟนํา
กดปุมปลดวงแหวนเลนสคางไวแลวหมุนไฟนําไปในทิศทาง “ถอด”

TH 127
 การติดตั้งและการถอดตัวกระจายแสงแฟลช
ทิศทาง “ถอด”

เครื่องหมายการ
ตัวกระจายแสงแฟลช ติดตั้ง

ทิศทาง “ติดตั้ง” ปุมปลดวงแหวนเลนส

ทานสามารถปรับปริมาณแสงแฟลชได

การติดตั้งตัวกระจายแสงแฟลช
จัดตําแหนงเครื่องหมายการติดตั้งและหมุนตัวกระจายแสงไปในทิศทาง “ติดตั้ง” จนกระทั่งคลิก
เขาที่
การถอดตัวกระจายแสงแฟลช
8 กดปุมปลดวงแหวนเลนสคางไวแลวหมุนตัวกระจายแสงไปในทิศทาง “ถอด”
ขอควรระวัง

 การติดตั้งและการถอดตัวกั้นเลนส
ทิศทาง “ถอด”

ตัวกั้นเลนส เครื่องหมายการ
ติดตั้ง

ทิศทาง “ติดตั้ง” ปุมปลดวงแหวนเลนส

การติดตั้งตัวกั้นเลนส
จัดตําแหนงเครื่องหมายการติดตั้งและหมุนตัวกั้นไปในทิศทาง “ติดตั้ง” จนกระทั่งคลิกเขาที่
• ดูเครื่องหมายการติดตั้งของตัวกั้นเลนสไดที่ดานหลังตัวกั้น
การถอดตัวกั้นเลนส
กดปุมปลดวงแหวนเลนสคางไวแลวหมุนตัวกั้นไปในทิศทาง “ถอด”

128 TH
 การติดตั้งและการถอดเลนสคอนเวอรเตอรและฟลเตอรปองกัน
อะแดปเตอรคอนเวอรเตอร ปุมปลดวงแหวนเลนส

ทิศทาง “ถอด”
เลนสเสริม ทิศทาง “ถอด”

ทิศทาง “ติดตั้ง”
ทิศทาง “ติดตั้ง”
ทิศทาง “ถอด”

ทิศทาง “ติดตั้ง”
ฟลเตอรปองกัน เครื่องหมายการติดตั้ง

การติดตั้งเลนสคอนเวอรเตอรและฟลเตอร
1) ติดตั้งอะแดปเตอรคอนเวอรเตอร
• จัดตําแหนงเครื่องหมายการติดตั้งและหมุนอะแดปเตอรไปในทิศทาง “ติดตั้ง” จนกระทั่งคลิก 8
เขาที่

ขอควรระวัง
2) หมุนเลนสและฟลเตอรไปในทิศทาง “ติดตั้ง” เพื่อขันใหเขากับอะแดปเตอร

การถอดเลนสคอนเวอรเตอรและฟลเตอร
1) หมุนเลนสและฟลเตอรไปในทิศทาง “ถอด”
2) ถอดอะแดปเตอรคอนเวอรเตอร
• กดปุมปลดวงแหวนเลนสคางไวแลวหมุนอะแดปเตอรไปในทิศทาง “ถอด”

TH 129
9 การแกไขปญหา

ปญหาทั่วไปและการแกไข

กลองเปดไมติดแมจะใสแบตเตอรี่แลวก็ตาม
แบตเตอรี่ยังชารจไมเต็ม
• ชารจแบตเตอรี่ดวยเครื่องชารจ
แบตเตอรี่ไมสามารถใชงานไดชั่วคราวเนื่องจากความเย็น
• ประสิทธิภาพของแบตเตอรี่จะลดลงที่อุณหภูมิตํ่า ถอดแบตเตอรี่ออกจากกลอง แลวทําใหอุนโดยใส
ไวในกระเปาของทานชั่วครู

การเตือนใหเลือกภาษาจะปรากฏขึ้น
กลองโตตอบที่แสดงในภาพจะปรากฏขึ้นในสถานการณตอไปนี้:
• เปดกลองเปนครั้งแรก Please select your language.

• ทานไดสิ้นสุดการตั้งคาเริ่มตนไปกอนหนานี้โดยไมไดเลือกภาษา
Veuillez choisir votre langue.
Bitte wählen Sie Ihre Sprache.

เลือกภาษาตามที่อธิบายไวใน “การตั้งคาเริ่มตน” (หนา 18)


Por favor, selecciona tu idioma.

กลองไมถายภาพเมื่อกดปุมชัตเตอร
9 กลองดับเอง
• กลองจะเขาสูโหมด Sleep โดยอัตโนมัติเพื่อลดการสิ้นเปลืองแบตเตอรี่หากไมมีการดําเนินการใดๆ
การแกไขปญหา

เปนระยะเวลาหนึ่ง g [Sleep] (หนา 100)


กดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งเพื่อออกจากโหมด Sleep
กลองจะปดโดยอัตโนมัติหากอยูในโหมด Sleep เปนเวลา 5 นาที
แฟลชกําลังชารจ
• เครื่องหมาย # จะกะพริบบนหนาจอเมื่อกําลังชารจ รอใหหยุดกะพริบและกดปุมชัตเตอร
อุณหภูมิของกลองสูงขึ้น
• กลองอาจดับลงหากอุณหภูมิภายในสูงขึ้นหลังจากการใชงานเปนเวลานาน ถอดแบตเตอรี่ออกและรอ
จนกระทั่งอุณหภูมิภายในลดลงพอที่จะใชกลองไดอีกครั้ง กลองอาจอุนขึ้นเมื่อสัมผัสขณะใชงาน แต
สิ่งนี้ไมไดแสดงวากลองทํางานผิดปกติ

130 TH
โฟกัสไมได
• กลองไมสามารถโฟกัสวัตถุที่อยูใกลกับกลองมากเกินไปหรือไมเหมาะกับการโฟกัสอัตโนมัติ
(เครื่องหมายยืนยัน AF จะกะพริบบนหนาจอ) เพิ่มระยะหางไปยังวัตถุ หรือโฟกัสที่วัตถุที่มีความตางสี
สูงในระยะหางเดียวกันจากกลองไปยังวัตถุหลัก จากนั้นจัดองคประกอบภาพและถายภาพ
วัตถุที่โฟกัสไดยาก
การโฟกัสอัตโนมัติอาจทําไดยากในสถานการณตอไปนี้
เครื่องหมายยืนยัน
AF กะพริบ
วัตถุเหลานี้ไมไดถูก
โฟกัส
วัตถุที่มีความตางสีตํ่า มีแสงสวางมากเกินไปที่ วัตถุไมมีเสนแนวตั้ง *1
กลางเฟรม

เครื่องหมายยืนยัน
AF ติดขึ้นแตวัตถุไม
ถูกโฟกัส

วัตถุอยูในระยะทางที่ วัตถุที่เคลื่อนที่เร็ว วัตถุไมไดอยูในพื้นที่


แตกตางกัน กรอบ AF
*1 การจัดองคประกอบโดยปรับโฟกัสดวยการถือกลองในแนวตั้งกอน แลวจึงหมุนกลองกลับคืนสูแนว
ราบเพื่อถายภาพจะชวยแกไขปญหาไดดี
เปดใชงานการลดนอยส
• เมื่อถายภาพทิวทัศนกลางคืน ความเร็วชัตเตอรจะชาลงและมีนอยสปรากฏขึ้นในภาพ กลองเปดใช
งานกระบวนการลดนอยสหลังจากถายภาพดวยความเร็วชัตเตอรตํ่า ในระหวางนั้นจะถายภาพไมได
ทานสามารถตั้งคา [ลดนอยส] เปน [ปด] g [ลดนอยส] (หนา 97) 9
ยังไมไดตั้งวันที่และเวลา

การแกไขปญหา
กลองจะใชการตั้งคาในตอนที่ซื้อ
• ยังไมไดตั้งวันที่และเวลาในตอนที่ซื้อ โปรดตั้งวันที่และเวลากอนใชงานกลองถายรูป
g “การตั้งคาเริ่มตน” (หนา 18)
แบตเตอรี่ถูกถอดออกจากกลอง
• การตั้งคาวันที่และเวลาจะกลับสูการตั้งคาตั้งตนจากโรงงานหากกลองถูกทิ้งไวโดยไมมีแบตเตอรี่
ประมาณ 1 วัน การตั้งคาจะถูกยกเลิกเร็วขึ้นหากใสแบตเตอรี่ในกลองเปนระยะเวลาสั้นๆ กอนที่จะนํา
ออก กอนถายภาพที่สําคัญ ใหตรวจสอบวาการตั้งคาวันที่และเวลานั้นถูกตองหรือไม

TH 131
ฟงกชั่นการตั้งคากลับคืนสูคาตั้งตนจากโรงงาน
เมื่อหมุนปุมหมุนปรับโหมดหรือปดเครื่องในโหมดถายภาพที่ไมใชโหมด P, A หรือ n การตั้งคาใดๆ
ก็ตามที่มีการเปลี่ยนแปลงจะถูกรีเซ็ตกลับไปเปนคาตั้งตน

ใชการตั้งคาบางอยางไมได
คุณสมบัติบางอยางอาจใชไมได ทั้งนี้จะขึ้นอยูกับโหมดถายภาพและการตั้งคากลอง g “รายการของก
ารตั้งคาที่ใชไดในโหมดถายภาพแตละโหมด” (หนา 136)

ภาพแตก
เลือกขนาดภาพที่ใหญขึ้นหรือตั้งคาการบีบอัดเปน SF หรือ F g “การเลือกคุณภาพของภาพ (คุณภาพ
ของภาพนิ่ง)” (หนา 56)
สามารถลดภาพที่เปนจุด “นอยส” ลงไดในบางครั้งดวยการลดความไวแสง ISO
g “การตั้งคาความไวแสง (ISO)” (หนา 52)

ภาพที่ถายปรากฏเปนสีขาว
สิ่งนี้อาจเกิดขึ้นเมื่อถายภาพในสภาพแบ็คไลทหรือกึ่งแบ็คไลท นี่คือลักษณะอาการที่เรียกวาแฟลรหรือ
โกสต ใหจัดองคประกอบที่จะไมถายโดนแหลงกําเนิดแสงที่มีแสงจาในภาพเทาที่จะทําได แสงแฟลร
อาจเกิดขึ้นไดแมวาจะไมมีแหลงกําเนิดแสงในภาพก็ตาม หากไมไดผลที่ตองการ ใหลองใชมือหรือวัตถุ
อื่นๆ บังเลนสไว

