You are on page 1of 122

DREAM110i

คู่มือผู้ใช้ : โปรดศึกษาคู่มือนี้ให้เข้าใจ ก่อนการใช้-การขับขี่


คู่มือการใช้รถจักรยานยนต์ฮอนด้า ND110K = สตาร์ทเท้า
ND110M = สตาร์ทมือ
รุ่น ND110K/M

ข้อมูลทั้งหมดในคู่มือเล่มนี้มีเค้าโครงมาจากข้อมูลการผลิตครั้งล่าสุด ทางบริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์


ในการเปลี่ยนแปลงข้อมูลใดๆ โดยไม่ต้องแจ้งล่วงหน้า ห้ามกระท�ำการคัดลอกหรือจัดพิมพ์ข้อมูล
ส่วนใดของข้อมูลนี้นอกจากจะได้รับอนุญาตจากทางบริษัทฯ ก่อน
ข้อมูลสำ�คัญที่ควรทราบ
ผู้ขับขี่และผู้โดยสาร
รถจักรยานยนต์รุ่นนี้ออกแบบมาเพื่อบรรทุกผู้ขับขี่และผู้โดยสารอย่างละ 1 คนเท่านั้น
การใช้รถ
รถจักรยานยนต์รุ่นนี้ได้ถูกออกแบบมาเพื่อการขับขี่บนถนนทางเรียบเท่านั้น
กรุณาอ่านคู่มือเล่มนี้โดยละเอียด
กรุณาให้ความสนใจเป็นพิเศษกับข้อความเกี่ยวกับความปลอดภัยซึ่งปรากฏอยู่ตลอดทั้งเล่ม ข้อ
ความเหล่านี้ได้ถูกอธิบายไว้อย่างละเอียดในหัวข้อ "ค�ำที่ควรรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย" ซึ่งปรากฏ
อยู่ก่อนหน้าการรับประกันคุณภาพ

คู่มือเล่มนี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของรถจักรยานยนต์และควรจะเก็บไว้กับรถเมื่อขายต่อให้กับผู้ใช้รถคน
ต่อไป

ภาพประกอบที่ปรากฏอยู่ในคู่มือเล่มนี้มีพื้นฐานมาจากรถรุ่น ND110M
ภาพประกอบของรถจักรยานยนต์ที่ปรากฏอยู่ในคู่มือผู้ใช้เล่มนี้อาจไม่ตรงกับรถจริงของท่าน
คำ�นำ�
คู่มือเล่มนี้จัดพิมพ์ขึ้นเพื่อประกอบการขับขี่รถจักรยานยนต์ของท่าน กรุณาศึกษาคู่มือเล่มนี้โดย
ละเอียดก่อนที่ท่านจะขับขี่รถจักรยานยนต์ของท่าน ควรตรวจเช็ครถจักรยานยนต์ของท่านก่อนการ
ขับขี่ทุกครั้ง และท�ำการบ�ำรุงรักษาอย่างสม�่ำเสมอเพื่อความปลอดภัยในการขับขี่
เมื่อท่านต้องการการบริการใดๆ โปรดระลึกไว้เสมอว่าศูนย์บริการฮอนด้ารู้จักรถจักรยานยนต์
ของท่านดีที่สุด ถ้าท่านต้องการทราบรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติ วิธีการใช้เครื่องมืออุปกรณ์
ต่างๆ ทางศูนย์บริการฮอนด้าสามารถให้ค�ำแนะน�ำแก่ท่านตามคู่มือการบริการของฮอนด้าได้อย่าง
ถูกวิธีเพื่อช่วยให้ท่านบ�ำรุงรักษาและซ่อมแซมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บริษัทฯ ขอขอบพระคุณที่ท่านเลือกใช้และเชื่อถือในผลิตภัณฑ์ฮอนด้า และขออวยพรให้ท่าน
จงมีความสุขและเพลิดเพลินกับการขับขี่รถจักรยานยนต์ของท่านอย่างปลอดภัย
ค�ำที่ควรรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย
ความปลอดภัยของท่านและของผู้อื่นเป็นสิ่งส�ำคัญมาก และการขับขี่รถจักรยานยนต์รุ่นนี้อย่างปลอดภัยก็ถือเป็น
ความรับผิดชอบที่ส�ำคัญด้วยเช่นกัน
เพื่อที่จะช่วยให้ท่านตัดสินใจเกี่ยวกับความปลอดภัยได้เป็นอย่างดี ทางบริษัทฯ ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการขับขี่และ
ข้อมูลอื่นๆ แก่ท่านดังที่ปรากฏอยู่บนแผ่นป้ายต่างๆ ที่ตัวรถและในคู่มือเล่มนี้แล้ว ข้อมูลนี้จะเตือนท่านให้ระวัง
อันตรายที่อาจเกิดขึ้นทั้งกับตัวของท่านเองหรือผู้อื่น
อย่างไรก็ดีในทางปฏิบัติหรือโดยความเป็นไปได้แล้ว ทางบริษัทฯ ไม่สามารถที่จะเตือนให้ท่านระวังอันตรายทุกอย่าง
ที่เกี่ยวเนื่องกับการขับขี่หรือการบ�ำรุงรักษารถจักรยานยนต์ได้ ดังนั้นท่านจึงต้องใช้วิจารณญาณที่ดีของท่านเองใน
การตัดสินใจด้วย
ท่านจะพบข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยที่สำ� คัญในหลายรูปแบบ ประกอบด้วย :
แผ่นป้ายเตือนเพื่อความปลอดภัย ซึ่งปรากฏอยู่ที่ตัวรถ
ข้อความเกี่ยวกับความปลอดภัย ได้แก่

! อันตราย
▲ หมายถึง ท่านอาจเป็นอันตรายร้ายแรงถึงแก่ชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บสาหัสหากไม่ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำ
! คำ�เตือน
▲ หมายถึง ท่านอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บสาหัสหากไม่ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำ
! ข้อควรระวัง
▲ หมายถึง ท่านอาจได้รับบาดเจ็บหากไม่ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำ
ข้อสังเกต สัญลักษณ์นี้มุ่งหมายที่จะช่วยให้ท่านหลีกเลี่ยงความเสียหายที่จะเกิดแก่รถจักรยานยนต์ของ
ท่าน ทรัพย์สินอื่นๆ หรือสภาพแวดล้อม
หัวข้อความปลอดภัย - เช่น สิ่งเตือนเกี่ยวกับความปลอดภัยที่สำ� คัญ หรือการระมัดระวังเกี่ยว
กับความปลอดภัยที่ส�ำคัญ
หมวดความปลอดภัย - เช่น การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย
ค�ำแนะน�ำ - วิธีการใช้รถจักรยานยนต์รุ่นนี้อย่างถูกต้องและปลอดภัย

คู่มือเล่มนี้ตลอดทั้งเล่มเต็มไปด้วยข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยที่สำ� คัญ กรุณาอ่านคู่มือโดยละเอียด

! คำ�เตือน

อาจถึงตายหรือพิการ หากไม่สวมหมวกนิรภัย
การรับประกันคุณภาพ
บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จ�ำกัด รับประกันคุณภาพของชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ เป็นระยะเวลา 3 ปี หรือ 30,000 กม. และ
ชิ้นส่วนระบบหัวฉีด ได้แก่ ตัวตรวจจับอุณหภูมิน�้ำมันเครื่อง, ตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน, กล่อง ECU, ปั๊มน�้ำมัน
เชื้อเพลิง, หัวฉีด, เรือนลิ้นเร่ง, ตัวตรวจจับต�ำแหน่งลิ้นเร่ง รับประกันเป็นระยะเวลา 5 ปี หรือ 50,000 กม. แล้วแต่
ระยะใดมาถึงก่อน ถ้าเกิดการบกพร่องเสียหายอันเนื่องมาจากกรรมวิธีทางการผลิตไม่ดี หรือวัสดุไม่ได้คุณภาพ
ภายใต้การใช้งานและการบ�ำรุงรักษาที่ถูกต้องตามที่ก�ำหนดไว้ในคู่มือการใช้รถ การรับประกันคุณภาพจะมีผลตั้ง
แต่วันที่ที่ซื้อรถเป็นต้นไป
เมื่อรถของท่านเกิดปัญหาทางด้านคุณภาพ ท่านสามารถไปใช้สิทธิในการรับประกันโดยการน�ำรถและสมุดคู่มือ
รับประกันไปที่ศูนย์จ�ำหน่ายและบริการที่ได้รับการแต่งตั้งจาก บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จ�ำกัด โดยรถของท่านจะได้
รับการแก้ไข ปรับแต่ง หรือเปลี่ยนชิ้นส่วนอะไหล่ที่มีความบกพร่องนั้นโดยไม่คิดราคาค่าอะไหล่และค่าแรงซ่อม
การรับประกันคุณภาพนี้จะใช้กับรถที่จำ� หน่ายโดย บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จ�ำกัด เท่านั้น ในกรณีที่มีการน�ำรถออก
นอกประเทศถือเป็นการสิ้นสุดการรับประกัน
กรณีที่มีการเปลี่ยนเจ้าของรถคนใหม่ กรุณาติดต่อ บริษัท เอ.พี.ฮอนด้า จ�ำกัด แผนกลูกค้าสัมพันธ์ 0-2725-4000
เพื่อแก้ไขชื่อที่อยู่ของผู้ครอบครองรถคนใหม่

ในกรณีที่รถจักรยานยนต์ของท่านเกิดปัญหาด้านคุณภาพ และตรวจพบว่ามีสาเหตุมาจากการ
ละเลยไม่น�ำรถเข้ารับการตรวจเช็คตามระยะที่ก�ำหนด กรณีเช่นนี้ท่านอาจเสียสิทธิในการรับ
ประกันคุณภาพได้ ดังนั้นจึงขอให้ท่านถือเป็นเรื่องส�ำคัญอย่างยิ่งที่ต้องน�ำรถเข้ารับการบริการ
ตรวจเช็คตามก�ำหนดเวลาที่ศูนย์จ�ำหน่ายและบริการฮอนด้า
เงื่อนไขการรับประกันชิ้นส่วนที่มีการสึกหรอหรือเสื่อมสภาพ
ชิ้นส่วนอะไหล่และวัสดุสิ้นเปลืองที่มีการสึกหรอหรือเสื่อมสภาพ หากเกิดความบกพร่องเสียหาย อันเนื่องมาจาก
กรรมวิธีทางการผลิตไม่ดีหรือวัสดุไม่ได้คุณภาพ บริษัทฯ จะท�ำการรับประกันคุณภาพ แต่หากความเสียหายเกิดขึ้นมาจากการ
สึกหรอหรือเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งานปกติ บริษัทฯ ขอให้ท่านเป็นผู้ชำ� ระค่าใช้จ่ายเอง
ชิ้นส่วนอะไหล่ที่มีการสึกหรอหรือเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน
หัวเทียน หลอดไฟต่างๆ ฟิวส์ สายไฟ แปรงถ่านมอเตอร์สตาร์ท สายควบคุมต่างๆ ผ้าเบรค ผ้าคลัทช์ ชุดโซ่สเตอร์ ปะเก็น
สายยาง ท่อยาง และชิ้นส่วนที่เป็นยาง ไส้กรอง ซีลกันน�้ำมัน ซีลกันฝุ่น น�้ำมันหล่อลื่น และสารหล่อลื่นทุกชนิด
หมายเหตุ รับประกันแบตเตอรี่ และ ยางนอก ยางใน เป็นระยะเวลา 6 เดือน หรือ ระยะทาง 5,000 กม. แล้วแต่
ระยะใดถึงก่อน โดยมีผลตั้งแต่วันที่ซื้อรถเป็นต้นไป
ข้อปฏิบัติในการใช้รถในระยะรับประกัน
ข้อปฏิบัติต่อไปนี้เป็นสิ่งที่ท่านต้องให้ความส�ำคัญและปฏิบัติตาม มิเช่นนั้นท่านอาจเสียสิทธิในการรับประกันคุณภาพ
ในบางกรณีได้ หากตรวจพบว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นกับรถมีสาเหตุมาจากการละเลยไม่ปฏิบัติตามข้อปฏิบัตินี้
1. ปฏิบัติและใช้รถให้ถูกต้องตามค�ำแนะน�ำในคู่มือการใช้รถจักรยานยนต์ฮอนด้ารุ่นที่ท่านซื้อ
2. น�ำรถเข้ารับการบริการตรวจเช็คบ�ำรุงรักษาตามระยะเวลาที่กำ� หนดไว้ในคู่มือเล่มนี้ พร้อมกับลงบันทึกประวัติการ
ซ่อมในคู่มือเล่มนี้ทุกครั้ง
3. การบ�ำรุงรักษาจะกระท�ำอย่างถูกต้องโดยศูนย์จำ� หน่ายและบริการฮอนด้าที่ท่านซื้อรถ แต่อย่างไรก็ตามในกรณีที่
จ�ำเป็นท่านสามารถน�ำรถเข้ารับบริการได้ที่ศูนย์จำ� หน่ายและบริการที่ได้รับการแต่งตั้งจากฮอนด้าที่ใกล้ที่สุด
4. ไม่ดัดแปลงแก้ไขชิ้นส่วนต่างๆ ไปจากมาตรฐานการผลิตเดิม นอกจากจะเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมตามข้อมูลของ
บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จ�ำกัด
5. ไม่น�ำรถไปใช้ในกิจกรรมอื่นๆ ที่มิใช่การใช้งานตามปกติ เช่น การแข่งขัน เป็นต้น
6. เมื่อมีการซ่อมบ�ำรุงรักษา ควรใช้แต่อะไหล่แท้และสารหล่อลื่นที่ฮอนด้าก�ำหนด เช่น น�ำ้ มันเครื่อง น�ำ้ มันเบรค และ
น�ำ้ ยาหม้อน�้ำ เป็นต้น
รายการอะไหล่ระบบหัวฉีด ที่รับประกัน 5 ปี หรือ 50,000 กม. แล้วแต่ระยะใดถึงก่อน
1. ปั๊มน�้ำมันเชื้อเพลิง (ไม่รวมลูกลอยน�ำ้ มันเชื้อเพลิง)
2. หัวฉีด
3. เรือนลิ้นเร่ง
4. ตัวตรวจจับต�ำแหน่งลิ้นเร่ง
5. กล่อง ECU
6. ตัวตรวจจับอุณหภูมินำ�้ มันเครื่อง
7. ตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน

1 2 3 4 5 6 7
สารบัญ
หน้า หน้า หน้า
1. การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่าง 22. น�ำ้ มันเชื้อเพลิง 39. การปรับตั้งหลอดไฟหน้า
ปลอดภัย 25. น�้ำมันเครื่อง 40. การขับขี่
1. ข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัย 26. ยาง 40. การตรวจเช็คก่อนการขับขี่
ที่สำ� คัญ 30. วิธีใช้อุปกรณ์ที่ส�ำคัญ 42. การสตาร์ทเครื่องยนต์
2. อุปกรณ์ป้องกันภัย 30. สวิทช์จุดระเบิด 46. การรัน-อิน
4. การบรรทุกและการติดตั้งอุปกรณ์ 31. กุญแจต่างๆ 47. การขับขี่
เพิ่มเติม 32. การควบคุมสวิทช์แฮนด์ด้านขวา 48. การเปลี่ยนเกียร์
8. ต�ำแหน่งของชิ้นส่วนต่างๆ 33. การควบคุมสวิทช์แฮนด์ด้านซ้าย 50. การเบรค
11. เครื่องวัดและสัญญาณไฟต่างๆ 34. อุปกรณ์อื่นๆ (ที่ไม่จ�ำเป็นใน 52. การจอดรถ
15. ชิ้นส่วนประกอบที่ส�ำคัญๆ ขณะขับขี่) 53. ค�ำแนะน�ำการป้องกันรถ
(ข้อมูลที่จ�ำเป็นส�ำหรับการใช้ 34. การล๊อคคอ ถูกขโมย
รถจักรยานยนต์รุ่นนี้) 35. ระบบกุญแจนิรภัย 2 ชั้น
15. ระบบกันสะเทือนหลัง 36. การล๊อคเบาะ
16. เบรค 37. ที่แขวนหมวกกันน็อก
21. คลัทช์ 38. ซองเก็บเอกสาร
การบำ�รุงรักษา
หน้า หน้า
54. การบ�ำรุงรักษา 79. การถอดล้อ
54. ความส�ำคัญของการบ�ำรุงรักษา 83. การสึกหรอของผ้าเบรค
55. ความปลอดภัยในการบ�ำรุงรักษา 84. แบตเตอรี่
56. การระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย 87. การเปลี่ยนฟิวส์
57. ตารางการบ�ำรุงรักษา 89. การปรับตั้งสวิทช์ไฟเบรค
60. ชุดเครื่องมือประจ�ำรถ 90. การเปลี่ยนหลอดไฟ
61. หมายเลขประจ�ำรุ่นรถ 97. การท�ำความสะอาด
62. ไส้กรองอากาศ 101. ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการเก็บรักษารถ
64. ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ 101. การเก็บรักษารถ
65. น�้ำมันเครื่อง 103. การน�ำรถออกมาจากโรงเก็บรถ
69. หัวเทียน 104. การระวังต่อสิ่งที่มิได้คาดคิดว่าจะเกิดขึ้น
72. โซ่ขับเคลื่อน 105. อุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย
78. การตรวจเช็คระบบกันสะเทือนหน้า-หลัง 106. ข้อมูลทางเทคนิค
78. ขาตั้งข้าง
การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย บริษัทฯ ขอแนะน�ำให้ท่านสวมเครื่องป้องกันดวงตา
ข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยที่สำ� คัญ รองเท้าบู๊ทที่แข็งแรง ถุงมือ และเครื่องแต่งกายที่
รถจักรยานยนต์ของท่านสามารถใช้งานและสร้าง ช่วยป้องกันภัยอื่นๆ ด้วย (หน้า 2)
ท�ำให้ผู้ขับขี่คนอื่นสามารถมองเห็นท่านได้อย่างชัดเจน
ความพอใจให้กับท่านได้เป็นเวลาหลายปี ถ้าหาก ผู้ขับขี่รถยนต์บางคนไม่เห็นรถจักรยานยนต์เพราะ
ท่านรับผิดชอบต่อความปลอดภัยของตัวท่านเองและ ไม่ได้สังเกต ดังนั้นท่านควรท�ำให้ผู้ขับขี่คนอื่นสามารถ
เข้าใจในสภาพการขับขี่บนท้องถนนทุกรูปแบบเป็น มองเห็นท่านได้ชัดเจนยิ่งขึ้นโดยปฏิบัติดังนี้ สวมชุด
อย่างดี ที่มีสีสว่างหรือสีสะท้อนแสง ขับขี่บนเส้นทางที่ผู้ขับ
มีหลายทางที่ท่านสามารถกระท�ำเพื่อที่จะป้องกัน ขี่คนอื่นสามารถมองเห็นท่านได้ ให้สัญญาณก่อน
ตนเองในขณะขับขี่ได้ โดยท่านจะพบค�ำแนะน�ำอัน ที่ท่านจะเลี้ยวหรือเปลี่ยนช่องทาง และใช้แตรเมื่อ
เป็นประโยชน์มากมายโดยตลอดทั้งเล่มของคู่มือเล่ม ต้องการจะให้ผู้ขับขี่คนอื่นสังเกตเห็นท่าน
นี้ และสิ่งต่อไปนี้เป็นค�ำแนะน�ำบางประการซึ่งทาง ขับขี่ภายในขีดจ�ำกัดของท่าน
บริษัทฯ พิจารณาเห็นว่ามีความส�ำคัญที่สุด การพยายามขับขี่ที่ฝืนขีดจ�ำกัดของตัวท่านเองเป็น
สวมหมวกกันน็อกอยู่เสมอ สาเหตุหลักอีกประการหนึ่งของอุบัติเหตุทางรถจักร-
เป็นข้อเท็จจริงที่พิสูจน์แล้วว่าหมวกกันน็อกมีส่วน ยานยนต์ อย่าขับขี่เกินกว่าความสามารถของท่าน
ส�ำคัญในการช่วยลดจ�ำนวนและความรุนแรงของ หรือขับขี่ด้วยความเร็วสูงเกินกว่าที่กำ� หนด ควรระลึก
การบาดเจ็บที่ศีรษะ ดังนั้นท่านควรสวมหมวกกัน ไว้ว่าแอลกอฮอล์ ยาเสพติด ความเมื่อยล้า และการ
น็อกที่ีได้รับการรับรองคุณภาพเสมอและต้องแน่ใจ เพิกเฉยละเลยมีส่วนส�ำคัญที่จะลดความสามารถใน
ว่าผู้ซ้อนท้ายของท่านก็ปฏิบัติเช่นเดียวกัน และทาง การใช้วิจารณญานในการตัดสินใจและการขับขี่อย่าง
ปลอดภัยได้
1
อย่าดื่มสุราในขณะขับขี่รถจักรยานยนต์ อุปกรณ์ป้องกันภัย
ท่านไม่ควรดื่มสุราแล้วไปขับขี่รถจักรยานยนต์ เพื่อความปลอดภัยของตัวท่านเอง ทางบริษัทฯ ขอ
แนะน�ำให้ท่านสวมหมวกกันน็อกที่ได้รับการรับรอง
เพราะแม้แต่การดื่มเพียงแก้วเดียวก็อาจลดความ คุณภาพ เครื่องป้องกันดวงตา รองเท้าบู๊ท ถุงมือ
สามารถของท่านในการตอบสนองต่อสภาพการณ์ กางเกงขายาว และเสื้อเชิ้ตแขนยาวหรือเสื้อแจ็กเก้ต
ต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอได้ และการตอบ อยู่เสมอไม่ว่าเมื่อใดก็ตามที่ท่านขับขี่ ถึงแม้ว่าจะเป็น
สนองดังกล่าวจะยิ่งเลวร้ายลงหากท่านดื่มเพิ่ม ไปไม่ได้ที่จะสวมเครื่องป้องกันได้ครบทุกอย่าง การสวม
เข้าไปอีก ดังนั้นอย่าดื่มสุราแล้วไปขับขี่รถจักร- เครื่องแต่งกายที่ช่วยป้องกันภัยที่เหมาะสมก็สามารถ
ยานยนต์ และเพื่อความปลอดภัยอย่าให้ผู้โดย ที่จะลดโอกาสในการเกิดอันตรายในขณะขับขี่ได้ สิ่ง
สารหรือเพื่อนของท่านดื่มสุราด้วยเช่นกัน ต่อไปนี้เป็นค�ำแนะน�ำเพื่อช่วยให้ท่านสามารถเลือก
รักษารถจักรยานยนต์ของท่านให้อยู่ในสภาพดี ใช้เครื่องแต่งกายที่ช่วยป้องกันภัยได้อย่างเหมาะสม
เพื่อการขับขี่ที่ปลอดภัยถือเป็นสิ่งส�ำคัญที่จะต้อง ! คำ�เตือน

