You are on page 1of 62

บทนำ

ขอแสดงความยินดีตอ่ ท่านในโอกาสที่ได้ เป็ นเจ้ าของผลิตภัณฑ์เครื่ องยนต์ดีเซล


คูโบต้ า, เครื่ องยนต์ดเี ซลคูโบต้ านี ้เป็ นผลิตภัณฑ์ที่มีคณ
ุ ภาพทังทางด้
้ านวิศวกรรมและ
ด้ านการผลิต วัสดุที่ใช้ ทาชิ ้นส่วนต่างๆ เป็ นวัสดุคณ ุ ภาพสูงและทาการผลิตภายใต้ การ
ควบคุมคุณภาพอย่างดีเยี่ยม ตลอดเวลาที่ผา่ นมา บริ ษัทฯ ได้ พฒ ั นาผลิตภัณฑ์อย่าง
ต่อเนื่อง จนกระทัง่ ได้ รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม ( มอก. ) ประเภทบังคับ
จากกระทรวงอุตสาหกรรม นอกจากนี ้บริษัทยังได้ รับการรับรองมาตรฐานระดับโลกทัง้
มาตรฐานระบบบริ หารคุณภาพ ( ISO 9001 : 2000 ) และมาตรฐานระบบการจัดการ
สิง่ แวดล้ อม ( ISO 14001 ) ซึง่ เป็ นสิง่ ยืนยันถึงคุณภาพของเครื่ องยนต์ดีเซล “ คูโบต้ า ”
ได้ เป็ นอย่างดี ท่านจึงสามารถใช้ เครื่ องยนต์ดเี ซลคูโบต้ าได้ อย่างยืนยาวและคุ้มค่า
เพื่อให้ การใช้ งานเครื่ องยนต์ดีเซลคูโบต้ ามีประสิทธิภาพสูงสุด ขอให้ ท่านอ่านคู่มือ
การใช้ งานอย่างละเอียด ซึง่ คูม่ ือนี ้จะช่วยให้ ท่านเข้ าใจหลักการทางานของเครื่ องยนต์
ดีเซลคูโบต้ า และยังมีคาแนะนาที่เป็ นประโยชน์ เกี่ ยวกับการบารุ งรักษาเครื่ องยนต์
ดีเซลคูโบต้ าที่ถกู ต้ องไว้ ด้วย อย่างไรก็ตามถ้ าท่านมีข้อสงสัยโปรดสอบถามได้ จากทาง
บริ ษัทฯ หรื อผู้แทนจาหน่าย
ทางบริ ษั ทฯ ขอสงวนสิทธิ์ ที่จ ะปรั บ ปรุ ง เปลี่ยนแปลง หรื อ แก้ ไขข้ อ มูล จาเพาะ
รายละเอีย ดทางด้ า นเทคนิค และอื่ นๆ เกี่ ย วกับผลิต ภัณ ฑ์ ห รื อ อุป กรณ์ ที่ ใช้ ร่ว มกับ
ผลิตภัณฑ์ โดยไม่จาเป็ นต้ องแจ้ งให้ ทราบล่วงหน้ า

มาตรฐานระบบบริ หารคุณภาพ มาตรฐานระบบจัดการสิง่ แวดล้ อม มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม


(ISO9001:2000) (ISO14001) (มอก.) ประเภทบังคับ

Document No. TH124-02581-TH


1 Part No. 1W071-L0802
ปลอดภัยไว้ ก่อน
"สัญลักษณ์เตือนภัย" ต่อไปนี ้ จะมีอยู่ทวั่ ไปในคู่มือฉบับนี ้และอยู่ในฉลากต่างๆ ที่
ติดอยู่บนผลิตภัณฑ์เพื่อให้ ระมัดระวังเหตุที่อาจจะก่อให้ เกิดอันตรายถึงขันบาดเจ็้ บ
หรื อเสียชี วิตได้ ขอให้ ท่านอ่านคาแนะนาเหล่านี ้ อย่างละเอียดและปฏิบัติตามให้
ถูก ต้ อ ง ผู้อ่า นต้ องเข้ า ใจเนือ้ หาส่ว นนีร้ วมถึ งข้ อก าหนดด้ านความปลอดภัย ต่า งๆ
ก่อนที่ทา่ นจะประกอบหรื อใช้ เครื่ องยนต์ดีเซลคูโบต้ านี ้

อันตรำย : แสดงถึง อันตรายที่สามารถเกิดขึ ้นได้ ถ้ าไม่หลีกเลีย่ ง


อาจทาให้ เกิดอันตรายต่อชีวิต
คำเตือน : แสดงถึง อันตรายที่สามารถเกิดขึ ้นได้ ถ้ าไม่หลีกเลีย่ ง
อาจทาให้ เกิดอันตรายต่อชีวิตหรื อบาดเจ็บสาหัสได้

ข้ อควรระวัง : แสดงถึง อันตรายที่สามารถเกิดขึ ้นได้ ถ้ าไม่หลีกเลีย่ ง


อาจทาให้ เกิดการบาดเจ็บเล็กน้ อยหรื อบาดเจ็บรุนแรง

 ข้ อสำคัญ : แสดงถึง คาแนะนาที่ควรปฏิบตั ิตาม มิฉะนันจะท


้ าให้
เกิดความเสียหายต่อผลิตภัณฑ์และอุปกรณ์ได้

 หมำยเหตุ : แสดงถึง ข้ อมูลที่เป็ นประโยชน์ที่ช่วยให้ เข้ าใจได้ มากขึ ้น

2
กำรรับประกันคุณภำพ
ทุก ครั ง้ ที่ ซือ้ เครื่ อ งยนต์ ดีเ ซลคูโ บต้ า อย่า ลื ม กรอกบัต รลงทะเบีย นรั บประกัน คุณ ภาพ
ส่งกลับไปยังบริ ษัทฯ เพื่อให้ การรับประกันคุณภาพ 3 ปี มีผลสมบูรณ์ ซึง่ การรับประกันจะอยู่
ภายใต้ เงื่อนไขว่า บริ ษัทฯจะรับผิดชอบต่อเครื่ องยนต์ดีเซลคูโบต้ าที่เสียหายอันเนื่องมาจาก
ชิน้ ส่วนที่ ประกอบจากโรงงานไม่ได้ มาตรฐาน แต่ไม่ร วมความเสี ยหายที่เกิด ขึน้ จากกรณี
ดังต่อไปนี ้
1. การไม่เอาใจใส่ หรื อละเลยการบารุ งรั กษาตามที่กาหนดไว้ ในคู่มือการใช้ และการ
บารุ งรักษา ของบริ ษัทฯ
2. การใช้ งานไม่ถกู ต้ อง ไม่เหมาะสมกับสภาพ และความสามารถของเครื่ องยนต์ดีเซล
คูโบต้ า รวมทังการบ ้ ารุ งรักษาเครื่ องยนต์ดีเซลคูโบต้ าที่ไม่ถกู ต้ อง
3. อุบตั เิ หตุ หรื อภัยธรรมชาติ
4. การดัดแปลงสภาพ แก้ ไข ต่อเติม หรื อการซ่อมที่ไม่ถกู ต้ อง
5. การซ่อมแก้ ไข โดยบุคคลซึง่ ไม่ใช่มาจากบริ ษัทฯ หรื อศูนย์บริ การที่บริ ษัทฯแต่งตัง้
6. การใช้ อ ะไหล่ เ ที ย ม สารหล่ อ ลื่ น ต่า งๆ ที่ ผิ ด ประเภท หรื อ มี คุณ ภาพต่ า หรื อ มี
คุณ สมบัติไม่ตรงตามที่กาหนดไว้ ในคู่มือ ใช้ งาน และการบารุ งรั กษาเครื่ องยนต์
ดีเซลคูโบต้ าของบริ ษัทฯ
7. การช ารุ ด สึ ก หรอ หรื อ เกิ ด สนิ ม ของชิ น้ ส่ ว นภายนอกอัน เนื่ อ งมาจากการ
สัน่ สะเทือน หรื อการเสียดสี
8. การเกิ ด เสี ย งดัง การสั่น สะเทื อ นซึ่ง ไม่ มี ผ ลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการท างานของ
เครื่ องยนต์ดีเซลคูโบต้ า
ทังนี
้ ้ บริ ษัทฯ จะไม่รับผิดชอบต่อความเสียหายใดๆ ซึง่ เกิดขึ ้นระหว่างที่เครื่ องยนต์ดีเซล
คูโบต้ าใช้ การไม่ได้ หรื อระหว่างทาการซ่อมแซม หากมีการนาเครื่ องยนต์ดีเซลคูโบต้ าออกนอก
ประเทศที่ซือ้ สินค้ ามา บริ ษัทฯถือว่าการรั บประกันสิ น้ สุดทันที หากบัตรรั บประกันสูญหาย
บริ ษัทฯ จะไม่ออกบัตรรับประกันให้ อีก

3
สำรบัญ
แนวปฏิบตั ิเพื่อความปลอดภัย 5
การให้ บริ การหลังการขาย 8
ข้ อมูลจาเพาะของเครื่ องยนต์ดเี ซลคูโบต้ า รุ่น ZT 9
ชื่อชิ ้นส่วนของเครื่ องยนต์ดีเซลคูโบต้ า 12
ข้ อปฏิบตั ิก่อนการใช้ งานครัง้ แรก 15
การตรวจสอบก่อนการใช้ งาน 16
การติดเครื่ องยนต์และดับเครื่ องยนต์ 22
การใช้ ระบบไฟและไฟส่องสว่าง 26
การเก็บรักษาเครื่ องยนต์ 33
คาแนะนาเมื่อนาเครื่ องยนต์ไปติดกับอุปกรณ์อื่นๆ 34
เครื่ องยนต์ดเี ซลคูโบต้ าแบบอิเล็กทริ คสตาร์ ท (เฉพาะรุ่น) 36
การบารุงรักษา 41
ข้ อขัดข้ องและวิธีการแก้ ไข 53
คาแนะนาเพื่อรักษาสิง่ แวดล้ อม 56

4
แนวปฏิบัตเิ พื่อควำมปลอดภัย
โปรดอ่านคู่มือและทาความเข้ าใจการใช้ งาน เครื่ องยนต์ดีเซลคูโบต้ าและอุปกรณ์
อื่นๆ ก่อนการใช้ งานทุกครัง้ เนื ้อหาในส่วนนี ้เป็ นข้ อความสาคัญที่ผ้ ใู ช้ ควรปฏิบตั ิตาม
เพื่อการใช้ งานอย่างปลอดภัย โดยมีเนื ้อหาดังต่อไปนี ้

ก่ อนกำรใช้ งำนเครื่ องยนต์ ดีเซลคูโบต้ ำ


1. อ่านและทาความเข้ าใจคูม่ ือการใช้ งานของเครื่ องยนต์ดีเซลคูโบต้ าก่อนที่จะใช้
งาน การขาดความเข้ าใจที่ถกู ต้ องอาจนาไปสูอ่ บุ ตั ิเหตุได้
2. เจ้ าของต้ องมัน่ ใจว่าผู้ปฏิบตั ิงานที่จะควบคุมเครื่ องยนต์ดีเซลคูโบต้ านันได้
้ อ่าน
คูม่ ือนี ้ก่อนและเข้ าใจในแนวปฏิบตั ิเป็ นอย่างดีแล้ ว
3. ควรตรวจสอบด้ วยสายตาเพื่อหาความผิดปกติ การไม่ทางานหรื อสูญหายของ
ชิ ้นส่วนต่างๆ และทาการซ่อมแซมที่จาเป็ นก่อนการใช้ งาน
4. เปลีย่ นฉลากแสดงความปลอดภัยใหม่เมื่อเกิดการเสียหายหรื ออ่านไม่ออกแล้ ว
5. การประกอบ การถอด และการติดตังเครื ้ ่ องยนต์ดีเซลคูโบต้ า ให้ ปฏิบตั ิตามที่
แนะนาในคู่มือนี ้เท่านัน้ การปฏิบตั ิด้วยวิธี อื่นอาจส่งผลให้ เกิดความผิดพลาดจนเกิด
การบาดเจ็บต่อบุคคลอย่างรุนแรงหรื อถึงแก่ชีวิตได้

ระหว่ ำงกำรใช้ งำนเครื่ องยนต์ ดีเซลคูโบต้ ำ


1. ดูแลเด็กและสัตว์เลี ้ยงให้ หา่ งจากเครื่ องยนต์ดีเซลคูโบต้ า ขณะใช้ งาน
2. เมื่อต้ องใช้ งาน หรื ออยู่ใกล้ เครื่ องยนต์ดีเซลคูโบต้ า อย่าสวมเสื ้อผ้ าหลวม ขาด
หรื อรุ่มร่าม เพราะอาจจะทาให้ ได้ รับอันตรายเนื่องจากถูกดึงเข้ าหาส่วนที่หมุน และควร
สวมอุปกรณ์ปอ้ งกัน เช่น หมวกนิรภัย รองเท้ านิรภัย รองเท้ าหุ้มข้ อและอุปกรณ์ป้องกัน
ตา หู หรื อสวมถุงมือ เป็ นต้ น

