You are on page 1of 14

ื่

รายชอ
นาย
นาย
นายพ ัทธพล วรธรรมปรีชา 6040211253
การเป็นผูฝ
้ ึ กสอนกีฬา
ผู ้ฝึ กสอนกีฬา หรือ Coach หมายถึง ผู ้ทีใ่ ห ้การสง่

เสริม สนับสนุนให ้บุคคลใชความรู ้และทักษะทีเ่ ขามีอยู่
แล ้วได ้อย่างมีประสท ิ ธิภาพมากยิง่ ขึน้ ผู ้ฝึ กสอนจะไม่ได ้
ทำหน ้าทีส ่ อนหรือฝึ กอบรมเพือ
่ ให ้ความรู ้ใหม่ ผู ้ฝึ กสอน
จะมองหาสงิ่ จุดเด่นข ้อดีของนักกีฬาซงึ่ เขามีอยูแ ่ ล ้ว
และให ้ข ้อเสนอแนะในการพัฒนาปรับปรุงทักษะของตัว
เอง
การฝึ กสอนหรือการเป็นโค้ช (Coaching) เป็ นทัง้
ศาสตร์และศล ิ ป์ ในการทีจ ่ ะนำทีมบรรลุจด ุ มุง่ หมาย
เดียวกัน ทัง้ โค ้ชและนักกีฬาจะต ้องเรียนรู ้ทีจ ั พันธ์กน
่ ะสม ั
เป็ นทัง้ ผู ้ให ้-ผู ้รับ รู ้บทบาทและหน ้าทีท ่ จ
ี่ ะประสาน
สมั พันธ์กน ั ในปั จจุบน ั โค ้ช มีบทบาทหน ้าทีห ่ ลายอย่าง
ตัง้ แต่การเป็ นผู ้ฝึ กสอน ผู ้ประเมิน ผู ้ให ้คำปรึกษา ผู ้สาธิต
ผู ้สนับสนุน ผู ้สร ้างแรงจูงใจ ผู ้จัดการ ผู ้วางแผนซงึ่ ขึน ้ อยู่
กับความถนัด โอกาส และสถานการณ์ตา่ งๆและในทุก
วงการกีฬา
ผูฝ ้ ึ กสอนกีฬา ในปั จจุบน ั มีบทบาทหน ้าทีห ่ ลายอย่าง
มากมายตัง้ แต่การเป็ นผู ้ฝึ กสอน ผู ้ประเมิน มิตรหรือเพือ ่ น
ผู ้ให ้คำปรึกษา ผู ้ให ้ความสะดวกสบาย ผู ้สาธิต ผู ้สนับสนุน
ผู ้ใฝ่ รู ้ ผู ้สร ้างแรงจูงใจ ผู ้จัดการ ผู ้วางแผนและรอบรู ้ ซ งึ่
โอกาสและสถานการณ์ทต ี่ า่ งๆ และเป็ นตัวกำหนดว่าขณะ
นัน้ ผู ้ฝึ กสอนควรมีสถานภาพอย่างไร ดังนัน ้ บทบาทของผู ้
ฝึ กสอนทีด ่ ี คือการคำนึงว่า ในชว่ งเวลาใดควรจะทำหน ้าที่
หรือพฤติกรรมใดทีส ่ อดคล ้องและชว่ ยสง่ ผลทีด ่ ใี ห ้กับทีม
หรือนักกีฬา
บทบาทหน้าทีข ่ องโค้ช
คือ “การเป็ นโค ้ชทีท ่ ำให ้ผู ้เรียนเปลีย ่ นแปลงตัวเอง" มีความ
หมายรายละเอียดประมาณนี้
 การให ้ความรู ้แล ้วให ้ผู ้เรียนสร ้างองค์ความรู ้ใหม่ของตัวเอง