ตรวจสอบรถจักรยานยนต์ของท่านก่อนการขับขี่ การไม่สวมหมวกกันน็อกจะเพิ่มโอกาสในการได้
ทุกครั้งและท�ำการบ�ำรุงรักษาตามที่ได้แนะน�ำไว้ รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิต เนื่องจาก
ทั้งหมด อย่าบรรทุกของเกินกว่าที่กฎหมายก�ำ- การเกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้มได้
หนดและใช้แต่อุปกรณ์ติดตั้งเพิ่มเติมซึ่งได้รับ ต้องแน่ใจว่าท่านและผู้ซ้อนท้ายของท่านสวม
การรับรองโดยฮอนด้าส�ำหรับรถจักรยานยนต์รุ่น หมวกกันน็อก เครื่องป้องกันดวงตาและอุปกรณ์
นี้ ดูหน้า 4 ส�ำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม ป้องกันภัยอื่นๆ อยู่เสมอในขณะที่ท่านขับขี่รถ
2
หมวกกันน็อกและเครื่องป้องกันดวงตา เครื่องแต่งกายเพิ่มเติมที่ช่วยป้องกันในการขับขี่
หมวกกันน็อกของท่านเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุดในบรร- นอกจากหมวกกันน็อกและเครื่องป้องกันดวงตา
ดาเครื่องป้องกันภัยในการขับขี่ เพราะสามารถ ทางบริษัทฯ ขอแนะน�ำอุปกรณ์เพิ่มเติมดังต่อไปนี้
ใช้ป้องกันการบาดเจ็บที่ศีรษะได้ดีที่สุด หมวกกัน สวมรองเท้าบู๊ทที่แข็งแรงมีพื้นรองเท้าที่ไม่ลื่น
น็อกควรสวมใส่ได้อย่างสบายและแน่นพอดีกับ เพื่อที่จะช่วยป้องกันเท้าและข้อเท้าของท่าน
ศีรษะของท่าน หมวกกันน็อกที่มีสีสว่างสามารถ สวมถุงมือหนังเพื่อช่วยป้องกันมือของท่านจาก
ช่วยให้ท่านเป็นที่สังเกตเห็นได้ง่ายบนท้องถนน การเกิดบาดแผลต่างๆ หากประสบอุบัติเหตุใดๆ
เนื่องจากมีแถบสะท้อนแสงได้ ควรเลือกใส่ชุดในการขับขี่รถจักรยานยนต์หรือ
หมวกกันน็อกแบบเปิดหน้าช่วยป้องกันอุบัติเหตุ เสื้อแจ็กเก้ตที่ให้ความสะดวกสบายและช่วย
ได้บางส่วน แต่หมวกกันน็อกแบบปิดหน้าจะช่วย ป้องกันภัย เสื้อผ้าที่มีสีสว่างหรือสีสะท้อนแสง
ป้องกันได้ดียิ่งขึ้น ควรสวมหน้ากากป้องกันหรือ สามารถช่วยให้ท่านเป็นทีส่ ังเกตเห็นได้อย่าง
แว่นกันลมอยู่เสมอเพื่อป้องกันดวงตาและเพิ่ม ชัดเจนยิ่งขึ้นบนท้องถนน ต้องแน่ใจว่าท่านไม่
ความสามารถในการมองเห็นของท่านด้วย ได้ใส่เสื้อผ้าหลวมรุ่มร่ามที่อาจจะไปเกี่ยวกับ
ชิ้นส่วนใดๆ ของรถจักรยานยนต์ได้
3
การบรรทุกและการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติม การบรรทุก
รถจักรยานยนต์ของท่านออกแบบมาเพื่อบรรทุกผู้ขับ น�ำ้ หนักบรรทุกและวิธีการบรรทุกของรถจักรยาน-
ขี่และผู้ซ้อนท้ายอย่างละ 1 คน เมื่อท่านมีผู้ซ้อนท้าย ยนต์ของท่านเป็นสิ่งส�ำคัญต่อความปลอดภัย
ท่านอาจจะรู้สึกถึงความแตกต่างบางประการในขณะ ของตัวท่านเอง เมื่อใดก็ตามที่ท่านขับขี่รถจักร-
เร่งและเบรครถ แต่ตราบใดที่ท่านยังคงบ�ำรุงรักษา ยานยนต์โดยมีผู้ซ้อนท้ายหรือมีสัมภาระ ท่านควร
รถจัักรยานยนต์ของท่านได้เป็นอย่างดี รวมทั้งยาง จะเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลต่อไปนี้เป็นอย่างดี
และเบรคอยู่ในสภาพที่ดีแล้ว ท่านก็สามารถบรรทุก
ของได้อย่างปลอดภัยภายในขอบเขตของค�ำแนะน�ำ ▲! คำ�เตือน
ที่ให้ไว้ การบรรทุกเกินขนาดที่กฎหมายก�ำหนดหรือ
อย่างไรก็ตามการรับน�้ำหนักที่มากเกินควรของรถ การบรรทุกที่ไม่เหมาะสมอาจก่อให้เกิดอุบัติ-
หรือการบรรทุกของที่ไม่ได้สมดุลจะมีผลเสียกับการ เหตุ เช่น การชนหรือรถล้มซึ่งท่านอาจได้รับ
บังคับ การเบรค และการทรงตัวของรถจักรยานยนต์
ของท่าน การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมที่ไม่ใช่ของ บาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้
ฮอนด้า การดัดแปลงสภาพรถที่ไม่เหมาะสมและการ ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำในการบรรทุกทั้งหมด
ขาดการบ�ำรุงรักษารถมีส่วนในการลดระดับความ ที่ปรากฏอยู่ในคู่มือเล่มนี้
ปลอดภัยในการขับขี่ได้

4
ค�ำแนะน�ำในการบรรทุก ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำเหล่านี้เมื่อใดก็ตามที่ท่าน
รถจักรยานยนต์ของท่านมีจุดมุ่งหมายเบื้องต้น มีผู้ซ้อนท้าย หรือบรรทุกสัมภาระ
เพื่อรับน�้ำหนักของท่านและผู้ซ้อนท้าย 1 คน แต่ ตรวจเช็คว่ายางทั้งสองเส้นมีลมยางที่เหมาะ
ในบางครั้งท่านอาจจะต้องการผูกมัดเสื้อแจ็กเก้ต สมหรือไม่ (หน้า 27)
หรือสิ่งของชิ้นเล็กอื่นๆ ไว้กับเบาะนั่งในขณะที่ ถ้าหากท่านท�ำการใดๆ ซึ่งเปลี่ยนแปลงน�ำ้ หนัก
ท่านไม่ได้ขับขี่พร้อมกับผู้ซ้อนท้าย บรรทุกปกติของรถจักรยานยนต์ของท่าน ท่าน
อาจต้องปรับตั้งระบบกันสะเทือนหลัง (หน้า 15)
ถ้าหากท่านต้องการที่จะบรรทุกสัมภาระจ�ำนวน
เพื่อป้องกันสิ่งของหลุดหลวมก่อให้เกิดอุบัติเหตุ
มากขึ้นให้สอบถามกับศูนย์บริการฮอนด้าเพื่อ ต้องแน่ใจว่าสัมภาระทั้งหมดผูกมัดไว้อย่างแน่น
ขอค�ำแนะน�ำ และอ่านข้อมูลเกี่ยวกับอุปกรณ์ หนาก่อนการขับขี่
ติดตั้งเพิ่มเติมในหน้า 6 วางสัมภาระให้ได้จุดศูนย์ถ่วงของรถเท่าที่จะ
การบรรทุกของอย่างไม่เหมาะสมกับรถของท่าน เป็นไปได้
จะมีผลเสียกับการทรงตัวและการบังคับรถ และ วางน�ำ้ หนักสัมภาระให้ได้สมดุลเท่ากันทั้งสองด้าน
แม้ว่ารถของท่านจะบรรทุกของไว้อย่างเหมาะ ไม่ควรวางหรือผูกมัดของหรือสัมภาระที่ใหญ่
สมแล้วก็ตาม ท่านก็ควรที่จะขับขี่ที่ความเร็วที่ หรือหนัก (เช่น ถุงนอนหรือเต็นท์) ไว้ที่แฮนด์
ลดลงเมื่อใดก็ตามที่ท่านบรรทุกสัมภาระไว้ บังคับเลี้ยว โช๊คอัพหน้า หรือบังโคลนหน้า
5
การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมและการดัด การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติม
แปลงสภาพรถ ทางบริษัทฯ ขอแนะน�ำให้ท่านใช้แต่อุปกรณ์ติด
การดัดแปลงสภาพรถจักรยานยนต์ของท่านหรือ ตั้งเพิ่มเติมแท้ของฮอนด้าซึ่งได้รับการออกแบบ
การใช้อุปกรณ์ติดตั้งเพิ่มเติมที่ไม่ใช่ของฮอนด้า มาเป็นพิเศษและผ่านการทดสอบแล้วว่าเหมาะ-
อาจท�ำให้รถของท่านอยู่ในสภาพไม่ปลอดภัยได้ สมกับรถจักรยานยนต์ของท่าน เนื่องจากฮอนด้า
ก่อนที่ท่านจะพิจารณาดัดแปลงสภาพรถหรือติด ไม่สามารถทดสอบอุปกรณ์ติดตั้งเพิ่มเติมอื่นๆ
ตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมใดๆ ต้องแน่ใจว่าได้อ่านข้อ- ทั้งหมดได้ ท่านจึงต้องรับผิดชอบในการเลือกใช้
มูลต่อไปนี้แล้ว การประกอบและการใช้อุปกรณ์ติดตั้งเพิ่มเติมที่
! คำ�เตือน ไม่ใช่ของฮอนด้าให้เหมาะสมด้วยตัวของท่านเอง
▲ ขอให้ท่านติดต่อศูนย์บริการฮอนด้าเพื่อขอความ
การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมหรือการดัดแปลง ช่วยเหลือและปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำเหล่านี้เสมอ
สภาพรถที่ไม่เหมาะสมอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ ต้องแน่ใจว่าอุปกรณ์ติดตั้งเพิ่มเติมไม่บังไฟ
เช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาด แสงสว่างต่างๆ ไม่ลดระยะห่างจากพื้น ไม่ทำ�
เจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้ ให้ระยะยุบตัวของโช๊คหน้าหรือมุมบังคับเลี้ยว
ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำทั้งหมดในคู่มือการใช้ เปลี่ยนไป ไม่กีดขวางต�ำแหน่งของมือหรือเท้า
รถเล่มนี้เกี่ยวกับการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติม ตรงจุดควบคุมต่างๆ หรือขัดขวางการท�ำงาน
และการดัดแปลงสภาพรถ
6 ของอุปกรณ์ควบคุมใดๆ
ต้องแน่ใจว่าไม่ต่อเพิ่มจุดอุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีค่า การดัดแปลงสภาพรถ
ประจุไฟฟ้าเกินกว่าระบบไฟฟ้าของรถจักรยาน- ทางบริษัทฯ ขอแนะน�ำไม่ให้ท่านถอดอุปกรณ์ติด
ยนต์ (หน้า 110) เพราะอาจเป็นสาเหตุให้ฟิวส์ ตั้งเดิมใดๆ ออกหรือดัดแปลงสภาพรถจักรยาน-
ขาดและอุปกรณ์ไฟแสงสว่างได้รับความเสียหาย ยนต์ของท่านไม่ว่าในกรณีใดๆ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลง
หรือก�ำลังของเครื่องยนต์ลดลง การออกแบบหรือการท�ำงานของรถ เพราะการ
ไม่ควรติดตั้งรถพ่วงข้างหรือรถพ่วงเข้ากับรถ กระท�ำเช่นนี้อาจก่อให้เกิดความเสียหายร้ายแรง
จักรยานยนต์นี้เพราะอาจท�ำให้รถได้รับความ กับการบังคับ การทรงตัว และการเบรคของรถ
เสียหายได้ เพราะไม่ได้ออกแบบเพื่อการติดรถ ได้ ซึ่งท�ำให้ไม่ปลอดภัยในการขับขี่
พ่วงข้างหรือรถพ่วง การถอดหรือการดัดแปลงไฟแสงสว่างต่างๆ ท่อ
ไอเสีย ระบบควบคุมสภาพไอเสีย หรืออุปกรณ์
อื่นๆ อาจมีผลให้รถของท่านอยู่ในสภาพที่ผิด
กฎหมายได้

7
ตำ�แหน่งของชิ้นส่วนต่างๆ
สวิทช์ไฟสูง-ต�่ำ
กระจกมองหลัง กระจกมองหลัง
เครื่องวัดและสัญญาณไฟต่างๆ

คันเบรคหน้า

ปุ่มแตร ปลอกคันเร่ง
ปุ่มสตาร์ท
สวิทช์ไฟเลี้ยว สวิทช์จุดระเบิด/ระบบกุญแจนิรภัย 2 ชั้น (ND110M)
8
ฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด

ที่แขวนหมวกกันน็อก
ตัวปรับตั้งระบบกันสะเทือนหลัง แบตเตอรี่/
กล่องฟิวส์

พักเท้าหลัง คันสตาร์ท พักเท้าหน้า คันเบรคหลัง


9
ซองเก็บเอกสาร ชุดเครื่องมือ
ที่แขวนหมวกกันน็อก
ฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง ตัวปรับตั้งระบบ
ไส้กรองอากาศ
กันสะเทือนหลัง

ที่ล๊อคเบาะ

คันเปลี่ยนเกียร์ พักเท้าหน้า ขาตั้งกลาง ขาตั้งข้าง พักเท้าหลัง


10
เครื่องวัดและสัญญาณไฟต่างๆ
ไฟสัญญาณต่างๆ จะแสดงอยู่บนแผงสัญญาณ
(4) (5) (6) (7) (8) (9)
ไฟ ส่วนหน้าที่และการท�ำงานของแต่ละอันจะ
แสดงอยู่ในตารางในหน้าถัดไป
(1) เกจวัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง
(2) มาตรวัดความเร็ว
(3) สัญญาณไฟบอกต�ำแหน่งเกียร์
(4) สัญญาณไฟเลี้ยวซ้าย
(5) แสดงความเร็วแต่ละเกียร์
(6) มาตรวัดระยะทาง
(7) สัญญาณไฟเลี้ยวขวา (3) (2) (1) (10)
(8) สัญญาณไฟสูง
(9) สัญญาณไฟ PGM-FI
(10) สัญญาณไฟเกียร์ว่าง
11
เลขที่อ้างอิง รายละเอียด หน้าที่
(1) เกจวัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง แสดงน�ำ้ มันเชื้อเพลิงที่เหลืออยู่โดยประมาณ (ดู
หน้า 14)
(2) มาตรวัดความเร็ว แสดงความเร็วในการขับขี่
(3) สัญญาณไฟบอกต�ำแหน่งเกียร์ แสดงต�ำแหน่งการเข้าเกียร์
(4) สัญญาณไฟเลี้ยวซ้าย (สีเขียว) สัญญาณไฟจะกะพริบเมื่อเปิดสวิทช์ไฟเลี้ยวซ้าย
(5) แสดงความเร็วแต่ละเกียร์ แสดงความเร็วที่ใช้ในแต่ละเกียร์
(6) มาตรวัดระยะทาง แสดงระยะทางรวมที่รถวิ่ง
(7) สัญญาณไฟเลี้ยวขวา (สีเขียว) สัญญาณไฟจะกะพริบเมื่อเปิดสวิทช์ไฟเลี้ยวขวา
(8) สัญญาณไฟสูง (สีน�้ำเงิน) สัญญาณไฟจะติดเมื่อเปิดสวิทช์ไฟสูง

12
เลขที่อ้างอิง รายละเอียด หน้าที่
(9) สัญญาณไฟ PGM-FI (สีส้ม) สัญญาณไฟจะกะพริบเมื่อมีความผิดปกติใดๆ
เกิดขึ้นในระบบ PGM-FI (ระบบหัวฉีดน�ำ้ มันเชื้อ-
เพลิง) และสัญญาณไฟดังกล่าวนี้ควรจะติดเป็น
เวลา 2-3 วินาทีและดับเมื่อสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่
ต�ำแหน่ง "ON" ถ้าหากสัญญาณไฟปรากฏขึ้นใน
เวลาอื่นใดนอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้วนั้น ให้
ลดความเร็วลงและน�ำรถจักรยานยนต์ของท่าน
ไปตรวจเช็็คที่ศูนย์บริการฮอนด้าทันทีที่เป็นไปได้
(10) สัญญาณไฟเกียร์ว่าง (สีเขียว) สัญญาณไฟจะติดเมื่ออยู่ในต�ำแหน่งเกียร์ว่าง

13
เกจวัดระดับน�ำ้ มันเชื้อเพลิง
(2)
เมื่อเข็มเกจวัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง (1) ชี้ไปที่
แถบสีแดง (2) แสดงว่าน�ำ้ มันเชื้อเพลิงอยู่ในระดับ
ต�่ำและท่านควรจะเติมน�้ำมันทันทีที่เป็นไปได้
โดยปริมาณน�้ำมันเชื้อเพลิงที่เหลืออยู่ในถังน�ำ้ มัน
ในขณะที่รถตั้งตรงเมื่อเข็มเกจอยู่ที่แถบสีแดงมี
ค่าประมาณ
1.1 ลิตร (1)

(1) เข็มเกจวัดระดับน�ำ้ มันเชื้อเพลิง


(2) แถบสีแดง

14
ชิ้นส่วนประกอบที่ส�ำคัญๆ
(ข้อมูลที่จ�ำเป็นส�ำหรับการใช้รถจักรยานยนต์รุ่นนี้)
(2)
ระบบกันสะเทือนหลัง
โช๊คอัพหลัง (1) แต่ละข้างสามารถปรับตั้งได้ 2
ระดับตามน�้ำหนักบรรทุกหรือสภาพการขับขี่ที่ ((A
A))
(B ) (A )
แตกต่างกัน ( B )( B )
การปรับตั้งโช๊คอัพหลังให้หมุนตัวปรับตั้ง (2)
ต้องแน่ใจว่าโช๊คอัพหลังทั้ง 2 ข้างอยู่ในต�ำแหน่ง
เดียวกัน (1)
ต�ำแหน่ง (A) คือต�ำแหน่งมาตรฐาน
ต�ำแหน่ง (B) เพื่อปรับเพิ่มความแข็งของโช๊คอัพหลัง
ส�ำหรับใช้กับการบรรทุกสัมภาระหรือผู้ซ้อนท้าย (1) โช๊คอัพหลัง
ต้องแน่ใจว่าได้ปรับตั้งโช๊คอัพหลังทั้ง 2 ข้างให้ (2) ตัวปรับตั้ง
อยู่ในต�ำแหน่งเดียวกันเสมอ
15
เบรค
เบรคหน้า (1)

เพื่อความปลอดภัยควรมีการบ�ำรุงรักษาและปรับ
ตั้งเบรคเป็นประจ�ำ
ระยะที่คันเบรคหน้าหรือคันเบรคหลังเคลื่อนที่
ไปจนเบรคเริ่มท�ำงานเรียกว่า "ระยะฟรี"
วัดจากปลายคันเบรคหน้า (1) ควรมีระยะฟรี
10-20 มม. (0.4-0.8 นิ้ว)
ปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหน้าในขณะที่จัดต�ำแหน่ง
(1) คันเบรคหน้า
ล้อหน้าของรถให้มุ่งตรงไปข้างหน้า

16
การปรับตั้ง
1. การปรับตั้งระยะฟรีคันเบรคหน้า ปรับตั้งโดย
ขันน๊อตปรับตั้งเบรคหน้า (2) หมุนตามเข็มนา-
ฬิกาเพื่อลดระยะฟรีให้น้อยลงและหมุนทวน
เข็มนาฬิกาเพื่อเพิ่มระยะฟรีให้มากขึ้น และ ( A)
ต้องแน่ใจว่ารอยตัดของน๊อตปรับตั้งเบรคหน้า (2)

ลงร่องบนสลักขาเบรค (3) หลังจากปรับตั้งระยะ (B) (3)