5
A ตัวอย่ ำงที่ถกู ต้ อง B ตัวอย่ ำงที่ผดิ
( 1 ) หมวกนิ รภัย ( 6 ) ผ้าพันคอ
( 2 ) ชุดหมี ( 7 ) ผ้าคาดเอว
( 3 ) แขนเสือ้ กระชับตัว ( 8 ) รองเท้าแตะ
( 4 ) ขากางเกงแบบกระชับ
( 5 ) รองเท้ากันลืน่

หลังกำรใช้ งำน เครื่ องยนต์ ดีเซลคูโบต้ ำ


1. เมื่อเสร็ จสิ ้นการใช้ งานควรเก็บเครื่ องยนต์ดเี ซลคูโบต้ าไว้ บนพื ้นที่เรี ยบ
2. เมื่อต้ องถอดเครื่ องยนต์ดเี ซลคูโบต้ าออกจากอุปกรณ์พว่ งอื่นๆ ต้ องมัน่ ใจว่า
เครื่ องยนต์ดเี ซลคูโบต้ าที่ถอดออกมานันตั ้ งอยู
้ บ่ นพื ้นที่แข็งและราบเรี ยบ

6
กำรบำรุ งรักษำ เครื่ องยนต์ ดีเซลคูโบต้ ำ
1. สวมเครื่ องป้องกันที่เหมาะสมเสมอเมื่อทาการซ่อมบารุงเครื่ องจักร
2. ไม่ดดั แปลงต่อเติม เครื่ องยนต์ดีเซลคูโบต้ า การดัดแปลงต่อเติมอาจส่งผลต่อ
การทางานของเครื่ องยนต์ดีเซลคูโบต้ าซึง่ อาจก่อให้ เกิดอันตรายแก่ผ้ ปู ฏิบตั ิงาน
3. ไม่ควรซ่อมบารุงเครื่ องยนต์ดีเซลคูโบต้ าในขณะที่เครื่ องยนต์ทางานอยู่ เพราะ
อาจทาให้ เกิดอันตรายกับผู้ปฏิบตั ิงานได้

กำรดูแลฉลำกอันตรำย ข้ อควรระวัง และคำเตือน


1. รักษาฉลากให้ สะอาดอยูเ่ สมอ และไม่นาวัสดุอื่นใดมาปิ ดทับ
2. ทาความสะอาดฉลากด้ วยสบู่ น ้า และเช็ดให้ แห้ งด้ วยผ้ าเนื ้อนิ่ม
3. ติดฉลากใหม่ทดแทนฉลากที่ชารุ ดหรื อเสียหายไป โดยติดต่อตัวแทนจาหน่าย
ของคูโบต้ าที่อยูใ่ นพื ้นที่ของท่าน
4. ถ้ าฉลากเดิมถูกเปลี่ยนด้ วยฉลากใหม่ ต้ องตรวจสอบให้ มนั่ ใจว่าฉลากใหม่ถกู
ติดในตาแหน่งเดียวกันกับฉลากเดิมที่เปลีย่ นทดแทน
5. ติดฉลากใหม่บนพื ้นผิวที่สะอาดและแห้ ง กดไล่ฟองอากาศออกจากตัวฉลากให้
หมดก่อนติด

7
กำรให้ บริกำรหลังกำรขำย
ผู้แทนจาหน่ายเครื่ องยนต์ ดีเซลคูโบต้ า ที่ท่านเป็ นเจ้ าของอยู่นี ้มีความยินดี และ
พร้ อมให้ บริ การแก่ทา่ นเพื่อประโยชน์ในการใช้ เครื่ องยนต์ดีเซลคูโบต้ าให้ ได้ สงู สุด
หลังจากท่านอ่านคู่มือการใช้ งานจนเป็ นที่เข้ าใจแล้ ว จะพบว่าท่านสามารถทาการ
บารุงรักษาได้ ด้วยตัวท่าน
อย่างไรก็ตามเมื่อท่านมีความต้ องการซื ้ออะไหล่หรื อทาการซ่อม ท่านสามารถซื ้อ
อะไหล่หรื อขอรับบริ การซ่อมได้ ที่ ร้านค้ าผู้แทนจาหน่ายใกล้ บ้านท่าน โดยให้ แจ้ งเลข
หมายอุปกรณ์ประจาเครื่ องยนต์ดีเซลคูโบต้ าทีอ่ ยูบ่ ริ เวณหน้ าเครื่ องยนต์ (ตามรูป)

(1) หมายเลขอุปกรณ์

โปรดกรอกรายละเอียดลงในช่องว่าง ตามหัวข้ อข้ างล่าง


เครื่องยนต์ ดเี ซลคูโบต้ ำ
ชื่อรุ่น : ...................................................................
หมายเลขอุปกรณ์ : .................................................
วันที่ซื ้อ : ................................................................
ร้ านค้ าผู้แทนจาหน่าย : ...........................................

8
ข้ อมูลจำเพำะของเครื่ องยนต์ ดีเซลคูโบต้ ำ รุ่น ZT
แบบห้ องเผำไหม้ ช่วย (KUBOTA TVCS : Three Vortex Combustion System)
ZT100 ZT110 ZT120
รุ่ นของเครื่ องยนต์ ดีเซลคูโบต้ ำ
Standard Pro Standard Pro Standard Pro
แบบการวางกระบอกสูบ เครื่ องยนต์ดีเซลแบบการวางกระบอกสูบนอน ระบบ 4 จังหวะ ระบายความร้ อนด้ วยน ้า
จานวนลูกสูบ(ลูก) 1
ขนาดลูกสูบxช่วงชัก(มิลลิเมตรxมิลลิเมตร) 88x90 92x90 94x90
ปริมาตรช่วงชัก(ลูกบาศก์เซนติเมตร) 547 598 624
กาลังสูงสุด,กาลังม้ า/รอบต่อนาที
10/2,400(7.35kW/2,400) 11/2,400(8.09kW/2,400) 12/2,400(8.83kW/2,400)
(กิโลวัตต์/รอบต่อนาที)
กาลังที่กาหนดต่อเนื่อง,กาลังม้ า/รอบต่อนาที
9/2,400(6.62kW/2,400) 9.5/2,400(6.99kW/2,400) 10.5/2,400(7.72kW/2,400)
(กิโลวัตต์/รอบต่อนาที)
อัตราการใช้ น ้ามันเชื ้อเพลิงจาเพาะที่กาลัง
269 269 269
ที่กาหนดต่อเนื่อง(กรัม/กิโลวัตต์ชวั่ โมง)
อัตราส่วนกาลังอัด 22:1 20.5:1 21:1
ระยะตังลิ
้ ้น(มิลลิเมตร) 0.195 - 0.235
แรงบิดสูงสุด(กิโลกรัมแรงเมตร/รอบต่อนาที) 3.5/1,600 3.9/1,600 4.1/1,600
ความจุน ้าระบายความร้ อน(ลิตร) 2.2 2.1
ความจุน ้ามันเชื ้อเพลิง(ลิตร) 10.3
ความจุน ้ามันหล่อลื่น(ลิตร) 2.8
ชนิดของน ้ามันเชื ้อเพลิง น ้ามันดีเซลหมุนเร็ว (เอสเออี เบอร์ 2 - ดี)
ชนิดของน ้ามันหล่อลื่น เอสเออี 40 เอพีไอ ซีเอฟ
แบบห้ องเผาไหม้ ช่วย (KUBOTA TVCS : Three Vortex Combustion System/
ชนิดของระบบการเผาไหม้
Special Design Pre Combustion Swirl Chamber with Indirect Injection : IDI)
แบบของระบบระบายความร้ อน หม้ อน ้ารังผึ ้ง
ชนิดของระบบหล่อลื่น ขับดันน ้ามันหล่อลื่นโดยปั๊ มโทรคอยด์ (Trochoid pump)
ชนิดของหม้ อกรองอากาศ แบบเปี ยก (อ่างน ้ามันเครื่ อง)
ชนิดของระบบการเริ่มเดินเครื่ องยนต์ แบบใช้ มือหมุนชนิดความเร็ว 2 เท่า / สาหรับรุ่น อีเอส จะเพิ่มระบบมอเตอร์ สตาร์ ท
น ้าหนักเครื่ องยนต์(กิโลกรัม) 103 108 109
น ้าหนักเครื่ องยนต์รุ่นมอเตอร์ สตาร์ ท(กิโลกรัม) 110 110 111
ขนาดความกว้ างxยาวxสูง(มิลลิเมตร) 370x812x487 370x812x487 370x821x487
ขนาดความกว้ างxยาวxสูง รุ่นมอเตอร์ สตาร์ ท
370x815x487 370x815x487 370x824x487
(มิลลิเมตร)
ไฟเลี ้ยวแบบ LED -  -  - 
ชุดชาร์ จไฟ USB      
อุปกรณ์มาตรฐาน  อุปกรณ์เสริ ม
หมำยเหตุ : 1. ค่าที่แสดงเป็ นค่าประมาณจากทางผู้ผลิต บริ ษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลีย่ นแปลงค่ากาหนดต่างๆ โดยไม่ต้องแจ้ งให้ ทราบล่วงหน้ า
2. ค่าที่แสดงเกี่ยวกับกาลังม้ า แรงบิด และ อัตราการใช้ น ้ามันเชื ้อเพลิงจาเพาะ เป็ นค่าที่ได้ จากเครื่ องยนต์ที่ต้องผ่านการใช้ งานที่รอบ
เครื่ องยนต์ที่กาหนดอย่างน้ อย 50 ชัว่ โมง และใช้ ทดสอบตามมาตรฐาน JIS B 8018 ที่สภาพบรรยากาศมาตรฐาน (แรงดันบรรยากาศ
750 มิลลิเมตรปรอท, อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และความชื ้นสัมพัทธ์ 30%)

9
แบบฉีดตรง (DI : Direct Injection)
ZT100DI ZT110DI ZT125DI
รุ่ นของเครื่องยนต์ ดเี ซลคูโบต้ ำ
Standard Pro Standard Pro Standard Pro
แบบการวางกระบอกสูบ เครื่ องยนต์ดีเซลแบบการวางกระบอกสูบนอน ระบบ 4 จังหวะ ระบายความร้ อนด้ วยน ้า
จานวนลูกสูบ(ลูก) 1
ขนาดลูกสูบxช่วงชัก(มิลลิเมตรxมิลลิเมตร) 88x90 92x90 94x96
ปริ มาตรช่วงชัก(ลูกบาศก์เซนติเมตร) 547 598 666
กาลังสูงสุด,กาลังม้ า/รอบต่อนาที
10/2,400(7.35kW/2,400) 11/2,400(8.09kW/2,400) 12.5/2,400(9.19kW/2,400)
(กิโลวัตต์/รอบต่อนาที)
กาลังที่กาหนดต่อเนื่อง,กาลังม้ า/รอบต่อนาที
9/2,400(6.62kW/2,400) 9.5/2,400(6.99kW/2,400) 11/2,400(8.09kW/2,400)
(กิโลวัตต์/รอบต่อนาที)
อัตราการใช้ น ้ามันเชื ้อเพลิงจาเพาะที่กาลัง
240 240 240
ที่กาหนดต่อเนื่อง(กรัม/กิโลวัตต์ชวั่ โมง)
อัตราส่วนกาลังอัด 18:1
ระยะตั ้งลิ ้น(มิลลิเมตร) 0.195 - 0.235
แรงบิดสูงสุด(กิโลกรัมแรงเมตร/รอบต่อนาที) 3.4/1,600 3.9/1,600 4.7/1,600
ความจุน ้าระบายความร้ อน(ลิตร) 2.1
ความจุน ้ามันเชื ้อเพลิง(ลิตร) 10.3
ความจุน ้ามันหล่อลืน่ (ลิตร) 2.8
ชนิดของน ้ามันเชื ้อเพลิง น ้ามันดีเซลหมุนเร็ ว (เอสเออี เบอร์ 2 - ดี)
ชนิดของน ้ามันหล่อลืน่ เอสเออี 40 เอพีไอ ซีเอฟ
ชนิดของระบบการเผาไหม้ แบบฉีดตรง [Direct Injection or DI]
แบบของระบบระบายความร้ อน หม้ อน ้ารังผึ ้ง
ชนิดของระบบหล่อลืน่ ขับดันน ้ามันหล่อลืน่ โดยปั๊มโทรคอยด์ (Trochoid pump)
ชนิดของหม้ อกรองอากาศ แบบเปี ยก (อ่างน ้ามันเครื่ อง)
ชนิดของระบบการเริ่ มเดินเครื่ องยนต์ แบบใช้ มือหมุนชนิดความเร็ ว 2 เท่า / สาหรับรุ่น อีเอส จะเพิ่มระบบมอเตอร์ สตาร์ ท
น ้าหนักเครื่ องยนต์(กิโลกรัม) 104 109 109
น ้าหนักเครื่ องยนต์รุ่นมอเตอร์ สตาร์ ท(กิโลกรัม) 111 111 111
ขนาดความกว้ างxยาวxสูง(มิลลิเมตร) 370x821x520 370x821x520 370x821x520
ขนาดความกว้ างxยาวxสูง รุ่นมอเตอร์ สตาร์ ท
370x824x520 370x824x520 370x824x520
(มิลลิเมตร)
ไฟเลี ้ยวแบบ LED -  -  - 
ชุดชาร์ จไฟ USB      
อุปกรณ์มาตรฐาน  อุปกรณ์เสริ ม
หมำยเหตุ : 1. ค่าที่แสดงเป็ นค่าประมาณจากทางผู้ผลิต บริ ษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลีย่ นแปลงค่ากาหนดต่างๆ โดยไม่ต้องแจ้ งให้ ทราบล่วงหน้ า
2. ค่าที่แสดงเกี่ยวกับกาลังม้ า แรงบิด และ อัตราการใช้ น ้ามันเชื ้อเพลิงจาเพาะ เป็ นค่าที่ได้ จากเครื่ องยนต์ที่ต้องผ่านการใช้ งานที่รอบ
เครื่ องยนต์ที่กาหนดอย่างน้ อย 50 ชัว่ โมง และใช้ ทดสอบตามมาตรฐาน JIS B 8018 ที่สภาพบรรยากาศมาตรฐาน (แรงดันบรรยากาศ
750 มิลลิเมตรปรอท, อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และความชื ้นสัมพัทธ์ 30%)