มีแสงปรากฏในภาพ
การถายภาพโดยใชแฟลชในที่มืดจะทําใหไดภาพที่มีแสงแฟลชสะทอนกับฝุนละอองในอากาศมากมาย

จุดสวางที่ไมรูที่มาปรากฏขึ้นบนวัตถุในภาพที่ถาย
นี่อาจเปนเพราะพิกเซลที่ติดอยูบนอุปกรณรับภาพ ใหทําการ [พิกเซลแมบปง]
9 หากปญหายังคงมีอยู ใหทําพิกเซลแมบปงซํ้าสองสามครั้ง g “พิกเซลแมบปง - การตรวจสอบฟงกชั่
นการประมวลผลภาพ” (หนา 122)
การแกไขปญหา

เลนสขุนหรือจอภาพอานยาก
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิอยางรวดเร็วอาจทําใหเลนสเปนฝาได (การควบแนน)
ปดสวิตชกลอง รอใหตัวกลองปรับตัวเขากับสภาพอุณหภูมิของอากาศโดยรอบ และแหงลง กอนทําการ
ถายภาพ

ภาพเคลื่อนไหวเลนไดไมราบรื่นเมื่อดูในทีวี
อัตราเฟรมของภาพเคลื่อนไหวอาจจะไมตรงกับมาตรฐานวิดีโอของทีวี ใหดูภาพเคลื่อนไหวบน
คอมพิวเตอรแทน กอนที่จะบันทึกภาพเคลื่อนไหวสําหรับดูบนทีวีใหเลือกอัตราเฟรมที่ตรงกับมาตรฐาน
วิดีโอในอุปกรณ g [เฟรมเรตของวิดีโอ] (หนา 87)

ทิศทางไมถูกตอง
เข็มทิศไมทํางานตามที่คาดไวในบริเวณใกลเคียงสนามแมเหล็กไฟฟาที่แรง เชน จากโทรทัศน
ไมโครเวฟ มอเตอรไฟฟาขนาดใหญ เครื่องสงสัญญาณวิทยุและสายไฟฟาแรงสูง บางครั้งจะสามารถทํา
ใหฟงกชั่นเปนปกติไดโดยการเลื่อนกลองในรูปที่แปดในขณะที่หมุนขอมือของทาน

132 TH
คําเตือน (รหัสขอผิดพลาด) จะปรากฏขึ้นในจอภาพ
การแสดงสถานะใน
สาเหตุที่เปนไปได วิธีการแกไข
จอภาพ

ไมไดใสการดหรือกลองไมจดจํา
ใสการดหรือใสการดอันอื่น
การด
ไมไดใสการด
ใสการดอีกครั้ง หากปญหายังคงมีอยู
ใหฟอรแมทการด
การดมีปญหา
หากฟอรแมทการดไมได แสดงวาใช
การดขัดของ การดนั้นไมได

สวิตชปองกันการบันทึกการดอยูที่ดาน
หามเขียนลงในการด
“LOCK” ปลดล็อคสวิตช (หนา 15)
ปองกันการบันทึก
การดเต็ม ไมสามารถถายภาพไดอีก
หรือไมสามารถบันทึกขอมูลเพิ่มเติม เปลี่ยนการดหรือลบภาพที่ไมตองการ
เชนการพิมพสํารอง ใหดาวนโหลดรูปภาพสําคัญไปยัง PC
การดเต็ม ไมมีที่วางในการดและไมสามารถสั่ง กอนที่จะลบ
พิมพหรือบันทึกภาพใหมได

ในการดไมมีภาพ
ไมมีภาพในการด
บันทึกภาพและแสดงภาพ
ไมมีภาพ
แสดงภาพที่เลือกสําหรับการแสดง
ภาพไมไดเนื่องจากภาพมีปญหา
ใชซอฟตแวรการประมวลผลภาพเพื่อ 9
ดูภาพบน PC
หรือใชภาพเพื่อแสดงบนกลองนี้
หากทําไมได ไฟลรูปภาพจะเสียหาย

การแกไขปญหา
ไฟลภาพเสีย ไมได

ภาพที่ถายดวยกลองอื่นจะแกไขบน ใชซอฟตแวรประมวลผลภาพเพื่อ
ภาพนี้ไมสามารถ กลองนี้ไมได แกไขภาพ
แกไขได

ไมไดตั้งนาฬกา ตั้งนาฬกา (หนา 18)


ป/ด/ว

TH 133
การแสดงสถานะใน
สาเหตุที่เปนไปได วิธีการแกไข
จอภาพ
ปดกลองแลวรอใหอุณหภูมิภายใน
m เย็นลง

อุณหภูมิภายในกลองสูงขึ้นเนื่องจาก
การถายภาพอยางตอเนื่อง รอสักครูเพื่อใหกลองปดอัตโนมัติ
ความรอนในตัวกลอง ปลอยใหอุณหภูมิภายในกลองเย็นลง
สูงมากกรุณารอให กอนที่จะกลับมาใชงานตอ
เย็นลงกอนใชงาน

แบตเตอรี่หมด ชารจแบตเตอรี่
แบตเตอรี่หมด
เชื่อมตอกลองกับคอมพิวเตอร จอแส
ดงผล HDMI หรืออุปกรณอื่นไม เชื่อมตอกลองใหมอีกครั้ง
ไมมีการเชื่อมตอ ถูกตอง
พื้นที่หนวยความจําของกลองที่ใช ใสการดหรือตรวจดูใหแนใจวาไดใส
สําหรับการจัดเก็บชั่วคราวของไฟล การดปจจุบันไวอยางถูกตองและถาย
Log เต็ม โอนไฟล Log ไปยังการด
แบตเตอรี่หมด ชารจแบตเตอรี่
กลองเชื่อมตออยูกับโทรทัศนหรือ
ฟงกชันบันทึกขอมูล ถอดสาย HDMI
อุปกรณอื่นผานสาย HDMI
Log ไมสามารถใชได
กําลังถายโอนขอมูลแบบไรสาย ถายขอมูลเสร็จสิ้น
ในขณะนี้
ใชตัวแปลงไฟ AC-USB เพื่อจาย
9 พลังงานใหกับกลองจากเตาเสียบ
ใสแบตเตอรี่และถอดตัวแปลงไฟ AC-
USB ออกจากเตาเสียบ
ไฟฟาในขณะที่ถอดแบตเตอรี่ออก
การแกไขปญหา

บันทึก Log ปจจุบันลงการดไมได


การดสําหรับบันทึก คัดลอกไฟล Log ไปยังคอมพิวเตอร
• แตละการดจะจัดเก็บไฟล Log ได
ขอมูล Log เต็ม และลบออกจากการด
สูงสุด 199 ไฟล
ไมสามารถบันทึก
ขอมูล Log ใหม

134 TH
การแสดงสถานะใน
สาเหตุที่เปนไปได วิธีการแกไข
จอภาพ
ใสการดใหถูกตองและบันทึก Log เขา
ไมไดบันทึก Log ปจจุบันลงการด
สูการด
บันทึก Log ปจจุบันลงการดไมได
คัดลอกไฟล Log ไปยังคอมพิวเตอร
• แตละการดจะจัดเก็บไฟล Log ได
และลบออกจากการด
สูงสุด 199 ไฟล
h การดมีปญหา ใสการดใหม
(กะพริบ)
สวิตชปองกันการบันทึกการดอยูที่ดาน
หามเขียนลงในการด
“LOCK” ปลดล็อคสวิตช (หนา 15)
เปลี่ยนการดหรือลบภาพที่ไมตองการ
ไมมีที่วางในการดและไมสามารถสั่ง
ใหดาวนโหลดรูปภาพสําคัญไปยัง PC
พิมพหรือบันทึกภาพใหมได
กอนที่จะลบ
พื้นที่หนวยความจําของกลองที่ใช ใสการดหรือตรวจดูใหแนใจวาไดใส
สําหรับการจัดเก็บชั่วคราวของไฟล การดปจจุบันไวอยางถูกตองและถาย
Log เต็ม โอนไฟล Log ไปยังการด
แบตเตอรี่หมด ชารจแบตเตอรี่
กลองเชื่อมตออยูกับโทรทัศนหรือ
g ถอดสาย HDMI
อุปกรณอื่นผานสาย HDMI
(ไมกะพริบ)
กําลังถายโอนขอมูลแบบไรสาย ถายขอมูลเสร็จสิ้น
ใชตัวแปลงไฟ AC-USB เพื่อจาย
ใสแบตเตอรี่และถอดตัวแปลงไฟ AC-
พลังงานใหกับกลองจากเตาเสียบ
USB ออกจากเตาเสียบ
ไฟฟาในขณะที่ถอดแบตเตอรี่ออก
ไมไดตั้งนาฬกา ตั้งนาฬกาและเลือกเขตเวลา 9
ปดกลองแลวเปดใหมอีกครั้ง หาก

การแกไขปญหา
g GPS ผิดปกติ
ขอความจากจอแสดงผลยังไมชัดเจน
(สีแดง) ใหติดตอตัวแทนฝายบริการของ
OLYMPUS

TH 135
10 ขอมูล

รายการของการตั้งคาที่ใชไดในโหมดถายภาพแตละโหมด

 โหมด B/P/A/k/^/n

k
B P A
m o p n
การชดเชยแสง ― R R R R R R
โหมดภาพ ― R R *1 *1 *1 *1
ISO ― R R R R R R
ไวทบาลานซ ― R R R R R R
โหมด AF ― R R *1 *1 *1 *1
อัตราสวนภาพ R R R R R R ―
K คุณภาพของภาพนิ่ง R R R R *1 R R
n คุณภาพของภาพเคลื่อนไหว R R R R R R R
K ปองกันภาพสั่น ― R R R R R R
n ปองกันภาพสั่น ― ― ― ― ― ― ―
แฟลช *1 R R *1 *1 *1 *1
การชดเชยแสงแฟลช ― R R R R R R
10 ถายภาพตอเนื่อง/ตั้งเวลา *1 R R R *1 *1 R
โหมดวัดแสง ― R R R R R R
ขอมูล

โฟกัสใบหนา ― R R ― ― ― ―
อุปกรณเสริม *1 R R *1 *1 *1 *1
รีเซ็ต/เลือกโหมดกําหนดเอง R R R R R R R
พื้นที่กรอบ AF R R R ― ― ― ―
ระยะเวลาตอภาพ/Time Lapse ― R R R ― ― R
Focus BKT ― R R ― ― R ―
ตั้งคาโฟกัสซอน R R R R R R R
พิมพวันที่ R R R R ― ― R
ภาพเคลื่อนไหว R R R R R R R R
ระดับเสียงบันทึก R R R R R R R
เฟรมเรตของวิดีโอ R R R R R R R
บิตเรตของวิดีโอ R R R R R R R