ฟรีแล้ว
(2) น๊อตปรับตั้งเบรคหน้า (A) ลดระยะฟรี
(3) สลักขาเบรค (B) เพิ่มระยะฟรี

2. บีบคันเบรคหน้าหลายๆ ครั้ง แล้วตรวจสอบ


การหมุนฟรีของล้อเมื่อปล่อยคันเบรคหน้า

17
หลังจากปรับตั้งระยะฟรีแล้ว ให้ดันขาเบรคหน้า หลังการปรับตั้งระยะฟรี ให้ตรวจเช็คเพื่อยืนยัน
(4) เข้าไปเพื่อให้แน่ใจว่ามีช่องว่างระหว่างน๊อต ระยะฟรีของคันเบรคหน้า
ปรับตั้งเบรคหน้า (2) กับสลักขาเบรค (3)
หากท่านปรับตั้งด้วยวิธีดังกล่าวแล้วไม่ได้ผลให้
ท่านน�ำรถไปตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า
(4)
การตรวจเช็คจุดอื่นๆ :
(2)
(3) ตรวจเช็คสายเบรคว่าสึกหรอหรือติดขัดหรือไม่
ท�ำการหล่อลื่นสายเบรคด้วยสารหล่อลื่นสาย
เคเบิลที่สามารถหาซื้อได้ทั่วไป เพื่อป้องกันการ
(2) น๊อตปรับตั้งเบรคหน้า สึกหรอเร็วกว่าก�ำหนด
(3) สลักขาเบรค (4) ขาเบรคหน้า ต้องแน่ใจว่าขาเบรค สปริง และตัวยึดต่างๆ อยู่
ในสภาพที่ดี

18
เบรคหลัง
การปรับตั้ง ปรับตั้งโดยการหมุนน๊อตปรับตั้งเบรคหลังทีละ
ระยะที่คันเบรคหลังเคลื่อนที่ไปจนเบรคเริ่มท�ำ ครึ่งรอบในแต่ละครั้งของการหมุน ต้องแน่ใจว่า
งานเรียกว่า "ระยะฟรี" รอยตัดของน๊อตปรับตั้งเบรคหลังลงร่องบนสลัก
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้งกลาง ขาเบรค (3) หลังจากปรับตัั้งระยะฟรีเบรค
2. วัดระยะจากจุดปกติของคันเบรคหลัง (1) เคลื่อน (2)
ที่ไปจนเบรคเริ่มท�ำงานควรมีระยะฟรี
20-30 มม. (0.8-1.2 นิ้ว)
3. ถ้าจ�ำเป็นต้องปรับตั้งให้หมุนน๊อตปรับตั้งเบรค
หลัง (2)

(3)

( A)
(B )

(2) น๊อตปรับตั้งเบรคหลัง (A) ลดระยะฟรี


(1)
(3) สลักขาเบรค (B) เพิ่มระยะฟรี
(1) คันเบรคหลัง 19
4. กดคันเบรคหลังลงหลายๆ ครั้ง แล้วตรวจสอบ (4)

การหมุนฟรีของล้อเมื่อปล่อยคันเบรคหลัง
หากท่านปรับตั้งด้วยวิธีดังกล่าวแล้วไม่ได้ผลให้ (2)
ท่านน�ำรถไปตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า
หลังจากปรับตั้งระยะฟรีแล้ว ให้ดันขาเบรคหลัง
(4) เข้าไปเพื่อให้แน่ใจว่ามีช่องว่างระหว่างน๊อต
ปรับตั้งเบรคหลัง (2) กับสลักขาเบรค (3)
(3)

หลังการปรับตั้งระยะฟรี ให้ตรวจเช็คเพื่อยืนยัน (2) น๊อตปรับตั้งเบรคหลัง


ระยะฟรีของคันเบรคหลัง (3) สลักขาเบรค
(4) ขาเบรคหลัง
การตรวจเช็คจุดอื่นๆ :
ต้องแน่ใจว่าก้านเบรค ขาเบรค สปริง และตัวยึด
ต่างๆ อยู่ในสภาพที่ดี
20
คลัทช์ หากท่านปรับตั้งด้วยวิธีดังกล่าวแล้วไม่ได้ผล
การปรับตั้ง หรือคลัทช์ท�ำงานผิดปกติ ให้ทา่ นน�ำรถไปตรวจ
1. คลายน๊อตล๊อคตัวปรับตั้ง (1) เช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า
2. หมุนตัวปรับตั้งคลัทช์ (2) ตามเข็มนาฬิกา 1
รอบ (ห้ามหมุนเกิน) (1) (2)

3. หมุนตัวปรับตั้งคลัทช์ทวนเข็มนาฬิกาอย่าง
ช้าๆ จนกระทั่งรู้สึกฝืดๆ
4. จากต�ำแหน่งนี้ให้หมุนตัวปรับตั้งคลัทช์ตาม
เข็มนาฬิกา 1/8 รอบ แล้วขันน๊อตล๊อคตัวปรับ
ตั้งให้แน่น
5. หลังการปรับตั้งให้ทดสอบขับขี่รถจักรยานยนต์
เพื่อทดสอบการท�ำงานของคลัทช์ การสตาร์ท
เครื่องยนต์โดยใช้คันสตาร์ทจะง่ายขึ้น คลัทช์
จะไม่ลื่น การเปลี่ยนเกียร์ก็จะไม่ติดขัดโดย (1) น๊อตล๊อคตัวปรับตั้ง
เฉพาะเมื่อเปลี่ยนไปสู่เกียร์ว่าง (2) ตัวปรับตั้งคลัทช์
21
(3)
น�้ำมันเชื้อเพลิง (2)
ถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
ถังน�้ำมันเชื้อเพลิงติดตั้งอยู่ที่ใต้เบาะนั่ง
ความจุถังน�้ำมันเชื้อเพลิง : 4.2 ลิตร
การเติมน�้ำมันเชื้อเพลิงให้เปิดเบาะนั่งขึ้น (หน้า
36) ถอดฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง (1) โดยหมุน
ทวนเข็มนาฬิกา อย่าเติมน�้ำมันจนล้นถึงบริเวณ
ขอบปากถังด้านใน (2) หลังจากเติมน�้ำมันเชื้อ-
เพลิงต้องแน่ใจว่าขันฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิงจน
แน่นโดยการหมุนตามเข็มนาฬิกา และต้องแน่ใจ (1)

ว่าเครื่องหมายลูกศร (3) บนฝาปิดถังน�้ำมันกับ (1) ฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง


บนถังน�้ำมันตรงกัน (2) ขอบปากถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
(3) เครื่องหมายลูกศร

22
▲! คำ�เตือน ข้อสังเกต
น�้ำมันเชื้อเพลิงมีความไวต่อการติดไฟและ ในกรณีที่เครื่องยนต์ติดๆ ดับๆ หรือกระตุกใน
การระเบิดสูง ท่านอาจได้รับอันตรายหรือบาด ขณะที่ความเร็วของเครื่องยนต์คงที่ในสภาวะ
เจ็บสาหัสอันเนื่องมาจากน�้ำมันเชื้อเพลิงได้ ปกติ ให้ลองใช้น�้ำมันยี่ห้ออื่น และถ้าเครื่องยัง
ดับเครื่องยนต์และอยู่ให้ห่างจากความร้อน ติดๆ ดับๆ หรือกระตุกอีกกรุณาน�ำรถของท่าน
ประกายไฟ และเปลวไฟ
เติมน�้ำมันในที่โล่งแจ้งเท่านั้น ไปตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า มิฉะนั้นถ้าเกิด
เช็ดน�้ำมันที่หกให้แห้งทันที ความเสียหายทางบริษัทฯ จะถือว่าความเสีย-
หายนั้นเกิดจากการใช้งานไม่ถูกต้องและทาง
ใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สารตะกั่ว ค่าออกเทน 91 บริษัทฯ ไม่อาจรับประกันความเสียหายที่เกิด
หรือมากกว่า ขึ้นได้
การใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีสารตะกั่วจะท�ำให้อุป-
กรณ์แปรสภาพไอเสียเสียหายก่อนเวลาอันสม
ควรได้

23
น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอล- เมื่อใช้น�้ำมันบางชนิดที่มีส่วนผสมของแอลกอ-
กอฮอล์ ฮอล์ อาจก่อให้เกิดปัญหากับเครื่องยนต์ได้ เช่น
ถ้าท่านเลือกใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของ เครื่องยนต์สตาร์ทติดยาก หรือประสิทธิภาพ
แอลกอฮอล์ (แก๊สโซฮอล์) ต้องแน่ใจว่ามีคา่ ออก- การท�ำงานของเครื่องยนต์ลดลง เป็นต้น
เทนอย่างน้อยที่สุดเท่ากับที่ฮอนด้าแนะน�ำไว้ หากท่านสังเกตเห็นอาการผิดปกติของเครื่องยนต์
ในขณะที่ใช้น�้ำมันซึ่งผสมแอลกอฮอล์ หรือ
อย่าใช้น�้ำมันแก๊สโซฮอล์ที่มีส่วนผสมของเอ- น�้ำมันซึ่งท่านคิดว่ามีแอลกอฮอล์ผสม ให้ลอง
ทิิลแอลกอฮอล์เกินกว่า 20% (E20) เปลี่ยนไปเติมน�้ำมันที่สถานีบริการอื่น หรือ
เปลี่ยนไปใช้น�้ำมันยี่ห้ออื่นแทน
เมื่อเกิดปัญหากับเครื่องยนต์อันเป็นผลมาจาก
การใช้น�้ำมันซึ่งผสมแอลกอฮอล์ ให้ท่านติดต่อ
กับศูนย์บริการฮอนด้าทันที

24
น�้ำมันเครื่อง 4. ถ้าจ�ำเป็น เติมน�้ำมันเครื่องที่ก�ำหนด (ดูหน้า 65)
การตรวจเช็คระดับน�้ำมันเครื่อง ให้ถึงขีดบอกระดับสูงสุด ห้ามเติมเกิน
ตรวจเช็คระดับน�้ำมันเครื่องทุกวันก่อนขี่รถจักรยาน- 5. ประกอบฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด
ยนต์ น�้ำมันเครื่องควรอยู่ระหว่างขีดบอกระดับสูงสุด กลับเข้าที่เดิมแล้วตรวจเช็ครอยรั่ว
(1) และขีดบอกระดับต�่ำสุด (2) บนฝาปิดช่องเติม ข้อสังเกต
น�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด (3) ไม่ควรติดเครื่องในขณะที่น�้ำมันเครื่องไม่เพียงพอ
1. ติดเครื่องยนต์ที่รอบเดินเบาประมาณ 3-5 นาที เพราะจะท�ำให้เครื่องยนต์เสียหายได้
2. ดับเครื่อง และตั้งรถด้วยขาตั้งกลางบนพื้นราบ (3)
(1)
3. หลังจากดับเครื่อง 2-3 นาที ให้ถอดฝาปิดช่องเติม
(2)
น�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดออกท�ำความสะอาดแล้วใส่
ก้านวัดเข้าไปอีกครั้งโดยไม่ต้องขันเกลียว จาก
นั้นดึงฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดออก
ระดับน�้ำมันเครื่องควรอยู่ระหว่างขีดบอกระดับ
สูงสุดและขีดบอกระดับต�่ำสุดบนฝาปิดช่องเติม
น�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด (1) ขีดบอกระดับสูงสุด (2) ขีดบอกระดับต�่ำสุด
(3) ฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด
25
ยาง แรงดันลมยาง
เพื่อการขับขี่รถจักรยานยนต์ของท่านอย่างปลอดภัย แรงดันลมยางที่เหมาะสมช่วยท�ำให้การทรงตัวดี
ควรเลือกใช้ยางให้ถูกต้องตามชนิดและขนาด ขับขี่สบายและยืดอายุการใช้งานของดอกยาง
ของยาง ยางและดอกยางควรอยู่ในสภาพดี และ โดยทั่วไปการเติมลมยางน้อยกว่าค่าที่ก�ำหนดจะ
เติมลมยางอย่างเหมาะสม ท�ำให้ยางสึกหรอด้านข้าง ซึ่งเป็นผลเสียต่อการ
ขับขี่ และเป็นไปได้ว่าจะส่งผลให้แรงดันลมยาง
▲! คำ�เตือน ร้อนขึ้นกว่าค่าปกติ ยางที่เติมลมยางน้อยอาจ
การใช้รถจักรยานยนต์ที่มีสภาพยางสึกหรอ ท�ำให้เกิดความเสียหายกับล้อในกรณีที่ขับขี่ใน
มากหรือเติมลมยางไม่เหมาะสม อาจก่อให้ พื้นที่ที่เต็มไปด้วยหิน ส่วนยางที่เติมลมยางมาก
เกิดอุบัติเหตุเช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่าน เกินไปจะท�ำให้ทรงตัวได้ยาก และมีแนวโน้มที่จะ
อาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้ เกิดอันตรายได้งา่ ยขึ้น เนื่องจากยางสึกหรอตรง
ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำทั้งหมดในคู่มือเล่มนี้ กึ่งกลางหน้ายาง และหน้าสัมผัสระหว่างยางกับ
เกี่ยวกับการเติมลมยางและการบ�ำรุงรักษา ถนนมีน้อย
ยาง ต้องแน่ใจว่าปิดจุกปิดวาล์วเติมลมได้แน่นหนา
ถ้าจ�ำเป็นเปลี่ยนจุกปิดวาล์วอันใหม่
26
ตรวจเช็คแรงดันลมยางเสมอก่อนที่ท่านจะขับขี่หรือ การตรวจสอบ
จอดรถทิ้งไว้ไม่น้อยกว่าสามชั่วโมงเพื่อให้ได้แรงดัน เมื่อใดก็ตามที่ทา่ นตรวจเช็คแรงดันลมยาง ท่าน
ลมยางตามตารางด้านล่าง แต่หากท่านตรวจเช็คแรง ควรตรวจสอบดอกยางและขอบยางว่ามีการสึก
ดันลมยางหลังใช้งานไปได้ระยะหนึ่งจะท�ำให้แรงดัน หรอ เสียหายและมีสิ่งผิดปกติใดๆ ปรากฏให้
ลมภายในยางสูงกว่ายาง "เย็น" ดังนั้นอย่าปล่อยให้ เห็นหรือไม่ โดยพิจารณาสิ่งต่อไปนี้
อากาศรั่วออกจากยางและเพื่อให้ได้คา่ แรงดันลม มีรอยบวมหรือส่วนที่นูนออกมาทางด้านข้างของ
ยางเท่ากับค่าแรงดันลมยางขณะ "เย็น" ตามค่าที่ ยางหรือดอกยางหรือไม่ ถ้ามีให้เปลี่ยนยางใหม่
แนะน�ำไว้ขา้ งล่างนี้ ควรตรวจเช็คขณะจอดรถทิ้งไว้ หากยางมีรอยฉีกขาด รอยแยกหรือรอยแตก
ตามรายละเอียดข้างต้น เนื่องจากการตรวจเช็คและ ให้เปลี่ยนยางใหม่ ถ้าท่านสังเกตเห็นรอยดัง
เติมลมหลังจากที่ทา่ นใช้รถเสร็จจะท�ำให้ยางของ กล่าวข้างต้น
ท่านมีลมยางน้อยกว่าค่าที่ก�ำหนดในกรณีที่ยางเย็น ดอกยางสึกหรอมากเกินไปหรือไม่
2 2
แรงดันลมยางขณะยางเย็น (กก./ซม. , ปอนด์/นิ้ว ) เมื่อท่านต้องขับขี่ไปบนถนนที่มีหลุมบ่อหรือวัตถุ
หน้า 200 (2.00, 29) ที่แข็ง ให้ท่านขับขี่เลี่ยงไปทางไหล่ทาง เมื่อท่าน
ขับขี่คนเดียว
หลัง 225 (2.25, 33) ขับขี่ผ่านไปได้โดยปลอดภัยแล้ว ให้ทา่ นตรวจ
มีผู้ซ้อนท้าย 1 คน หน้า 200 (2.00, 29) สอบความเสียหายของยางด้วยความระมัดระวัง
หลัง 280 (2.80, 41)
27
การสึกหรอของดอกยาง การซ่อมและการเปลี่ยนยางใน
เปลี่ยนยางใหม่ทันทีถ้าต�ำแหน่งความสึกของ ถ้ายางในถูกเจาะหรือเสียหาย ท่านควรจะเปลี่ยน
ดอกยาง (1) สามารถมองเห็นได้ชัดเจน ยางใหม่ทันทีที่เป็นไปได้ พึงระลึกไว้วา่ ยางในที่
แก้ไขโดยการปะ คุณภาพของยางจะไม่ดีเท่ากับ
ยางเส้นใหม่และอาจรั่วหรือเสียหายในระหว่าง
การขับขี่ได้
ถ้าท่านจ�ำเป็นต้องซ่อมแซมยางชั่วคราวโดยการ
ปะยางในหรือฉีดพ่นน�้ำยากันรั่ว ควรขับขี่ด้วย
(1) ความระมัดระวังด้วยความเร็วที่ต�่ำกว่าปกติ และ
(2) ท�ำการเปลี่ยนยางในก่อนที่จะขับขี่ในครั้งต่อไป
ทุกครั้งที่ท�ำการเปลี่ยนยางในใหม่ ควรตรวจสอบ
(1) ตำ�แหน่งความสึกของดอกยาง ยางนอกด้วยความระมัดระวังตามที่ได้อธิบายไว้
(2) จุดสังเกตการสึกหรอของดอกยาง ในหน้า 27 ด้วย

28
การเปลี่ยนยาง ยางที่แนะน�ำให้ใช้ส�ำหรับรถจักรยานยนต์ของ
ยางที่ติดมากับรถจักรยานยนต์ของท่านได้รับการ ท่านคือ
ออกแบบมาเพื่อให้เหมาะสมกับความสามารถ ยางหน้า : 70/90-17M/C 38P
ของรถของท่าน และช่วยให้เกิดประสิทธิภาพสูง ยางหลัง : 80/90-17M/C 50P
สุดในการบังคับรถ การเบรค ความทนทานและ ชนิดของยาง : ยางธรรมดาชนิดมียางใน
ความสะดวกสบายในการใช้งาน
เมื่อใดก็ตามที่ท่านเปลี่ยนยาง ควรเลือกใช้ยาง
▲ ! คำ�เตือน ซึ่งมีคุณสมบัติใกล้เคียงกับยางดั้งเดิมของท่าน
การประกอบยางที่ไม่เหมาะสมเข้ากับรถจักร- และต้องแน่ใจว่าล้อมีความสมดุลหลังจากประ-
ยานยนต์ของท่านอาจมีผลกับการบังคับรถ กอบเข้ากับยางใหม่แล้ว
และการทรงตัวของรถได้ และสิ่งนี้เองอาจก่อ พึงระลึกไว้เสมอว่าควรเปลี่ยนยางในใหม่เมื่อใด
ให้เกิดอุบัติเหตุเช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่าน ก็ตามที่ทา่ นเปลี่ยนยางนอก เนื่องจากยางใน
อาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้ เส้นเก่าอาจจะเสียรูปแล้ว และหากท่านน�ำไป
ใช้ยางให้ถูกต้องตามชนิดและขนาดของยาง ประกอบเข้ากับยางนอกเส้นใหม่อาจมีผลเสียกับ
ตามที่ได้แนะน�ำไว้ในคู่มือการใช้รถเล่มนี้เสมอ การทรงตัวของรถได้
29
วิธีใช้อุปกรณ์ที่ส�ำคัญ
สวิทช์จุดระเบิด
สวิทช์จุดระเบิด (1) อยู่ด้านขวาใต้แกนคอรถ OFF ON

(1) LOCK
(1) สวิทช์จุดระเบิด
ตำ�แหน่งของกุญแจ การทำ�งาน การดึงกุญแจ
LOCK (ล๊อคคอรถ) คอรถถูกล๊อคอยู่ เครื่องยนต์และระบบไฟฟ้าต่างๆ ดึงกุญแจออกได้
ท�ำงานไม่ได้
OFF เครื่องยนต์และระบบไฟฟ้าต่างๆ ท�ำงานไม่ได้ ดึงกุญแจออกได้
ON เครื่องยนต์ท�ำงานได้ ดึงกุญแจออกไม่ได้
ไฟเบรค ไฟเลี้ยว และแตรท�ำงานได้
ไฟหน้า ไฟหรี่ ไฟท้าย และไฟมาตรวัดจะติดเมื่อ
เครื่องยนต์ติดอยู่เท่านั้น
30
กุญแจต่างๆ
รถจักรยานยนต์รุ่นนี้มีกุญแจจุดระเบิด (1) จ�ำนวน
2 ดอก และแผ่นหมายเลขกุญแจ (2)
ท่านอาจจะจ�ำเป็นต้องใช้หมายเลขกุุญแจนี้ถา้ (2)
ท่านจะต้องเปลี่ยนกุญแจดอกใหม่ ดังนั้นขอให้
ท่านเก็บรักษาแผ่นหมายเลขกุญแจนี้ไว้ในที่ที่
(1)
ปลอดภัย
ในการท�ำส�ำเนากุญแจต่างๆ ให้ทา่ นน�ำกุญแจ
ทั้งหมด แผ่นหมายเลขกุญแจ และรถของท่าน
มายังศูนย์บริการฮอนด้า
(1) กุญแจจุดระเบิด (2) แผ่นหมายเลขกุญแจ

31
การควบคุมสวิทช์แฮนด์ดา้ นขวา
(ND110M)
ปุ่มสตาร์ท (1)
ปุ่มสตาร์ทจะอยู่ถัดจากปลอกคันเร่ง
เมื่อกดปุ่มสตาร์ท มอเตอร์สตาร์ทจะท�ำงาน ดู
หน้า 44 ส�ำหรับขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์

(1)