10
ZT140DI ZT155DI
รุ่ นของเครื่องยนต์ ดเี ซลคูโบต้ ำ
Standard Pro Standard Pro
เครื่ องยนต์ดีเซลแบบการวางกระบอกสูบนอน ระบบ 4 จังหวะ
แบบการวางกระบอกสูบ
ระบายความร้ อนด้ วยน ้า
จานวนลูกสูบ(ลูก) 1
ขนาดลูกสูบxช่วงชัก(มิลลิเมตรxมิลลิเมตร) 97x96 100x98
ปริ มาตรช่วงชัก(ลูกบาศก์เซนติเมตร) 709 777
กาลังสูงสุด,กาลังม้ า/รอบต่อนาที
14/2,400(10.30kW/2,400) 15.5/2,400(11.4kW/2,400)
(กิโลวัตต์/รอบต่อนาที)
กาลังที่กาหนดต่อเนื่อง,กาลังม้ า/รอบต่อนาที
12.5/2,400(9.19kW/2,400) 13.5/2,400(9.93kW/2,400)
(กิโลวัตต์/รอบต่อนาที)
อัตราการใช้ น ้ามันเชื ้อเพลิงจาเพาะที่กาลังที่
240 240
กาหนดต่อเนื่อง(กรัม/กิโลวัตต์ชวั่ โมง)
อัตราส่วนกาลังอัด 18:1 17.5:1
ระยะตั ้งลิ ้น(มิลลิเมตร) 0.195 - 0.235
แรงบิดสูงสุด(กิโลกรัมแรงเมตร/รอบต่อนาที) 5.1/1,600 5.5/1,600
ความจุน ้าระบายความร้ อน(ลิตร) 2.1
ความจุน ้ามันเชื ้อเพลิง(ลิตร) 10.3
ความจุน ้ามันหล่อลืน่ (ลิตร) 2.8
ชนิดของน ้ามันเชื ้อเพลิง น ้ามันดีเซลหมุนเร็ ว (เอสเออี เบอร์ 2 - ดี)
ชนิดของน ้ามันหล่อลืน่ เอสเออี 40 เอพีไอ ซีเอฟ
ชนิดของระบบการเผาไหม้ แบบฉีดตรง [Direct Injection or DI]
แบบของระบบระบายความร้ อน หม้ อน ้ารังผึ ้ง
ชนิดของระบบหล่อลืน่ ขับดันน ้ามันหล่อลืน่ โดยปั๊มโทรคอยด์ (Trochoid pump)
ชนิดของหม้ อกรองอากาศ แบบเปี ยก (อ่างน ้ามันเครื่ อง)
แบบใช้ มือหมุนชนิดความเร็ ว 2 เท่า / สาหรับรุ่น อีเอส
ชนิดของระบบการเริ่ มเดินเครื่ องยนต์
จะเพิ่มระบบมอเตอร์ สตาร์ ท
น ้าหนักเครื่ องยนต์(กิโลกรัม) 110 110
น ้าหนักเครื่ องยนต์รุ่นมอเตอร์ สตาร์ ท(กิโลกรัม) 112 112
ขนาดความกว้ างxยาวxสูง(มิลลิเมตร) 370x821x520 370x821x520
ขนาดความกว้ างxยาวxสูง รุ่นมอเตอร์ สตาร์ ท
370x824x520 370x824x520
(มิลลิเมตร)
ไฟเลี ้ยวแบบ LED -  - 
ชุดชาร์ จไฟ USB    
อุปกรณ์มาตรฐาน  อุปกรณ์เสริ ม
หมายเหตุ : 1. ค่าที่แสดงเป็ นค่าประมาณจากทางผู้ผลิต บริ ษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลีย่ นแปลงค่ากาหนดต่างๆ โดยไม่ต้องแจ้ งให้ ทราบล่วงหน้ า
2. ค่าที่แสดงเกี่ยวกับกาลังม้ า แรงบิด และ อัตราการใช้ น ้ามันเชื ้อเพลิงจาเพาะ เป็ นค่าที่ได้ จากเครื่ องยนต์ที่ต้องผ่านการใช้ งานที่รอบ
เครื่ องยนต์ที่กาหนดอย่างน้ อย 50 ชัว่ โมง และใช้ ทดสอบตามมาตรฐาน JIS B 8018 ที่สภาพบรรยากาศมาตรฐาน (แรงดันบรรยากาศ
750 มิลลิเมตรปรอท, อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และความชื ้นสัมพัทธ์ 30%)

11
ชื่อชิน้ ส่ วนของเครื่องยนต์ ดีเซลคูโบต้ ำ
13 12 11
1

2 10

9
3

4 5 6 7 8

(1) หม้อกรองอากาศแบบเปี ยก (2) เกจดูสญ ั ญาณน้ามันเครื ่อง


(3) คันยกวาล์ว (4) ปลัก๊ ถ่ายน้าระบายความร้อน
(5) ปั๊มน้ามันเชือ้ เพลิ ง (6) ก้านวัดระดับน้ามันเครื ่อง
(7) ปลัก๊ ถ่ายและไส้กรองน้ามันเครื ่อง (8) ชุดกรองน้ามันเชื ้อเพลิ ง
(9) เพลาสตาร์ ท (10) มือหมุน
(11) เกจวัดระดับน้ามันเชือ้ เพลิ ง (12) คันเร่ง
(13) หม้อน้า
หมำยเหตุ : ภาพที่ใช้ ประกอบการอธิบายชื่อชิ ้นส่วนนี ้เป็ นเพียงเฉพาะรุ่นเดียวเท่านัน้ โดยรุ่นอื่นๆ
อาจมีรูปร่างที่แตกต่างกันออกไป

12
5

1
4

(1) ชุดไฟหน้าและไฟเลีย้ ว (เฉพาะรุ่น) (2) ล้อช่วยแรง


(3) นอตหางปลาปรับตัง้ ความตึงสายพาน (4) ท่อไอเสีย
(5) ชุดพัดลมระบายความร้อน

หมำยเหตุ : ภาพที่ใช้ ประกอบการอธิบายชื่อชิ ้นส่วนนี ้เป็ นเพียงเฉพาะรุ่นเดียวเท่านัน้ โดยรุ่นอื่นๆ


อาจมีรูปร่างที่แตกต่างกันออกไป

13
เครื่ องยนต์ ดีเซลคูโบต้ ำแบบมีมอเตอร์ สตำร์ ท

1
2

(1) ฝาหม้อน้า (2) ฝาถังน้ามัน


(3) มอเตอร์ สตาร์ ท (เฉพาะรุ่น)

หมำยเหตุ : ภาพที่ใช้ ประกอบการอธิบายชื่อชิ ้นส่วนนี ้เป็ นเพียงเฉพาะรุ่นเดียวเท่านัน้ โดยรุ่นอื่นๆ


อาจมีรูปร่างที่แตกต่างกันออกไป

14
ข้ อปฏิบัตกิ ่ อนกำรใช้ งำนครัง้ แรก
เครื่ องยนต์ที่สง่ มอบจากผู้ผลิต จะยังไม่มกี ารเติมของเหลว สารหล่อลืน่ และน ้ามัน
เชื ้อเพลิงไว้ ดังนัน้ ผู้ใช้ งานควรปฏิบตั ิก่อนการใช้ งานครัง้ แรก ดังนี ้
1. เติมน ้าสะอาดที่หม้ อน ้าให้ เต็ม (ดูรายละเอียดหน้ า 16)
2. เติมน ้ามันเชื ้อเพลิงด้ วยน ้ามันดีเซลเท่านัน้ (ดูรายละเอียดหน้ า 17)
3. เติมน ้ามันเครื่ องตามระดับที่กาหนด (ดูรายละเอียดหน้ า 18)
4. หม้ อกรองอากาศแบบเปี ยก ให้ เติมน ้ามันเครื่ องที่อา่ งหม้ อกรองอากาศตามระดับ
ที่กาหนด (ดูรายละเอียดหน้ า 19)
5. ตรวจสอบความตึงของสายพานพัดลม (ดูรายละเอียดหน้ า 21)
ข้ อควรระวัง
หำกไม่ ปฏิบัตติ ำมคำแนะนำข้ ำงต้ นอำจส่ งผลให้ เครื่องยนต์ เกิดปั ญหำขึน้
ได้

15
กำรตรวจสอบก่ อนกำรใช้ งำน
ข้ อควรระวัง
ทุกครัง้ ที่ทำกำรตรวจสอบก่ อนกำรใช้ งำน ควรสวมเครื่องป้ องกันอันตรำย
ทุกครัง้ และปฏิบัติตำมขัน้ ตอนอย่ ำงเคร่ งครั ด

ตรวจเช็คระดับนำ้ ระบำยควำมร้ อนหม้ อนำ้


ข้ อควรระวัง
กำรเปิ ดฝำหม้ อนำ้ เพื่อทำกำรตรวจเช็คระดับนำ้ ทุกครัง้ ควรรอให้
เครื่องยนต์ เย็นลงก่ อน เพื่อป้ องกันกำรได้ รับบำดเจ็บจำกนำ้ ที่มีอุณหภูมิ
สูงในหม้ อนำ้
 ข้ อสำคัญ
ใช้ นำ้ สะอำดเติมเท่ ำนัน้ ห้ ำมใช้ นำ้ สกปรกเติมลงในหม้ อนำ้ เพรำะจะทำ
ให้ หม้ อนำ้ อุดตัน เป็ นเหตุทำให้ เครื่องยนต์ ร้อนจัดได้
1. ตรวจดูน ้าในหม้ อน ้าว่าอยูใ่ นระดับที่กาหนดหรื อไม่ ระดับน ้าต้ องอยูส่ งู เกินรังผึ ้งที่
อยูใ่ นหม้ อน ้า
2. ถ้ าระดับน ้าตา่ กว่าจุดที่กาหนด ต้ องเติมน ้าให้ เต็มด้ วยน ้าสะอาด เช่น น ้าประปา
(1) ช่องเติ มน้าหม้อน้า

3. ปิ ดฝาหม้ อน ้ากลับคืนให้ แน่น เพื่อป้องกันน ้าหกออกจากหม้ อน ้าขณะปฏิบตั ิงาน