*1 บางฟงกชั่นจะไมสามารถตั้งคาได

136 TH
^
n
] E w f _
การชดเชยแสง R R R R R R
โหมดภาพ ― ― ― ― ― *1
ISO ― ― ― ― ― ―
ไวทบาลานซ R R R R R R
โหมด AF *1 *1 *1 *1 *1 R
อัตราสวนภาพ R R R R R ―
K คุณภาพของภาพนิ่ง R R R R *1 R
n คุณภาพของภาพเคลื่อนไหว R R R R R R
K ปองกันภาพสั่น R R R R R ―
n ปองกันภาพสั่น ― ― ― ― ― *1
แฟลช *1 *1 *1 *1 ― ―
การชดเชยแสงแฟลช R R R R ― ―
ถายภาพตอเนื่อง/ตั้งเวลา *1 *1 *1 *1 ― *1 10
โหมดวัดแสง ― ― ― ― ― ―

ขอมูล
โฟกัสใบหนา ― ― ― ― ― *1
อุปกรณเสริม *1 *1 *1 *1 *1 *1
รีเซ็ต/เลือกโหมดกําหนดเอง R R R R R *1
พื้นที่กรอบ AF R R R ― R R
ระยะเวลาตอภาพ/Time Lapse ― ― ― ― ― ―
Focus BKT ― ― ― ― ― ―
ตั้งคาโฟกัสซอน R R R R R R
พิมพวันที่ R R R R ― ―
ภาพเคลื่อนไหว R R R R R R *1
ระดับเสียงบันทึก R R R R R *1
เฟรมเรตของวิดีโอ R R R R R *1
บิตเรตของวิดีโอ R R R R R *1

*1 บางฟงกชั่นจะไมสามารถตั้งคาได

TH 137
 โหมด SCN

B e D U G G H X

การชดเชยแสง ― R ― ― ― ― ― ―
โหมดภาพ ― ― ― ― ― ― ― ―
ISO ― ― ― ― ― ― ― ―
ไวทบาลานซ ― ― ― ― ― ― ― ―
โหมด AF ― ― ― ― ― ― ― ―
อัตราสวนภาพ R R R R R R R R
K คุณภาพของภาพนิ่ง R *1 R R R R *1 R
n คุณภาพของภาพเคลื่อนไหว R R R R R R R R
K ปองกันภาพสั่น R R R R R R R R
n ปองกันภาพสั่น ― ― ― ― ― ― ― ―
แฟลช *1 *1 *1 *1 *1 ― ― ―
การชดเชยแสงแฟลช ― ― ― ― ― ― ― ―
10 ถายภาพตอเนื่อง/ตั้งเวลา *1 *1 *1 *1 *1 *1 ― *1
โหมดวัดแสง ― ― ― ― ― ― ― ―
ขอมูล

โฟกัสใบหนา ― ― ― ― ― ― ― ―
อุปกรณเสริม *1 *1 *1 *1 *1 *1 *1 *1
รีเซ็ต/เลือกโหมดกําหนดเอง R R R R R R R R
พื้นที่กรอบ AF R R R R R R R R
ระยะเวลาตอภาพ/Time Lapse ― ― ― ― ― ― ― ―
Focus BKT ― ― ― ― ― ― ― ―
ตั้งคาโฟกัสซอน R R R R R R R R
พิมพวันที่ R ― R R R R ― R
ภาพเคลื่อนไหว R R ― R R R R ― R
ระดับเสียงบันทึก R ― R R R R ― R
เฟรมเรตของวิดีโอ R R R R R R R R
บิตเรตของวิดีโอ R R R R R R R R

*1 บางฟงกชั่นจะไมสามารถตั้งคาได

138 TH
d C F ` g s E W

การชดเชยแสง ― ― ― ― ― R ― ―
โหมดภาพ ― ― ― ― ― ― ― ―
ISO ― ― ― ― ― ― ― ―
ไวทบาลานซ ― ― ― ― ― R ― ―
โหมด AF ― ― ― ― ― ― ― ―
อัตราสวนภาพ R R R R R ― R R
K คุณภาพของภาพนิ่ง R R R R R ― *1 R
n คุณภาพของภาพเคลื่อนไหว R R R R R R R R
K ปองกันภาพสั่น ― R R R R R R R
n ปองกันภาพสั่น ― ― ― ― ― ― ― ―
แฟลช ― *1 *1 ― *1 ― ― ―
การชดเชยแสงแฟลช ― ― ― ― ― ― ― ―
ถายภาพตอเนื่อง/ตั้งเวลา ― *1 *1 *1 *1 ― ― *1 10
โหมดวัดแสง ― ― ― ― ― ― ― ―

ขอมูล
โฟกัสใบหนา ― ― ― ― ― ― ― ―
อุปกรณเสริม *1 *1 *1 *1 *1 *1 *1 *1
รีเซ็ต/เลือกโหมดกําหนดเอง R R R R R R R R
พื้นที่กรอบ AF R R R R R *1 R R
ระยะเวลาตอภาพ/Time Lapse ― ― ― ― ― ― ― ―
Focus BKT ― ― ― ― ― ― ― ―
ตั้งคาโฟกัสซอน R R R R R R R R
พิมพวันที่ ― R R R R ― ― R
ภาพเคลื่อนไหว R ― R R R R ― ― R
ระดับเสียงบันทึก ― R R R R ― ― R
เฟรมเรตของวิดีโอ R R R R R R R R
บิตเรตของวิดีโอ R R R R R R R R

*1 บางฟงกชั่นจะไมสามารถตั้งคาได

TH 139
การตั้งคาเริ่มตน/กําหนดเอง
*1: รายการที่สามารถจัดเก็บไว้ใน [โหมดกําหนดเอง C1] หรือ [โหมดกําหนดเอง C2]
*2: จัดเก็บค่าเริ่มต้นได้โดยเลือก [ทั้งหมด] สําหรับ [รีเซ็ต]
*3: จัดเก็บค่าเริม่ ต้นได้โดยเลือก [พื้นฐาน] สําหรับ [รีเซ็ต]

ปุมสั่งตรง
ฟงกชัน คาเริ่มตน *1 *2 *3 g
35, 36,
การชดเชยแสง ±0.0   
41
[m] (โหมด k);
[E], [w], [f] #   
(โหมด ^)
แฟลช 45
[o], [p], [n]
$   
(โหมด k)
โหมดอื่นๆ AUTO   
ถายภาพตอเนื่อง/ตั้งเวลา o    42

Live Control
ฟงกชัน คาเริ่มตน *1 *2 *3 g
โหมดภาพ Natural    50
ISO AUTO    52
ไวทบาลานซ AUTO    53
โหมด AF AF    55
10 อัตราสวนภาพ 4:3    55
K คุณภาพของภาพนิ่ง YN    56
ขอมูล

n คุณภาพของภาพเคลื่อนไหว 1920×1080 Fine 30p    57


K ปองกันภาพสั่น ON    59
n ปองกันภาพสั่น ON    59
[m] (โหมด k);
[E], [w], [f] #   
(โหมด ^)
แฟลช 45
[o], [p], [n]
$   
(โหมด k)
โหมดอื่นๆ AUTO   
การชดเชยแสงแฟลช ±0.0    45
ถายภาพตอเนื่อง/ตั้งเวลา o    42
โหมดวัดแสง p    60
โฟกัสใบหนา OFF    60
อุปกรณเสริม OFF    61

140 TH
K เมนูถายภาพ
แท็บ ฟงกชัน คาเริ่มตน *1 *2 *3 g
W รีเซ็ต พื้นฐาน ― ― ― 80
รีเซ็ต/เลือก
โหมดกําหนดเอง C1 ― ― ― ―
โหมดกําหนดเอง 81
โหมดกําหนดเอง C2 ― ― ― ―
โหมดภาพ Natural   ― 81
พื้นที่กรอบ AF I    82
X ระยะเวลาตอภาพ/Time Lapse ปด ―  
เฟรม 99 ―  
เวลารอเริ่มตน 00:00:01 ―  
ชวงเวลา 00:00:01 ―   84
Time Lapse Movie ปด ―  
การตั้งคา ขนาดภาพเคลื่อนไหว FullHD ―  
ภาพยนตร จํานวนเฟรม 10fps ―  
Focus BKT ปด   
เวลารอเริ่มตน 0 วินาที   
85
กําหนดจํานวนภาพ 30   
กําหนดสวนตางโฟกัส ปกติ   
เวลารอเริ่มตน 0 วินาที   
ตั้งคาโฟกัสซอน 86
กําหนดจํานวนภาพ 8   
พิมพวันที่ ปด    86
10
n เมนูวิดีโอ

ขอมูล
แท็บ ฟงกชัน คาเริ่มตน *1 *2 *3 g
n ภาพเคลื่อนไหว R เปด ―  ― 87
ระดับเสียงบันทึก ±0 ―  ― 87
เฟรมเรตของวิดีโอ 30p ―  ― 57, 87
บิตเรตของวิดีโอ Fine ―  ― 57, 87

TH 141
q เมนูแสดงภาพ
แท็บ ฟงกชัน คาเริ่มตน *1 *2 *3 g
q เริ่ม ― ― ― ―
BGM Party Time ―  
y สไลด ทั้งหมด ―   73
ชวงแสดงภาพนิ่ง 3 วินาที ―  ―
ชวงแสดงภาพ สั้น ―  ―
R เปด ―   88
แกไขภาพ RAW ―    88
แกไข JPEG ― ― ― ― 88
เลือกภาพ แกไขภาพ
แกไข ― ― ― ― 92, 93
เคลื่อนไหว
R ― ― ― ― 91
ภาพซอน ― ― ― ― 91
คําสั่งพิมพ ― ― ― ― 75
ลบคาปองกัน ― ― ― ― 93
การเชื่อมตอกับสมารทโฟน ― ―  ― 107

G เมนูกําหนดเอง
แท็บ ฟงกชัน คาเริ่มตน *1 *2 *3 g
G AF/MF
10 a ไฟชวย AF ปด    96, 101
ตัวชวยปรับ ขยาย ปด   ―
96, 101
ขอมูล

โฟกัส MF พีคกิ้ง ปด   ―


Disp/8/PC
M q คําแนะนํา ภาพเทานั้น, ทั้งหมด   
กําหนดเอง1 (u),
G/ตั้งคาแสดง
LV-Info กําหนดเอง2 (มาตรวัด    96, 102
ภาพ
ระดับ)
G การตั้งคา 25, ปฏิทิน   ―
Live View Boost ปด    96
ลดภาพกะพริบ อัตโนมัติ   ― 96
แสดงเสนตาราง ปด   ― 96
สีของฟงกชันพีคกิ้ง สีขาว   ― 96, 101
8 3    97
ขนาดสัญญาณ
1080p ―  ―
ออก
HDMI 97, 104
การควบคุมผาน
ปด ―  ―
HDMI