(1) ปุ่มสตาร์ท

32
การควบคุมสวิทช์แฮนด์ดา้ นซ้าย
(1)
สวิทช์ไฟสูง-ต�่ำ (1)
กดสวิทช์ไปที่ต�ำแหน่ง (HI) เมื่อต้องการเปิด (2)
ไฟสูง หรือ (LO) เมื่อต้องการเปิดไฟต�่ำ
ปุ่มแตร (2)
กดปุ่มเมื่อต้องการให้แตรท�ำงาน
สวิทช์ไฟเลี้ยว (3)
เลื่อนไปยัง เมื่อต้องการเลี้ยวซ้ายและเลื่อน (3)
ไปยัง เมื่อต้องการเลี้ยวขวา กดปุ่มสวิทช์ลง
เมื่อต้องการยกเลิกสัญญาณ (1) สวิทช์ไฟสูง-ต�่ำ
(2) ปุ่มแตร
(3) สวิทช์ไฟเลี้ยว

33
อุปกรณ์อื่นๆ
(ที่ไม่จ�ำเป็นในขณะขับขี่) การล๊อคคอ
การล๊อคคอ (A )
(2)
คอรถสามารถล๊อคได้เมื่อสวิทช์จุดระเบิด (1) อยู่
ในต�ำแหน่งล๊อค
การล๊อคคอให้หมุนแฮนด์รถไปด้านขวาหรือซ้าย (B )
จนสุดแล้วกดกุญแจจุดระเบิด (2) ลง แล้วบิด (C )
กุญแจไปต�ำแหน่งล๊อคและดึงกุญแจออก
การปลดล๊อคคอให้กดกุญแจลงและบิดกุญแจ
(1)
ไปที่ต�ำแหน่ง "OFF" (A )
อย่าหมุนกุญแจล๊อคขณะขับขี่รถจักรยานยนต์ การปลดล๊อคคอ
เพราะจะท�ำให้บังคับรถจักรยานยนต์ไม่ได้
รถจักรยานยนต์ของท่านรุ่นนี้มีระบบกุญแจนิรภัย (1) สวิทช์จุดระเบิด (A) กดลง
2 ชั้นอัตโนมัติ การปิดและการเปิดระบบกุญแจ (2) กุญแจจุดระเบิด (B) หมุนไปต�ำแหน่งล๊อค
นิรภัย 2 ชั้นให้อา้ งอิงหน้า 35 (C) หมุนไปต�ำแหน่ง "OFF"
34
ระบบกุญแจนิรภัย 2 ชั้น (4) (1)
รถจักรยานยนต์รุ่นนี้มีสวิทช์จุดระเบิดติดตั้งร่วมกับ
ระบบกุญแจนิรภัย 2 ชั้นอัตโนมัติ เมื่อท่านจอดรถทิ้ง
ไว้หรืออยู่ห่างจากรถของท่านขอให้ปิดระบบกุญแจ
นิรภัยเพื่อป้องกันการขโมย
(2) (5) (3)
ระบบกุญแจนิรภัยจะปิดสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง
ล๊อค (2) โดยอัตโนมัติเมื่อท่านดึงกุญแจจุดระเบิด (1) (1) กุญแจจุดระเบิด (4) กุญแจนิรภัย 2 ชั้น
ออก (2) ตำ�แหน่งล๊อค (LOCK) (5) ร่อง
ท่านยังสามารถปิดระบบกุญแจนิรภัยด้วยมือได้อีกด้วย (3) เดือย
การปิดระบบกุญแจนิรภัยด้วยมือ ให้ดึงกุญแจจุด
ระเบิดออก จากนั้นจัดให้เดือย (3) ของกุญแจนิรภัย (4) (ปิด) (เปิด)
ลงในร่อง (5) ของสวิทช์กุญแจนิรภัย และหมุนกุญแจ
นิรภัยทวนเข็มนาฬิกา
การเปิดระบบกุญแจนิรภัย ให้จัดให้เดือยของกุญแจ
นิรภัยลงในร่องของสวิทช์กุญแจนิรภัย และหมุน
กุญแจนิรภัยตามเข็มนาฬิกา

35
การล๊อคเบาะ
ที่ล๊อคเบาะ (1) อยู่ด้านซ้ายใต้เบาะนั่ง (2)
การเปิดเบาะนั่ง เสียบกุญแจจุดระเบิด (2) และ
หมุนตามเข็มนาฬิกาเพื่อคลายล๊อค
ดึงเบาะนั่งขึ้น
การล๊อคเบาะ ลดเบาะให้ต�่ำลงแล้วกดเบาะจน
กระทั่งล๊อค ต้องแน่ใจว่าล๊อคเบาะเรียบร้อยแล้ว
ก่อนการขับขี่

(1)

(1) ที่ล๊อคเบาะ (2) กุญแจจุดระเบิด

36
ที่แขวนหมวกกันน็อก ! คำ�เตือน

ที่แขวนหมวกกันน็อก (1) มีอยู่ทั้งด้านซ้ายและด้าน ที่แขวนหมวกกันน็อกออกแบบเพื่อใช้แขวนหมวก
ขวาใต้เบาะนั่ง ที่แขวนหมวกกันน็อกออกแบบมา กันน็อกในขณะที่จอดรถ ไม่ควรขี่รถในขณะที่หมวก
เพื่อใช้แขวนหมวกกันน็อกในขณะที่จอดรถ กันน็อกยังแขวนอยู่กับที่แขวนหมวกกันน็อก
เปิดเบาะนั่งขึ้น (หน้า 36) (1)

แขวนหมวกกันน็อก (2) เข้ากับที่แขวนหมวกกันน็อก


ซึ่งอยู่ตรงบานพับใต้เบาะและลดเบาะลงเพื่อล๊อค
การเอาหมวกออกให้คลายล๊อคเบาะ ยกหมวกออก
จากที่แขวนหมวกกันน็อกและปิดเบาะลง ต้องแน่ใจ
ว่าล๊อคเบาะเรียบร้อยแล้วก่อนการขับขี่
! คำ�เตือน

การขับขี่ในขณะที่หมวกกันน็อกยังแขวนติดอยู่กับ (2)
ที่แขวนหมวกกันน็อกจะกีดขวางการท�ำงานของล้อ
หลังหรือชุดกันสะเทือนและอาจท�ำให้เกิดอุบัติเหตุ (1) ที่แขวนหมวกกันน็อก
เช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บ (2) หมวกกันน็อก
สาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้
37
ซองเก็บเอกสาร
ซองเก็บเอกสาร (1) อยู่ในช่องเก็บเอกสาร (2) ซึ่ง (2) (1)
อยู่ดา้ นตรงข้ามกับเบาะนั่ง (3)
(3)
เปิดเบาะนั่งขึ้น (หน้า 36)
คู่มือการใช้รถเล่มนี้และเอกสารอื่นๆ ควรเก็บอยู่
ในซองเก็บเอกสารนี้ เมื่อท่านล้างรถจักรยาน-
ยนต์ควรระวังอย่าให้น�้ำเข้ามาในบริเวณนี้

(1) ซองเก็บเอกสาร
(2) ช่องเก็บเอกสาร
(3) เบาะนั่ง

38
การปรับตั้งหลอดไฟหน้า
การปรับตั้งสามารถท�ำได้โดยเลื่อนไฟหน้า (1) (1)

ขึ้นลง ถ้าจ�ำเป็น
สามารถเลื่อนไฟหน้าขึ้นลงโดยคลายโบ้ลท์ (2)
ขันโบ้ลท์หลังจากปรับตั้งเรียบร้อยแล้ว
(A )
ปฏิบัติตามกฎหมายที่ก�ำหนด
(B)

(2)

(1) ไฟหน้า (A) ขึ้น


(2) โบ้ลท์ (B) ลง

39
การขับขี่ ▲! คำ�เตือน
การตรวจเช็คก่อนการขับขี่
การบ�ำรุงรักษารถจักรยานยนต์รุ่นนี้อย่างไม่
เพื่อความปลอดภัยถือเป็นความรับผิดชอบของ ถูกต้องเหมาะสม หรือการละเลยในการแก้ไข
ท่านในการท�ำการตรวจเช็คก่อนการขับขี่และ ปัญหาก่อนการขับขี่ อาจท�ำให้เกิดอุบัติเหตุ
ต้องแน่ใจว่าปัญหาใดๆ เกี่ยวกับรถของท่านที่ เช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาด
ตรวจพบนั้นได้รับการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว เจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้
การตรวจเช็คก่อนการขับขี่นั้นถือเป็นสิ่งที่จ�ำเป็น ควรตรวจเช็ครถก่อนการขับขี่ทุกครั้งเสมอ
ต้องท�ำ เพราะไม่เพียงแต่เพื่อให้เกิดความปลอด- และแก้ไขปัญหาใดๆ ที่ตรวจพบ
ภัยเท่านั้น แต่เป็นเพราะการที่มีชิ้นส่วนของรถ
เสียหายกะทันหันหรือแม้กระทั่งยางแบน ก็อาจ
เป็นสิ่งที่น�ำความยากล�ำบากมาให้แก่ท่านอย่าง
ยิ่งในระหว่างการขับขี่

40
ตรวจเช็ครายการดังต่อไปนี้ก่อนที่ท่านจะขับขี่ อุปกรณ์ไฟแสงสว่างและแตร - ตรวจสอบการ
รถจักรยานยนต์ : ท�ำงานของไฟแสงสว่าง สัญญาณไฟต่างๆ และ
ระดับน�ำ้ มันเชื้อเพลิง - เติมน�้ำมันเชื้อเพลิงเมื่อ แตรว่าเป็นไปอย่างถูกต้องเหมาะสมหรือไม่
จ�ำเป็น (หน้า 22) ล้อและยาง - ตรวจเช็คสภาพ แรงดันลมยาง
คันเร่ง - ตรวจการท�ำงานตั้งแต่เริ่มแรกจนถึง และปรับตั้งถ้าจ�ำเป็น (หน้า 26)
บิดสุดในสภาพมุมเลี้ยวต่างๆ
ระดับน�้ำมันเครื่อง - เติมน�ำ้ มันเครื่องถ้าจ�ำเป็น
(หน้า 25) เช็คการรั่วซึม
โซ่ขับเคลื่อน - เช็คสภาพของโซ่และความหย่อน
ของโซ่ (หน้า 72) ปรับตั้งและหล่อลื่นถ้าจ�ำเป็น
เบรคหน้า-หลัง - เช็คการท�ำงาน
หน้าและหลัง : ตรวจสอบการสึกหรอของผ้า
เบรค (หน้า 83) และระยะฟรี ปรับตั้งถ้าจ�ำเป็น
(หน้า 16-20)
41
การสตาร์ทเครื่องยนต์ <ND110M>
ควรปฏิบัติตามขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์ ไม่ควรกดปุ่มสตาร์ทค้างไว้นานเกิน 5 วินาทีต่อ
ข้างล่างนี้เสมอ ครั้ง ควรทิ้งช่วงไว้ประมาณ 10 วินาทีก่อนกดปุ่ม
ไอเสียของรถของท่านประกอบด้วยก๊าซคาร์บอน- สตาร์ทอีกครั้ง
มอนอกไซด์ที่เป็นพิษ และก๊าซคาร์บอนมอนอก-
ไซด์ระดับสูงสามารถรวมตัวกันได้อย่างรวดเร็ว การเตรียมตัวก่อนสตาร์ทเครื่องยนต์
ในพื้นที่ปิด เช่น โรงเก็บรถ อย่าติดเครื่องยนต์ใน
ขณะที่ประตูโรงเก็บรถปิด และแม้ว่าประตูโรงเก็บ ก่อนสตาร์ทเครื่องยนต์เสียบกุญแจและหมุนไป
รถจะเปิดอยู่ก็ควรติดเครื่องยนต์เพียงเพื่อที่จะเอา ที่ตำ� แหน่ง "ON" และตรวจเช็คดังนี้
รถของท่านออกมาจากโรงเก็บรถเท่านั้น รถอยู่ในต�ำแหน่งเกียร์ว่าง (สัญญาณไฟเกียร์
เพื่อเป็นการป้องกันอุปกรณ์แปรสภาพไอเสียใน ว่างติด)
ระบบไอเสียของรถจักรยานยนต์ของท่าน ควร สัญญาณไฟ PGM-FI ดับ
หลีกเลี่ยงการใช้รถที่รอบเดินเบาเป็นเวลานาน ไม่ควรถีบคันสตาร์ทในขณะที่เครื่องยนต์ท�ำงาน
และหลีกเลี่ยงการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีสารตะกั่ว
เพราะจะท�ำให้เครื่องยนต์เสียหายได้ และไม่ควร
ถีบคันสตาร์ทแรงเกินไป
พับคันสตาร์ทเก็บเข้าที่ทุกครั้งหลังเลิกใช้งาน
42
ท่านควรขอค�ำแนะน�ำจากศูนย์บริการฮอนด้าของ
ท่าน หากท่านต้องการที่จะขับขี่รถจักรยานยนต์
ของท่านที่ระดับความสูงเกินกว่า 2,500 เมตร
(8,000 ฟุต)

ข้อสังเกต
ถ้าหากรถจักรยานยนต์ถูกขนย้ายหรือขนส่งไป
ยังที่ีที่มีระดับความสูงขึ้นไปหรือต�่ำลงมาจากจุด
เดิมที่ท่านอยู่ 2,000 เมตร (6,500 ฟุต) ท่านอาจ
จะไม่สามารถใช้งานเครื่องยนต์ของท่านได้อย่าง
เต็มประสิทธิภาพที่ระดับความสูง ณ ต�ำแหน่งที่
อยู่ใหม่นั้น ดังนั้นขอให้ท่านปรึกษากับศูนย์บริ-
การฮอนด้าของท่านก่อนการขนย้ายหรือขนส่ง
รถจักรยานยนต์ของท่าน

43
ขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์
รถจักรยานยนต์รุ่นนี้มีเครื่องยนต์เป็นระบบหัวฉีด ถ้าหากท่านไม่สามารถสตาร์ทเครื่องยนต์ได้ ให้
น�้ำมันเชื้อเพลิง ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ระบุไว้ด้าน ปฏิบัติตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ :
ล่างนี้ 1. บิดคันเร่งเล็กน้อยในขณะที่สตาร์ทเครื่องยนต์
<ND110M เท่านั้น>
(ใช้ปุ่มสตาร์ท)
ขณะเครื่องยนต์เย็น :
1. ไม่ต้องบิดคันเร่ง กดปุ่มสตาร์ท ปล่อยปุ่มสตาร์ท
ทันทีที่เครื่องยนต์ติด
การสตาร์ทเครื่องยนต์โดยไม่ใช้สตาร์ทไฟฟ้า
1. ไม่ต้องบิดคันเร่ง ถีบคันสตาร์ทจากต�ำแหน่ง
สูงสุดของช่วงคันสตาร์ทจนถึงต�ำแหน่งต�ำ่ สุด
ด้วยความเร็วและต่อเนื่อง

44
เครื่องยนต์น�้ำมันท่วม <ND110M เท่านั้น>
ถ้าหากพยายามสตาร์ทเครื่องยนต์หลายครั้งแล้ว (ใช้ปุ่มสตาร์ท)
แต่เครื่องยนต์ยังสตาร์ทไม่ติดอาจจะมีสาเหตุมา 1. บิดคันเร่งให้สุด
จากน�้ำมันเชื้อเพลิงท่วม 2. กดปุ่มสตาร์ทเป็นเวลา 5 วินาที
(ใช้คันสตาร์ท) 3. ปฏิบัติตามขั้นตอนการสตาร์ทครื่องยนต์ปกติ
1. บิดสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง "OFF" 4. ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทติดโดยที่รอบเดินเบาไม่
2. บิดคันเร่งให้สุดพร้อมกับถีบคันสตาร์ทอย่าง สม�่ำเสมอให้บิดคันเร่งเล็กน้อย
เร็วและแรงหลายๆ ครั้ง ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติดรอประมาณ 10 วินาที
3. บิดสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง "ON" จากนั้นจึงปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 1-3 อีกครั้ง
4. ปฏิบัติตามขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์ปกติ
5. ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทติดโดยที่รอบเดินเบาไม่
สม�่ำเสมอให้บิดคันเร่งเล็กน้อย

45
การรัน-อินหรือการขับขี่รถใหม่ในระยะ
เริ่มต้น
การรัน-อินในช่วง 500 กม. (300 ไมล์) แรกได้ถูก
ก�ำหนดขึ้นมาเพื่อชดเชยการสึกหรอเบื้องต้น และ
ช่วยยืดอายุการใช้งานของเครื่องยนต์ให้นานขึ้น
ดังนั้นในช่วงรัน-อิน ควรหลีกเลี่ยงการเร่งเครื่อง-
ยนต์จนสุดคันเร่ง หรือใช้ความเร็วสูง

46
การขับขี่
ทบทวนการขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย 4. ท�ำซ�้ำขั้นตอนดังกล่าวเมื่อต้องการเปลี่ยนเกียร์
(หน้า 1-7) ก่อนการขับขี่ ที่สูงขึ้น
ต้องแน่ใจว่าขาตั้งข้างพับเก็บเข้าที่เรียบร้อยแล้ว 5. ใช้ส้นเท้ากดคันเปลี่ยนเกียร์ลงเมื่อต้องการ
ก่อนการขับขี่รถจักรยานยนต์ มิฉะนั้นเวลาเลี้ยว เปลี่ยนไปสู่เกียร์ที่ต�่ำกว่า
ซ้ายขาตั้งอาจจะกีดขวางท�ำให้รถเสียการทรงตัว 6. ให้ผ่อนคันเร่งเมื่อต้องการเบรค
ได้ 7. ใช้ทั้งเบรคหน้าและเบรคหลังช่วยในการเบรค
ต้องแน่ใจว่าวัสดุที่ติดไฟได้ง่าย เช่น หญ้าแห้ง และอย่าเบรคให้ล้อล๊อคเพราะจะท�ำให้รถเสีย
หรือใบไม้ ไม่สัมผัสกับระบบไอเสียในขณะขับขี่ การทรงตัว
รถจักรยานยนต์ เดินเบา หรือขณะที่จอดรถ ปลายเท้า ส้นเท้า
1. อุ่นเครื่องยนต์
2. ในขณะที่เครื่องเดินเบา ใช้ปลายเท้ากดคัน
เปลี่ยนเกียร์ลง (เกียร์ 1)
3. เร่งเครื่องยนต์อย่างช้าๆ จนรถเคลื่อนที่และ
เมื่อได้ความเร็วพอประมาณให้ผ่อนคันเร่งและ
กดคันเปลี่ยนเกียร์ไปต�ำแหน่งเกียร์ 2
47
การเปลี่ยนเกียร์ ขณะรถเคลื่อนที่จะไม่สามารถเปลี่ยนจากเกียร์
เกียร์รถจักรยานยนต์รุ่นนี้มีการเปลี่ยนได้ 2 4 เป็นเกียร์ว่างได้ทันที
ลักษณะคือเมื่อหยุดรถและรถเคลื่อนที่ ขณะหยุด ก่อนเปลี่ยนเกียร์ทุกครั้งจะต้องผ่อนคันเร่งก่อน
รถสามารถเปลี่ยนจากเกียร์ 4 ไปเกียร์ว่าง (ระ- ใช้ ปลายเท้ากดเบาๆ จนกระทั่งคันเปลี่ยนเกียร์
ต�่ำลง
บบเกียร์วน)
ไปข้างหน้า อย่าเปลี่ยนเกียร์โดยไม่จำ� เป็นและขับขี่รถโดยที่
ยังวางเท้าอยู่บนคันเปลี่ยนเกียร์ เพราะอาจจะ
ท�ำให้ระบบกลไกของเกียร์และคลัทช์เสียหายได้
ไปข้างหน้า

รถหยุด
(N) เกียร์ว่าง (3) เกียร์ 3 รถเคลื่อนที่
(1) เกียร์ 1 (4) เกียร์ 4 (เกียร์สูงสุด) (N) เกียร์ว่าง (3) เกียร์ 3
(2) เกียร์ 2 (1) เกียร์ 1 (4) เกียร์ 4 (เกียร์สูงสุด)
(2) เกียร์ 2
48
การเปลี่ยนเกียร์ที่เหมาะสมจะช่วยป้องกันความ การเปลี่ยนเกียร์จากเกียร์สูงลงสู่เกียร์ต�่ำ
เสียหายซึ่งจะเกิดกับเครื่องยนต์และระบบส่ง การเปลี่ยนเกียร์ที่ความเร็วที่สูงกว่าความเร็วที่
ก�ำลังได้ ระบุไว้ในตารางข้างล่างนี้ จะท�ำให้รอบเครื่องยนต์
การเปลี่ยนเกียร์จากเกียร์ต�่ำขึ้นสู่เกียร์สูง สูงมากเกินไป และเป็นสาเหตุให้เกิดความเสีย
ช่วงความเร็วจ�ำกัดในแต่ละเกียร์ได้แสดงไว้ตาม หายกับเครื่องยนต์และระบบส่งก�ำลังได้
หัวข้อแสดงความเร็วแต่ละเกียร์ (หน้า 11)
ควรเปลี่ยนเกียร์ไปสู่เกียร์ที่สูงกว่า หลังจากเลย ควรปฏิบัติตามตารางข้างล่างนี้เมื่อจะใช้เกียร์ต�่ำ
ความเร็วที่สามารถใช้ได้เมื่อใช้เกียร์ต�่ำ
ช่วงความเร็วจ�ำกัดในแต่ละเกียร์ เกียร์ 4 ➙ เกียร์ 3 75 กม./ชม. หรือน้อยกว่า
การใช้เกียร์ที่ไม่เหมาะสมกับช่วงความเร็วที่จำ� กัด เกียร์ 3 ➙ เกียร์ 2 50 กม./ชม. หรือน้อยกว่า
ในแต่ละเกียร์ อาจท�ำให้เกิดความเสียหายแก่ เกียร์ 2 ➙ เกียร์ 1 30 กม./ชม. หรือน้อยกว่า