16
ตรวจเช็คระดับนำ้ มันเชือ้ เพลิง
ข้ อควรระวัง
ทำกำรตรวจเช็คและเติมนำ้ มันเชือ้ เพลิงในพืน้ ที่ท่ อี ำกำศสำมำรถถ่ ำยเท
ได้ สะดวก และ ห่ ำงจำกประกำยไฟ เพื่อป้ องกันกำรเกิดเพลิงไหม้ ได้
 ข้ อสำคัญ
- ต้ องเติมนำ้ มันเชือ้ เพลิงที่สะอำดให้ เต็มถังเสมอหลังกำรใช้ งำน เพื่อ
ป้ องกันไม่ ให้ เกิดไอนำ้ ภำยในถังนำ้ มันเชือ้ เพลิง และระมัดระวังหำกเติม
นำ้ มันเชือ้ เพลิงหก ควรเช็ดให้ แห้ งทุกครัง้
- ต้ องใช้ นำ้ มันดีเซลเป็ นนำ้ มันเชือ้ เพลิงเท่ ำนัน้
1. ตรวจดูระดับน ้ามันเชื ้อเพลิงทีเ่ กจวัดระดับน ้ามันเชื ้อเพลิง ทุกครัง้ ก่อนการใช้ งาน
(1) เกจวัดระดับน้ามันเชือ้ เพลิ ง

2. หากมีน ้ามันเชื ้อเพลิงเหลือน้ อย ควรทาการเติมให้ เต็มถังทุกครัง้ ก่อนการใช้ งาน


(1) ช่องเติ มน้ามันเชือ้ เพลิ ง

3. ปิ ดฝาถังน ้ามันกลับคืนให้ แน่น เพื่อป้องกันน ้ามันเชื ้อเพลิงหกออกจากถังขณะใช้


ปฏิบตั ิงาน

17
ตรวจเช็คระดับและกำรเติมนำ้ มันเครื่ อง
ข้ อควรระวัง
อย่ ำดึงก้ ำนวัดนำ้ มันเครื่อง ในขณะที่เครื่องยนต์ ทำงำน
1. วางเครื่ องยนต์บนพื ้นราบให้ อยูใ่ นแนวระดับ
2. ดึงก้ านวัดระดับน ้ามันเครื่ องออกมาทาความสะอาด ใส่กลับเข้ าที่เดิมแล้ วดึง
ออกมาอีกครัง้ ให้ ทาการตรวจเช็คดูวา่ ระดับน ้ามันเครื่ องอยูร่ ะหว่างขีดบนและขีด
ล่างหรื อไม่
(1) ก้านวัดระดับน้ามันเครื ่อง
(A) ระดับขี ดบน
(B) ระดับขี ดล่าง

A 1
B
3. ถ้ าสูงกว่าระดับขีดบนทีก่ าหนด ให้ ทาการถ่ายน ้ามันเครื่ องออก แล้ ววัดดูใหม่ให้ อยู่
ระหว่างขีดบนและขีดล่าง (รายละเอียดการถ่ายและเปลีย่ นน ้ามันเครื่ อง หน้ า 46)
4. ถ้ าตา่ กว่าระดับขีดล่างทีก่ าหนด ให้ ทาการเติมน ้ามันเครื่ องลงไปเพิ่ม แล้ ววัดดูใหม่
ให้ อยูร่ ะหว่างขีดบนและขีดล่าง
(1) ช่องเติ มน้ามันเครื ่อง

 หมำยเหตุ
นำ้ มันเครื่องที่ใช้ เติมควรใช้ นำ้ มันเครื่องตรำช้ ำง SAE 40 API CF

18
ตรวจเช็คชุดหม้ อกรองอำกำศ
หม้ อกรองอำกำศแบบเปี ยก
1. ถอดชุดหม้ อกรองอากาศออกจากเครื่ อง โดยคลายโบลต์ยดึ ฐานหม้ อกรองอากาศ
2. ถอดฝาครอบหม้ อกรองอากาศ และดึงชุดไส้ กรองอากาศออก
(1) กรองอากาศ
(2) อ่างหม้อกรองอากาศ

3. ตรวจดูระดับน ้ามันเครื่ องในอ่างหม้ อกรองอากาศ และไส้ กรองอากาศ ว่าสกปรก


หรื อชารุดหรื อไม่
4. ถ้ าสกปรกให้ ถ่ายน ้ามันเครื่ องออก จากนันให้
้ ล้างชุดไส้ กรองอากาศและอ่างหม้ อ
กรองอากาศด้ วยน ้ามันเชื ้อเพลิงให้ สะอาด
5. เติมน ้ามันเครื่ องลงในอ่างหม้ อกรองอากาศให้ ได้ ตามขีดระดับที่กาหนด
(1) ขี ดระดับทีก่ าหนด

6. ชโลมน ้ามันเครื่ องให้ ทวั่ จากด้ านบนของไส้ กรองอากาศเพื่อให้ ประสิทธิภาพของ


การกรองสมบูรณ์ที่สดุ

19
1 (1) ไส้กรองอากาศ

 หมำยเหตุ
นำ้ มันเครื่องที่ใช้ เติมในอ่ ำงหม้ อกรองอำกำศ ควรเป็ นชนิดเดียวกับที่ใช้
ในเครื่องยนต์

20
ตรวจเช็คและปรั บตัง้ ควำมตึงของสำยพำนพัดลม
กำรตรวจเช็คควำมตึงสำยพำน
1. ใช้ นิ ้วกดลงตรงกลางสายพานเพือ่ ดูความตึงหย่อนของสายพาน ซึง่ ควรมีคา่ ความ
ตึงระหว่าง 10 - 15 มิลลิเมตร
(1) สายพานพัดลม

2. ถ้ าสายพานหย่อนหรื อตึงกว่าทีก่ าหนดไว้ ให้ ปรับความตึงสายพานใหม่

วิธีกำรปรับควำมตึงสำยพำน
1. คลายโบลต์ยดึ ขาลูกรอกสายพานให้ หลวม
2. จากนันปรั
้ บนอตหางปลา เพื่อตังความตึ
้ งสายพานให้ มีความตึงตามค่าที่กาหนด
3. ขันโบลต์ยดึ ขาลูกรอกสายพานให้ แน่น
(1) โบลต์ ยึดขาลูกรอก
(2) นอตหางปลาปรับตัง้
1 ความตึงสายพานพัดลม

ความตึงสายพานพัดลม 10 – 15 มิลลิเมตร

21
กำรติดเครื่องยนต์ และ กำรดับเครื่องยนต์
กำรติดเครื่ องยนต์
1. กำรปรับคันเร่ ง
ให้ ผลักคันเร่งไปด้ านซ้ ายยังตาแหน่งติดเครื่ อง ก่อนทีจ่ ะเริ่ มทาการหมุนเครื่ องยนต์
ด้ วยมือหมุน
(1) คันเร่ง

2. กำรวำงตำแหน่ งมือหมุน
ให้ เอามือหมุนสวมเข้ ากับเพลาสตาร์ ทของเครื่ องยนต์ แล้ วหมุนไปตามทิศทางการ
หมุนของเครื่ อง (ดังแสดงในรูป) โดยไม่ต้องยกคันยกวาล์วจนกระทัง่ รู้สกึ ตึงมือ
ถ้ ามือหมุนตึงมืออยูด่ ้ านบน ให้ ถอดมือหมุนออก แล้ วสวมเข้ ากับเพลาสตาร์ ทใหม่
โดยให้ มือหมุนตึงมืออยูด่ ้ านล่าง
 ข้ อสำคัญ
เพื่อควำมปลอดภัยต่ อผู้ใช้ งำนและบุคคลรอบข้ ำง ควรทำตำมวิธีดังกล่ ำว
ทุกครัง้ เมื่อต้ องกำรติดเครื่องยนต์

22
การวางตาแหน่งมือหมุนทีผ่ ิ ดวิ ธี

การวางตาแหน่งมื อหมุนที ถ่ ูกต้อง

3. กำรติดเครื่องยนต์
ให้ ยกคันยกวาล์วขึ ้น (ดังแสดงในรูป) และใช้ มือหมุนหมุนเครื่ องยนต์ เมื่อ
เครื่ องยนต์หมุนได้ รอบให้ ปล่อยคันยกวาล์วลง แล้ วหมุนมือหมุนต่อไปอีกให้ แรงขึ ้น
เครื่ องยนต์ก็จะติดเองได้ โดยง่าย
(1) คันยกวาล์ว
1

23
ข้ อควรระวัง
- อย่ ำปล่ อยมือหมุนทันทีท่ เี ครื่องยนต์ ตดิ เพรำะมือหมุนจะถูกเหวี่ยงออก
ซึ่งอำจเป็ นอันตรำยได้ ให้ จับมือหมุนไว้ ให้ แน่ น มือหมุนจะหมุนฟรี และ
หลุดออกมำเอง
- กำรปล่ อยคันยกวำล์ วแล้ วหยุดหมุนเครื่องทันที อำจทำให้ เครื่องยนต์ ตี
กลับได้
ลักษณะของเครื่องยนต์ ตกี ลับ
1. ควันไอเสียออกทางท่อไอดี (มีควันออกทางหม้ อกรองอากาศ)
2. เครื่ องยนต์จะหมุนกลับด้ าน
เมื่อพบเครื่องยนต์ ตกี ลับ ควรปฏิบัติดงั นี ้
1. รี บดับเครื่ องยนต์ทนั ที
2. ถอดชุดไส้ กรองอากาศมาตรวจสอบ หากพบว่ามีเขม่าไอเสียให้ ทาการทา
ความสะอาดกรองอากาศ หรื อ หากพบว่าไส้ กรองอากาศมีการชารุดให้
เปลีย่ นไส้ กรองอากาศทันที
4. กำรดูสัญญำณนำ้ มันเครื่อง
1. ก่อนติดเครื่ องยนต์ จุดดูสญ ั ญาณน ้ามันเครื่ องจะเป็ นสีแดง เมื่อติดเครื่ องยนต์และ
เครื่ องยนต์ทางานแล้ ว จุดดูสญ ั ญาณน ้ามันเครื่ องจะเปลีย่ นเป็ นสีนำ้ เงิน
2. หากยังเป็ นสีแดง ให้ ตดิ เครื่ องยนต์เดินเบาทิ ้งไว้ ประมาณ 3 นาที
3. หากยังเป็ นสีแดง ให้ เร่งเครื่ องยนต์รอบสูงสุดแล้ วผ่อนต่าสุด โดยซ ้าๆ กันประมาณ
1 นาที
4. ถ้ าจุดดูสญั ญาณน ้ามันเครื่ องยังไม่เปลีย่ นเป็ นสีนำ้ เงิน แสดงว่าระบบน ้ามันเครื่ อง
ทางานผิดปกติให้ ดบั เครื่ องยนต์ แล้ วติดต่อร้ านค้ าผู้แทนจาหน่าย หรื อ ศูนย์บริ การ
สยามคูโบต้ าใกล้ บ้านท่านเพื่อทาการแก้ ไขต่อไป

24
(1) จุดดูสญ
ั ญาณน้ามันเครื ่อง
1

5. กำรดับเครื่องยนต์
ให้ คอ่ ยๆผลักคันเร่งไปด้ านขวายังตาแหน่งดับเครื่ อง เครื่ องยนต์ก็จะดับลง (ดัง
แสดงในรูป)
(1) คันเร่ง

ข้ อควรระวัง
ห้ ำมใช้ วธิ ีกำรยกวำล์ วในกำรดับเครื่องยนต์ เพรำะจะทำให้ ชิน้ ส่ วนของ
เครื่องยนต์ เกิดควำมเสียหำยหรือสึกหรอได้

 หมำยเหตุ
สำหรับเครื่องยนต์ ร่ ุน อิเล็คทริคสตำร์ ท ให้ ดูรำยละเอียด กำรติด
เครื่องยนต์ และ กำรดับเครื่องยนต์ หน้ ำ 36

25
กำรใช้ ระบบไฟและไฟส่ องสว่ ำง
กำรใช้ ไฟหน้ ำ
ไฟส่องสว่างด้ านหน้ าของเครื่ องยนต์ มีสวิตช์ไฟเป็ นตัวควบคุม การ เปิ ด-ปิ ด
(1) ไฟส่องสว่างด้านหน้า

1 (1) สวิ ตช์ไฟสาหรับรุ่น Standard


(A) ปิ ด
A (B) เปิ ด

1 (1) สวิ ตช์ไฟสาหรับรุ่น Pro


[ติ ดตัง้ ทีร่ ถไถเดิ นตาม]
(A) ปิ ด
(B) เปิ ด

A B

26
กำรใช้ งำนไฟเลีย้ ว (เฉพำะรุ่ น)
ไฟเลี ้ยวด้ านหน้ าของเครื่ องยนต์ มีสวิตช์ไฟเป็ นตัวควบคุม โดยการติดตังที
้ ่รถไถ
เดินตาม