142 TH
แท็บ ฟงกชัน คาเริ่มตน *1 *2 *3 g
G คาแสง/ISO
C ปรับคาการเปด p
±0   ― 97
รับแสง 5
คาสูงสุด / คาสูงสุด 1600
  
เซ็ต ISO คาตั้งตน คาตั้งตน 100
97
อัตโนมัติ การตั้งคาชัตเตอร
อัตโนมัติ   
ตํ่าสุด
Noise Filter Standard    97
ลดนอยส อัตโนมัติ    97
#ตั้งคาเอง
D 41, 59,
x+F ปด   
98
#+WB W   ― 98
K/WB/สี
b K1 YF, K2 YN,
K ตั้งคา    98, 105
K3 XN, K4 WN
WB อัตโนมัติ A±0, G±0   ― 53, 98
W ใชสีโทนอุน เปด    98
ปริภูมิสี sRGB    98
บันทึก
W ชื่อไฟล รีเซ็ต ―  ― 99
แกไขชื่อไฟล ― ―  ― 99 10
ขอมูลลิขสิทธิ์ ปด ―  ―

ขอมูล
ตั้งคาลิขสิทธิ์ ชื่อศิลปน ― ― ― ― 99
ชื่อลิขสิทธิ์ ― ― ― ―
Field Sensor
X บันทึกตําแหนง GPS ปด ―  ― 100
ลําดับการใช GPS GPS ที่แมนยํา ―   100
คาริเบรตระดับ
― ―  ―
ระดับความสูง/ ความสูง
100
อุณหภูมิ m/ft m ―  ―
° C/° F °C ―  ―
Kยูติลิตี่
c 100,
พิกเซลแมบปง ― ― ― ―
122
ปรับตั้งระดับ ― ―  ― 100
Sleep 1 min ―   17, 100
การรับรอง ― ― ― ― 100

TH 143
e เมนูตั้งคา
แท็บ ฟงกชัน คาเริ่มตน *1 *2 *3 g

e ตั้งคาการด ― ― ― ― 21, 95
X การตั้งคา ― ― ― ― 19
W English ― ― ― 95
s ±0 ―  ― 94
ดูภาพบันทึก 0.5 วินาที   ― 94
Wi-Fi ตั้งคาเชื่อมตอ สวนบุคคล ―  ― 109
รหัสผานสวนตัว ― ― ― ― 110
Wi-Fi การตั้งคา
รีเซ็ตคําสั่งแบงปน ― ― ― ― 110
รีเซ็ตการตั้งคา Wi-Fi ― ― ― ― 109

10
ขอมูล

144 TH
ขอมูลจําเพาะ
 กลอง
ชนิดของผลิตภัณฑ
กลองดิจิตอล (สําหรับถายภาพและแสดงภาพ)
ระบบการบันทึก
ภาพนิ่ง การบันทึกแบบดิจิตอล, JPEG (ตาม Design rule for Camera File system
(DCF))
มาตรฐานที่ใช Exif 2.3, Digital Print Order Format (DPOF)
เสียงพรอมภาพนิ่ง รูปแบบ Wave
ภาพเคลื่อนไหว MOV H.264 linear PCM (HS120fps หรือ HS240fps สําหรับภาพเคลื่อนไหว
Time Lapse)
หนวยความจํา
SD/SDHC/SDXC (รองรับ UHS-I)
จํานวนพิกเซลรวม
ประมาณ 12.71 ลาน
จํานวนพิกเซลที่ใชงานจริง
12 ลาน
อุปกรณตรวจจับภาพ
1/2.3” CCD (ฟลเตอรแมสีหลัก)
เลนส
เลนส Olympus 4.5 มม. ถึง 18.0 มม., f2.0 ถึง f4.9 (เทากับ 25 มม. 100 มม.
บนฟลม 35 มม.)
ระบบโฟโตเมตริก 10
ระบบวัด Digital ESP, ระบบวัดแบบจุด

ขอมูล
ความเร็วชัตเตอร
1/2–1/2000 วินาที (ความเร็วชัตเตอรที่ชาที่สุดจะเพิ่มขึ้นถึง 4 วินาทีในโหมด
A หรือเมื่อไดเลือก G ไวในโหม SCN และถึง 15 วินาทีเมื่อเลือก d ใน
โหมด SCN)
ระยะการถายภาพ
ปกติ 0.1 ม. ถึง (W/T)
ซุปเปอรมาโคร 0.01 ม. ถึง 0.3 ม. (f=5.4 มม. ถึง 18.0 มม.)
โหมดไมโครสโคป 0.01 ม. ถึง 0.3 ม. (f=5.4 มม. ถึง 18.0 มม.)
จอภาพ
จอสี LCD แบบ TFT ขนาด 3.0", ประมาณ 1.04 จุด
หัวตอ
หัวตอ Micro-USB/ขั้วตอ HDMI แบบไมโคร (ชนิด D)
ระบบปฏิทินอัตโนมัติ
2000 ถึง 2099

TH 145
กันนํ้า
ชนิด IEC 60529 IPX8 (ภายใตสภาวะการทดสอบของ OLYMPUS), ใชงานไดในนํ้า
ลึก 15 เมตร
ความหมาย สามารถใชกลองในสภาพปกติใตนํ้าซึ่งมีแรงดันนํ้าตามที่กําหนด
กันฝุน
IEC 60529 IP6X
มาตรฐาน Wi-Fi
IEEE802.11b/g/n
GPS
ความถี่การรับสัญญาณ 1575.42 MHz (GPS/ ระบบดาวเทียม Quasi-Zenith)
1598.0625 MHz ถึง 1605.3750 MHz (GLONASS)
ระบบจีโอเดติก WGS84
สภาพแวดลอมในการใชงาน
อุณหภูมิ −10 °C ถึง 40 °C (ใชงาน)/−20 °C ถึง 60 °C (เก็บรักษา)
ความชื้น 30% – 90% (ใชงาน)/10% – 90% (เก็บรักษา)
แหลงจายไฟ
แบตเตอรี่ลิเทียมไอออนของ Olympus 1 กอน (LI-92B) หรือตัวแปลงไฟ AC-
USB (F-5AC)
ขนาด
113.0 มม. (W) × 66.0 มม. (H) × 32.4 มม. (D) (ไมรวมสวนที่ยื่นออกมา)
นํ้าหนัก
253 กรัม (รวมแบตเตอรี่และการด)

10
ขอมูล

146 TH
 แบตเตอรี่ลิเทียมไอออน (LI-92B)
ชนิดของผลิตภัณฑ
แบตเตอรี่ลิเทียมไอออนแบบรีชารจ
หมายเลขรุน
LI-92B
แรงดันไฟฟามาตรฐาน
DC 3.6 โวลต
ความจุมาตรฐาน
1350 mAh
อายุการใชงานของแบตเตอรี่
ชารจเต็มประมาณ 300 ครั้ง (ขึ้นอยูกับการใชงาน)
สภาพแวดลอมในการใชงาน
อุณหภูมิ 0 °C ถึง 40 °C (ชารจ)

 ตัวแปลงไฟ AC-USB (F-5AC)


หมายเลขรุน
F-5AC-1/F-5AC-2
กําลังไฟที่ใช
AC 100 ถึง 240 โวลต (50/60 เฮิรตซ)
เอาทพุท
DC 5 โวลต, 1500 mA
สภาพแวดลอมในการใชงาน
อุณหภูมิ 0 °C ถึง 40 °C (ใชงาน)/−20 °C ถึง 60 °C (เก็บรักษา)
10
• ขอมูลจําเพาะอาจเปลี่ยนแปลงไดโดยไมตองแจงใหทราบหรือไมตองรับผิดชอบโดยผูผลิต

ขอมูล
• โปรดเยี่ยมชมเว็บไซตของเราสําหรับรายละเอียดลาสุด

เงื่อนไขการเชื่อมตอมัลติมีเดียความละเอียด
สูง HDMI และ HDMI รวมถึงโลโก HDMI เปน
เครื่องหมายการคาหรือเครื่องหมายการคาจด
ทะเบียนของ HDMI Licensing Administrator, Inc.
ในสหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นๆ

TH 147
11 ขอควรระวังในเรื่องความปลอดภัย

ขอควรระวังในเรื่องความปลอดภัย

ขอควรระวัง
เสี่ยงตอการเกิดไฟฟาช็อต
หามเปด

ขอควรระวัง: เพื่อลดความเสี่ยงตอการเกิดไฟฟาช็อต หามถอดฝาดานหนา (หรือดานหลัง) ออก


ผูใชงานไมสามารถซอมแซมชิ้นสวนอุปกรณไดเพียงลําพัง
ควรใหชางผูเชี่ยวชาญของ Olympus เปนผูใหบริการ

เครื่องหมายอัศเจรียในกรอบสามเหลี่ยมจะเตือนใหทราบถึง คําแนะนําในการใชงาน
และการดูแลรักษาที่สําคัญในเอกสารที่ ใหมาพรอมกับผลิตภัณฑ
หากใชผลิตภัณฑโดยไมศึกษาขอมูลที่แจงตามสัญลักษณนี้อาจทําใหเกิดการบาด
คําเตือน
เจ็บรุนแรงหรือการเสียชีวิตขึ้นได
หากใชผลิตภัณฑโดยไมศึกษาขอมูลที่แจงตามสัญลักษณนี้อาจทําใหเกิดการบาด
ขอควรระวัง
เจ็บขึ้นได
หากใชผลิตภัณฑโดยไมศึกษาขอมูลที่แจงตามสัญลักษณนี้อาจทําใหเกิดความเสีย
ขอควรทราบ
หายตออุปกรณได

คําเตือน!
เพื่อปองกันโอกาสในการเกิดเพลิงไหมหรือไฟฟาช็อต อยาถอดแยกชิ้นสวนผลิตภัณฑนี้

ขอควรระวังทั่วไป
อานคําแนะนําทั้งหมด — กอนใชงานผลิตภัณฑ ใหอานคําแนะนําในการใชงานทั้งหมด
11 นําและความชื้น — สําหรับขอควรระวังเกี่ยวกับผลิตภัณฑที่ไดรับการออกแบบใหใชงานไดในทุกสภาพอากาศ ให
อานสวนที่ เกี่ยวกับความทนทานตอสภาพอากาศ
ขอควรระวังในเรื่องความปลอดภัย