เครื่องยนต์ได้

49
การเบรค สิ่งเตือนเกี่ยวกับความปลอดภัยที่ส�ำคัญ
รถจักรยานยนต์รุ่นนี้มีระบบเบรคแบบดรัมเบรค การใช้เบรคหน้าหรือเบรคหลังเพียงอย่างเดียว
บีบคันเบรคหน้าเพื่อใช้ดรัมเบรคหน้า และกดคัน จะท�ำให้ประสิทธิภาพในการเบรคด้อยลง
เบรคหลังเพื่อใช้ดรัมเบรคหลัง การเบรคอย่างเต็มที่อาจท�ำให้ล้อล๊อคหรือท�ำ
การเบรคเพื่อชะลอความเร็วให้ใช้ทั้งเบรคหน้า ให้ไม่สามารถควบคุมรถได้
และเบรคหลังในขณะเดียวกันให้เปลี่ยนเกียร์ลง ถ้าเป็นไปได้ควรจะลดความเร็วหรือเบรคก่อน
ต�่ำตามความเหมาะสมของความเร็ว ที่จะเลี้ยว การผ่อนคันเร่งจนสุดหรือการเบรค
การเบรคเพื่อให้รถหยุดให้เบาคันเร่งจนสุดแล้ว ในโค้งอาจท�ำให้ล้อปัดและเสียการทรงตัวได้
ใช้ทั้งเบรคหน้าและเบรคหลัง เวลาขับขี่ในบริเวณที่เปียกหรือฝนตกหรือถนน
ลื่น ประสิทธิภาพในการหยุดรถย่อมลดลง การ
เร่งความเร็ว เบรคหรือเลี้ยวอย่างกะทันหันอาจ
ท�ำให้รถเสียการทรงตัวได้ ดังนั้นโปรดใช้ความ
ระมัดระวังเวลาเบรค เร่งความเร็วหรือเลี้ยวรถ

50
ขณะขับขี่ลงทางลาดชันเป็นระยะทางยาวๆ
การเบรคให้ท�ำโดยลดเกียร์ลงต�่ำเพื่อให้กำ� ลัง
อัดของเครื่องยนต์ช่วยเบรค (ENGINE BRAKE)
การใช้เบรคติดต่อกันไปเรื่อยๆ อาจท�ำให้เบรค
ร้อนเกินไปและท�ำให้ประสิทธิภาพในการเบรค
ลดลง
ไม่ควรขับขี่โดยให้เท้าอยู่บนคันเบรคหลังหรือ
มืออยู่ที่คันเบรคหน้านอกเสียจากว่าท่านตั้งใจ
จะเบรค เพราะจะท�ำให้ผ้าเบรคสึกเร็วกว่าปกติ
หรืออาจท�ำให้เบรคเสียได้เพราะร้อนเกินไป และ
ไฟเบรคของท่านก็อาจท�ำให้รถที่ขับตามหลังมา
หลงเข้าใจผิดได้

51
การจอดรถ
1. หลังจากหยุดรถจักรยานยนต์แล้ว ให้เปลี่ยน ท่อไอเสียจะร้อนมากในขณะขับขี่และยังคงร้อน
เป็นเกียร์ว่างและหมุนแฮนด์ไปทางด้านซ้าย พอที่จะท�ำให้เกิดบาดแผลไหม้ได้หากสัมผัสโดน
สุดและหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ "OFF" และดึง แม้ว่าจะดับเครื่องยนต์แล้วก็ตาม
กุญแจออก ต้องแน่ใจว่าวัสดุที่ติดไฟได้ง่าย เช่น หญ้าแห้งหรือ
2. ใช้ขาตั้งข้างหรือขาตั้งกลางช่วยในการจอดรถ ใบไม้ ไม่สัมผัสกับระบบไอเสียในขณะที่จอดรถ
ควรจอดรถในพื้นที่ที่มีระดับเสมอกันเพื่อป้องกัน จักรยานยนต์
รถล้ม
ในกรณีที่เป็นที่ลาดเอียงให้จอดรถโดยให้หน้ารถ
เชิดสูงไว้เพื่อป้องกันการล้มหรือพับกลับของขา
ตั้งกลางหรือขาตั้งข้าง
3. ใส่กุญแจล๊อคคอรถไว้เพื่อป้องกันการขโมย
(หน้า 34)
ปิดระบบกุญแจนิรภัย 2 ชั้น เพื่อป้องกันการ
ขโมย (หน้า 35)
52
ค�ำแนะน�ำการป้องกันรถถูกขโมย
1. ล๊อคคอรถเสมอและอย่าปล่อยกุญแจคาไว้ที่
สวิทช์จุดระเบิด เรื่องนี้ดูเหมือนกับเป็นเรื่อง
ง่ายๆ แต่ส่วนใหญ่คนมักจะเผอเรอ
2. ตรวจให้แน่ใจว่าข้อมูลการจดทะเบียนรถถูก
ต้องตามกฎหมาย
3. จอดรถของท่านในโรงเก็บรถที่ปิดอย่างดี
4. ใช้อุปกรณ์กันขโมยที่มีคุณภาพเพิ่ม
5. เขียนชื่อ ที่อยู่ และเบอร์โทรศัพท์ของท่านลงใน
คู่มือเล่มนี้และเก็บไว้กับรถตลอดเวลา
ชื่อ :
ที่อยู่ :

เบอร์โทรศัพท์ :
53
การบ�ำรุงรักษา ฮอนด้าเพื่อขอค�ำแนะน�ำที่จะไปใช้ให้เกิดประ-
ความส�ำคัญของการบ�ำรุงรักษา โยชน์ตามความต้องการของท่าน
รถจักรยานยนต์ที่ได้รับการบ�ำรุงรักษาเป็นอย่าง หากรถจักรยานยนต์ของท่านได้รับอุบัติเหตุเช่น
ดีเป็นสิ่งจ�ำเป็นที่สุดเพื่อการขับขี่ที่ปลอดภัย ประ- รถล้มหรือชน ท่านควรเข้ารับการบริการตรวจ
หยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ปราศจากปัญหายุ่งยาก สอบชิ้นส่วนส�ำคัญๆ ทั้งหมดที่ศูนย์บริการฮอนด้า
อีกทั้งยังช่วยลดมลพิษทางอากาศด้วย แม้ว่าท่านสามารถที่จะซ่อมแซมแก้ไขจุดบกพร่อง
เพื่อที่จะช่วยให้ท่านดูแลรถได้อย่างเหมาะสม บางอย่างได้เองก็ตาม
ขอให้ท่านปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำในหน้าต่อจากนี้
ไป ซึ่งประกอบไปด้วยตารางบ�ำรุงรักษาและการ ▲! คำ�เตือน
ลงบันทึกประวัติการบ�ำรุงรักษาตามระยะเวลา การบ�ำรุงรักษารถจักรยานยนต์รุ่นนี้อย่างไม่
ที่ก�ำหนดเป็นประจ�ำ ถูกต้องเหมาะสม หรือการละเลยในการแก้-
วิธีการใช้นี้ตั้งอยู่บนพื้นฐานที่ว่ารถจักรยานยนต์ ไขปัญหาก่อนการขับขี่ อาจท�ำให้เกิดอุบัติเหตุ
ใช้งานเฉพาะจุดประสงค์ที่ออกแบบมาเท่านั้น เช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาด
การใช้งานด้วยความเร็วสูงโดยไม่หยุดพักหรือ เจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้
ใช้งานในพื้นที่เปียกหรือมีฝุ่นมากย่อมต้องการ ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำในการตรวจสอบและ
การบ�ำรุงรักษาที่มีมากกว่าการขับขี่ปกติจากตา- การบ�ำรุงรักษาและตารางการบ�ำรุงรักษาใน
รางการบ�ำรุงรักษา โดยปรึกษากับทางศูนย์บริการ คู่มือการใช้รถเล่มนี้เสมอ
54
ความปลอดภัยในการบ�ำรุงรักษา อย่างไรก็ตามทางบริษัทฯ ไม่สามารถเตือนท่าน
ในหัวข้อนี้ประกอบด้วยค�ำแนะน�ำส�ำหรับงานการ ให้ระวังอันตรายทุกอย่างที่อาจเกิดขึ้นได้ในระ-
บ�ำรุงรักษาที่สำ� คัญบางประการ ท่านสามารถ หว่างการปฏิบัติการบ�ำรุงรักษา ขอให้ท่านตัดสิน
ปฏิบัติการบ�ำรุงรักษาบางประการด้วยเครื่องมือ ใจว่าควรจะกระท�ำการบ�ำรุงรักษาที่ให้ไว้ด้วยตัว
ที่ให้มา ถ้าหากท่านมีฝีมือทางช่าง ท่านเองหรือไม่
ส�ำหรับงานอื่นซึ่งมีความยุ่งยากมากกว่าและจ�ำเป็น ! คำ�เตือน

ต้องใช้เครื่องมือพิเศษ ควรได้รับการบ�ำรุงรักษา
การละเลยที่จะปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำในการ
โดยช่างผู้ช�ำนาญงาน โดยปกติการถอดล้อควร
บ�ำรุงรักษาอย่างเหมาะสมอาจท�ำให้ท่านได้
กระท�ำโดยช่างของศูนย์บริการฮอนด้าหรือช่าง
รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้
อื่นที่มีฝีมือเท่านั้น ค�ำแนะน�ำที่ให้ไว้ในคู่มือเล่ม
ปฏิบัติตามขั้นตอนต่างๆ และการระมัดระวัง
นี้เพียงเพื่อที่จะช่วยให้ท่านกระท�ำการแก้ไขเฉพาะ
เกี่ยวกับความปลอดภัยที่ให้ไว้ในคู่มือการ
กรณีฉุกเฉินเท่านั้น
ใช้รถเล่มนี้เสมอ
การระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัยที่ส�ำคัญ
ที่สุดบางประการได้แสดงไว้แล้วในคู่มือเล่มนี้
55
การระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย
ต้องแน่ใจว่าดับเครื่องยนต์ก่อนเริ่มท�ำการบ�ำรุงรักษา เพื่อลดความเป็นไปได้ในการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
หรือซ่อมแซมรถจักรยานยนต์ สิ่งนี้จะช่วยลดอันตราย ควรระวังเมื่อท่านท�ำงานในบริเวณที่เก็บน�ำ้ มันเชื้อเพลิง
ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ หรือแบตเตอรี่ ควรใช้ตัวท�ำละลายที่ไม่ติดไฟเท่านั้น
* ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ที่ปล่อยออกมาจากไอเสีย อย่าใช้นำ�้ มันเชื้อเพลิงในการท�ำความสะอาดชิ้นส่วน
ของเครื่องยนต์ ต่างๆ หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ การท�ำให้เกิดประกายไฟ
ต้องแน่ใจว่าท่านอยู่ในที่ที่มีการระบายอากาศเพียงพอ และเปลวไฟในบริเวณที่เก็บแบตเตอรี่และชิ้นส่วนที่
เมื่อใดก็ตามที่ท่านติดเครื่องยนต์ เกี่ยวข้องกับน�ำ้ มันเชื้อเพลิงทั้งหมด
* ชิ้นส่วนที่ร้อนและระบบไอเสีย ควรระลึกไว้เสมอว่าศูนย์บริการฮอนด้ารู้จักรถของท่านดี
ปล่อยให้เครื่องยนต์และระบบไอเสียเย็นลงก่อนที่จะ ที่สุดและยังมีอุปกรณ์ในการบ�ำรุงรักษาและซ่อมแซม
สัมผัส อย่างครบถ้วนไว้คอยบริการท่าน
* อันตรายที่เกิดจากชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ เพื่อความมั่นใจในคุณภาพและมีความน่าเชื่อถือมากที่สุด
ไม่ควรติดเครื่องยนต์เว้นแต่ได้รับการแนะน�ำให้กระท�ำ ควรใช้แต่อะไหล่แท้ของฮอนด้าหรืออะไหล่ที่เทียบเท่าใน
เช่นนั้น การซ่อมแซมและเปลี่ยนชิ้นส่วนใหม่
อ่านค�ำแนะน�ำก่อนการเริ่มท�ำการบ�ำรุงรักษาและต้อง
แน่ใจว่าท่านมีเครื่องมือและฝีมือทางช่าง
เพื่อที่จะป้องกันรถจักรยานยนต์พลิกคว�่ำควรจอดรถ
บนพื้นที่มั่นคงและมีระดับเสมอกันด้วยขาตั้งกลางหรือ
ขาตั้งที่ใช้ในงานบริการเพื่อที่จะตั้งรถให้มั่นคง
56
ตารางการบ�ำรุงรักษา
ท�ำการตรวจเช็คก่อนการขับขี่ (หน้า 40) ทุกๆ ระยะของก�ำหนดการบ�ำรุงรักษา
I : ตรวจเช็คและท�ำความสะอาด ปรับตั้ง หล่อลื่น หรือเปลี่ยนใหม่ถ้าจ�ำเป็น
C : ท�ำความสะอาด R : เปลี่ยน L : หล่อลื่น
รายการต่อไปนี้บางรายการจ�ำเป็นต้องใช้ความรู้ทางช่างประกอบการบ�ำรุงรักษาและบางรายการ (โดยเฉพาะ
รายการที่ก�ำกับด้วยเครื่องหมาย * และ **) อาจต้องใช้ข้อมูลทางเทคนิคและเครื่องมือมากขึ้น โปรดขอค�ำ
แนะน�ำจากศูนย์บริการฮอนด้า
* ควรรับบริการจากช่างของศูนย์บริการฮอนด้า นอกเสียจากท่านมีเครื่องมือและข้อมูลบริการที่เหมาะสม
และมีฝีมือทางช่างด้วย โปรดอ้างอิงคู่มือการบริการของฮอนด้า
** เพื่อความปลอดภัยควรให้ช่างของศูนย์บริการฮอนด้าปรับแต่งหรือบ�ำรุงรักษาเท่านั้น
ทางร้านผู้จ�ำหน่ายจะท�ำการทดสอบการขับขี่รถจักรยานยนต์ของท่าน หลังจากได้ท�ำการบ�ำรุงรักษาแล้ว
หมายเหตุ : 1. กรณีที่ระยะทางที่อา่ นได้บนเรือนไมล์มีระยะทางเกินกว่า 12,000 กม. ให้ท�ำการบ�ำรุงรักษา
ต่อไปทุกๆ 4,000 กม. โดยเริ่มดูรายการบ�ำรุงรักษาตามคู่มือตรงช่อง 4,000 กม., 8,000 กม.
และ 12,000 กม. ตามล�ำดับ
หมายเหตุ 2. ควรตรวจเช็คบ�ำรุงรักษาให้บ่อยขึ้นถ้าขับขี่ในพื้นที่ที่เปียกหรือมีฝุ่นมาก
หมายเหตุ 3. ควรตรวจเช็คบ�ำรุงรักษาให้บ่อยขึ้นถ้าขับขี่ในพื้นที่ที่ฝนตกหรือการใช้งานหนัก

57
ระยะทางที่อ่านได้บนเรือนไมล์
รายการ หมายเหตุ การตรวจเช็ค (หมายเหตุ 1) การ การ อ้างอิง
ก่อนการขับขี่ x 1,000 กม. 1 4 8 12 ตรวจเช็ค เปลี่ยนตาม หน้า
(หน้า 40) x 1,000 ไมล์ 0.6 2.5 5 7.5 ประจำ�ปี กำ�หนด

* สายน�้ำมันเชื้อเพลิง I I I I -
ระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง I 14, 22
** กรองน�้ำมันเชื้อเพลิง ทุกๆ 48,000 กม. (30,000 ไมล์) R -
* การท�ำงานของคันเร่ง I I I I I -
* ไส้กรองอากาศ หมายเหตุ 2 ทุกๆ 16,000 กม. (10,000 ไมล์) R 62
ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ หมายเหตุ 3 C C C C 64
หัวเทียน I I R 69
* ระยะห่างวาล์ว I I I I -
น�้ำมันเครื่อง I R R R R R 65
** ตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง C -
** ตัวกรองน�้ำมันเครื่อง C -
* รอบเดินเบา I I I I I -

58
ระยะทางที่อ่านได้บนเรือนไมล์
รายการ หมายเหตุ การตรวจเช็ค (หมายเหตุ 1) การ การ อ้างอิง
ก่อนการขับขี่ x 1,000 กม. 1 4 8 12 ตรวจเช็ค เปลี่ยนตาม หน้า
(หน้า 40) x 1,000 ไมล์ 0.6 2.5 5 7.5 ประจำ�ปี กำ�หนด

โซ่ขับเคลื่อน I ทุกๆ 500 กม. (300 ไมล์) I, L 72


การสึกหรอของผ้าเบรค I I I I I 83
ระบบเบรค I I I I I I 16-20,83
สวิทช์ไฟเบรค I I I I 89
ไฟหน้า I I I I 39
ไฟแสงสว่าง/แตร I -
ระบบคลัทช์ I I I I I 21
ขาตั้งข้าง I I I I 78
* ระบบกันสะเทือน I I I I 78
* น๊อต โบ้ลท์และสกรู I I I -
** ล้อ/ยาง I I I I I I -
** ลูกปืนคอ I I I -
59
ชุดเครื่องมือประจำ�รถ
(2) (1)
ชุดเครื่องมือ (1) อยู่ในช่องเก็บเครื่องมือ (2) ซึ่ง
อยู่ใต้เบาะนั่ง (หน้า 36)
ท่านสามารถซ่อมรถระหว่างทาง ปรับแต่งเล็กๆ
น้อยๆ และเปลี่ยนชิ้นส่วนได้โดยใช้เครื่องมือที่
อยู่ในชุดเครื่องมือนี้
ประแจปากตาย 8x10
ประแจปากตาย 14x17
ประแจถอดหัวเทียน
ไขควงแบน/ไขควงแฉก (1) ชุดเครื่องมือ (2) ช่องเก็บเครื่องมือ
ด้ามไขควง
ซองใส่เครื่องมือ

60
หมายเลขประจำ�รุ่นรถ หมายเลขตัวถัง (1) ประทับอยู่ที่ส่วนหลังของตัว
หมายเลขตัวถังและหมายเลขเครื่องยนต์เป็นสิ่ง ถังใต้เบาะนั่ง
จ�ำเป็นส�ำหรับการจดทะเบียนและอาจจ�ำเป็น หมายเลขเครื่องยนต์ (2) ประทับอยู่ที่ดา้ นซ้าย
ต้องใช้เมื่อท่านสั่งชิ้นส่วนส�ำหรับเปลี่ยนจากร้าน ล่างของเรือนเครื่องยนต์
ผู้จ�ำหน่าย บันทึกหมายเลขลงที่นี่เพื่อใช้ในการ
อ้างอิง
หมายเลขตัวถัง หมายเลขเครื่องยนต์
(1)

(2)

(1) หมายเลขตัวถัง (2) หมายเลขเครื่องยนต์


61
ไส้กรองอากาศ
(อ้างอิงการระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย หน้า 56) 5. ประกอบชิ้นส่วนที่ถอดออกมาเข้าที่เดิมโดยย้อนลำ�ดับ
เปลี่ยนไส้กรองอากาศตามที่ระบุไว้ในตารางการบำ�รุง ขั้นตอนการถอด
รักษา (หน้า 58) หรือเปลี่ยนหากไส้กรองอากาศมีฝุ่น
มากเกินไป หรือมีความเสียหายใดๆ เกิดขึ้น ห้ามทำ�ความ (3)
สะอาดไส้กรองอากาศ
1. ถอดฝาครอบเรือนไส้กรองอากาศ (1) โดยการถอด
(2)
สกรู (2) ออก
2. ถอดและเปลี่ยนไส้กรองอากาศ (3)
3. ทำ�ความสะอาดภายในของเรือนไส้กรองอากาศ (4)
ให้ทั่วถึง
4. ประกอบไส้กรองอากาศอันใหม่
ใช้ไส้กรองอากาศแท้ของฮอนด้าหรือไส้กรองอากาศ (1) (4)
ที่เทียบเท่าซึ่งได้กำ�หนดให้ใช้กับรถรุ่นนี้ การใช้ไส้กรอง (2)
อากาศของฮอนด้าที่ผิดประเภทหรือการใช้ไส้กรอง (1) ฝาครอบเรือนไส้กรองอากาศ
อากาศที่ไม่ใช่ของฮอนด้าซึ่งมีคุณภาพไม่เท่ากันอาจ (2) สกรู
ทำ�ให้เครื่องยนต์เกิดความสึกหรอก่อนกำ�หนด หรือ (3) ไส้กรองอากาศ
ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ กับประสิทธิภาพการทำ�งาน
ของเครื่องยนต์ได้ (4) เรือนไส้กรองอากาศ
62
รถจักรยานยนต์รุ่นนี้มีไส้กรองอากาศเป็นแบบ
กระดาษเปียก
การทำ�ความสะอาดโดยการใช้ลมเป่าหรือการ
ทำ�ความสะอาดด้วยวิธีการอื่นใด จะทำ�ให้ประ-
สิทธิภาพของไส้กรองอากาศแบบกระดาษเปียก
ลดลง และทำ�ให้มีฝุ่นเข้าไปด้านในได้
อย่าทำ�การบริการบำ�รุงรักษาใดๆ กับไส้กรอง
อากาศ นอกเสียจากการเปลี่ยนไส้กรองอากาศ