(1) ไฟเลีย้ ว

(1) สวิ ตช์ไฟเลีย้ วสาหรับรุ่น Pro


B (A) เลีย้ วซ้าย
(B) เลีย้ วขวา

A
1

27
กำรใช้ ปลั๊กเสริม
กรณีผ้ ใู ช้ ต้องการต่อสายไฟไปใช้ งานที่จดุ อื่น เช่น ไฟท้ ายรถสาลี่ (รถพ่วง) และ ชุด
ชาร์ ทไฟ USB ให้ ตอ่ สายไฟโดยใช้ ปลัก๊ ตัวผู้มาเสียบกับปลัก๊ เสริ ม
(1) ปลัก๊ เสริ ม

 ข้ อสำคัญ
อุปกรณ์ เสริมที่ใช้ เพิ่ม โดยต่ อออกจำกปลั๊กเสริมจะต้ องเป็ นขนำด 12
โวลต์ และใช้ กำลังไฟรวมกันไม่ เกินกว่ ำ 15 วัตต์ (12V / 15W) เพรำะถ้ ำ
เกินกว่ ำ 15 วัตต์ จะทำให้ แสงสว่ ำงที่ไฟหน้ ำของเครื่องยนต์ ลดลง

28
กำรใช้ งำนชุดชำร์ จไฟ USB
ชุดชาร์ จไฟ USB เป็ นแหล่งกาเนิดไฟ 5V 2A สามารถต่อพ่วงกับอุปกรณ์อื่นๆ เพื่อชาร์ จ
ไฟ เช่น โทรศัพท์มือถือ เป็ นต้ น โดยการติดตังที
้ ่รถไถเดินตาม
(1) ชุดชาร์ จไฟ USB

 ข้ อสำคัญ
- ผู้ใช้ งำนควรตรวจเช็คสภำพชุดชำร์ จไฟให้ พร้ อมใช้ ก่อนกำรใช้ งำนทุกครัง้
เพื่อป้ องควำมเสียหำยที่อำจเกิดขึน้ ได้ กบั เครื่องยนต์ หรืออุปกรณ์ ต่อพ่ วง
อื่นๆ หำกชำรุ ดเสียหำยให้ รีบดำเนินกำรซ่ อมแซมหรือเปลี่ยนใหม่ ทันที
- ระมัดระวังไม่ ให้ นำ้ หรือโคลนเข้ ำในช่ องเสียบชุดชำร์ จไฟ
กำรต่ ออุปกรณ์ กับรถไถเดินตำม (เฉพำะรุ่ น)
กำรต่ อสวิตซ์ ไฟส่ องสว่ ำงและไฟเลีย้ ว
1. ต่อสวิตซ์ไฟส่องสว่างและไฟเลี ้ยวที่เหล็กยึดด้ ามมือจับรถไถเดินตามทางด้ านซ้ าย
และขันนอตให้ แน่น
(1) สวิ ตซ์ ไฟส่องสว่าง
และไฟเลีย้ ว

29
2. เก็บสายไฟให้ เรี ยบร้ อย โดยการเดินสายไฟเข้ าไปด้ านในของด้ ามมือจับรถไถเดิน
ตาม เปิ ดฝาครอบและถาดอุปกรณ์ด้านบนออกเพื่อเดินสายไฟมายังด้ านขวาผ่าน
บนห้ องเกียร์ ไปยังด้ านหลังของเครื่ องยนต์
(1) ด้ามมือจับรถไถเดิ นตาม
2 (2) ฝาครอบและถาดอุปกรณ์
--- แนวการเดิ นสายไฟ
1

3. เชื่อมต่อข้ อต่อสายไฟเข้ าด้ วยกัน


(1) ข้อต่อสายไฟสวิ ตซ์ ไฟส่อง
สว่างและไฟเลีย้ ว

1
4. ยึดสายไฟด้ วยสายรัดที่ให้ มาทัง้ 2 จุด
(1) สายรัด

30
กำรต่ อชุดชำร์ จไฟ USB
1. ต่อชุดชาร์ จไฟ USB ที่เหล็กยึดด้ ามมือจับรถไถเดินตามทางด้ านขวา และขันนอต
ให้ แน่น
(1) ชุดชาร์ จไฟ USB

2. เก็บสายไฟให้ เรี ยบร้ อย โดยการเดินสายไฟเข้ าไปด้ านในของด้ ามมือจับรถไถเดิน


ตาม เปิ ดฝาครอบและถาดอุปกรณ์ด้านบนออกเพื่อเดินสายไฟผ่านบนห้ องเกียร์ ไป
ยังด้ านหลังของเครื่ องยนต์
(1) ด้ามมือจับรถไถเดิ นตาม
2
(2) ฝาครอบและถาดอุปกรณ์
--- แนวการเดิ นสายไฟ
1

3. เชื่อมต่อข้ อต่อสายไฟเข้ าด้ วยกัน


(1) ข้อต่อสายไฟชุดชาร์ จไฟ USB

31
4. ยึดสายไฟด้ วยสายรัดที่ให้ มาทัง้ 2 จุด
(1) สายรัด

32
กำรเก็บรักษำเครื่ องยนต์
กำรเก็บเครื่ องยนต์ ทุกๆ วัน หลังจำกเลิกใช้ งำน
1. เช็ดทาความสะอาด ดิน และ โคลน ออกจากเครื่ องยนต์
2. เติมน ้ามันเชื ้อเพลิงให้ เต็มถัง เพื่อป้องกันการเกิดน ้าและสนิมภายในถังน ้ามัน
เชื ้อเพลิง
3. หมุนเครื่ องให้ อยูใ่ นจังหวะอัดสุด เพื่อป้องกันปั ญหาวาล์ว (ลิ ้น) ติดค้ าง และวาล์ว
เป็ นสนิม โดยวิธีทาเหมือนกับการตรวจเช็คระยะห่างของลิ ้น

กำรเก็บเครื่ องยนต์ เป็ นระยะเวลำนำนๆ


เมื่อสิ ้นสุดฤดูการทางานแล้ ว ถ้ าเครื่ องยนต์ของท่านไม่มีการใช้ งานอีก เป็ น
ระยะเวลานาน เพื่อเป็ นการรักษาสภาพเครื่ องยนต์ให้ สมบูรณ์และพร้ อมใช้ งานอยู่
เสมอให้ ปฏิบตั ิดงั นี ้
1. ถ่ายและเปลีย่ นน ้าระบายความร้ อนขณะเครื่ องเย็น
2. ถ่ายน ้ามันเครื่ องพร้ อมล้ างไส้ กรองน ้ามันเครื่ อง และ เติมน ้ามันเครื่ องใหม่ให้ พอดีที่
ขีดบนของก้ านวัดระดับน ้ามันเครื่ อง
3. ล้ างทาความสะอาดชุดหม้ อกรองอากาศ แล้ วเติมน ้ามันเครื่ องลงในอ่างหม้ อกรอง
อากาศให้ พอดีขีดที่กาหนด
4. ล้ างทาความสะอาดชุดกรองน ้ามันเชื ้อเพลิง
5. เติมน ้ามันเชื ้อเพลิงให้ เต็มถัง
6. หมุนเครื่ องให้ อยูจ่ งั หวะอัดสุด เช่นเดียวกับการเก็บเครื่ องยนต์ทกุ ๆ วัน หลังจาก
เลิกใช้ งานดังกล่าวไปแล้ ว

33
คำแนะนำเมื่อนำเครื่องยนต์ ไปติดกับ
อุปกรณ์ ต่ำงๆ
กำรติดตัง้ เครื่ องยนต์ เข้ ำกับรถไถนำชนิดเดินตำม
เพื่อเป็ นการป้องกันไม่ให้ โคลนเข้ าไปในเครื่ องยนต์ ซึง่ จะส่งผลทาให้ เครื่ องยนต์เกิด
การสึกหรออย่ารวดเร็ ว ควรปฏิบตั ิดงั นี ้
1. ติดตังเครื
้ ่ องยนต์ให้ เลือ่ นไปด้ านหน้ ามากที่สดุ เพื่อให้ ชดุ หม้ อกรองอากาศอยูห่ า่ ง
จากล้ อรถไถ
2. ในกรณีที่ไม่สามารถเลือ่ นเครื่ องยนต์ได้ ให้ จดั ทาอุปกรณ์ปอ้ งกัน เช่น บังโคลน
หรื อที่ครอบชุดหม้ อกรองอากาศ
 หมำยเหตุ
- ควรตรวจเช็คชุดกรองอำกำศทุกครัง้ ก่ อนกำรใช้ งำน
- ตรวจบริเวณตะแกรงพัดลม อย่ ำให้ ดนิ โคลนหรือสิ่งสกปรกเข้ ำไปอุดตัน
เพรำะจะส่ งผลให้ เครื่องระบำยควำมร้ อนได้ ไม่ สะดวก

กำรติดตัง้ เครื่ องยนต์ กับรถอีแต๋ น ( รถไทยแลนด์ )


เมื่อท่านนาเครื่ องยนต์ไปติดกับรถอีแต๋น ควรใช้ ทอ่ ไอเสียทีม่ ีขนาดใหญ่กว่าท่อไอ
เสียที่ติดไปพร้ อมกับเครื่ องยนต์ และต้ องไม่โค้ งงอมากเกินไป เพือ่ ให้ การระบายไอเสีย
ของเครื่ องยนต์สะดวก ช่วยป้องกันปั ญหาเครื่ องยนต์ร้อนจัด ซึง่ เป็ นสาเหตุให้
เครื่ องยนต์สกึ หรอเร็วผิดปกติและอาจทาให้ ฝาสูบแตกได้

34
กำรติดตัง้ เครื่ องยนต์ กับเครื่ องตีนำ้ นำกุ้ง
1. ติดตังเครื
้ ่ องยนต์ให้ อยูใ่ นแนวระดับ เพื่อให้ ระบบหล่อลืน่ เครื่ องยนต์ทางานได้ อย่าง
เต็มประสิทธิภาพ และเพื่อความสะดวกในการเปลีย่ นถ่ายน ้ามันเครื่ อง
2. ติดตังเครื
้ ่ องยนต์ให้ สายพานอยูใ่ นแนวตรงกับชุดเกียร์ หรื อเฟื องทด
3. ปรับความตึงสายพานให้ เหมาะสม ไม่ตงึ หรื อหย่อนเกินไป
4. ควรทดมูเ่ ล่ย์ ให้ เครื่ องยนต์ทางานที่รอบเครื่ องประมาณ 1400 – 1800 รอบต่อนาที
(เมื่อเครื่ องทางานในรอบที่เหมาะสม สังเกตได้ จากควันของเครื่ องยนต์จะแทบมอง
ไม่เห็น) ช่วยให้ อายุการใช้ งานของเครื่ องยนต์ทนทานมากขึ ้น (หากไม่มีการทดเกียร์
ที่ชดุ ใบพัด ควรใช้ มเู่ ล่ย์เครื่ องยนต์ขนาดไม่ต่ากว่า 3.5 นิ ้ว)
5. ไม่ควรเดินเครื่ องในรอบตา่ ขณะใช้ ดงึ ใบพัดจานวนมาก เพราะจะทาให้ เครื่ องยนต์
ทางานหนักแล้ วจะเกิดควันและเขม่ามากกว่าปกติ ซึง่ จะทาให้ ชิ ้นส่วนของ
เครื่ องยนต์บางชิ ้นเสียหายก่อนกาหนด เช่น แหวนลูกสูบ, ลูกสูบ
6. ขณะเดินเครื่ องควรจะมีการเร่งเครื่ องไล่ไอเสียที่อยูใ่ นท่อไอเสียอย่างน้ อยวันละครัง้
เพื่อป้องกันการอุดตันของท่อไอเสียก่อนกาหนด

35
เครื่ องยนต์ ดีเซลคูโบต้ ำ
แบบอิเล็คทริคสตำร์ ท (เฉพำะรุ่ น)
อุปกรณ์ ท่ ีมีไปพร้ อมเครื่ องยนต์
1. ชุดมอเตอร์ สตาร์ ท (Starter Motor) ประกอบด้ วย
- ขัว้ B, ท่อระบายไอ, ขัว้ ST และ ปลัก๊ เสียบข้ อต่อสายไฟ
3 4 (1) ขัว้ B
(2) ท่อระบายไอ (เฉพาะรุ่น)
(3) ขัว้ ST
2
(4) ปลัก๊ เสียบข้อต่อสายไฟ

อุปกรณ์ ท่ ีต้องจัดเตรียมเพิ่มเติม
1. สายไฟรถยนต์ เบอร์ 2 (ขนาด 2 มม.²) จานวน 1 เส้ น
2. สายไฟรถยนต์ เบอร์ 3 (ขนาด 3 มม.²) จานวน 1 เส้ น
3. สายไฟรถยนต์ เบอร์ 25 (ขนาด 25 มม.²) จานวน 2 เส้ น
4. ชุดฟิ วส์ ขนาด 30 แอมป์ จานวน 1 ชุด
5. แบตเตอรี่ (Battery) ขนาด 12 โวลต์ อย่างน้ อย 30 แอมป์ ขึ ้นไป จานวน 1 ลูก
6. ชุดสวิตช์กญุ แจ แบบ 3 ตาแหน่ง หรื อ 4 ตาแหน่ง จานวน 1 ชุด
 หมำยเหตุ
ขนำดแบตเตอรี่ขนึ ้ อยู่กับปริมำณไฟที่ใช้ ของอุปกรณ์ ท่ ตี ่ อพ่ วงกับ
เครื่องยนต์