 การทำให ้ผู ้เรียนตระหนั กรู ้ ในเนือ ้ หาด ้วยตัวเอง ผ่าน


กระบวนการสอนแนว การทำให ้ผู ้เรียนสร ้างการเปลีย ่ นแปลง
ได ้ด ้วยวิธก
ี ารทีจ
่ ะนำไปปฏิบต ั ใิ น ของตัวเอง
 การสร ้างมาตรฐานการสอนทีส ่ ามารถวัดผลลัพธ์จากการสอน
ของตัวเอง ด ้วยผลลัพธ์ทเี่ กิดจากการเปลีย ่ นแปลงของผู ้เรียน
 การให ้หลักการต่างๆ เพือ ่ ให ้ผู ้เรียนค ้นหาวิธก ี ารทีเ่ ป็ นของ
แต่ละคน
 การออกแบบกระบวนการสอนทีส ่ ามารถทำให ้ผู ้เรียนเชอ ื่ มโยง
เนือ
้ หา สถานการณ์จริง กระบวนการเปลีย ่ นแปลงของตัวเอง
กรมพลศก ึ ษา ได้เสนอแนะล ักษณะและบทบาทของผูฝ
้ ึ กสอนทีด
่ ี ไว้
ด ังนี้
 1.ผูฝ้ ึ กสอนต้องตระหนักดีวา่ การแพ้หรื อชนะนั้น ขึ้นอยูก่ บั องค์ประกอบหลายประการทั้งสภาพ
ร่ างกายและจิตใจของนักกีฬา รวมทั้งสภาพแวดล้อมภายนอก
 2.มีความมานะ มีระเบียบวินบ ั และเสี ยสละทำงานเพื่อหมู่คณะ
 3.มีความรู ้ความสามารถ และมีความคิดอย่างมีเหตุผลในการถ่ายทอดความรู ้และฝึ กสอนได้อย่าง

มีประสิ ทธิภาพเป็ นที่ยอมรับของนักกีฬา


 4.เคารพและยอมรับฟั งความคิดเห็นของนักกีฬา ทั้งเลือกสรรอย่างมีเหตุผลหลักการและยึดมัน ่
ในระเบียบข้อตกลงร่ วมกัน
 5.ฝึ กสอนพอเหมาะกับสภาพร่ างกายและจิตใจของนักกีฬา พยายามสอนและให้บทเรี ยนหรื อ