แหลงพลังงาน — เชื่อมตอผลิตภัณฑนี้เขากับแหลงพลังงานที่ระบุไวบนฉลากของผลิตภัณฑเทานั้น
วัตถุแปลกปลอม — เพื่อหลีกเลี่ยงไมใหไดรับบาดเจ็บ หามใสวัตถุที่เปนโลหะลงในผลิตภัณฑ
การทําความสะอาด — ถอดปลั๊กผลิตภัณฑนี้ออกจากชองเสียบปลั๊กไฟ กอนทําความสะอาดเสมอ ใชเฉพาะผา
ชื้นในการทําความสะอาดเทานั้น หามใชนํ้ายาทําความสะอาดที่เปนของเหลวหรือสเปรยทุกชนิด รวมทั้งสารละลาย
อินทรียทุกชนิดเพื่อทําความสะอาดผลิตภัณฑนี้
ความรอน — หามใชหรือเก็บผลิตภัณฑนี้ไวใกลกับแหลงพลังงานความรอนใด ๆ เชน หมอนํ้า เครื่องทําความรอน
เตาไฟ หรืออุปกรณหรือเครื่องใชไฟฟาใด ๆ ที่กอใหเกิดความรอน รวมถึงสเตอริโอแอมปลิไฟเออร
ฟาผา — หากเกิดพายุฟาคะนองขณะใชอะแดปเตอร USB-AC ใหถอดอะแดปเตอรออกจากชองเสียบปลั๊กไฟทันที
อุปกรณเสริม — เพื่อความปลอดภัยและเพื่อหลีกเลี่ยง ความเสียหายที่อาจเกิดกับผลิตภัณฑใหใชเฉพาะ อุปกรณ
เสริมที่แนะนําโดย Olympus เทานั้น
สถานที่ตั้ง — เพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายที่อาจเกิดกับผลิตภัณฑ ใหยึดผลิตภัณฑอยางปลอดภัยดวยขาตั้งกลอง
แทนยึด หรือโครงยึดที่มั่นคง

148 TH
คําเตือน
• หามใชกลองใกลกับบริเวณที่มีแกสซึ่งติดไฟหรือระเบิดไดงาย
• หามยิงแฟลชและไฟ LED (รวมทั้งแสงไฟชวยโฟกัส) เขาหาคน (ทารก เด็กเล็ก ฯลฯ) ในระยะใกลั
• กลองตองอยูหางจากผิวหนาของวัตถุตัวแบบ อยางนอย 1 เมตร การยิงแฟลชในระยะใกลกับ ดวงตาคนมาก
เกินไป อาจทําใหมองไมเห็นชั่วขณะ
• หามใชกลองมองแสงอาทิตยหรือแสงจาอื่น ๆ
• ใหเด็กเล็กและทารกอยูหางจากกลอง
• ใชและเก็บกลองใหพนจากมือเด็กเล็กและทารกเสมอ เพื่อปองกันเหตุอันตรายตอไปนี้ ซึ่งอาจทําใหไดรับ
บาดเจ็บรุนแรง:
• ติดพันกับสายคลองกลอง ทําใหสายรัดคอได
• กลืนแบตเตอรี่ การด หรือชิ้นสวนเล็กอื่น ๆ โดยไมไดตั้งใจ
• ยิงแฟลชไปที่ดวงตาของเด็กเองหรือตาเด็กคนอื่น ๆ โดยไมไดตั้งใจ
• ไดรับบาดเจ็บจากชิ้นสวนที่เคลื่อนที่ของกลอง โดยไมไดตั้งใจ
• หากคุณพบวาตัวแปลงไฟ USB-AC รอนจัด หรือพบกลิ่นไมปกติ หรือมีควันใหถอดสายไฟออกจาก
เตาเสียบติดผนังในทันทีและหยุดการใชงานแลวติดตอตัวแทนที่ไดรับการแตงตั้งหรือศูนยบริการ
• หยุดใชกลองทันที ถาสังเกตวามีกลิ่น เสียง หรือควันรอบ ๆ ที่ผิดปกติ
• หามถอดแบตเตอรี่ออกโดยใชมือเปลา เนื่องจากอาจทําใหเกิดไฟลวกมือได
• หามทิ้งกลองไวในสถานที่ซึ่งอาจเกิดอุณหภูมิสูงมากได
• การกระทําดังกลาวอาจทําใหชิ้นสวนสึกหรอและในบางสถานการณอาจทําใหกลองติดไฟได หามใชเครื่อง
ชารจหรืออะแดปเตอร USB-AC ถาเครื่องชารจมีสิ่งปกคลุมอยู (เชน ผาหม) เนื่องจากอาจทําใหมีความรอน
สูงเกินไปและเกิดไฟไหมได
• ถือกลองดวยความระมัดระวัง เพื่อหลีกเลี่ยงการไหมที่อุณหภูมิตํ่า
• กลองประกอบไปดวยชิ้นสวนที่เปนโลหะ หากมีความรอนสูงเกินไป อาจทําใหเกิดการไหมที่อุณหภูมิตํ่าได
ใหเอาใจใสกับสิ่งตอไปนี้:
• เมื่อใชงานเปนระยะเวลานานกลองจะรอน ถาถือกลองในชวงนี้ อาจทําใหเกิดการไหมที่อุณหภูมิตํ่าได
• ในสถานที่ซึ่งมีอุณหภูมิเย็นมาก อุณหภูมิของตัวกลองอาจลดตํ่าลงกวาอุณหภูมิแวดลอม ถาเปนไปไดให
สวมถุงมือ เมื่อถือกลองในที่ที่มีอุณหภูมิเย็น
• ผลิตภัณฑนี้ผลิตขึ้นดวยเทคโนโลยีที่มีความแมนยําสูง และเพื่อเปนการรักษาประสิทธิภาพ หามทิ้งกลองไวใน
สถานที่ระบุไวดานลาง ไมวาจะในระหวางการใชงานหรือวาเก็บรักษาก็ตาม:
• สถานที่ซึ่งมีอุณหภูมิและ/หรือมีความชื้นสูง หรือมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว แสงแดดสองโดยตรง
ชายหาด รถที่ล็อคอยู หรือใกลกับ แหลงพลังงานความรอนอื่น ๆ (เตาไฟ หมอนํ้า ฯลฯ) หรือเครื่องทํา
ความชื้น
• ในสภาพแวดลอมที่มีทรายหรือฝุนละออง 11
• ใกลกับสิ่งที่เปนวัตถุไวไฟหรือวัตถุที่ทําใหเกิดการระเบิด
• ในสถานที่เปยก เชน หองนํ้าหรือกลางสายฝน เมื่อใชงานผลิตภัณฑที่ไดรับการออกแบบใหใชงานไดในทุก

ขอควรระวังในเรื่องความปลอดภัย
สภาพอากาศ ใหอานคูมือของ ผลิตภัณฑนั้นดวย
• ในสถานที่ซึ่งมีโอกาสเกิดการสั่นสะเทือนที่รุนแรง
• กลองนี้ใชแบตเตอรี่ลิเทียมไอออนที่ออกแบบมาเฉพาะสําหรับ Olympus
ชารจแบตเตอรี่ดวยตัวแปลงไฟ USB-AC หรือเครื่องชารจที่กําหนด หามใชตัวแปลงไฟ USB-AC หรือเครื่องชารจ
ชนิดอื่น
• อยาเผา หรือทําแบตเตอรี่ใหรอน ดวยเตาไมโครเวฟ เตาไฟฟา หรือในภาชนะความดัน ฯลฯ
• อยาวางกลองไวบนหรือใกลอุปกรณที่ปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟา
อาจจะทําใหเกิดความรอนสูง ไหม หรือระเบิดได
• อยาตอขั้วสัมผัสเขาดวยกัน ดวยวัตถุโลหะใดๆ
• ใชความระวังเมื่อพกพาหรือเก็บแบตเตอรี่ เพื่อปองกันไมใหสัมผัสกับวัตถุโลหะใดๆ เชน เครื่องประดับ เข็ม
หมุด ซิป กุญแจ ฯลฯ
การลัดวงจรอาจจะทําใหเกิดความรอนสูง ระเบิด หรือไหม ซึ่งทําใหทานเกิดแผลไหมหรือไดรับบาดเจ็บได

TH 149
• เพื่อปองกันไมใหแบตเตอรี่รั่วซึม หรือขั้วแบตเตอรี่เสียหาย ใหปฏิบัติตามคําแนะนําทั้งหมดในวิธีการ
ใชงานแบตเตอรี่อยางระมัดระวัง หามพยายามถอด ประกอบแบตเตอรี่ หรือทําการดัดแปลงใด ๆ เชน
บัดกรี ฯลฯ
• ถาของเหลวจากแบตเตอรี่สัมผัสโดนดวงตา ใหลางตาดวยนํ้าเย็นที่สะอาดทันที และใหไปพบแพทย
ทันที
• หากคุณไมสามารถถอดแบตเตอรี่ออกจากกลองไดใหติดตอตัวแทนที่ไดรับการแตงตั้ง หรือศูนยบริการ
หามถอดแบตเตอรี่โดยใชแรง
ความเสียหายที่เกิดขึ้นภายนอกกับแบตเตอรี่ (รอยขีดขวน ฯ) อาจทําใหเกิดความรอน หรือการระเบิดได
• เก็บแบตเตอรี่ใหพนจากมือเด็กเล็กและสัตวเลี้ยงเสมอ ถาเด็กกลืนแบตเตอรี่โดยไมตั้งใจ ใหไปพบ
แพทยทันที
• เพื่อปองกันไมใหแบตเตอรี่รั่วซึม รอนเกินไป หรือเกิดไฟไหมหรือระเบิด ใหใชเฉพาะแบตเตอรี่ที่แนะนําใหใชกับ
ผลิตภัณฑนี้เทานั้น
• ถาชารจแบตเตอรี่ไมเต็มภายในระยะเวลาที่ระบุไว ใหหยุดชารจ และหามใชแบตเตอรี่ดังกลาว
• อยาใชแบตเตอรี่ที่มีรอยขีดขวนหรือเคสดานนอกเสียหาย และอยาขูดขีดแบตเตอรี่
• อยาใหแบตเตอรี่ถูกกระแทกอยางรุนแรง หรือ สั่นสะเทือนติดตอกันเปนเวลานานจากการตกหลนหรือถูกทุบตี
เพราะอาจทําใหแบตเตอรี่ระเบิด รอนจัด หรือไหมได
• ถาหากแบตเตอรี่รั่ว มีกลิ่นแปลก เปลี่ยนสีหรือเปลี่ยนรูป หรือมีลักษณะผิดปกติใดๆขณะใชงาน ใหหยุดใชงาน
กลอง และวางใหหางจากเปลวไฟทันที
• ถาของเหลวจากแบตเตอรี่รั่วซึมมาโดนเสื้อผาหรือผิวหนังใหถอดเสื้อผาและลางบริเวณนั้นดวยนํ้าเย็นสะอาด
ทันที ถาของ เหลวทําใหผิวหนังไหมใหไปพบแพทยทันที
• แบตเตอรี่ลิเทียมไอออนของ Olympus ถูกออกแบบมาใหใชเฉพาะสําหรับกลองดิจิตอล Olympus อยาใช
แบตเตอรี่กับอุปกรณอื่นๆ
• อยาปลอยใหเด็กหรือสัตว/สัตวเลี้ยงเลนหรือถือแบตเตอรี่ (ปองกันพฤติกรรมที่เปนอันตราย เชน เลีย
หยิบใสปาก หรือเคี้ยว)