63
ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ
(อ้างอิงการระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย
หน้า 56)
1. ถอดท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ (1) ออก
จากเรือนไส้กรองอากาศและถ่ายเขม่าสะสม
ลงในภาชนะที่เหมาะสม
2. ประกอบท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศกลับ
เข้าที่
ควรรับบริการให้บ่อยขึ้นเมื่อขับขี่ในขณะฝนตก
(1)
หรือขับขี่ด้วยความเร็วสูง หลังจากล้างรถหรือ
รถล้ม ควรรับบริการเมื่อระดับเขม่าสะสมในท่อ
ระบายมีมากจนสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน (1) ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ

64
น�้ำมันเครื่อง รถของท่านไม่จ�ำเป็นต้องเติมสารเพิ่มคุณภาพน�้ำมัน
(อ้างอิงการระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย ให้ใช้น�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำ
หน้า 56) อย่าใช้น�้ำมันที่มีส่วนผสมของสารเพิ่มคุณภาพน�้ำมัน
ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับน�้ำมันเครื่อง ประเภทโมลิบดีนัมหรือแกรไฟต์ เนื่องจากอาจมีผล
กระทบต่อการท�ำงานของคลัทช์ได้
การแบ่งประเภทน�้ำมัน SG หรือสูงกว่า
เครื่องตามมาตรฐาน ยกเว้นน�้ำมันที่มีข้อความ
อย่าใช้น�้ำมันที่มีมาตรฐาน API SH หรือสูงกว่าที่
เอพีไอ (API) ประหยัดเชื้อเพลิงบนป้าย มีเครื่องหมาย API ล้อมรอบด้วยข้อความประหยัด
เครื่องหมายมาตรฐาน เชื้อเพลิงบนป้ายที่ข้างภาชนะบรรจุน�้ำมัน ซึ่งอาจมี
เอพีไอ (API) ผลต่อการหล่อลื่นและสมรรถนะในการท�ำงานของ
ความหนืด SAE 10W-30 คลัทช์ได้
มาตรฐาน JASO MA
T 903
น�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำ
น�้ำมันเครื่องส�ำหรับรถจักรยานยนต์ 4 จังหวะฮอนด้า ไม่แนะนำ�ให้ใช้ OK
หรือเทียบเท่า
อย่าใช้น�้ำมันที่ไม่มีคุณสมบัติในการชะล้าง น�้ำมันพืช
หรือน�้ำมันที่ใช้ในรถแข่ง
65
ความหนืด มาตรฐาน JASO T 903
ระดับความหนืดของน�้ำมันเครื่องควรจะยึดจาก มาตรฐาน JASO T 903 เป็นดัชนีส�ำหรับน�้ำมัน
อุณหภูมิเฉลี่ยในพื้นที่ที่ใช้ขับขี่ ข้อมูลต่อไปนี้จะ เครื่องส�ำหรับเครื่องยนต์รถจักรยานยนต์ 4 จังหวะ
ให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการเลือกเกรดน�้ำมันที่ใช้ โดยแบ่งน�้ำมันเครื่องออกเป็น 2 ประเภทคือ MA
ได้ในหลายสภาวะอากาศ และ MB
น�้ำมันที่เป็นไปตามมาตรฐานนี้จะมีป้ายแสดงไว้
ที่ภาชนะบรรจุน�้ำมัน ยกตัวอย่างเช่น ป้ายต่อไป
นี้แสดงน�้ำมันประเภท MA
(1)

(2)

(1) หมายเลขรหัสของบริษัทผู้ขายน�้ำมัน
(2) ประเภทของน�้ำมัน
66
การเปลี่ยนน�้ำมันเครื่อง น�้ำมันเครื่องที่ใช้แล้วอาจเป็นสาเหตุให้เป็นมะเร็ง
คุณภาพของน�้ำมันเครื่องถือว่าเป็นปัจจัยหลักที่ ทางผิวหนังได้ ถ้าผิวหนังถูกกับน�้ำมันเครื่องเป็น
มีผลต่ออายุการใช้งานของเครื่องยนต์ เปลี่ยน ระยะเวลานานๆ ควรล้างมือด้วยสบู่หลังจากการ
น�้ำมันเครื่องตามที่ระบุไว้ในตารางการบ�ำรุงรักษา ใช้น�้ำมัน
(หน้า 58) การเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องต้องใช้ประแจปอนด์ ดัง
เมื่อขับขี่ในพื้นที่ที่มีฝุ่นละอองมาก ควรเปลี่ยน นั้นหากท่านไม่มีประแจปอนด์และไม่มีความช�ำ-
น�้ำมันเครื่องให้บ่อยขึ้นกว่าที่ก�ำหนดไว้ในตาราง นาญในการปฏิบัติ ทางบริษัทฯ ขอแนะน�ำให้
การบ�ำรุงรักษา ท่านน�ำรถเข้าไปรับบริการที่ศูนย์บริการฮอนด้า
กรุณาก�ำจัดน�้ำมันเครื่องที่ใช้แล้วอย่างถูกวิธีเพื่อ ถ้าไม่มีประแจปอนด์ขัน ควรน�ำรถเข้าศูนย์บริการ
ไม่ให้ท�ำลายสภาพแวดล้อม ฮอนด้าขอแนะน�ำ
ฮอนด้าเพื่อตรวจเช็คความถูกต้องอีกครั้ง
ให้ทา่ นบรรจุน�้ำมันเครื่องที่ใช้แล้วลงในภาชนะที่
ปิดผนึก แล้วส่งไปยังศูนย์รีไซเกิลในท้องถิ่นหรือ เปลี่ยนน�้ำมันเครื่องในขณะที่เครื่องยนต์อยู่ใน
สถานีบริการเพื่อน�ำกลับมาใช้ใหม่ อย่าทิ้งน�้ำมัน อุณหภูมิท�ำงานปกติและตั้งรถให้ตรงด้วยขาตั้ง
เครื่องลงในถังขยะ ราดลงพื้นดินหรือทิ้งลงท่อ กลาง เพื่อให้น�้ำมันไหลออกได้หมดอย่างรวดเร็ว
ระบายน�้ำ
67
1. วางถาดรองรับน�้ำมันไว้ใต้เรือนเครื่องยนต์ 8. หลังจากดับเครื่อง 2-3 นาที ให้ตรวจเช็คระดับ
2. การถ่ายน�้ำมัน ถอดฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ น�ำ้ มันเครื่องว่าอยู่ที่ขีดบอกระดับสูงสุดบนฝา
ก้านวัด โบ้ลท์ถา่ ยน�้ำมันเครื่อง (1) และแหวน ปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด ในขณะที่ตั้ง
รองกันรั่ว (2)
3. ถีบคันสตาร์ทหลายๆ ครั้งเพื่อให้น�้ำมันเครื่อง รถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้งกลางบนพื้นราบ
ออกให้หมด หรือไม่ ต้องแน่ใจว่าไม่มีน�้ำมันรั่วซึม
4. เช็คแหวนรองกันรั่วโบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่องว่า
อยู่ในสภาพดีหรือไม่ ประกอบโบ้ลท์ เปลี่ยน
แหวนรองกันรั่วทุกครั้งที่ถ่ายน�้ำมันเครื่อง หรือ
เมื่อจ�ำเป็น
อัตราการขันแน่นของโบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่อง :
24 นิวตัน-เมตร (2.4 กก.-ม., 18 ฟุต-ปอนด์)
5. เติมน�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำให้ได้ระดับประมาณ
0.8 ลิตร
(1) (2)
6. ประกอบฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด
7. ติดเครื่องยนต์และปล่อยให้เดินเบาเป็นเวลา
3-5 นาที (1) โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่อง (2) แหวนรองกันรั่ว
68
หัวเทียน 1. ปลดปลั๊กหัวเทียน (1) ออกจากหัวเทียน
(อ้างอิงการระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย 2. ทำ�ความสะอาดเอาสิ่งสกปรกออกจากรอบๆ
หน้า 56) ฐานหัวเทียนและถอดหัวเทียนออกด้วยประแจ
หัวเทียนที่ควรใช้ : ถอดหัวเทียนที่อยู่ในชุดเครื่องมือ
มาตรฐาน :
CPR6EA-9S (NGK) หรือ (1)
U20EPR9S (DENSO)
ข้อสังเกต
ห้ามใช้หัวเทียนผิดเบอร์เพราะอาจท�ำให้เครื่อง-
ยนต์เสียหายได้

(1) ปลั๊กหัวเทียน

69
3. เช็คสภาพของเขี้ยวและขั้วแกนกลางว่ามีคราบ
เขม่าสะสมหรือสึกหรอหรือไม่ ถ้ามีมากควร
เปลี่ยนหัวเทียนอันใหม่ ท�ำความสะอาดเขม่า (3) (2)
โดยใช้ที่ลา้ งหัวเทียนหรือแปรงลวด
4. เช็คระยะห่างของเขี้ยวหัวเทียน (2) โดยใช้
ฟิลเลอร์เกจชนิดที่เป็นลวด ถ้าจ�ำเป็นจะต้อง
ปรับตั้งให้ค่อยๆ ดัดเขี้ยวหัวเทียน (3)
ระยะห่างเขี้ยวหัวเทียน :
0.80-0.90 มม. (0.031-0.035 นิ้ว)
(2) ระยะห่างเขี้ยวหัวเทียน (3) เขี้ยวหัวเทียน

70
5. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าแหวนรองหัวเทียนอยู่ใน (ข) จากนั้นให้คลายหัวเทียนออก
สภาพที่ดี (ค) ขันหัวเทียนอีกครั้ง :
6. ใส่หัวเทียนเข้ากับฝาสูบโดยใช้มือหมุนน�ำเข้า NGK : 1/6 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว
ไปก่อนให้สุดเกลียวเพื่อป้องกันเกลียวหัวเทียน DENSO : 1/8 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่
เสียหาย แล้ว
7. ขันหัวเทียน :
ข้อสังเกต
ถ้าหัวเทียนเก่าอยู่ในสภาพที่ดี : การขันหัวเทียนอย่างไม่ถูกต้องเหมาะสมอาจท�ำ
NGK : 1/6 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว ให้เครื่องยนต์เสียหายได้ ถ้าหัวเทียนหลวมเกิน
DENSO : 1/8 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว ไปลูกสูบอาจได้รับความเสียหายได้ และถ้าหาก
ถ้าใช้หัวเทียนใหม่ ให้ขันหัวเทียน 2 ครั้งเพื่อ หัวเทียนแน่นเกินไป เกลียวของหัวเทียนอาจได้
ป้องกันการคลาย รับความเสียหายได้
(ก) ในครั้งแรก, ให้ขันหัวเทียน :
NGK : 1/4 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว 8. ประกอบปลั๊กหัวเทียนเข้ากับหัวเทียน
DENSO : 3/4 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว
71
โซ่ขับเคลื่อน ของโซ่ขับเคลื่อน :
(อ้างอิงการระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย 20-30 มม. (0.8-1.2 นิ้ว)
หน้า 56) 3. หมุนล้อหลังแล้วหยุดเพื่อเช็คความตึงหย่อน
อายุการใช้งานของโซ่ขับเคลื่อน (1) ขึ้นอยู่กับการ ของโซ่ขับเคลื่อน ท�ำตามขั้นตอนนี้ซ�้ำหลายๆ
หล่อลื่นและการปรับตั้งที่เหมาะสม การบ�ำรุง ครั้ง ความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อนควรจะคงที่
รักษาที่ไม่ถูกต้องสามารถท�ำให้โซ่ขับเคลื่อนและ ถ้าพบว่าข้อโซ่บางข้อแข็งหรือไม่หมุนให้แก้ไข
สเตอร์สึกหรอหรือเสียหายก่อนเวลาอันสมควร โดยหยอดน�้ำมันหล่อลื่น
ได้ ควรตรวจสอบและหล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อนตาม
ข้อแนะน�ำการตรวจเช็คก่อนการขับขี่ (หน้า 40)
ในกรณีที่ใช้งานหนักหรือขับขี่ในบริเวณที่มีฝุ่น (1)
หรือโคลนมาก ควรท�ำการบ�ำรุงรักษาบ่อยขึ้น
การตรวจเช็ค
1. ดับเครื่องยนต์ ตั้งรถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้ง
กลาง และเปลี่ยนเป็นเกียร์ว่าง
2. ถอดฝาปิดรูบังโซ่ (2) ออก เช็คความตึงหย่อน (2) (3)

ของโซ่ขับเคลื่อนโดยมองผ่านรูบังโซ่ (3) ความ (1) โซ่ขับเคลื่อน (2) ฝาปิดรูบังโซ่


ตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อนควรปรับตั้งโดยการ (3) รูบังโซ่
ขยับโซ่ขึ้นลงด้วยมือให้ได้คา่ ความตึงหย่อน 72
4. ถอดฝาครอบโซ่ตัวบน (4) และฝาครอบโซ่ 5. ตรวจเช็คความสึกหรอหรือเสียหายของฟัน
ตัวล่าง (5) ออก โดยการถอดโบ้ลท์ (6) สเตอร์ เปลี่ยนใหม่ถา้ จำ�เป็น
(4)
ฟันสเตอร์เสียหาย ฟันสเตอร์สึกหรอ
เปลี่ยนใหม่ เปลี่ยนใหม่

(6)
(5) ฟันสเตอร์ปกติ
(4) ฝาครอบโซ่ตัวบน ดี
(5) ฝาครอบโซ่ตัวล่าง 6. ถ้าโซ่หรือสเตอร์สึกหรอหรือเสียหายควรเปลี่ยน
(6) โบ้ลท์ ทั้งชุด ไม่ควรใช้โซ่เส้นใหม่กับสเตอร์ที่สึกหรอ
เพราะจะท�ำให้โซ่สึกหรอเร็ว
73
การปรับตั้ง (3) (4) (2)
ถ้าต้องการปรับตั้งโซ่ให้ท�ำตามขั้นตอนต่อไปนี้
1. ตั้งรถด้วยขาตั้งกลางในขณะที่รถอยู่ในต�ำแหน่ง
เกียร์วา่ งและสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ต�ำแหน่ง "OFF"
2. คลายน๊อตเพลาล้อหลัง (1)
3. คลายน๊อตล๊อค (2) ที่อยู่บนตัวปรับตั้งโซ่ (3)
ทั้งสองตัวออก (5)
(3)
4. หมุนน๊อตปรับตั้ง (4) บนตัวปรับตั้งโซ่ทั้งด้าน (4)
ซ้ายและขวาในจ�ำนวนรอบที่เท่ากันเพื่อเพิ่ม
หรือลดความตึงหย่อนของโซ่
หมุนน๊อตปรับตั้งตามเข็มนาฬิกาเพื่อท�ำให้โซ่ตึง
หรือหมุนทวนเข็มนาฬิกาเพื่อท�ำให้โซ่หย่อน
จัดให้ส่วนปลายของตัวปรับตั้งโซ่อยู่ในแนวเดียว (2)
(1) (5)
กับขีดเครื่องหมายบนสวิงอาร์ม (5) ทั้ง 2 ด้าน
ถ้าความตึงหย่อนของโซ่มากเกินปกติเมื่อเพลา (1) น๊อตเพลาล้อหลัง (4) น๊อตปรับตั้ง
ล้อหลังเลื่อนไปจนสุดระยะการปรับตั้งแล้ว (2) น๊อตล๊อค (5) ขีดเครื่องหมายบน
แสดงว่าโซ่สึกหรอมากและต้องเปลี่ยนใหม่ (3) ตัวปรับตั้งโซ่ สวิงอาร์ม
74
5. ขันน๊อตเพลาล้อหลังให้ได้อัตราการขันแน่น การหล่อลื่น
ตามที่ก�ำหนด หล่อลื่นโซ่ทุกๆ 500 กม. (300 ไมล์) หรือเร็วกว่า
อัตราการขันแน่นของน๊อตเพลาล้อหลัง : นี้ถ้าโซ่แห้ง
59 นิวตัน-เมตร (6.0 กก.-ม., 44 ฟุต-ปอนด์) ใช้น�้ำมันเครื่อง SAE 80 หรือ 90 หรือสามารถใช้
ถ้าไม่มีประแจปอนด์ในการขันน๊อตเพลาล้อควร น�้ำมันเครื่องหรือน�้ำมันหล่อลื่นอื่นๆ แทนได้ ชโลม
น�ำรถเข้าศูนย์บริการฮอนด้า เพื่อตรวจเช็คอัตรา น�้ำมันหล่อลื่นที่ข้อต่อโซ่แต่ละข้อ เพื่อที่น�้ำมัน
การขันแน่นและความถูกต้องของการประกอบ หล่อลื่นจะได้ซึมผ่านระหว่างแผ่นประกบ สลัก
6. ขันน๊อตปรับตั้งเบาๆ แล้วขันน๊อตล๊อคให้แน่น
บู๊ช และลูกกลิ้ง
โดยใช้ประแจยึดน๊อตปรับตั้งไว้
โซ่ที่แนะน�ำ :
7. ตรวจเช็คความตึงหย่อนของโซ่อีกครั้ง
8. ในขณะที่ท่านขยับล้อหลังเพื่อปรับตั้งความตึง DID420AD-102RB
หย่อนของโซ่นั้น การกระท�ำดังกล่าวจะมีผล KMC420JB-102
ต่อระยะฟรีของคันเบรคหลัง ดังนั้นจึงควรเช็ค
ระยะฟรีเบรคหลังและปรับตั้งทุกครั้ง (หน้า 19)
ที่ได้ท�ำการปรับตั้งความตึงหย่อนของโซ่
75
การถอดและท�ำความสะอาด
เมื่อโซ่สกปรกมาก จ�ำเป็นต้องถอดออกมาท�ำ (1)
ความสะอาดก่อนการหล่อลื่น
1. ดับเครื่องยนต์ ถอดฝาครอบโซ่และคลิ๊ปล๊อค
โซ่ (1) ออกอย่างระมัดระวังด้วยคีม อย่าให้
คลิ๊ปบิดเบี้ยว จากนั้นถอดข้อต่อโซ่แล้วถอด
โซ่ออกจากรถจักรยานยนต์
2. ท�ำความสะอาดโซ่ด้วยตัวท�ำละลายที่มีจุดวาบ
ไฟสูงและเป่าให้แห้ง ตรวจเช็คความเสียหาย
หรือสึกหรอของโซ่ เปลี่ยนโซ่ใหม่ถ้าลูกกลิ้ง
ข้อต่อหรือชิ้นส่วนประกอบเสียหาย
3. ตรวจเช็คความสึกหรอหรือเสียหายของฟัน (1) คลิ๊ปล๊อคโซ่
สเตอร์ เปลี่ยนใหม่ถา้ จ�ำเป็น อย่าใช้โซ่ใหม่กับ
สเตอร์ที่สึกหรอมาก ทั้งโซ่และสเตอร์จะต้อง
อยู่ในสภาพที่ดีหรือเปลี่ยนใหม่ทั้งคู่หากสึกหรอ
มาก
4. ท�ำการหล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อน (หน้า 75)
76
5. คล้องโซ่เข้ากับสเตอร์หลังและต่อปลายโซ่เข้า
กับข้อต่อโซ่ การประกอบโซ่วิธีงา่ ยๆ นั้นให้ยึด (1)
ปลายโซ่กับฟันของสเตอร์หลังขณะสอดข้อต่อ
โซ่เข้าด้วยกัน ข้อต่อโซ่เป็นชิ้นส่วนที่ต้องระมัด
ระวังมากที่สุด เนื่องจากมีผลกระทบต่อความ
ปลอดภัยของโซ่ขับเคลื่อน ข้อต่อโซ่สามารถ
น�ำกลับมาใช้ได้อีกหากยังอยู่ในสภาพที่ดี
ส่วนคลิ๊ปล๊อคโซ่ควรเปลี่ยนใหม่ทุกครั้งเมื่อมี
การประกอบโซ่ การประกอบคลิ๊ปล๊อคโซ่ให้
ปลายด้านที่ปิดของคลิ๊ปล๊อคโซ่หันไปในทิศ (1) คลิ๊ปล๊อคโซ่
ทางเดียวกันกับการหมุนไปข้างหน้าของล้อ
6. ปรับตั้งความตึงหย่อนของโซ่ (หน้า 74-75)
และระยะฟรีของคันเบรคหลัง (หน้า 19)
ประกอบฝาครอบโซ่
77
การตรวจเช็คระบบกันสะเทือนหน้า- ขาตั้งข้าง
(อ้างอิงการระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย
หลัง หน้า 56)
(อ้างอิงการระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย เช็คความเสียหายและการเสียความยืดหยุ่นของ
หน้า 56) สปริงขาตั้งข้าง (1) และเช็คความคล่องตัวของ
1. เช็คชุดโช๊คหน้าโดยล๊อคเบรคหน้าและปั๊มโช๊ค ชุดขาตั้งข้าง ถ้าขาตั้งข้างมีเสียงดังหรือฝืดให้ท�ำ
ขึ้นลงอย่างรวดเร็ว ระบบกันสะเทือนควรจะ ความสะอาดบริเวณจุดหมุนขาตั้งข้าง และหล่อ
ราบเรียบ และไม่มีการรั่วซึมของน�้ำมัน ลื่นโบ้ลท์ยึดจุดหมุนด้วยน�้ำมันเครื่องที่สะอาด
2. บู๊ชสวิงอาร์มสามารถเช็คได้โดยการกดหรือ
โยกแรงๆ บริเวณด้านข้างของวงล้อหลังขณะ
ที่ตั้งรถด้วยขาตั้งกลาง ขณะกดหรือโยกล้อ
หลังนั้นให้เช็คดูวา่ บู๊ชสวิงอาร์มหลวมหรือไม่
3. ควรระมัดระวังในการตรวจเช็คอัตราการขัน
แน่นของตัวยึดระบบกันสะเทือนหน้าและหลัง (1)