36
กำรติดตัง้ ระบบอิเล็คทริคสตำร์ ท

1. กำรต่ อสำยไฟจำกแบตเตอรี่ (Battery)


- ที่ “ขัวลบ
้ (-)” ของแบตเตอรี่ ตอ่ สายไฟเมนขนาด 25 มม.² ให้ ไปลงดิน โดยยึดติด
กับโครงโลหะของอุปกรณ์
- ที่ “ขัวบวก
้ (+)” ของแบตเตอรี่ ตอ่ สายไฟเมนขนาด 25 มม.² ไปที่ “ขัว้ B” ของชุด
มอเตอร์ สตาร์ ท
2. กำรต่ อสำยไฟจำก ชุดมอเตอร์ สตำร์ ท (Starter Motor )
- ที่ “ขัว้ B” ของชุดมอเตอร์ สตาร์ ทให้ ตอ่ สายไฟรถยนต์ขนาดเบอร์ 3 ต่อผ่านชุดฟิ วส์
ขนาด 30 แอมป์ ต่อไปที่ “ขัว้ IG” ของชุดสวิตช์กญ ุ แจ
- ที่ “ขัว้ ST” ของชุดมอเตอร์ สตาร์ ทให้ ใช้ ปลัก๊ เสียบและต่อสายไฟรถยนต์ขนาด เบอร์
2 ต่อไปที่ “ขัว้ ST” ของชุดสวิตช์กญุ แจ

37
กำรสตำร์ ทเครื่ องยนต์
1. บิดลูกกุญแจจากตาแหน่ง “ปิ ด” (B) ไปตาแหน่ง “เปิ ด” (IG) เพื่อให้ กระแสไฟจาก
แบตเตอรี่จ่ายไปเลี ้ยงวงจรต่างๆในระบบ
3 (1) ปิ ด (B)
2 (2) เปิ ด (IG)
(3) สตาร์ ท (ST)
1

2. เร่งเครื่ องยนต์เล็กน้ อย พร้ อมทังท


้ าการสตาร์ ทเครื่ องยนต์ โดยการบิดลูกกุญแจ
จากตาแหน่ง “เปิ ด” (IG) ไปยังตาแหน่ง “สตำร์ ท” (ST) โดยไม่ต้องทาการยกวาล์ว
(1) คันเร่ง

1
3. เมื่อเครื่ องยนต์เริ่ มติด ให้ ปล่อยมือที่ลกู กุญแจทันที เพื่อให้ ลกู กุญแจบิดกลับมาสู่
ตาแหน่ง “เปิ ด” (IG) โดยอัตโนมัติ
 ข้ อสำคัญ
- อย่ ำบิดลูกกุญแจในตำแหน่ งสตำร์ ทนำนเกิน 3 วินำที/ครัง้ เพรำะจะทำให้
เกิดกำรเสียหำยภำยในชุดมอเตอร์ สตำร์ ทได้
- ถ้ ำสตำร์ ทครัง้ แรกแล้ วเครื่องยนต์ ไม่ ติด ให้ หยุดพักอย่ ำงน้ อย 30 วินำที
จึงทำกำรสตำร์ ทครัง้ ต่ อไป

38
- หลังจำกทำกำรสตำร์ ท 2 ครัง้ แล้ ว เครื่องยนต์ ยงั สตำร์ ทไม่ ติดให้ ทำกำร
ตรวจเช็คขัว้ ต่ อของสำยไฟและระบบนำ้ มันเชือ้ เพลิง
4. หากมีการต่ออุปกรณ์ชาร์ จไฟเข้ าแบตเตอรี่ ห้ ำมบิดลูกกุญแจมำตำแหน่ ง “ปิ ด”
(B) เพราะจะทาให้ กระแสไฟไม่ชาร์ จเข้ าแบตเตอรี่ และอาจทาให้ กระแสไฟไม่เพียง
พอที่จะสตาร์ ทในครัง้ ต่อไป

กำรดับเครื่ องยนต์
1. บิดกุญแจสตาร์ ทกลับมาที่ตาแหน่ง “ปิ ด” (B) เพื่อไม่ให้ กระแสไฟจากแบตเตอรี่ ถกู
จ่ายไปใช้ งาน
3 (1) ปิ ด (B)
2 (2) เปิ ด (IG)
(3) สตาร์ ท (ST)
1

2. ผลักคันเร่งไปในตาแหน่ง “ดับเครื่อง”
(1) คันเร่ง

39
กำรบำรุ งรักษำระบบอิเล็คทริคสตำร์ ท
1. หลีกเลีย่ งการใช้ งานในสภาพที่มอเตอร์ สตาร์ ทต้ องสัมผัสกับน ้า หากหลีกเลีย่ งไม่ได้
ต้ องเช็ดทาความสะอาดให้ แห้ งหลังการใช้ งานทุกครัง้
2. ถ้ าเกิดอุบตั เิ หตุ (มอเตอร์ สตาร์ ทจมน ้า) ให้ รีบนาขึ ้นจากน ้าโดยเร็ว อย่าให้ น ้าเข้ า
ท่อระบายไอโดยเด็ดขาด จากนันน ้ าเข้ าศูนย์บริ การเพื่อตรวจเช็ค
3. อย่าใช้ น ้าฉีดล้ างบริ เวณตัวมอเตอร์ สตาร์ ท โดยเฉพาะที่แกนเพลาของเฟื องขับ
หากถูกละอองน ้าหรื อน ้าฝน ให้ รีบเช็ดทาความสะอาด
4. ทาความสะอาดดินหรื อโคลนที่ตดิ ตามขัวสายไฟ ้ หลังการใช้ งานทุกครัง้
5. หากมีการหยุดใช้ งานเป็ นระยะเวลานาน ให้ ทาการสตาร์ ทเครื่ องยนต์อย่างน้ อย
สัปดาห์ละหนึง่ ครัง้ เพื่อรักษาอายุการใช้ งานของแบตเตอรี่
6. ตรวจเช็คการทางานของมอเตอร์ สตาร์ ทอย่างน้ อย 1 ครัง้ /ปี (โดยช่างผู้ชานาญการ)

40
กำรบำรุ งรักษำ
ตำรำงชั่วโมงกำรบำรุ งรั กษำ
ระยะเวลำกำรบำรุ งรั กษำ

ทุกสัปดำห์ ทุก 100 ทุก 300 ทุก 400


รำยกำรกำรบำรุ งรั กษำ ทุกๆครั ง้ 50
ชั่วโมง ชั่วโมง ชั่วโมง หน้ ำ
ก่ อนกำรใช้ (หากใช้ งานในพื ้นที่ ชั่วโมง
หรื อ หรื อ หรื อ
งำน ที่มีฝนุ่ ละอองมาก) แรก
1เดือน 3เดือน 4เดือน
1. น ้าระบายความ ตรวจเช็ค  16
ร้ อนหม้ อน ้า เปลี่ยน  43
2. กรองน ้ามัน ตรวจเช็ค  17
เชื ้อเพลิงและ ล้ างทาความสะอาด  44
น ้ามันเชื ้อเพลิง
เปลี่ยน  45
ตรวจเช็ค  18
3. น ้ามันเครื่ อง
เปลี่ยน   46
4. ชุดหม้ อกรอง ตรวจเช็ค  19
อากาศแบบเปี ยก ล้ างทาความสะอาด   47
ตรวจเช็ค  21
5. สายพานพัดลม
ปรับตั ้ง  49
6. ถังน ้ามันเชื ้อเพลิง ล้ างทาความสะอาด  49
7. วาล์วไอดีและ
ตรวจเช็ค/ปรับตั ้ง  50
วาล์วไอเสีย
ตรวจเช็ค  52
8. ตะแกรงหม้ อน ้า
ล้ างทาความสะอาด   52

 ข้ อสำคัญ
หลังทำกำรบำรุ งรักษำเครื่องยนต์ ตรวจสอบให้ แน่ ใจว่ ำได้ ใส่ ฝำครอบ
และ ชิน้ ส่ วนต่ ำงๆ ที่ถกู ถอดออก เข้ ำที่เดิมทัง้ หมดแล้ วก่ อนนำ
เครื่องยนต์ ไปใช้ งำน

41
ตำรำงสำรหล่ อลื่น
ลำดับ ตำแหน่ ง ควำมจุ สำรหล่ อลื่น
ZT100, ZT100DI,
ZT110, ZT110DI น ้ามันเครื่ องตราช้ าง
1 น ้ามันเครื่ อง 2.8 ลิตร
ZT120, ZT125DI SAE 40 API CF
ZT140DI, ZT155DI
ZT100, ZT110 2.2 ลิตร
น ้าระบาย ZT100DI, ZT110DI น ้าสะอาด หรื อ
2
ความร้ อนหม้ อน ้า ZT120, ZT125DI 2.1 ลิตร น ้าหล่อเย็นตราช้ าง
ZT140DI, ZT155DI
ZT100, ZT100DI,
ZT110, ZT110DI น ้ามันดีเซลหมุนเร็ว
3 น ้ามันเชื ้อเพลิง 10.3 ลิตร
ZT120, ZT125DI (SAE No.2 - D)
ZT140DI, ZT155DI

 ข้ อสำคัญ
หลังทำกำรบำรุ งรักษำเครื่องยนต์ ตรวจสอบให้ แน่ ใจว่ ำได้ ใส่ ฝำครอบ
และ ชิน้ ส่ วนต่ ำงๆ ที่ถกู ถอดออก เข้ ำที่เดิมทัง้ หมดแล้ วก่ อนนำ
เครื่องยนต์ ไปใช้ งำน

42
กำรบำรุ งรักษำตำมชั่วโมงกำรใช้ งำน
1. นำ้ ระบำยควำมร้ อนหม้ อนำ้
กำรตรวจเช็คนำ้ ระบำยควำมร้ อน
การตรวจเช็คน ้าระบายความร้ อน อ้ างอิงในหัวข้ อ “การตรวจเช็คก่อนใช้ งาน
หน้ า 16”
กำรถ่ ำยและเปลี่ยนนำ้ ระบำยควำมร้ อน
การถ่ายและเปลีย่ นน ้าระบายความร้ อน เมื่อเครื่ องยนต์ทางานทุกๆ 300 ชัว่ โมง
ข้ อควรระวัง
กำรเปิ ดฝำหม้ อนำ้ เพื่อทำกำรตรวจเช็คระดับนำ้ ทุกครัง้ ควรรอให้
เครื่องยนต์ เย็นลงก่ อน เพื่อป้ องกันกำรได้ รับบำดเจ็บจำกนำ้ ที่มีอุณหภูมิ
สูงในหม้ อนำ้
 ข้ อสำคัญ
ใช้ นำ้ สะอำดเติมเท่ ำนัน้ ห้ ำมใช้ นำ้ สกปรกเติมลงในหม้ อนำ้ เพรำะจะทำ
ให้ หม้ อนำ้ อุดตัน เป็ นเหตุทำให้ เครื่องยนต์ ร้อนจัดได้
1. เปิ ดฝาหม้ อน ้าก่อนถ่ายน ้าทุกครัง้
2. ถอดปลัก๊ ถ่ายน ้าให้ ไหลออกจนหมด แล้ วใส่ปลัก๊ กลับคืนให้ แน่น
(1) ปลัก๊ ถ่ายน้า

3. เติมน ้าสะอาด เช่น น ้าประปา ลงไปในหม้ อน ้าให้ เต็ม


4. ให้ เติมผงกันสนิมลงไป 1 ซอง แล้ วทาการปิ ดฝาหม้ อน ้ากลับคืนให้ แน่น

43
2. ชุดกรองนำ้ มันเชือ้ เพลิง
กำรตรวจเช็คกรองนำ้ มันเชือ้ เพลิง
การตรวจเช็คกรองน ้ามันเชื ้อเพลิง อ้ างอิงในหัวข้ อ “การตรวจเช็คก่อนใช้ งาน
หน้ า 17”
กำรทำควำมสะอำดชุดกรองนำ้ มันเชือ้ เพลิง
การทาความสะอาดชุดกรองน ้ามันเชื ้อเพลิง เมื่อเครื่ องยนต์ทางานทุกๆ 100 ชัว่ โมง
หรื อพบว่ามีสงิ่ สกปรกอยูใ่ นถ้ วยกรองน ้ามันเชื ้อเพลิง
1. หมุนถอดถ้ วยกรองน ้ามันเชื ้อเพลิงออก ใช้ คีมดึงกรองน ้ามันเชื ้อเพลิงออกจากถ้ วย
กรองน ้ามันเชื ้อเพลิงอย่างระมัดระวัง
(1) ไส้กรองน้ามันเชือ้ เพลิ ง
1 (2) ถ้วยกรองน้ามันเชือ้ เพลิ ง