ใหใชเฉพาะแบตเตอรี่แบบชารจซํ้า เครื่องชารจแบตเตอรี่ และตัวแปลงไฟ


USB-AC ที่กําหนด
เราขอแนะนําใหทานใชเฉพาะแบตเตอรี่แบบชารจซํ้า เครื่องชารจแบตเตอรี่ และตัวแปลงไฟ USB-AC ของแทของ
Olympus เทานั้น การใชแบตเตอรี่แบบชารจซํ้า เครื่องชารจแบตเตอรี่ และ/หรือตัวแปลงไฟ USB-AC ที่ไมใชของ
แท อาจยังผลใหเกิดการบาดเจ็บกับบุคคลเนื่องดวยการรั่ว ความรอน การเกิดไฟไหมหรือความเสียหายกับแบตเตอรี่
Olympus จะไมรับผิดชอบสําหรับอุบัติเหตุหรือความเสียหายใด ๆ ที่เกิดจากการใชแบตเตอรี่ เครื่องชารจแบตเตอรี่
และ/หรือตัวแปลงไฟ USB-AC ที่ไมไดเปนอุปกรณเสริมของแทของ Olympus

ขอควรระวัง
11 • ตัวแปลงไฟ USB-AC F-5AC ที่ใหมาดวย ถูกออกแบบมาใหใชงานกับกลองนี้เทานั้น ไมสามารถชารจกลองอื่น
ดวยตัวแปลงไฟ USB-AC นี้
ขอควรระวังในเรื่องความปลอดภัย

• อยาตอตัวแปลงไฟ USB-AC F-5AC ที่ใหมาดวยเขากับอุปกรณอื่นนอกเหนือจากกลองนี้


• หามเก็บแบตเตอรี่ไวในที่แสงแดดสองถึงโดยตรง หรือมีอุณหภูมิสูง เชน ในรถยนตที่รอน อยูใกลกับ
แหลงกําเนิดความรอน ฯลฯ
• เก็บแบตเตอรี่ไวในที่แหงตลอดเวลา
• แบตเตอรี่อาจรอนในระหวางการใชงานเปนระยะเวลานาน เพื่อหลีกเลี่ยงไมใหเกิดการไหม หามถอดแบตเตอรี่
ทันทีหลังจากใชกลอง
• กลองนี้ใชแบตเตอรี่ลิเทียมไอออน Olympus หนึ่งกอน ใชแบตเตอรี่ของแทตามที่ระบุ การใชแบตเตอรี่ผิดชนิด
อาจเสี่ยงตอการระเบิดได
• โปรดนําแบตเตอรี่กลับมาใชใหมเพื่อชวยรักษาแหลงพลังงานของโลก เมื่อตองทิ้งแบตเตอรี่ที่เสีย ใหแนใจวาได
ครอบปดขั้วของแบตเตอรี่แลวและใหปฏิบัติตามกฎหมายและขอกําหนดของทองถิ่นเสมอ
• หามใชมือบังแฟลช ขณะยิงแฟลช

150 TH
ขอควรทราบ
• หามใชหรือเก็บกลองในสถานที่มีฝุนละอองหรือมีความชื้น
• ใชการดหนวยความจํา SD/SDHC/SDXC เทานั้น หามใชการดหนวยความจําชนิดอื่น
ถาหากทานเสียบการดชนิดอื่นลงในกลองโดยบังเอิญ ใหติดตอตัวแทนจําหนายหรือศูนยบริการที่ไดรับอนุญาต
อยาพยายามออกแรงดึงการดออก
• ทําสํารองขอมูลที่สําคัญไวในคอมพิวเตอรหรืออุปกรณเก็บขอมูลอื่นๆ เพื่อปองกันขอมูลสูญหายโดยไมตั้งใจ
• OLYMPUS จะไมรับผิดชอบใดๆ ตอการสูญหายของขอมูลที่เกี่ยวของกับอุปกรณนี้
• ระมัดระวังสายคลองเมื่อถือกลอง สายคลองอาจเกี่ยวกับวัตถุที่ยื่นออกมาไดงาย และอาจทําใหเกิดความเสียหาย
รุนแรง
• หามทํากลองหลนหรือกระทบกระแทก หรือสั่นสะเทือนอยางรุนแรง
• เมื่อยึดหรือถอดกลองออกจากขาตั้ง ใหปรับตําแหนงของกลองโดยจับที่หัวยึดขาตั้งกลอง หามบิดกลอง
• ขณะสะพายกลอง ใหถอดอุปกรณเสริมที่ไมใชยี่หอ Olympus ของแทออกใหหมด เชน ขาตั้งกลอง (แยก
จําหนาย)
• หามใชมือจับหนาสัมผัสไฟฟาของกลอง
• หามทิ้งกลองโดยเล็งไปที่ดวงอาทิตยโดยตรง นี่อาจทําใหเลนสหรือมานชัตเตอรเสียหาย ความผิดปกติของสี
ภาพหลอกบนอุปกรณรับภาพ หรือจากทําใหเกิดไฟลุกไหมได
• หามดันหรือดึงเลนสอยางรุนแรง
• ใหถอดแบตเตอรี่ออกกอนเก็บกลองโดยไมใชงานเปนระยะเวลานาน เลือกสถานที่เก็บที่เย็นและแหงเพื่อปองกัน
การเกิดการควบแนนหรือ เชื้อราที่กอตัวขึ้นภายในกลอง หลังจากการเก็บใหทดสอบกลองโดยเปดกลองและกด
ปุมกดชัตเตอร เพื่อใหแนใจวากลองทํางานเปนปกติ
• กลองอาจจะทํางานผิดพลาดหากใชงานในสถานที่ซึ่งมีสนามแมเหล็ก/สนามแมเหล็กไฟฟา คลื่นวิทยุ หรือ
ไฟฟาแรงสูง เชน ใกลเครื่องทีวี ไมโครเวฟ วิดีโอเกมส ลําโพงกําลังสูง จอมอนิเตอรขนาดใหญ เสาสงสัญญาณ
โทรทัศน/วิทยุ หรือเสาไฟฟาแรงสูง ในกรณีเหลานี้ ใหปดและเปดสวิตชกลองอีกครั้งกอนใชงานตอ
• ปฏิบัติตามขอจํากัดสภาพแวดลอมในการทํางานที่อธิบายในคูมือการใชงานของกลองเสมอ
• ใสแบตเตอรี่อยางระมัดระวังตามที่อธิบายในคําแนะนําการใชงาน
• กอนใสแบตเตอรี่ ใหตรวจสอบแบตเตอรี่ดวยความระมัดระวังเสมอวามีรอยรั่ว เปลี่ยนสี บิดงอ หรือความผิดปกติ
ใด ๆ หรือไม
• ถอดแบตเตอรี่ออกจากกลองเสมอกอนเก็บกลองโดยไมไดใชงานเปนระยะเวลานาน
• เมื่อเก็บแบตเตอรี่ไวเปนเวลานานๆ เลือกที่ที่อุณหภูมิตํ่าเพื่อเก็บ
• การใชพลังงานของกลองอาจแตกตางกัน ขึ้นอยูกับฟงกชั่นที่ใชงาน
• ในสภาวะตาง ๆ ดังที่อธิบายดานลางนี้ จะมีการใชพลังงานอยางตอเนื่อง และแบตเตอรี่จะหมดลงอยางรวดเร็ว
• ใชซูมบอย ๆ
• กดปุมกดชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งบอย ๆ ในโหมดถายภาพ ซึ่งทําใหโฟกัสอัตโนมัติทํางาน 11
• แสดงภาพบนจอภาพเปนระยะเวลาติดตอกันนาน ๆ
• ใช GPS

ขอควรระวังในเรื่องความปลอดภัย
• การใชแบตเตอรี่ที่หมดแลวอาจทําใหกลองปดการทํางานโดยไมมีการแสดงการเตือนระดับแบตเตอรี่ตํ่า
• ถาขั้วของแบตเตอรี่เปยกหรือมีคราบนํ้ามัน อาจทําใหไมสามารถจายไฟใหกับกลองได ใหเช็ดแบตเตอรี่ดวยผา
แหงใหดีกอนใชงาน
• ชารจแบตเตอรี่กอนเสมอเมื่อใชงานเปนครั้งแรก หรือเมื่อไมมีการใชงานเปนระยะเวลานาน
• เมื่อใชกลองดวยแบตเตอรี่ออนที่อุณหภูมิตํ่า พยายามเก็บกลองและแบตเตอรี่สํารองใหอุนที่สุดเทาที่เปนไปได
แบตเตอรี่ที่หมดเมื่อใชที่อุณหภูมิตํ่าอาจใชงานตอไดอีก หลังจากที่ทําใหแบตเตอรี่อุนที่อุณหภูมิหอง
• กอนเดินทางไกลและโดยเฉพาะกอนเดินทางไปตางประเทศ ใหซื้อแบตเตอรี่เพิ่มเติม แบตเตอรี่ที่แนะนําอาจหา
ซื้อไดยากในระหวางเดินทาง
• สําหรับตัวแปลงไฟ USB-AC ชนิดเสียบปลั๊ก:
เชื่อมตออะแดปเตอร USB-AC F-5AC กับประเภทปลั๊กที่ถูกตอง โดยเสียบกับเตาเสียบปลั๊กไฟติดผนังในแนวตั้ง

TH 151
การใชงานฟงกชั่น LAN ไรสาย
• ปดสวิตชกลองเมื่ออยูในโรงพยาบาลและสถานที่ที่มีอุปกรณการแพทย
การปลอยรังสีจากกลองอาจสงผลใหอุปกรณการแพทยทํางานผิดปกติจนเกิดอุบัติเหตุได
• ปดสวิตชกลองเมื่อโดยสารเครื่องบิน
การใชอุปกรณไรสายขณะโดยสารเครื่องบินอาจเปนอุปสรรคตอความปลอดภัยของเครื่องบินได