(1) สปริงขาตั้งข้าง
78
การถอดล้อ 3. ถอดน๊อตปรับตั้งเบรคหน้า (3) และถอดสาย
(อ้างอิงการระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย เบรคหน้า (4) ออกจากขาเบรค (5)
หน้า 56) 4. ถอดน๊อตเพลาล้อหน้า (6)
การถอดล้อหน้า 5. ถอดเพลาล้อหน้า (7) ล้อหน้า และปลอกรอง
1. ยกล้อหน้าให้ลอยขึ้นจากพื้นโดยวางหมอน ข้างล้อหน้าออก
รองรับใต้เครื่องยนต์
2. ถอดสายมาตรวัดความเร็ว (1) โดยปลดเดือย
ล๊อค (2)
(6) (2)
(5)

(3)
(1)

(4) (7)

(1) สายมาตรวัดความเร็ว (2) เดือยล๊อค (7) เพลาล้อหน้า


(3) น๊อตปรับตั้งเบรคหน้า (4) สายเบรคหน้า
(5) ขาเบรค (6) น๊อตเพลาล้อหน้า
79
การประกอบล้อหน้า 8. ประกอบสายมาตรวัดความเร็วกลับเข้าที่เดิม
1. ประกอบปลอกรองข้างล้อหน้าเข้าไปในดุมล้อ ถ้าไม่มีประแจปอนด์ในการขันน๊อตเพลาล้อควร
ด้านขวา น�ำรถเข้าศูนย์บริการฮอนด้า เพื่อตรวจเช็คอัตรา
2. จัดวางล้อหน้าเข้าไปอยู่ระหว่างแกนโช๊คอัพ การขันแน่นและความถูกต้องของการประกอบ
ทั้งสองข้างและสอดเพลาล้อหน้าเข้าไปจาก การประกอบที่ไม่ถูกต้องอาจท�ำให้ประสิทธิภาพ
ทางด้านขวาโดยให้ผ่านแกนโช๊คอัพด้านขวา ในการเบรคลดลง
และดุมล้อ (8)
3. ต้องแน่ใจว่าเดือย (8) ที่แกนโช๊คอัพด้านซ้าย
ลงร่องของจานเบรคพอดี
4. ขันน๊อตเพลาล้อหน้าให้ได้ค่าที่ก�ำหนด
อัตราการขันแน่นของน๊อตเพลาล้อหน้า :
59 นิวตัน-เมตร (6.0 กก.-ม., 44 ฟุต-ปอนด์)
5. ประกอบสายเบรคหน้าและน๊อตปรับตั้งเบรคหน้า
6. ปรับตั้งเบรคหน้า (หน้า 17-18)
7. หลังจากประกอบล้อแล้วบีบคันเบรคหน้าหลายๆ
ครั้ง จากนั้นเช็คการหมุนฟรีของล้อเมื่อปล่อย
คันเบรคหน้า ตรวจเช็คอีกครั้งถ้าเบรคลื่นหรือ (8) เดือย
ล้อไม่หมุนฟรี 80
การถอดล้อหลัง 4. ถอดขายึดจานเบรคหลัง (4) ออกจากจานเบรค
(อ้างอิงการระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย
หน้า 56) โดยถอดปิ๊นล๊อค (5) น๊อตยึดขายึดจานเบรค
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้งกลาง หลัง (6) แหวนรอง และยางรอง
2. ถอดฝาครอบโซ่ (หน้า 73) 5. ถอดน๊อตเพลาล้อหลัง (7) แล้วคลายน๊อตล๊อค
3. ถอดน๊อตปรับตั้งเบรคหลัง (1) ปลดก้านเบรค (8) และน๊อตปรับตั้ง (9)
(2) ออกจากขาเบรค (3) (11) (8)
(8) (9) (11) (7) (2)

(3)

(1) (6) (5 ) (4)

(1) น๊อตปรับตั้งเบรคหลัง (2) ก้านเบรค (10) (9) (12)


(3) ขาเบรค (4) ขายึดจานเบรคหลัง (9) น๊อตปรับตั้ง (11) ตัวปรับตั้งโซ่
(5) ปิ๊นล๊อค (6) น๊อตยึดขายึดจานเบรคหลัง
(7) น๊อตเพลาล้อหลัง (8) น๊อตล๊อค (10) เพลาล้อหลัง (12) โซ่ขับเคลื่อน
81
6. ถอดเพลาล้อหลัง (10) ตัวปรับตั้งโซ่ (11) และ 3. ปรับตั้งเบรคหลัง (หน้า 19-20) และโซ่ขับเคลื่อน
ปลอกรองข้างล้อหลัง จากนั้นถอดโซ่ขับเคลื่อน (12) (หน้า 74-75)
ออกจากสเตอร์หลังโดยการดันล้อหลังไปข้าง 4. หลังจากประกอบล้อแล้วกดคันเบรคหลังหลายๆ
หน้า ครั้ง จากนั้นเช็คการหมุนฟรีของล้อเมื่อปล่อย
7. ถอดล้อหลังออกจากรถจักรยานยนต์ คันเบรคหลัง ตรวจเช็คอีกครั้งถ้าเบรคลื่นหรือ
การประกอบล้อหลัง ล้อไม่หมุนฟรี
ประกอบล้อหลังโดยท�ำย้อนล�ำดับขั้นตอนการ ถ้าไม่มีประแจปอนด์ในการขันน๊อตเพลาล้อควร
ถอด น�ำรถเข้าศูนย์บริการฮอนด้า เพื่อตรวจเช็คอัตรา
1. ประกอบปลอกรองข้างล้อหลังเข้าไปในดุมล้อ
การขันแน่นและความถูกต้องของการประกอบ
ทั้งด้านขวาและด้านซ้าย
2. ขันน๊อตเพลาล้อหลังและน๊อตยึดขายึดจาน การประกอบที่ไม่ถูกต้องอาจท�ำให้ประสิทธิภาพ
เบรคหลังให้ได้ค่าที่กำ� หนด ในการเบรคลดลง
อัตราการขันแน่นของน๊อตเพลาล้อหลัง : ปิ๊นล๊อคที่ใช้แล้วอาจจะไม่สามารถยึดตัวยึดได้
59 นิวตัน-เมตร (6.0 กก.-ม., 44 ฟุต-ปอนด์) อย่างแน่นหนา ดังนั้นทุกครั้งที่บริการควรเปลี่ยน
อัตราการขันแน่นของน๊อตยึดขายึดจานเบรคหลัง : ปิ๊นล๊อคอันใหม่เสมอ
22 นิวตัน-เมตร (2.2 กก.-ม., 16 ฟุต-ปอนด์)
82
การสึกหรอของผ้าเบรค <เบรคหน้า>
(อ้างอิงการระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย (1) (4)
หน้า 56)
เบรคหน้าและเบรคหลังจะประกอบด้วยเครื่อง- (3)

หมายแสดงระดับการสึกหรอของผ้าเบรค
(2)

เมื่อใช้เบรคลูกศร (1) ที่ติดอยู่บนขาเบรค (2) จะ


เคลื่อนที่ไปที่มาร์คชี้ระดับ (3) บนจานเบรค (4)
ถ้าลูกศรตรงกับมาร์คชี้ระดับเมื่อบีบหรือกดเบรค <เบรคหลัง>
เต็มที่ จ�ำเป็นจะต้องเปลี่ยนผ้าเบรคใหม่ ควรเข้า (1) (4)

ศูนย์บริการฮอนด้าเพื่อรับบริการนี้ (3)

เมื่อต้องการบริการเกี่ยวกับผ้าเบรค ควรไปรับ
บริการที่ศูนย์บริการฮอนด้า และควรใช้แต่อะไหล่
แท้ของฮอนด้าหรือเทียบเท่า
(2)

(1) ลูกศร (3) มาร์คชี้ระดับ


(2) ขาเบรค (4) จานเบรค
83
แบตเตอรี่ ▲! คำ�เตือน
(อ้างอิงการระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย แก๊สที่ระเหยจากแบตเตอรี่เป็นแก๊สไฮโดรเจน
หน้า 56) ซึ่งท�ำให้เกิดระเบิดได้ระหว่างการปฏิบัติงาน
แบตเตอรี่แบบแห้งไม่มีความจ�ำเป็นต้องเช็คระ- ตามปกติ
ดับน�้ำยาแบตเตอรี่หรือไม่ต้องเติมน�้ำกลั่นลงไป หลีกเลี่ยงการเกิดเปลวไฟหรือประกายไฟเพราะ
ถ้าแบตเตอรี่ไฟอ่อนและ/หรือหมดเร็วอาจท�ำให้ แก๊สที่ระเหยจากแบตเตอรี่สามารถท�ำให้เกิด
เครื่องยนต์สตาร์ทติดยาก หรือท�ำให้เกิดปัญหา ระเบิดได้ ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือ
ด้านไฟฟ้า ฉะนั้นควรปรึกษากับช่างที่ศูนย์บริ- ถึงแก่เสียชีวิตได้
การฮอนด้า สวมเสื้อผ้าและหน้ากากป้องกัน หรือเข้ารับ
ข้อสังเกต บริการจากช่างที่มีความช�ำนาญในการบ�ำรุง
แบตเตอรี่ของท่านเป็นแบบแห้ง และอาจได้รับ รักษาแบตเตอรี่
ความเสียหายได้ถ้าซีลตัวนอกของฝาปิดช่องเติม
น�้ำยาถูกถอดออกมา

84
การถอดแบตเตอรี่ :
1. ต้องแน่ใจว่าสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ต�ำแหน่ง "OFF"
2. ถอดฝาครอบกลาง (1) โดยการถอดสกรู A (5)
(2) ออก
3. ปลดขั้วลบ (-) แบตเตอรี่ (3) ออกจากแบตเตอรี่
ก่อน
4. ถอดฝาปิดแบตเตอรี่ (4) โดยการถอดสกรู B (3)
(5)
(1)
(2)

(5) (4)

(3) ขั้วลบ (-) แบตเตอรี่


(4) ฝาปิดแบตเตอรี่
(5) สกรู B
(1) ฝาครอบกลาง (2) สกรู A
85
5. ปลดขั้วบวก (+) แบตเตอรี่ (6)
6. ดึงแบตเตอรี่ (7) ออกจากกล่องแบตเตอรี่ (7)
(6)
การประกอบ :
1. ประกอบโดยท�ำย้อนล�ำดับขั้นตอนการถอด
ต้องแน่ใจว่าต่อขั้วบวก (+) แบตเตอรี่ก่อน
2. ประกอบฝาปิดแบตเตอรี่
3. ต่อขั้วลบ (-) แบตเตอรี่เข้ากับแบตเตอรี่
4. ตรวจเช็คโบ้ลท์ทั้งหมดและตัวยึดต่างๆ ว่า
แน่นหนาหรือไม่

(6) ขั้วบวก (+) แบตเตอรี่


(7) แบตเตอรี่

86
การเปลี่ยนฟิวส์
(อ้างอิงการระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย
หน้า 56)
ถ้าฟิวส์ขาดบ่อยอันเนื่องมาจากวงจรไฟฟ้าภาย ฟิวส์ขาด
ในรถจักรยานยนต์เกิดบกพร่อง ควรน�ำรถของ
ท่านเข้าตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า
ข้อสังเกต
ห้ามใช้ฟิวส์ที่มีค่าต่างไปจากมาตรฐานที่กำ� หนด
เพราะอาจเป็นสาเหตุให้ระบบไฟฟ้าในรถจักร-
ยานยนต์เสียหายได้ และบางกรณีอาจท�ำให้
ก�ำลังของเครื่องยนต์ตกได้

87
กล่องฟิวส์
กล่องฟิวส์ (1) ติดตั้งอยู่บนฝาปิดแบตเตอรี่ (5)
(3) (2)
ฟิวส์ที่ใช้ :
ฟิวส์หลัก (2) : 15 แอมป์
ฟิวส์อื่นๆ (3) : 10 แอมป์
(4)
1. ถอดฝาปิดแบตเตอรี่ (หน้า 85) ออก
2. เปิดฝาปิดกล่องฟิวส์ (4)
3. ดึงฟิวส์เก่าออกมา ถ้าฟิวส์ขาดให้เปลี่ยนฟิวส์
(1)
ใหม่
ฟิวส์สำ� รอง (5) ติดตั้งอยู่บนกล่องแบตเตอรี่ (1) กล่องฟิวส์ (4) ฝาปิดกล่องฟิวส์
4. ปิดฝาปิดกล่องฟิวส์ (2) ฟิวส์หลัก (5) ฟิวส์ส�ำรอง
5. ประกอบฝาปิดแบตเตอรี่ (3) ฟิวส์อื่นๆ
6. ประกอบฝาครอบกลาง

88
การปรับตั้งสวิทช์ไฟเบรค (1)
(อ้างอิงการระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย
หน้า 56)
เช็คการท�ำงานของสวิทช์ไฟเบรค (1) ซึ่งอยู่ทาง
ด้านขวาถัดจากเครื่องยนต์เป็นครั้งคราว
การปรับตั้งท�ำได้โดยการหมุนน๊อตปรับตั้ง (2) (B) A)
(A)
หมุนตามทิศทางการหมุน A ถ้าสวิทช์ท�ำงานช้า
เกินไป และหมุนตามทิศทางการหมุน B ถ้าสวิทช์
ท�ำงานเร็วเกินไป
(2)

(1) สวิทช์ไฟเบรค (2) น๊อตปรับตั้ง

89
การเปลี่ยนหลอดไฟ
(อ้างอิงการระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย ทุกครั้งก่อนการเปลี่ยนหลอดไฟต้องหมุนสวิทช์
หน้า 56) จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง "OFF" เพื่อป้องกันการ
ขณะเปิดไฟหลอดไฟจะร้อนมากและจะยังร้อน ลัดวงจร
อยู่หลังปิดสวิทช์ใหม่ๆ ฉะนั้นในการเปลี่ยนหลอด อย่าใช้หลอดไฟที่ผิดไปจากมาตรฐานที่กำ� หนด
ไฟต้องแน่ใจว่าความร้อนที่หลอดไฟลดลงแล้ว หลังจากใส่หลอดไฟใหม่เรียบร้อยแล้วให้เช็ค
หรือเย็นลง การท�ำงานของไฟ

90
การเปลี่ยนหลอดไฟหน้า
1. ถอดสกรู (1) และปลอกรอง (2)
(2)
2. ถอดโบ้ลท์ (3) (4) (1)
3. ค่อยๆ ดึงส่วนล่างของไฟหน้า (4) ไปข้างหน้า
4. ปลดขั้วต่อสายไฟ (5)
5. ดึงฝาครอบกันฝุ่น (6) ออก
6. ค่อยๆ กดขั้วหลอดไฟ (7) และหมุนทวนเข็ม
นาฬิกา (5) (3) (2) (1)
7. ถอดขั้วหลอดไฟและหลอดไฟ (8) ออก
(1) สกรู (3) โบ้ลท์
(2) ปลอกรอง (4) ไฟหน้า
(5) ขั้วต่อสายไฟ

91
8. ประกอบหลอดไฟอันใหม่โดยท�ำย้อนล�ำดับ
(9) ขั้นตอนการถอด
(6) ประกอบฝาครอบกันฝุ่นโดยให้ด้านที่มีเครื่อง-
หมาย "TOP" (9) หงายขึ้น
(7) 9. ประกอบชิ้นส่วนที่เหลืออยู่ทั้งหมดกลับเข้าที่
(8) โดยท�ำย้อนล�ำดับขั้นตอนการถอด

(6) ฝาครอบกันฝุ่น (8) หลอดไฟ


(7) ขั้วหลอดไฟ (9) เครื่องหมาย "TOP"

92
การเปลี่ยนหลอดไฟหรี่
การเปลี่ยนหลอดไฟหรี่ทั้งด้านขวาและด้านซ้าย (4)
สามารถท�ำได้ในลักษณะเดียวกัน (1) (7)
1. ถอดไฟเลี้ยวหน้า (1) โดยการถอดสกรู A (2)
และสกรู B (3)
(2)
2. ปลดขั้วต่อสายไฟ (4)
3. หมุนขั้วหลอดไฟ (5) ทวนเข็มนาฬิกาแล้วจึง
ถอดออก
4. ดึงหลอดไฟ (6) ออกโดยไม่ต้องหมุน
(6)
5. ประกอบหลอดไฟอันใหม่โดยท�ำย้อนล�ำดับ
ขั้นตอนการถอด (5) (3)
ประกอบขั้วหลอดไฟโดยการหมุนตามเข็ม
นาฬิกา (1) ไฟเลี้ยวหน้า (5) ขั้วหลอดไฟ
ต้องแน่ใจว่าเครื่องหมาย " " (7) ที่ขั้วหลอด
w

ไฟและที่เรือนไฟหรี่ตรงกัน (2) สกรู A (6) หลอดไฟ


(3) สกรู B (7) เครื่องหมาย " "

w
6. ประกอบชิ้นส่วนที่เหลืออยู่ทั้งหมดกลับเข้าที่
โดยท�ำย้อนล�ำดับขั้นตอนการถอด (4) ขั้วต่อสายไฟ
93
การเปลี่ยนหลอดไฟเบรค/ไฟท้าย 4. ค่อยๆ กดหลอดไฟ (4) และหมุนทวนเข็ม
1. เปิดเบาะนั่งขึ้น (หน้า 36) นาฬิกาแล้วจึงถอดออก
2. ถอดฝาปิดท้ายเบาะ (1) โดยการถอดสกรู (2) 5. ประกอบหลอดไฟอันใหม่โดยท�ำย้อนล�ำดับ
3. หมุนขั้วหลอดไฟ (3) ทวนเข็มนาฬิกาแล้ว ขั้นตอนการถอด
จึงถอดออก 6. ประกอบชิ้นส่วนที่เหลืออยู่ทั้งหมดกลับเข้าที่
(2)
โดยท�ำย้อนล�ำดับขั้นตอนการถอด
(3)

(1)

(4)

(1) ฝาปิดท้ายเบาะ (2) สกรู (3) ขั้วหลอดไฟ (4) หลอดไฟ


94
การเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยวหน้า
การเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยวหน้าทั้งด้านขวาและ (4)
ด้านซ้ายสามารถท�ำได้ในลักษณะเดียวกัน (1)
1. ถอดไฟเลี้ยวหน้า (1) โดยการถอดสกรู A (2)
และสกรู B (3) (7)

2. ปลดขั้วต่อสายไฟ (4) (2)


3. หมุนขั้วหลอดไฟ (5) ทวนเข็มนาฬิกาแล้วจึง
ถอดออก
4. ดึงหลอดไฟ (6) ออกโดยไม่ต้องหมุน
5. ประกอบหลอดไฟอันใหม่โดยท�ำย้อนล�ำดับ
ขั้นตอนการถอด (6)
ประกอบขั้วหลอดไฟโดยการหมุนตามเข็ม (5) (3)

นาฬิกา (1) ไฟเลี้ยวหน้า (5) ขั้วหลอดไฟ


ต้องแน่ใจว่าเครื่องหมาย " " (7) ที่ขั้วหลอด
w

ไฟและที่เรือนไฟเลี้ยวหน้าตรงกัน (2) สกรู A (6) หลอดไฟ


(3) สกรู B (7) เครื่องหมาย " "

w
ใช้เฉพาะหลอดไฟสีนำ�้ ตาลเหลืองเท่านั้น
6. ประกอบชิ้นส่วนที่เหลืออยู่ทั้งหมดกลับเข้าที่ (4) ขั้วต่อสายไฟ
โดยท�ำย้อนล�ำดับขั้นตอนการถอด
95
การเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยวหลัง 4. หมุนขั้วหลอดไฟ (5) ทวนเข็มนาฬิกาแล้วจึง
การเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยวหลังทั้งด้านขวาและ ถอดออก
ด้านซ้ายสามารถท�ำได้ในลักษณะเดียวกัน 5. ดึงหลอดไฟ (6) ออกโดยไม่ต้องหมุน
1. เปิดเบาะนั่งขึ้น (หน้า 36) 6. ประกอบหลอดไฟอันใหม่โดยท�ำย้อนล�ำดับ
2. ถอดฝาปิดท้ายเบาะ (1) โดยถอดสกรู (2) ขั้นตอนการถอด
3. ถอดไฟเบรค/ไฟท้าย (3) โดยถอดโบ้ลท์ (4) ใช้เฉพาะหลอดไฟสีนำ�้ ตาลเหลืองเท่านั้น
(1) (2)
ต้องแน่ใจว่าเดือยล๊อค (7) ประกอบเข้ากับ
(4) ยางรอง (8) พอดี
(8)
(3)
(7)

(1) ฝาปิดท้ายเบาะ (4) โบ้ลท์ (6)