(1) ไส้กรองน้ามันเชือ้ เพลิ ง


1
(2) ถ้วยกรองน้ามันเชือ้ เพลิ ง

2. ทาความสะอาดถ้ วยกรองน ้ามันเชื ้อเพลิง และ ล้ างทาความสะอาดไส้ กรองน ้ามัน


เชื ้อเพลิง โดยใช้ นิ ้วมืออุดรูไส้ กรองด้ านบนไว้ และ ใช้ ขอบของโลหะด้ านล่างของ
ไส้ กรองเคาะเบาๆ เพื่อให้ สงิ่ สกปรกหลุดออกมา

44
(1) ไส้กรองน้ามันเชือ้ เพลิ ง

3. จากนันให้
้ ใช้ ผ้าสะอาดเช็ดบริ เวณรูไส้ กรองด้ านบนให้ แห้ ง หากพบว่าไส้ กรองอุด
ตัน ให้ ทาการเปลีย่ นใหม่
4. ใส่ไส้ กรองน ้ามันเชื ้อเพลิงและถ้ วยกรองน ้ามันเชื ้อเพลิงกลับที่เดิม

กำรเปลี่ยนชุดกรองนำ้ มันเชือ้ เพลิง


การเปลีย่ นชุดกรองน ้ามันเชื ้อเพลิง เมื่อเครื่ องยนต์ทางานทุกๆ 400 ชัว่ โมง หรื อ
พบว่าไส้ กรองเกิดการอุดตัน ให้ ทาการเปลีย่ นใหม่ในทันทีเพราะไส้ กรองน ้ามันเชื ้อเพลิง
ที่ชารุดจะส่งผลให้ หวั ฉีดและลูกปั๊ มชารุดเสียหายเร็ว
1. หมุนถอดถ้ วยกรองน ้ามันเชื ้อเพลิงออก ใช้ คีมดึงกรองน ้ามันเชื ้อเพลิงออกจากถ้ วย
กรองน ้ามันเชื ้อเพลิงอย่างระมัดระวัง
2. ทาความสะอาดถ้ วยกรองน ้ามันเชื ้อเพลิง
3. เปลีย่ นไส้ กรองใหม่ ใส่ไส้ กรองน ้ามันเชื ้อเพลิงและถ้ วยกรองน ้ามันเชื ้อเพลิงกลับที่
เดิม

45
3. กำรตรวจเช็คและเปลี่ยนถ่ ำยนำ้ มันเครื่อง
กำรตรวจเช็คกรองนำ้ มันเครื่อง
การตรวจเช็คระดับน ้ามันเครื่ อง อ้ างอิงในหัวข้ อ “การตรวจเช็คก่อนใช้ งาน
หน้ า 18”
กำรเปลี่ยนถ่ ำยนำ้ มันเครื่อง
กรณีเครื่ องทีซ่ ื ้อใหม่ซอ่ มยกเครื่ องใหม่ ให้ เปลี่ยนน ้ามันเครื่ องเมื่อใช้ งานครบ 50
ชัว่ โมงแรก และครัง้ ต่อไปให้ เปลีย่ นทุกๆ 100 ชัว่ โมงการทางาน
 ข้ อสำคัญ
ให้ ถ่ำยนำ้ มันเครื่องในขณะที่เครื่องยนต์ ยงั ร้ อนอยู่ เพรำะจะทำให้ สำมำรถ
ถ่ ำยนำ้ มันเครื่องออกได้ รวดเร็วขึน้
1. ถอดปลัก๊ เติมน ้ามันเครื่ องออก
2. ถอกปลัก๊ ถ่ายน ้ามันเครื่ องออก ให้ น ้ามันเครื่ องไหลออกจากอ่างน ้ามันเครื่ องจน
หมด
(1) ปลัก๊ ถ่ายน้ามันเครื ่อง
(2)ไส้กรองน้ามันเครื ่อง

2 1
3. ล้ างไส้ กรองน ้ามันเครื่ องด้ วยน ้ามันเชื ้อเพลิงที่สะอาด โดยใช้ แปรงปั ดเศษโลหะจาก
ไส้ กรองออกให้ หมด
4. ใส่ไส้ กรองน ้ามันเครื่ องกลับเข้ าที่เดิม แล้ วขันปลัก๊ ถ่ายน ้ามันเครื่ องกลับคืนให้ แน่น
จากนันจึ้ งเติมน ้ามันเครื่ องตราช้ าง เอสเออี 40 เอพีไอ ซีเอฟ ลงในอ่างน ้ามันเครื่ อง
จนได้ ระดับขีดบนของก้ านวัด (การตรวจเช็คระดับและการเติมน ้ามันเครื่ อง อ้ างอิง
ในหัวข้ อ “การตรวจเช็คก่อนใช้ งาน หน้ า 18”)

46
4. ชุดหม้ อกรองอำกำศแบบเปี ยก
กำรตรวจเช็คหม้ อกรองอำกำศ
การตรวจเช็คหม้ อกรองอากาศ อ้ างอิงในหัวข้ อ “การตรวจเช็คก่อนใช้ งาน หน้ า 19”
กำรทำควำมสะอำดกรองอำกำศ
การทาความสะอาดกรองอากาศ เมื่อเครื่ องยนต์ทางานทุกๆ 100 ชัว่ โมง หรื อ ทุกๆ
สัปดาห์หากใช้ งานในพื ้นที่ที่มีฝนุ่ ละอองมาก
1. ถอดชุดหม้ อกรองอากาศออกจากเครื่ องยนต์ โดยคลายโบลต์ยดึ กรองอากาศ
(1) โบลต์ยึดกรองอากาศ

2. คลายนอตหางปลาและทาการถอดฝาครอบหม้ อกรองอากาศออก แล้ วดึงไส้ กรอง


อากาศและอ่างหม้ อกรองอากาศออก

4 (1) นอตหางปลา
(2) ฝาครอบหม้อกรองอากาศ
(3) ปะเก็นยาง
5 1 (4) ไส้กรองอากาศ
(5) อ่างหม้อกรองอากาศ
3 2

3. ทาความสะอาดชุดไส้ กรองอากาศ ด้ วยน ้ามันเชื ้อเพลิง แล้ วเคาะไส้ กรองเบาๆ ให้


สิง่ สกปรกหลุดออกมา แล้ วทาการเป่ าด้ วยลม กรณีทเี่ คาะแล้ วพบว่ามีเศษโลหะ
หลุดออกมา หรื อไส้ กรองอากาศชารุดควรเปลีย่ นใหม่

47
(1) ไส้กรองอากาศ
1

4. ล้ างทาความสะอาดอ่างหม้ อกรองอากาศและแหวนยางที่อา่ งหม้ อกรองอากาศ


ด้ วยน ้ามันเชื ้อเพลิงแล้ วเช็ดให้ แห้ ง
(1) แหวนยาง

5. ประกอบอ่างหม้ อกรองอากาศกลับเข้ าที่เดิม จากนันเติ้ มน ้ามันเครื่ องตราช้ างลงใน


อ่างหม้ อกรองอากาศให้ พอดีกบั ขีดที่กาหนด แล้ วทาการประกอบชิ ้นส่วนทังหมด ้
กลับคืนที่เดิม (การเติมน ้ามันเครื่องลงหม้ อกรองอากาศ ให้ อ้างอิงในหัวข้ อ “การ
ตรวจเช็คก่อนใช้ งาน หน้ า 19”)
ข้ อควรระวัง
ขณะประกอบชุดหม้ อกรองอำกำศเข้ ำกับท่ อไอดี ให้ ระวังแหวนยำงที่ท่อ
ไอดีฉีกขำดหรือบิดตัว เพรำะจะทำให้ ฝุ่นทรำยเข้ ำเครื่องยนต์ ได้ ควร
คลำยโบลต์ ยดึ กรองอำกำศให้ หลวมก่ อนประกอบ

48
5. สำยพำนพัดลม
กำรตรวจเช็คและเปลี่ยนสำยพำนพัดลม
การตรวจเช็คสายพานพัดลม อ้ างอิงในหัวข้ อ “การตรวจเช็คก่อนใช้ งาน หน้ า 21”
กำรปรับตัง้ สำยพำนพัดลม
การปรับตังสายพานพั
้ ดลม อ้ างอิงในหัวข้ อ “การตรวจเช็คก่อนใช้ งาน หน้ า 21”
6 . ถังนำ้ มันเชือ้ เพลิง
กำรตรวจเช็คระดับและกำรเติมนำ้ มันเชือ้ เพลิง
การตรวจเช็คระดับและการเติมน ้ามันเชื ้อเพลิง อ้ างอิงในหัวข้ อ “การตรวจเช็คก่อน
ใช้ งาน หน้ า 17”
กำรล้ ำงทำควำมสะอำดถังนำ้ มันเชือ้ เพลิง
1. ถอดสายน ้ามันเชื ้อเพลิงออก เพือ่ ถ่ายน ้ามันเชื ้อเพลิงออกจากถังให้ หมด
1 (1) ท่อน้ามันเชือ้ เพลิ ง

2. ถอดฝาครอบบน ตะแกรงหม้ อน ้า ฝาครอบถังน ้ามันเชื ้อเพลิง ไฟหน้ า ถอดและทา


ความสะอาดถังน ้ามันเชื ้อเพลิงให้ สะอาดด้ วยน ้ามันเชื ้อเพลิง และใส่กลับคืน
2 1 5 (1) ฝาครอบบน
(2) ตะแกรงหม้อน้า
(3) ฝาครอบถังน้ามันเชือ้ เพลิ ง
3 4 (4) ไฟหน้า
(5) ถังน้ามันเชือ้ เพลิ ง

49
7. กำรตรวจเช็คและกำรปรับตัง้ ระยะห่ ำงของลิน้ (วำล์ ว)
กำรตรวจเช็คระยะห่ ำงของลิน้ (วำล์ ว)
การตรวจเช็คระยะห่างของลิ ้น (วาล์ว) เมื่อเครื่ องยนต์ทางานทุกๆ 100 ชัว่ โมง
เพื่อให้ ลิ ้นไอดีและลิ ้นไอเสีย ปิ ด-เปิ ด ได้ ถกู ต้ องกับจังหวะการทางานของเครื่ องยนต์
โดยมีวิธีดงั นี ้คือ
1. หมุนเครื่ องด้ วยมือหมุนโดยไม่ต้องยกคันยกวาล์วจนรู้สกึ ตึงมือ
2. ยกคันยกวาล์วแล้ วหมุนเครื่ องต่อไปอีกให้ มาร์ ค T ที่ขอบล้ อช่วยแรงตรงกับมาร์ ค
ตะแกรงพัดลมของเครื่ องยนต์ (ดังรูป)
(1) มาร์ ค T
2 (2) มาร์ คตะแกรงพัดลม

3. เปิ ดฝาครอบลิ ้นออกแล้ วใช้ ฟิลเลอร์ เกจขนาด 0.20 มม. สอดเข้ าไปที่ช่องว่าง
ระหว่างกระเดื่องกดวาล์ว (ดังรูป) ตรวจเช็คทังลิ
้ ้นไอดีและลิ ้นไอเสียว่าพอดีหรื อไม่
หากหลวมหรื อแน่นเกินไป ให้ ทาการปรับตังใหม่้
(1) ฟิ ลเลอร์ เกจ

50
กำรปรับตัง้ ระยะห่ ำงของลิน้ วำล์ ว
1. ให้ ใช้ ประแจแหวนเบอร์ 12 คลายนอตล็อกให้ หลวม
A (1) กระเดือ่ งกดวาล์ว
(2) วาล์ว
(3) นอตล็อก
1 2 (A) ระยะห่างลิ้ น

2. จากนันใช้
้ ไขควงปากแบนปรับสกรูตงลิ ั ้ ้นพร้ อมกับใช้ ฟิลเลอร์ เกจวัดที่ช่องระหว่าง
กระเดื่องกดวาล์วกับวาล์วให้ มีระยะห่างพอดี
(1) ฟิ ลเลอร์ เกจ