ขอควรระวังในขณะใชงานฟงกชั่น LAN ไรสาย


หากมีการใชงานฟงกชั่น LAN ไรสายในประเทศนอกภูมิภาคที่ทานซื้อกลองมา อาจมีความเสี่ยงที่กลองจะไมตรงตาม
ระเบียบขอบังคับการสื่อสารแบบไรสายของประเทศนั้น Olympus จะไมรับผิดชอบตอการทําผิดระเบียบขอบังคับดัง
กลาว

ฟงกชั่น GPS เข็มทิศอิเล็กทรอนิกส


• ในสถานที่ซึ่งไมเห็นทองฟาเปดโลง (ภายในอาคาร ใตดิน ใตนํ้า ในปา ใกลตึกสูง) หรือในสถานที่ซึ่งมีสนามแม
เหล็กหรือสนามไฟฟากําลังสูง (ใกลสายไฟฟาแรงสูง แมเหล็กหรือเครื่องใชไฟฟา โทรศัพทมือถือ 1.5GHz) การ
กําหนดคาการวัดอาจไมสามารถทําไดหรืออาจมีขอผิดพลาด
• ความสูงที่แสดงในหนาจอขอมูลการวัดหรือหนาจอดูภาพ ฯลฯ จะแสดงขึ้น/บันทึกตามขอมูลจากเซ็นเซอรวัด
ความดันที่ฝงอยูในตัวกลอง โปรดใชความระมัดระวังเนื่องจากความสูงที่แสดงไมไดอางอิงจากการวัดตําแหนง
GPS
• เข็มทิศอิเล็กทรอนิกสอาจมีขอผิดพลาดเนื่องจากผลของสนามแมเหล็กหรือสนามไฟฟากําลังสูง (เชน โทรทัศน
ไมโครเวฟ มอเตอรขนาดใหญ หอวิทยุ และสายไฟฟาแรงสูง) เพื่อคืนคาฟงกชั่นเข็มทิศอิเล็กทรอนิกส ใหถือ
กลองใหมั่นคง บิดขอมือแลวขยับกลองสายไปมาเปนเลข 8
• เนื่องจากฟงกชั่น GPS และฟงกชั่นเข็มทิศอิเล็กทรอนิกสไมจําเปนตองมีความถูกตอง จึงไมมีการรับประกันวา
คาที่วัดได (ละติดจูด ลองจิจูด ทิศทางเข็มทิศ ฯลฯ) จะถูกตอง

จอภาพ
• หามกดจอภาพแรง ๆ มิฉะนั้นภาพอาจจะไมชัด ทําใหไมสามารถดูภาพหรือทําใหจอภาพเสียหายได
• อาจปรากฏแถบแสงที่ดานบนหรือลางของจอภาพ ซึ่งไมใชสิ่งผิดปกติ
• เมือ
่ ใชกลองเล็งวัตถุตัวแบบในแนวทแยง ขอบภาพอาจปรากฏเปนรูปซิกแซกบนจอภาพ ซึ่งไมใชสิ่งผิดปกติ และ
จะปรากฏนอยลงในโหมดดูภาพ
• ในสถานที่มีอุณหภูมิตํ่า จอภาพอาจใชเวลาในการเปดนาน หรือสีอาจเปลี่ยนไปชั่วคราว เมื่อใชกลองในสถานที่
มีอากาศเย็นมาก ขอแนะนําใหเก็บในที่อุนเปนครั้งคราว จอภาพที่แสดงภาพไมชัดเจนอันเนื่องมาจากอุณหภูมิตํ่า
จะกลับมาแสดงภาพชัดเจนอีกครั้งเมื่ออุณหภูมิปกติ
• จอภาพของผลิตภัณฑนี้ถูกผลิตขึ้นดวยความแมนยําสูง อยางไรก็ตาม อาจมีขอผิดพลาด หรือเดดพิกเซลบน
จอภาพนี้ พิกเซลเหลานี้ไมไดมีผลกับภาพที่ถายไวเนื่องดวยคุณลักษณะของจุดสีและความสวางของสี ในบางมุม
มองอาจมีความคลาดเคลื่อนเมื่อมองจากมุมที่แตกตางกันแตไมไดเปนขอผิดพลาดในการทํางานของผลิตภัฑณนี้
11
กฎหมายและประกาศอื่น ๆ
ขอควรระวังในเรื่องความปลอดภัย

• Olympus จะไมรับผิดชอบหรือรับประกันความเสียหายหรือผลประโยชนใด ๆ ที่คาดหวังจากการใชผลิตภัณฑนี้


โดยชอบดวยกฏหมายหรือ การเรียกรองใด ๆ จากบุคคลอื่นอันเนื่องมาจากการใชงานผลิตภัณฑนี้อยางไมเหมาะ
สม
• Olympus จะไมรับผิดชอบหรือรับประกันความเสียหายหรือผลประโยชนใด ๆ ที่คาดหวังจากการใชผลิตภัณฑนี้
โดยชอบดวยกฏหมายอันเนื่องมาจากการลบขอมูลภาพ

การปฏิเสธการรับประกัน
• Olympus จะไมรับผิดชอบหรือรับประกันไมวาโดยแจงหรือโดยนัย ตอหรือที่เกี่ยวของกับเนื้อหาใด ๆ ของวัสดุ
หรือซอฟตแวรที่เขียนขึ้นเหลานี้ และไมวาในกรณีใด ๆ จะไมรับผิดชอบในการรับประกันโดยนัยตอความเปน
สินคาหรือความเหมาะสมกับจุดประสงคเฉพาะใด ๆ หรือความเสียหายตอเนื่อง โดยไมไดตั้งใจหรือโดยออม (ซึ่ง
รวมถึงแตไมจํากัดเพียงความเสียหายจากการสูญเสียผลกําไรทางธุรกิจ การหยุดชะงักทางธุรกิจ และการสูญเสีย
ขอมูลทางธุรกิจ) ที่เกิดขึ้นจากการใชงานหรือความไมสามารถใชงานของวัสดุหรือซอฟตแวรหรืออุปกรณที่เขียน
ขึ้นเหลานี้ ในบางประเทศจะไมอนุญาตใหมีขอยกเวนหรือขอจํากัดของความรับผิดชอบใด ๆ สําหรับความเสีย
หายตอเนื่องโดยไมไดตั้งใจ ดังนั้น ขอจํากัดขางตนอาจไมสามารถใชกับทานได
• Olympus ขอสงวนสิทธิ์ทั้งหมดในคูมือนี้

152 TH
คําเตือน
การถายภาพโดยไมไดรับอนุญาตหรือการใชวัสดุที่มีลิขสิทธิ์อาจเปนการละเมิดกฎหมายลิขสิทธิ์ที่เกี่ยวของ
Olympus จะไมรับผิดชอบตอการถายภาพที่ไมไดรับอนุญาต หรือการใชงานหรือการปฏิบัติอื่น ๆ ที่ละเมิดสิทธิของ
เจาของลิขสิทธิ์

การประกาศลิขสิทธิ์
สงวนสิทธิ์ทั้งหมด หามนําสวนใด ๆ ของวัสดุที่เขียนขึ้นหรือซอฟตแวรนี้ไปทําซํ้า หรือใชในรูปแบบใด ๆ หรือโดยจุด
ประสงคใด ๆ ทางอิเล็กทรอนิกสหรือทางกลไก ซึ่งรวมถึงการถายสําเนาและการบันทึก หรือการใชระบบการจัดเก็บ
และเรียกดูขอมูลชนิดใด ๆ ก็ตาม โดยไมไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษรจาก Olympus กอน จะไมรับผิดชอบอัน
เนื่องมาจากการใชขอมูลที่อยูในวัสดุหรือซอฟตแวรที่เขียนเหลานี้ หรือสําหรับความเสียหายใด ๆ ที่เกิดจากการใช
ขอมูลที่อยู ณ ที่นี้ Olympus ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะและเนื้อหาของเอกสารหรือซอฟตแวรนี้
โดยไมตองรับผิดชอบหรือแจงเตือนลวงหนา

สําหรับลูกคาในประเทศไทย
เครื่อง โทรคมนาคมและอุปกรณนี้ มีความสอดคลองตามขอกําหนดของ กสทช.

เครืื่องหมายการคา
• Microsoft และ Windows เปนเครื่องหมายการคาจดทะเบียนของ Microsoft Corporation
• Mac เปนเครื่องหมายการคาของ Apple Inc.
• โลโก SDXC เปนเครื่องหมายการคาของ SD-3C, LLC

• โลโก Apical เปนเครื่องหมายการคาจดทะเบียนของ Apical Limited

• Wi-Fi เปนเครื่องหมายการคาจดทะเบียนของ Wi-Fi Alliance

• โลโก Wi-Fi CERTIFIED เปนเครื่องหมายรับรองของ Wi-Fi Alliance

• บริษัทและชื่อผลิตภัณฑอื่น ๆ ทั้งหมดเปนเครื่องหมายการคาจดทะเบียนและ/หรือเครื่องหมายการคาของ
เจาของนั้น
11

ขอควรระวังในเรื่องความปลอดภัย
THIS PRODUCT IS LICENSED UNDER THE AVC PATENT PORTFOLIO LICENSE FOR THE PERSONAL
AND NONCOMMERCIAL USE OF A CONSUMER TO (i) ENCODE VIDEO IN COMPLIANCE WITH THE AVC
STANDARD (“AVC VIDEO”) AND/OR (ii) DECODE AVC VIDEO THAT WAS ENCODED BY A CONSUMER
ENGAGED IN A PERSONAL AND NON-COMMERCIAL ACTIVITY AND/OR WAS OBTAINED FROM A VIDEO
PROVIDER LICENSED TO PROVIDE AVC VIDEO. NO LICENSE IS GRANTED OR SHALL BE IMPLIED FOR
ANY OTHER USE. ADDITIONAL INFORMATION MAY BE OBTAINED FROM MPEG LA, L.L.C. SEE HTTP://
WWW.MPEGLA.COM

ซอฟตแวรในกลองรุนนี้อาจมีอยูในซอฟตแวรจากผูผลิตรายอื่น ซอฟตแวรจากผูผลิตรายอื่นอาจมีเงื่อนไขและขอ
ตกลงที่กําหนดขึ้น โดยเจาของหรือผูออกใบอนุญาตของซอฟตแวรดังกลาวที่มีมาให
ขอตกลงและประกาศซอฟตแวรจากผูผลิตรายอื่นอาจมีอยูในไฟล PDF ประกาศซอฟตแวรที่บันทึกอยูในแผนซีดีรอม
ที่ใหมาหรือที่
http://www.olympus.co.jp/en/support/imsg/digicamera/download/notice/notice.cfm