(5)
(2) สกรู (7) เดือยล๊อค
(3) ไฟเบรค/ไฟท้าย (8) ยางรอง (5) ขั้วหลอดไฟ (6) หลอดไฟ
96
การท�ำความสะอาด ข้อสังเกต
ท�ำความสะอาดรถจักรยานยนต์สม�่ำเสมอจะป้อง การล้างรถโดยฉีดน�้ำ (ลม) ที่มีแรงดันสูงสามารถ
กันสีรถเสียและยังเป็นการตรวจสอบความเสียหาย ท�ำให้ชิ้นส่วนบางชิ้นเสียหายได้
ความสึกหรอและการรั่วซึมของน�้ำมันหล่อลื่น การล้างรถ
หรือน�้ำมันเบรคด้วย 1. ล้างรถอย่างทั่วถึงด้วยน�้ำเย็นเพื่อท�ำความ
หลีกเลี่ยงการท�ำความสะอาดด้วยผลิตภัณฑ์ที่ สะอาดสิ่งสกปรก
ไม่ได้รับการออกแบบมาเป็นพิเศษส�ำหรับพื้นผิว 2. ท�ำความสะอาดรถด้วยฟองน�้ำหรือผ้านุ่มๆ
ของรถจักรยานยนต์ โดยใช้นำ�้ เย็น
ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวอาจประกอบไปด้วยผงซักฟอก หลีกเลี่ยงการฉีดน�้ำตรงไปที่ปลายท่อไอเสีย
ที่มีคุณสมบัติในการกัดสูงหรือตัวท�ำละลายทาง และชิ้นส่วนของระบบไฟฟ้า
เคมีซึ่งอาจท�ำให้เกิดความเสียหายกับชิ้นส่วนที่ 3. ท�ำความสะอาดเลนส์ไฟหน้าและชิ้นส่วนที่เป็น
พลาสติกอื่นๆ ด้วยผ้าหรือฟองน�้ำที่ชุบน�ำ้ ผสม
เป็นโลหะ ชิ้นส่วนที่พ่นสี และชิ้นส่วนที่เป็นพลาส- ผงซักฟอกอ่อนๆ ถูบริเวณที่สกปรกเบาๆ และ
ติกของรถของท่านได้ ล้างด้วยน�้ำหลายๆ ครั้ง
ถ้ารถของท่านยังคงร้อนอยู่จากการใช้งาน ควร ดูแลป้องกันไม่ให้นำ�้ มันเบรคหรือตัวท�ำละลาย
รอให้เครื่องยนต์และระบบไอเสียเย็นลงก่อน ทางเคมีหกรดชิ้นส่วนที่เป็นพลาสติกหรือพื้นผิว
ทางบริษัทฯ ขอแนะน�ำให้ท่านหลีกเลี่ยงการฉีด ที่พ่นสีเพราะจะท�ำให้เกิดความเสียหายกับชิ้น
น�้ำที่มีแรงดันสูง ส่วนดังกล่าวได้
97
หลังจากท�ำความสะอาด ภายในของเลนส์ไฟหน้า การใช้สารขัดเงา
อาจมีรอยฝ้ามัวเกิดขึ้นได้ ไอน�้ำเหล่านี้จะหายไป
โดยการติดเครื่องยนต์เปิดไฟหน้าโดยใช้ไฟสูง หลังการล้างรถของท่าน ควรพิจารณาใช้สารขัด
เพื่อไล่รอยฝ้าที่อาจเกิดขึ้นได้ เงาที่สามารถหาซื้อได้ทั่วไป หรือน�ำ้ ยาที่มีคุณ-
4. หลังจากท�ำความสะอาดแล้วให้ล้างรถด้วย ภาพดี หรือทาด้วยแวกซ์เพื่อที่จะขัดเงา ควรใช้
น�้ำสะอาดอย่างทั่วถึง มิฉะนั้นคราบผงซักฟอก แต่สารขัดเงาหรือแวกซ์ที่ไม่กัดกร่อนพื้นผิวสี
ที่ตกค้างอยู่อาจจะกัดกร่อนชิ้นส่วนที่เป็นโลหะ หรือชิ้นส่วนต่างๆ ของรถ ซึ่งผลิตขึ้นมาเป็นพิเศษ
ผสมได้ เพื่อใช้กับรถจักรยานยนต์ ทั้งนี้ท่านควรปฏิบัติ
5. เช็ดรถให้แห้ง สตาร์ทเครื่องและปล่อยให้เครื่อง ตามค�ำแนะน�ำในการใช้สารขัดเงาหรือแวกซ์ที่
เดินประมาณ 2-3 นาที
6. ทดสอบระบบเบรคก่อนขับขี่รถในถนน อาจ แสดงไว้ที่ภาชนะบรรจุ
จะจ�ำเป็นต้องลองเบรคดูหลายๆ ครั้ง เพื่อให้
ระบบเบรคท�ำงานได้ดีตามเดิม
7. หล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อนทันทีที่ล้างและเช็ดรถแห้งแล้ว
ประสิทธิภาพในการเบรคอาจจะลดลงชั่วขณะ
หลังจากการล้างรถจักรยานยนต์ ควรจอดรถทิ้งไว้
เป็นระยะเวลานานๆ เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุ
98
การขจัดคราบเกลือสะสม การบำ�รุงรักษาชุดท่อไอเสีย
ในกรณีที่ท่านขับขี่รถไปยังสถานที่ที่อยู่ใกล้ชาย เมื่อมีการทาสีที่พื้นผิวของชุดท่อไอเสีย ไม่ควร
ทะเล หรือพักอาศัยในพื้นที่ที่อยู่ใกล้ชายทะเล ใช้ผลิตภัณฑ์ทำ�ความสะอาดที่มีฤทธิ์กัดกร่อน
ท่านควรล้างรถโดยปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้ พื้นผิว ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถหาซื้อได้ทั่วไป
1. ท�ำความสะอาดรถด้วยน�้ำเย็น (หน้า 97) ไม่ ตามท้องตลาดในการใช้ทำ�ความสะอาดพื้นผิว
ควรใช้น�้ำอุ่นท�ำความสะอาด เพราะจะเป็น
ดังกล่าว ขอให้ท่านใช้ผลิตภัณฑ์ทำ�ความสะอาด
การเร่งให้เกิดปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก
ที่เป็นกลางในการทำ�ความสะอาดพื้นผิวสีบนชุด
2. เช็ดรถให้แห้งและเคลือบพื้นผิวโลหะด้วย
ท่อไอเสีย ถ้าหากท่านไม่แน่ใจว่าชุดท่อไอเสีย
แวกซ์
ของท่านมีการทาสีที่พื้นผิวไว้หรือไม่ ขอให้ท่าน
ติดต่อสอบถามกับศูนย์บริการฮอนด้าของท่าน

99
การท�ำความสะอาดพื้นผิวสีที่ด้าน การท�ำความสะอาดเบาะนั่ง
ให้ใช้น�้ำล้างในปริมาณมากๆ ท�ำความสะอาด เนื่องมาจากการออกแบบให้มีการเคลือบผิวเบาะ
พื้นผิวสีที่ด้านด้วยผ้าเนื้อนุ่มหรือฟองน�ำ้ แล้วเช็ด นั่ง จึงมีแนวโน้มที่พื้นผิวของเบาะจะดักจับสิ่ง
ให้แห้งด้วยผ้าเนื้อนุ่มที่สะอาด สกปรกหรือฝุ่นละอองที่ฝังอยู่ในเนื้อผิวเบาะ
ใช้ผลิตภัณฑ์ท�ำความสะอาดพื้นผิวที่เป็นกลาง ให้ใช้นำ�้ ล้างในปริมาณมากๆ ท�ำความสะอาด
ในการท�ำความสะอาดพื้นผิวสีที่ด้าน เบาะนั่งด้วยฟองน�ำ้ และน�ำ้ ผงซักฟอกอ่อนๆ
อย่าใช้แวกซ์ซึ่งประกอบไปด้วยสารประกอบ หลังการล้างท�ำความสะอาด เช็ดให้แห้งด้วยผ้า
ชนิดต่างๆ ในการท�ำความสะอาดพื้นผิวดังกล่าว เนื้อนุ่มที่สะอาด

100
ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการเก็บรักษารถ ▲! คำ�เตือน
ก่อนการเก็บรักษารถจักรยานยนต์ควรซ่อมแซม น�้ำมันเชื้อเพลิงมีความไวต่อการติดไฟและ
ส่วนที่บกพร่องก่อนทุกครั้งเพื่อกันลืมการซ่อม การระเบิดสูง ท่านอาจได้รับอันตรายหรือบาด
แซมหลังจากเอารถออกจากโรงเก็บรถ เจ็บสาหัสอันเนื่องมาจากน�ำ้ มันเชื้อเพลิงได้
การเก็บรักษารถ ดับเครื่องยนต์และอยู่ให้ห่างจากความร้อน
1. เปลี่ยนน�้ำมันเครื่อง ประกายไฟ และเปลวไฟ
2. ถ่ายน�้ำมันออกจากถังน�ำ้ มันเชื้อเพลิงลงใน เติมน�ำ้ มันในที่โล่งแจ้งเท่านั้น
ภาชนะใส่น�้ำมัน พ่นน�ำ้ มันป้องกันสนิมภาย เช็ดน�ำ้ มันที่หกให้แห้งทันที
ในถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
ประกอบฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิงเข้ากับถัง
น�ำ้ มันเชื้อเพลิง

101
3. การป้องกันการเกิดสนิมภายในเสื้อสูบ ให้ 4. ถอดแบตเตอรี่ออกและเก็บในสถานที่ที่ป้องกัน
ปฏิบัติดังนี้ การเกิดอุณหภูมิเยือกแข็งและที่ที่แสงแดด
ถอดปลั๊กหัวเทียนออกจากหัวเทียน จากนั้นให้ ส่องไม่ถึง ควรชาร์จแบตเตอรี่แบบช้าเดือน
ใช้เทปหรือสติ๊กเกอร์พันปิดช่องปลั๊กหัวเทียน ละครั้ง
ไว้ แล้วเกี่ยวไว้กับชิ้นส่วนที่เป็นพลาสติกซึ่ง 5. ล้างและเช็ดรถจักรยานยนต์ให้แห้ง ลงแวกซ์
ห่างจากหัวเทียน บนพื้นผิวเคลือบทุกแห่ง เคลือบแผ่นโครเมียม
ถอดหัวเทียนออกจากเครื่องยนต์และวางไว้ ด้วยน�้ำมันป้องกันสนิม
ในที่ที่ปลอดภัย ห้ามเสียบไว้กับปลั๊กหัวเทียน 6. หล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อน (หน้า 75)
เติมน�้ำมันเครื่องที่สะอาดลงในกระบอกสูบ 7. สูบลมยางจนได้แรงดันตามที่กำ� หนดและตั้ง
ประมาณ 15-20 ซีซี หรือ 1 ช้อนโต๊ะจากนั้น รถจักรยานยนต์บนหมอนรองเพื่อยกยางทั้ง
ใช้ผ้าอุดช่องหัวเทียนไว้ 2 ล้อให้อยู่เหนือพื้นดิน
สตาร์ทเครื่องยนต์หลายๆ ครั้งเพื่อให้น�้ำมัน 8. คลุมรถจักรยานยนต์ (อย่าใช้พลาสติกหรือ
หล่อลื่นกระจายจนทั่วกระบอกสูบ วัตถุเคลือบอื่นๆ) และอย่าเก็บรถไว้ในสถาน
ใส่หัวเทียนและปลั๊กหัวเทียนเข้าที่ ที่ที่ร้อนหรือชื้นหรือมีการเปลี่ยนแปลงอุณห-
ภูมิหรือแสงแดดส่องถึง
102
การน�ำรถออกมาจากโรงเก็บรถ
1. เอาผ้าคลุมออกและท�ำความสะอาดรถจักร-
ยานยนต์
2. เปลี่ยนน�้ำมันเครื่องถ้าเก็บรถนานเกินกว่า 4
เดือน
3. ชาร์จแบตเตอรี่เมื่อจ�ำเป็น จากนั้นติดตั้งแบต-
เตอรี่ตามเดิม
4. ถ่ายน�ำ้ มันป้องกันสนิมที่เหลือออกจากถังน�้ำ-
มันเชื้อเพลิง เติมน�ำ้ มันลงในถังน�ำ้ มันเชื้อเพลิง
5. ท�ำการตรวจเช็คก่อนการขับขี่ (หน้า 40)
ทดสอบขับขี่รถจักรยานยนต์ด้วยความเร็วต�่ำ
ในสถานที่ที่ปลอดภัยและไกลจากการจราจร

103
การระวังต่อสิ่งที่มิได้คาดคิดว่าจะเกิดขึ้น ถ้าหากมีความเสียหายเกิดขึ้นเล็กน้อยหรือหากท่านไม่แน่ใจ
หากท่านเกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม ในความเสียหายที่อาจเป็นไปได้ ขอให้ท่านขับขี่อย่างช้าๆ และ
ความปลอดภัยของตัวท่านเองเป็นสิ่งที่ท่านต้องค�ำนึงถึงเป็น
อันดับแรกเมื่อเกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม หากท่าน โดยระมัดระวัง ซึ่งในบางครั้งความเสียหายจากการเกิดอุบัติเหตุ
หรือบุคคลอื่นได้รับบาดเจ็บหรือได้รับความเสียหาย ขอให้ท่าน เช่น การชนหรือรถล้มนั้นยังไม่ปรากฏออกมาให้เห็น หรือยัง
ได้ใช้เวลาในการประเมินดูความรุนแรงของการบาดเจ็บหรือ ไม่ปรากฏให้เห็นอย่างเด่นชัดโดยทันทีหรือในขณะนั้น ดังนั้น
ความเสียหายนั้นและดูว่ามีความปลอดภัยในการที่ท่านจะขับขี่ ท่านควรจะน�ำรถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับการตรวจเช็ค
รถต่อไปได้หรือไม่ ท่านควรร้องขอความช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉิน อย่างละเอียดที่ศูนย์ซ่อมที่ได้มาตรฐานที่ใกล้ที่สุดในทันทีที่เป็น
ถ้าจ�ำเป็น และควรปฏิบัติตามกฎหมายและกฎข้อบังคับต่างๆ ไปได้ อีกประการหนึ่งท่านต้องแน่ใจด้วยว่าท่านได้น�ำรถไปยัง
ที่มี หากมีบุคคลอื่นหรือยานพาหนะอื่นเข้ามาเกี่ยวพันกับการ ศูนย์บริการฮอนด้าเพื่อตรวจเช็คตัวถังและระบบกันสะเทือนภาย
เกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม หลังการเกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้มอย่างหนักมาแล้ว
หากท่านตกลงใจแล้วว่าท่านสามารถที่จะขับขี่รถต่อไปได้อย่าง
ปลอดภัย ก่อนอื่นขอให้ท่านประเมินดูสภาพของรถจักรยานยนต์
ของท่านด้วย หากเครื่องยนต์ยังคงติดอยู่ให้ปิดสวิทช์ดับเครื่อง- ! คำ�เตือน

ยนต์ ก่อนที่จะจับรถให้ตั้งขึ้น และตรวจดูรถของท่านอย่าง กรณีที่รถของท่านประสบอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม
ละเอียดถี่ถ้วน โดยให้ตรวจสอบดูว่ามีการรั่วซึมของน�ำ้ มัน หากเครื่องยนต์ยังคงติดอยู่ให้ปิดสวิทช์ดับเครื่องยนต์ ก่อน
ต่างๆ หรือไม่ น๊อตและโบ้ลท์ที่สำ� คัญๆ ขันแน่นอยู่หรือไม่
ที่จะจับรถให้ตั้งขึ้น และตรวจดูรถของท่านอย่างละเอียด
และตรวจสอบดูด้วยว่าชิ้นส่วนต่างๆ อันได้แก่ แฮนด์บังคับ
เลี้ยว คันบังคับต่างๆ เบรคหน้า-หลัง และล้อหน้า-หลังอยู่ใน ถี่ถ้วนก่อนทุกครั้ง
สภาพที่มั่นคงและปลอดภัยหรือไม่
104
อุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย อุปกรณ์แปรสภาพไอเสียที่มีสภาพไม่สมบูรณ์
รถจักรยานยนต์รุ่นนี้เป็นรถที่มีการติดตั้งอุปกรณ์ หรือช�ำรุด จะก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศและ
แปรสภาพไอเสีย ประสิทธิภาพการท�ำงานของเครื่องยนต์ลดลง
ดังนั้นควรปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำต่อไปนี้
ในอุปกรณ์แปรสภาพไอเสียนี้ประกอบด้วยทอง- ใช้น�้ำมันไร้สารตะกั่วเท่านั้น เพราะแม้น�้ำมัน
ค�ำขาว ซึ่งท�ำหน้าที่ในการเร่งปฏิกิริยาทางเคมี จะมีสารตะกั่วอยู่เพียงเล็กน้อยก็สามารถท�ำให้
เพื่อเปลี่ยนไอเสียที่ประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอน โลหะที่อยู่ในอุปกรณ์แปรสภาพไอเสียสกปรก
คาร์บอนมอนอกไซด์และไนโตรเจนออกไซด์ให้ ได้และส่งผลให้อุปกรณ์แปรสภาพไอเสียไม่ได้ผล
เป็นก๊าซที่เผาไหม้สมบูรณ์ ไม่ส่งผลกระทบต่อ ดูแลเครื่องยนต์ให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี
สภาพแวดล้อม การเปลี่ยนระบบแปรสภาพไอ- เครื่องยนต์ที่ท�ำงานได้ไม่สมบูรณ์จะท�ำให้อุป-
เสียอันใหม่จะต้องใช้อะไหล่แท้ของฮอนด้าหรือ กรณ์แปรสภาพไอเสียร้อนมากเกินไปจนเป็น
เหตุให้เกิดความเสียหายแก่อุปกรณ์แปรสภาพ
อะไหล่ที่ทดแทนกันได้เท่านั้น ไอเสียเองหรือรถจักรยานยนต์ได้
อุปกรณ์แปรสภาพไอเสียจะต้องท�ำงานในอุณห- ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด เครื่องยนต์ติดขัด
ภูมิสูงเพื่อให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมี ดังนั้นควรจอด หรือท�ำงานไม่เป็นปกติ ให้ท่านหยุดรถและดับ
รถของท่านให้ห่างจากพงหญ้า ใบไม้แห้งหรือ เครื่องยนต์แล้วน�ำรถของท่านไปเข้ารับบริการ
วัตถุไวไฟอื่นๆ จากศูนย์บริการฮอนด้าที่ใกล้ที่สุด
105
ข้อมูลทางเทคนิค
ขนาด
ความยาว 1,915 มม. (75.4 นิ้ว)
ความกว้าง 696 มม. (27.4 นิ้ว)
ความสูง 1,052 มม. (41.4 นิ้ว)
ระยะห่างช่วงล้อ 1,212 มม. (47.7 นิ้ว)
น�้ำหนัก
น�้ำหนักสุทธิ 99 กิโลกรัม (218.26 ปอนด์) <ND110K>
101 กิโลกรัม (222.67 ปอนด์) <ND110M>
ความจุ
น�้ำมันเครื่อง 0.8 ลิตร (หลังถ่ายน�ำ้ มันเครื่อง)
1.0 ลิตร (หลังผ่าเครื่อง)
น�้ำมันเชื้อเพลิง 4.2 ลิตร
ความสามารถในการบรรทุก ผู้ขับขี่และผู้โดยสาร 1 คน
106
เครื่องยนต์
กระบอกสูบและระยะชัก 50.0x55.6 มม. (1.97x2.19 นิ้ว)
อัตราส่วนการอัด 9.0 : 1
3
ปริมาตรกระบอกสูบ 109.1 ซม. (6.66 cu-in)
หัวเทียน
มาตรฐาน CPR6EA-9S (NGK) หรือ
U20EPR9S (DENSO)
ระยะห่างเขี้ยวหัวเทียน 0.80-0.90 มม. (0.031-0.035 นิ้ว)
รอบเดินเบา 1,400 ± 100 รอบต่อนาที
ระยะห่างวาล์ว (ขณะที่เครื่องยนต์เย็น) ไอดี : 0.10 มม. (0.004 นิ้ว)
ไอเสีย : 0.10 มม. (0.004 นิ้ว)

107
ตัวถังและระบบกันสะเทือน
มุมแคสเตอร์ 26 ํ30'
ระยะเทรล 73 มม. (2.9 นิ้ว)
ขนาดยางหน้า 70/90-17M/C 38P
ขนาดยางหลัง 80/90-17M/C 50P
ชนิดของยาง ยางธรรมดาชนิดมียางใน
ระบบส่งก�ำลัง
อัตราทดขั้นต้น 4.059
อัตราทดเกียร์ 1 2.615
2 1.555
3 1.136
4 0.916
อัตราทดขั้นสุดท้าย 2.643

108
ระบบไฟฟ้า
แบตเตอรี ่ FTZ4V 12V-3.0Ah หรือ
YTZ4V 12V-3.0Ah <ND110M>
YTZ3 12V-2.5Ah หรือ
FTZ3V 12V-2.3Ah <ND110K>
เครื่องผลิตกระแสไฟฟ้า 0.17 กิโลวัตต์/5,000 รอบต่อนาที <ND110M>
0.138 กิโลวัตต์/5,000 รอบต่อนาที <ND110K>

109
ไฟต่างๆ
ไฟหน้า 12V - 32/32W
ไฟหรี ่ 12V - 3.4W x 2
ไฟเบรค/ไฟท้าย 12V - 18/5W
ไฟเลี้ยวหน้า 12V - 10W x 2
ไฟเลี้ยวหลัง 12V - 10W x 2
ไฟส่องสว่างเรือนไมล์ 12V - 1.7W x 2
สัญญาณไฟเกียร์ว่าง 12V - 1.7W
สัญญาณไฟเลี้ยว 12V - 3.4W x 2
สัญญาณไฟสูง 12V - 1.7W
สัญญาณไฟบอกต�ำแหน่งเกียร์ 12V - 1.7W x 4
สัญญาณไฟ PGM-FI 12V - 1.7W
ฟิวส์
ฟิวส์หลัก 15A
ฟิวส์อื่นๆ 10A
110
270611
PRINTED IN THAILAND

You might also like