3. ขันนอตล็อกให้ แน่น ระวังอย่าให้ ไขควงปากแบนและสกรูตงลิ ั ้ ้นหมุนตาม ขณะขัน


นอตล็อก
4. ใช้ ฟิลเลอร์ เกจตรวจเช็คระยะอีกครัง้ ตามค่าที่กาหนด แล้ วปิ ดฝาครอบกลับคืน
ระยะห่างลิ ้นไอดี
0.195-0.235 มิลลิเมตร
ระยะห่างลิ ้นไอเสีย

 ข้ อสำคัญ
กำรปรับตัง้ ระยะห่ ำงของลิน้ วำล์ ว ต้ องทำในขณะที่เครื่องยนต์ เย็นแล้ ว
เท่ ำนัน้

51
ตะแกรงหม้ อนำ้
กำรทำควำมสะอำด
การทาความสะอาดตะแกรงหม้ อน ้า เมื่อเครื่ องยนต์ทางานทุกๆ 100 ชัว่ โมง หรื อทุกๆ
สัปดาห์หากใช้ งานในพื ้นที่ที่มีฝนุ่ ละอองมาก
 ข้ อสำคัญ
หำกใช้ งำนในพืน้ ที่ท่ มี ีฝนละอองมำก
ุ่ ให้ ทำควำมสะอำดบ่ อยกว่ ำปกติ
หำกตะแกรงหม้ อนำ้ ชำรุ ดเสียหำยให้ ทำกำรเปลี่ยนใหม่
1. ถอดตะแกรงหม้ อน ้าด้ านข้ างออกด้ วยการคลายโบลต์ 2 ตัวออก จากนันท ้ าความ
สะอาดด้ วยน ้าเปล่าให้ สะอาด หรื อเป่ าด้ วยลม
1 2 (1) โบลต์
(2) ตะแกรงหม้อน้า

52
ข้ อขัดข้ องและวิธีกำรแก้ ไข
ปั ญหำ สำเหตุและกำรแก้ ไขเบือ้ งต้ น
1.เครื่ องยนต์ - ไม่มีน ้ามันเชื ้อเพลิง (น ้ามันดีเซล) ในถังน ้ามัน ถ้ าไม่มใี ห้ เติมน ้ามัน
สตาร์ ทไม่ติด เชื ้อเพลิงให้ เต็ม
- ท่อน ้ามันเชื ้อเพลิงรั่วหรื อแตก ถ้ ารั่วหรื อแตกให้ เปลีย่ นใหม่
- ไส้ กรองน ้ามันเชื ้อเพลิงอุดตัน ตรวจเช็คด้ วยความระมัดระวังโดยใช้
ปากเป่ าที่ตวั ไส้ กรอง ถ้ าไม่มีฟองอากาศออกมาให้ เปลีย่ นใหม่
2.เครื่ องยนต์สนั่ - ขันนอตยึดเครื่ องยนต์ไม่แน่น แก้ ไขโดยขันนอตให้ แน่น
ผิดปกติ
3.กาลังเครื่ องยนต์ - เครื่ องยนต์ร้อนจัด ให้ ตรวจดูวา่ มีน ้าในหม้ อน ้าถึงระดับที่กาหนด
ตก หรื อไม่ ถ้ าไม่ ให้ เติมให้ เต็ม ควรตรวจดูระดับน ้าขณะที่เครื่ องเย็น
เท่านัน้
- ไส้ กรองอากาศอุดตัน ตรวจดูชดุ ไส้ กรองอากาศว่าสกปรกหรื อไม่
ถ้ าสกปรกให้ ล้างทาความสะอาดด้ วยน ้ามัน
- เติมน ้ามันเครื่ องในห้ องเครื่ องมากเกินไป ให้ ตรวจสอบเช็คระดับ
น ้ามันเครื่ องว่าอยูใ่ นขีดทีก่ าหนดหรื อไม่ ถ้ าเกินขีดกาหนดให้ ถ่าย
น ้ามันเครื่ องออกให้ พอดีระหว่างขีดบนกับขีดล่างของก้ านวัด
น ้ามันเครื่ อง
- เขม่าที่ทอ่ ไอเสียมากเกิน ให้ ถอดท่อไอเสียออกดูวา่ มีเขม่าที่ทอ่
ไอเสีย และฝาสูบหรื อไม่ ถ้ ามีให้ ทาความสะอาดเขม่าออกให้ หมด

53
ปั ญหำ สำเหตุและกำรแก้ ไขเบือ้ งต้ น
4.ควันไอเสียมีสี - เติมน ้ามันเครื่ องที่กรองอากาศมากเกินไป อาจทาให้ หกลงไปใน
ขาว/น ้ามันเครื่ อง ห้ องเผาไหม้ ได้ ให้ เทออกให้ พอดีกบั ขีดที่กาหนด
ออกท่อไอเสีย - เติมน ้ามันเครื่ องมากเกินไป ให้ ตรวจเช็คระดับน ้ามันเครื่ องว่าเกิน
ขีดที่กาหนดหรื อไม่ ถ้ าเกินให้ ถ่ายออกให้ พอดีกบั ขีดบนของก้ านวัด
5.ควันไอเสียมีสดี า - ไส้ กรองอากาศอุดตัน อากาศเข้ าห้ องเผาไหม้ ไม่เพียงพอ ให้ ตรวจดู
ไส้ กรองอากาศอุดตันหรื อไม่ ถ้ าอุดตันหรื อสกปรกให้ ทาความ
สะอาดด้ วยน ้ามันเชื ้อเพลิง
6.เครื่ องยนต์ - ปิ ดฝาหม้ อน ้าไม่สนิท ให้ ตรวจดู และปิ ดฝาหม้ อน ้าให้ สนิท
ร้ อนจัด - ฝาหม้ อน ้าชารุด ให้ ตรวจดูวา่ ปะเก็นฝาหม้ อน ้า,สปริ งหม้ อ
น ้า,ความแข็งของสปริ ง ชารุดหรือไม่ ถ้ าชารุดให้ เปลีย่ นฝาหม้ อน ้า
ใหม่
- สายพานพัดลมหย่อน ให้ ปรับตังสายพานพั
้ ดลมใหม่ โดยความตึง
ควรมีคา่ อยูร่ ะหว่าง 10-15 มม.
- ตะแกรงหรื อครี บหม้ อน ้าอุดตัน อากาศเข้ าไประบายความร้ อนไม่
สะดวก ให้ ล้างทาความสะอาด
- หลอดน ้าในหม้ อน ้ารังผึ ้งอุดตัน(ตะกรัน) ทาให้ น ้าหมุนเวียนไม่
สะดวก ให้ ล้างทาความสะอาดหลอดน ้า
- น ้ามันเครื่ องเสือ่ มสภาพ การหล่อลืน่ ไม่ดี ให้ เปลีย่ นน ้ามันเครื่ อง
ใหม่ตามที่บริ ษัทฯ กาหนด
- ระดับน ้ามันเครื่ องต่ากว่าที่กาหนด ให้ เติมน ้ามันเครื่ องพอดี
ระหว่างขีดบนกับขีดล่างของก้ านวัดระดับน ้ามันเครื่ อง
- ลิ ้นห่าง ให้ ทาการปรับตังระยะห่
้ างของลิ ้นไอดี,ไอเสียใหม่ ตามที่
บริ ษัทฯ กาหนดคือ 0.195-0.235 มม.

54
ปั ญหำ สำเหตุและกำรแก้ ไขเบือ้ งต้ น
7.เกจวัดแรงดัน - ระดับน ้ามันเครื่ องน้ อยเกินไป ให้ ตรวจเช็คระดับ
น ้ามันเครื่ องไม่ น ้ามันเครื่ องว่าอยูใ่ นขีดทีก่ าหนดหรื อไม่ ถ้ าไม่ให้ เติมให้
เปลีย่ นเป็ นสีน ้าเงิน ได้ ระดับระหว่างขีดบนกับขีดล่างของก้ านวัดระดับ
น ้ามันเครื่ อง
- มีอากาศอยูใ่ นระบบหล่อลืน่ ให้ เร่งเครื่ องยนต์ทิ ้งไว้
ประมาณ 1-2 นาที แล้ วดูวา่ เกจวัดแรงดันระดับ
น ้ามันเครื่ องเปลีย่ นเป็ นสีน ้าเงินหรื อไม่
8.ไฟส่องสว่างไม่ติด - สายไฟขาด ให้ ตอ่ สายและใช้ เทปพันสายไฟให้ เรี ยบร้ อย
- ขัวต่
้ อสายไฟหลวม หรื อสกปรก ให้ ซอ่ มและทาความ
สะอาดให้ เรี ยบร้ อย
- สายกราวด์ขาด หรื อไม่แน่น หรื อสกปรก ขันให้ แน่น และ
ทาความสะอาดสายกราวด์ให้ สะอาด
- ขดลวดที่ชดุ พัดลมขาด ให้ ซอ่ มหรื อเปลีย่ นชุดขดลวดใหม่
9. ชุดสายชาร์ จ USB - สายไฟขาดหรื อข้ อต่อสายไฟหลุด ให้ ทาการแก้ ไข
ไม่สามารถใช้ งานได้ - หัวต่อ USB ชารุดเสียหาย ให้ ทาการเปลีย่ นใหม่

 หมำยเหตุ
หำกท่ ำนทำตำมวิธีกำรแก้ ไขปั ญหำเบือ้ งต้ นแล้ ว ไม่ สำมำรถแก้ ไขปั ญหำ
ได้ ให้ โทรแจ้ งติดต่ อร้ ำนค้ ำผู้แทนจำหน่ ำย หรือ ศูนย์ บริกำรเทคนิคสยำม
คูโบต้ ำ เพื่อดำเนินกำรแก้ ไข

55
คำแนะนำเพื่อรักษำสิ่งแวดล้ อม
สิง่ แวดล้ อมรอบๆ ตัวเรา มีความสาคัญต่อการดารงชีวิต สัตว์ ต้ นไม้ และสิง่ มีชีวติ
ทุกๆ ชนิดที่อาศัยอยูบ่ นโลก หากสิง่ แวดล้ อมขาดความสมดุลเมื่อใด สิง่ แวดล้ อมนันก็ ้
จะส่งผลกระทบต่อทุกๆ สิง่
ลำดับ สิ่งที่มีผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อม คำแนะนำ
1 ขาไม้ รองเครื่ องยนต์ / กระดาษ ใช้ เป็ นเชื ้อเพลิง หรื อนาไปใช้ งานอื่นๆ
กล่องเครื่ องยนต์ / แผ่นกระดาษอัด หรื อทิ ้งในที่ทใี่ นเทศบาลสามารถนาไป
กาจัดได้

2 ล้ อยางรถเก่า / แบตเตอรี่ เก่า / โฟม / ทิ ้งในที่ที่เทศบาลสามารถนาไปกาจัดได้


ถุงพลาสติก / สติกเกอร์ / อุปกรณ์ หมายเหตุ
ไฟฟ้า / เศษผ้ าและขี ้เลือ่ ยเปื อ้ น / : โฟม ห้ ามเผาทิ ้งโดยเด็ดขาด
น ้ามัน ที่ไม่ต้องการใช้ แล้ ว : แบตเตอรี่ เก่าขายคืนได้

3 ชิ ้นส่วนอะไหล่เก่าจากการเปลีย่ น แยกขยะใส่ภาชนะให้ ชดั เจน ขายหรื อ


หรื อ ซ่อม ทุกชนิด ทิ ้งในที่ที่เทศบาลสามารถนาไปกาจัดได้

56
ลำดับ สิ่งที่มีผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อม คำแนะนำ
4 แกลลอนน ้ามันเก่า / รวบรวม แล้ วนาไปทิ ้งที่ปั๊มน ้ามันที่มีการ
น ้ามันเก่าทุกชนิด จัดที่รวบรวมน ้ามันเก่าไว้ รอกาจัด

5 ควันไอเสียและเสียงดัง จากการใช้ ใช้ งานในที่ทมี่ ีอากาศถ่ายเทได้ ดี พร้ อม


เครื่ องยนต์และอุปกรณ์ ทังปฏิ
้ บตั ิตามคูม่ ือการใช้ และบารุงรักษา
เครื่ องยนต์และอุปกรณ์อย่างเคร่งครัด
หมายเหตุ
: ในกรณีเสียงดังหรื อเกิดเสียงสะท้ อน
หากจาเป็ นให้ ใช้ วสั ดุปอ้ งกันปิ ดหูไว้

6 การใช้ น ้ามันเชื ้อเพลิง เช่น น ้ามัน การใช้ งานให้ ปฏิบตั ิตามคูม่ ือการใช้ และ
ดีเซล บารุงรักษาเครื่ องยนต์และอุปกรณ์อย่าง
เคร่งครัด ไม่ควรติดเครื่ องยนต์โดยไม่
จาเป็ น

57
บันทึก
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................

58
บันทึก
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................

59
บันทึก
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................

60

You might also like