แบบฝึ กหัดเหมาะสมกับนักกีฬาแต่ละวัย
 6.พยายามให้ก ำลังใจ กระตุน ้ หรื อจูงใจให้นกั กีฬาเกิดความรักในชื่อเสี ยงของหมู่คณะ เพื่อน
นักกีฬา เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบในการฝึ ก และมีจิตวิญญาณที่จะนำชัยชนะ มาสู่ หมู่คณะ
 7.ฝึ กให้นก ั กีฬาเกิดการเรี ยนรู ้จนถึงขั้นชำนาญ
 8.ใช้วธิ ีการฝึ กหลากหลายวิธี ขึ้นอยูก่ บั ความสนใจของแต่ละบุคคลเพื่อไม่ให้เกิดความเบื่อหน่าย
 9.การฝึ ก เริ่ มจากการสอนทฤษฎีแล้วจึงมาสู่ ภาคสนาม โดยอธิบาย สาธิตลองปฏิบตั ิ เพื่อให้
นักกีฬาเกิดความเข้าใจและรู ้เป้ าหมายของการฝึ กนั้นๆ
 10.จัดทำสถิติการฝึ ก การเข้าร่ วมการฝึ ก ความสำเร็ จของนักกีฬาแต่ละคน เพื่อเป็ นระเบียนสะสม
ช่วยเป็ นแรงกระตุน้ ให้นกั กีฬาตื่นตัวอยูเ่ สมอในการที่จะพยายามทำดี ปรับปรุ งความสามารถของ
ตนเองให้ดีข้ ึน
 11.พยายามหาวิธีการเพื่อช่วยให้นกั กีฬามีความสามารถสูงสุ ดเท่าที่จะทำได้
 12.สร้างเสริ มสมรรถภาพและทดสอบความสามารถของนักกีฬาอยูเ่ สมอเพื่อชี้ให้เห็นว่า ความ
สามารถของนักกีฬาแต่ละคนเป็ นอย่างไร จะได้พฒั นาความสามารถให้คงอยูใ่ นเกณฑ์ดีเสมอไป
 13.มีความเข้าใจว่าการฝึ กนั้นจะต้องฝึ กตลอดสม่ำเสมอ แต่ช่วงระยะเวลาการฝึ กอาจแตกต่างกัน
ออกไป
 14.ฝึ กซ้อมให้มากกว่าสภาพเป็ นจริ งในการแข่งขัน เมื่อถึงเวลาการแข่งขันจริ งไม่ควรพูดอะไรมาก
เกินไป นอกจากให้ค ำแนะนำ
 15.เมือ ่ นักกีฬาได ้พัฒนาสมรรถภาพและความสามารถอย่างดี
ทีส่ ด
ุ แล ้ว ผู ้ฝึ กสอนควรพยายามให ้กำลังใจเพือ ่ สง่ เสริมพลังใจ
ให ้เข ้มแข็งพร ้อมทีจ ่ ะเข ้าแข็งขัน
 16.ในขณะแข็งขัน ไม่ควรสอนหรือตะโกรบอกนักกีฬามากเกิน
ไป จะทำให ้นักกีฬาเกิดความกังวลและสภาพจิตใจเสย ี ไป
 17.เมือ ่ นักกีฬาแพ ้ ผู ้ฝึ กสอนต ้องพยายามอธิบายหาสาเหตุของ
การแพ ้ให ้นักกีฬาทราบ เพือ ่ หาทางแก ้ไขปรับปรุงข ้อบกพร่อง
และปรับปรุงแก ้ไขเพิม ่ เติม เพือ่ ให ้นักกีฬาเกิดความเชอ ื่ มั่นใน
ตนเองมากขึน ้
 ้
18.ไม่ใชวาจาหยาบคายหรื อดูหมิน
่ ความสามารถของนักกีฬา
พยายามให ้กำลังใจเมือ ่ แพ ้และพยายามชมเชยเมือ ่ ได ้รับชย ั ชนะ
 19.มีลก ั ษณะผู ้นำมีความคิดริเริม ่ วางโครงการ แนะนำนักกีฬา
ให ้มีระเบียบวินัย ตัดสน ิ ใจถูกต ้อง ออกคำสงั่ ชด ั เจน มีความ
เข ้าใจนักกีฬาทุกด ้าน
 20.มีความซอ ื่ สต
ั ย์ จริงใจ และให ้ความยุตธิ รรมแก่นักกีฬาทุกๆ
ด ้าน ถือว่านักกีฬาทุกคนมีความสำคัญเท่าๆ กัน
จิตวิทยาการเป็ นโค้ ชกับการพัฒนากีฬาสู่ ตวั นักกีฬา
"ผูฝ้ ึ กสอนกีฬา มีหน้าที่ที่สำคัญคือการพัฒนาความสามารถของนักกีฬาทั้งทางด้าน
ร่ างกายและด้านทักษะเทคนิคต่างๆ และจะขาดไม่ได้คือการสร้างให้เป็ นเป็ นคนดี และ
ตระหนักอยูเ่ สมอเหมือนกับการพัฒนาความสามารถทางทักษะ"
" ธรรมชาติของการพัฒนาทักษะทุกชนิดเกิดจากการทำซ้ำ บ่อย เป็ นเวลานานๆ จนเกิด
ความชำนาญและเป็ นอัตโนมัติ
แรงจูงใจของการเป็นโค้ช คือ ตัวกำหนดความแรง
ความตัง้ ใจและ ควบคุมพฤติกรรมมนุษย์ แรงจูงใจเป็ นตัว
กำกับพฤติกรรมของมนุษย์ทจ ี่ ะให ้ ถอยหนี หรือเผชญ ิ หน ้า
สถานการณ์ตา่ งๆ และความตัง้ ใจทีจ ่ ะประพฤติกรรม หรือ
พยายามทีจ ่ ะบรรลุตามเป้ าประสงค์ ดังนัน ้ แรงจูงใจจึงเป็ น
ตัวกำหนด ระดับความตัง้ ใจ ความพยายามทีจ ่ ะกระทำ
หลักการสื่ อสารทีด่ ตี ่ อนักกีฬา ( Communication)
 1. การเลือกวิธีการส่ งหรื อสื่ อความให้เหมาะสมกับผู้ รับ ทั้งด้านวุฒิภาวะ เพศ
วัย ระดับความสามารถและวิธีการ ที่เหมาะสมกับแต่ละคน แต่ควรระวัง เรื่ องความ
ไม่ยตุ ิธรรม น้ำเสี ยงและน้ำคำที่ใช้ควรเป็ นด้วยความเห็นใจ และ จริ งใจ
 2. การให้ผลย้อนกลับทั้งที่เป็ นคำพูดและไม่ใช่ค ำพูด เพื่อสนองตอบต่อ การเล่น
และควรเป็ นไปในทางที่ดีและให้ทนั ทีหลังพฤติกรรมนั้น เป็ นการให้ เพื่อแก้ไขการ
เล่นให้ดีข้ ึน ดังนั้น หากเป็ นการให้ผลย้อนกลับโดยใช้ค ำพูดควร เป็ นคำอธิบายที่บ่ง
ชัดถึงจุดที่ตอ้ งแก้ไขและวิธีการแก้ไขเข้าใจง่าย นอกจากนี้ อาจใช้สญ ั ญาณหรื อ
อากัปกิริยา เช่น ยิม้ พยักหน้า ยกนิ้วให้เพื่อสนองต่อ
 3. ตะหนักถึงแรงพลังแรงเสริ ม เ พื่อปรับพฤติกรรมนักกีฬาให้เป็ นไปในทางที่
ต้องการ และเป็ นกระตุน้ ให้ก ำลังใจเพื่อสร้างความเชื่อมัน่ และท้าทายให้นกั กีฬาฝึ ก
ปฏิบตั ิ
คุณสมบัตขิ องผู้ฝึกสอน
 มีสุขภาพและบุคลิกภาพที่ดี มีก ำลังใจที่เข้มแข็งไม่ยอ ่ ท้อต่อปัญหาและ
 อุปสรรคทั้งปวง มีจิตใจดี อารมณ์แจ่มใส สุ ภาพอ่อนโยน และเป็ นแบบอย่างที่ดีให้