• มาตรฐานสําหรับชื่อไฟลของกลองที่อางอิง ในคูมือนี้เปนมาตรฐาน “Design rule for Camera File system/


DCF” ที่กําหนดโดย Japan Electronics and Information Technology Industries Association (JEITA)

TH 153
ดัชนี

สัญลักษณ F
# RC Mode .................................... 125 Focus BKT .................................. 33, 85
W (ภาษา) ......................................94
I (AF โฟกัสใบหนา) ..........................60 H
S (ถายตอเนื่องชา) ...........................43 HDMI ........................................97, 104
T (ถายตอเนื่องเร็ว)...........................43
G/ตั้งคาแสดงภาพ ..................... 96, 102 I
q คําแนะนํา ............................. 96, 102 INFO ปุม ..............................24, 63, 78
G การตั้งคา.............................. 96, 103
j/Y..............................................42 L
x+F ............................................98 LAN ไรสาย ...................................... 106
#+WB .............................................98 Live Control ......................................48
G (การแสดงภาพแบบดัชนี) ........ 65, 103 Live View Boost .................................96
a (การดูภาพระยะใกล) .......................65 LOG ........................................111, 113
 (ลบเฟรมเดียว) ...............................75 LV-Info ..................................... 96, 102
v (การเลือกภาพ) .............................76
ปุม u (ฟงกชั่นโหมด)..............30, 33, 34 M
ปุม R (ภาพเคลื่อนไหว) ......................38 MF (โฟกัสดวยตัวเอง) ..........................55
h (คําสั่งแบงปน) ................................71
8 (เสียงบี๊ป) .....................................97 N
0 (ปองกัน) ....................................71 Noise Filter .......................................97
s (ปรับความสวางจอภาพ) .................94
k (สมดุลแสงขาว One-touch) ............54 O
R (หมุนภาพ) ...................................88 OI.Palette ....................................... 106
W ใชสีโทนอุน ..................................98 OI.Share......................................... 106
R (บันทึกเสียง) ..................................72 OI.Track ......................................... 106
< (คําสั่งพิมพ) ..................................75 Olympus Workspace ........................ 117
K ตั้งคา .................................. 98, 105
P
A P (โหมดโปรแกรม) .............................35
A (โหมดเลือกรูรับแสง) .......................36 PC .................................................. 116
AdobeRGB ........................................98 Pro Capture ......................................44
AF โฟกัสใบหนา..................................60
R
B RC Mode (# RC Mode) .................... 125
BGM .................................................73
S
D SCN (โหมด Scene) ...........................28
DPOF ...............................................75 Sleep .........................................17, 100
sRGB ................................................98

154 TH
T ค
Time Lapse Movie .............................84 ควบคุมความเขมของแสงแฟลช ..............59
ความไวแสง ISO .................................52
W คําสั่งแบงปน.......................................71
WB...................................................98 คําสั่งพิมพ..........................................75
Wi-Fi การตั้งคา .................... 94, 109, 110 คุณภาพของภาพ
ภาพเคลื่อนไหว ................................57
ก ภาพนิ่ง ...........................................56
กวาง (ซูม) .........................................26
การชดเชยสมดุลแสงขาว.......................98 จ
การชดเชยแสง ....................................41 จับภาพนิ่งในภาพภยนตร ................. 69, 92
การเชื่อมตอ USB .............................. 116 จํานวนพิกเซล ...................... 56, 105, 119
การซอนความสวาง ..............................31 จํานวนเฟรม ........................................57
การด........................................... 13, 15 จํานวนภาพนิ่งที่บันทึกได .................... 119
การด SD ...........................................15 แจ็คเก็ตซิลิโคน................................. 125
การฟอรแมทการด .............................21
การตั้งคาคุณภาพของภาพ ............. 98, 105 ช
การถายภาพใตนํ้า (^).......................34 ชารจแบตเตอรี่ ....................................16
การถายภาพมาโคร ........................ 33, 55 คอมพิวเตอร................................... 116
การบันทึกภาพเคลื่อนไหว .....................38 ชื่อไฟล .............................................99
การปรับระดับเสียง ...............................66 ชุดแฟลชภายนอก.............................. 125
การรับรอง ........................................ 100 เชื่อมตอ
การลงทะเบียนผูใช ................................2 คอมพิวเตอร................................... 116
การเลือกภาพ......................................76 สมารทโฟน .................................... 106
การแสดงฮิสโตแกรม .................... 24, 102
เก็บขอมูล ........................................ 117 ซ
แกไข ................................................88 ซอฟตแวรคอมพิวเตอร........................ 117
แกไข JPEG.............................68, 88, 90 ซุปเปอรมาโคร ....................................55
แกไขชื่อไฟล ......................................99 ซูม ...................................................26
แกไขภาพ ...............................68, 88, 90 ซูมเขา (ซูม) .......................................26
แกไขภาพ RAW ............................ 68, 88 เซ็ต ISO อัตโนมัติ ...............................97
แกไขภาพเคลื่อนไหว ................69, 92, 93

ข ดิจิทัลเทเลคอน ...................................42
ขนาดภาพ ........................................ 119 ดูภาพ
ภาพเคลื่อนไหว ................................57 ภาพเคลื่อนไหว .......................... 64, 66
ภาพนิ่ง ................................... 56, 105 ภาพนิ่ง ..................................... 64, 65
ขยาย .......................................... 33, 55 ดูภาพบันทึก .......................................94
ขอมูล Exif .........................................99 ดูภาพระยะใกล ....................................65
ขอมูลตําแหนง ...........................100, 115

TH 155
ต พ
ตั้งคาการด ................................... 21, 95 พาโนรามา .........................................32
ตั้งคาโฟกัสซอน ..................................86 พิกเซลแมบปง ...........................100, 122
ตั้งคาภาษา (W) ...............................94 พิมพวันที่ ...........................................86
ตั้งคาลิขสิทธิ์ ......................................99 พีคกิ้ง.............................................. 101
ตั้งคาวันที่/เวลา (X) ...........................18 พื้นที่กรอบ AF .....................................82
ตั้งเวลา..............................................42
ตัด ฟ
ภาพ JPEG ................................. 68, 90 ฟอรแมท............................................21
ภาพเคลื่อนไหว .......................... 70, 93 ฟงกชันบันทึกขอมูล ....................111, 113
ตัวกั้นเลนส ....................................... 128 เฟรมเรตของวิดีโอ ......................... 57, 87
ตัวชวยปรับโฟกัส MF.................... 96, 101 แฟมบันทึก GPS ................................ 113
ติดตั้ง .............................................. 117 แฟลช ...............................................45
ติดตาม ..............................................83 แฟลชควบคุมระยะไกลแบบไรสาย ......... 125
แฟลชใตนํ้า ...................................... 125
ถ โฟกัสซอน .........................................33
ถายภาพ ไฟ LED .............................................47
ภาพเคลื่อนไหว ................................38 ไฟชวย AF ................................. 25, 101
ภาพนิ่ง ...........................................27 ไฟนํา LED ....................................... 127
ถายภาพ Live Composite .....................31
ถายภาพตอเนื่อง .................................42 ภ
ถายภาพระยะไกล .............................. 108 ภาพ RAW..........................................56
ถายโอนภาพไปยังสมารทโฟน .............. 108 ภาพเคลื่อนไหว R ...............................87
ภาพเคลื่อนไหวความเร็วสูง ....................58
ท ภาพซอน ..................................... 74, 91
ทีวี.................................................. 104 ภาพยนตรแบบสโลวโมชัน .....................58

บ ม
บันทึกตําแหนง GPS ........................... 100 มาตรวัดระดับ .............................. 24, 102
บันทึกเสียง มุมมองภาพ ........................................55
ภาพนิ่ง ...........................................72 เมนู .......................................... 78, 140
บิตเรตของวิดีโอ ............................ 57, 87 เมนูกําหนดเอง ............................ 96, 142
แบ็คไลท HDR ....................................29 เมนูตั้งคา ................................... 94, 144
เมนูถายภาพ ............................... 80, 141
ป เมนูถายภาพ 1 ..................................80
ปรับความสวางจอภาพ ..........................94 เมนูถายภาพ 2 ..................................80
ปรับคาการเปดรับแสง ...........................97 เมนูวิดีโอ ....................................87, 141
ปรับตั้งระดับ ..................................... 100 เมนูแสดงภาพ ............................. 88, 142
ปรับโฟกัสเอง .....................................55 ไมโครสโคป .......................................33
ปริภูมิสี ..............................................98
ปองกัน ..............................................71
ปองกันภาพสั่น ....................................59
ปุมหมุนปรับโหมด ................................27

156 TH
ร ห
ระดับแบตเตอรี่ ....................................17 หมุน .................................................72
ระดับเสียงบันทึก .................................87 โหมด AF ...........................................55
ระยะเวลาตอภาพ/Time Lapse ...............84 โหมด AUTO (B) ..............................25
รายการของการตั้งคา ...................136, 138 โหมด Scene ......................................28
รีเซ็ต/เลือกโหมดกําหนดเอง ..................80 โหมดใตนํ้า (^) ...............................34
รูปแบบไฟล ...................................... 119 โหมดโฟกัส ........................................55
โหมดภาพ ...............................27, 50, 81
ล โหมดภาพเคลื่อนไหว ...........................39
ลดนอยส............................................97 โหมดเลือกสีเฉพาะ ..............................52
ลดภาพกะพริบ ....................................96 โหมดวัดแสง ......................................60
ลบ
เฟรมเดียว........................................75 อ
ภาพทั้งหมด .....................................95 อัตราการบีบอัด .................... 56, 105, 119
ภาพที่เลือก......................................76
ลบคาปองกัน ......................................93
ล็อคโฟกัส..........................................46
ลําดับการใช GPS .............................. 100
เลนภาพเคลื่อนไหว ..............................66
เลนสเสริม ........................................ 129


สมดุลแสงขาว .....................................53
สมดุลแสงขาว One-touch (k) ............54
สไลดโชว ..........................................73
สัญญาณออก HDMI .......................... 104
สัดสวนภาพ ........................................55
สีของฟงกชันพีคกิ้ง ..............................96
เสียงบี๊ป .............................................97
แสดงขอมูล ........................................22
ดูภาพ .............................................62
แสดงภาพบนปฏิทิน ..................... 65, 103
แสดงภาพแบบดัชนี ...................... 65, 103
แสดงเสนตาราง...................................96

TH 157
วันที่ออกเอกสาร 2019.05.

WD640300

You might also like