กับนักกีฬา
 มีวส ิ ยั ทัศฯและกลยุทธ์ที่ดีในการพัฒนาทีมและนักกีฬาให้ประสบความสำเร็ จ ตาม
เป้ าหมายที่วางไว้
 มีน ้ำใจนักกีฬารู ้แพ้ รู ้ชนะ รู ้อภัย และให้การสนับสนุนการแข่งขันอย่างยุติธรรม
 เนื่ องจากโค้ช หรื อ ผูฝ ้ ึ กสอน ต้องมีความสัมพันธ์กบั นักกีฬาในฐานะ เป็ นทั้งผูใ้ ห้-
ผูร้ ับ มีบทบาทในการให้ความรู้ บทบาทในการเตรี ยมทีม และช่วยเหลือนักกีฬา
และเป็ นแม่แบบให้กบั นักกีฬา
หน้าทีแ ่ ละความร ับผิดชอบของผูฝ ้ ึ กสอน
 1. ผู ้ฝึ กสอนพึงระลึกอยูเ่ สมอว่าตนมีอท ิ ธิพลมากใน
การปลูกฝั งให ้นักกีฬาเป็ นคนดี มีน้ำใจ มากกว่าการหวัง
ผลชนะอย่างเดียว
 2. ผู ้ฝึ กสอนพึงปฏิบตั ต ิ นเป็ นตัวอย่างทีด ่ แี ก่ทก
ุ คนที่
เกีย
่ วข ้อง
 3. ผู ้ฝึ กสอนทำหน ้าทีอ ่ ย่างเข ้มงวดในการป้ องกันการ

ใชสารกระตุ ้นในนักกีฬา
 4. ผู ้ฝึ กสอนต ้องไม่ดมื่ เหล ้าและสูบบุหรีข ่ ณะทำหน ้าที่
 5. ผู ้ฝึ กสอนจะต ้องทำหน ้าทีไ ่ ปจนสุดสุดฤดูกาล
แข่งขัน (จะไม่ละทิง้ หน ้าที)่
จบการนำเสนอ

You might also like