You are on page 1of 110

DREAM110i/

SUPER CUB

230615
PRINTED IN THAILAND 3 3 K76A T 1 AP
คู่มือเล่มนี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของรถจักรยานยนต์และควรจะเก็บไว้กับรถเมื่อขายต่อให้กับผู้ใช้รถคนต่อไป

คู่มือเล่มนี้ประกอบด้วยข้อมูลการผลิตครั้งล่าสุด ทางบริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยไม่ต้อง


แจ้งให้ทราบล่วงหน้า

ห้ามกระทำ�การคัดลอกหรือจัดพิมพ์ข้อมูลส่วนใดของคู่มือนี้โดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทาง
บริษัทฯ ก่อน

ภาพประกอบของรถจักรยานยนต์ที่ปรากฏอยู่ในคู่มือผู้ใช้เล่มนี้อาจไม่ตรงกับรถจริงของท่าน
ยินดีต้อนรับ
ขอแสดงความยินดีที่ท่านได้เลือกซื้อรถจักรยานยนต์ • รหัสต่อไปนี้ในคู่มือเล่มนี้จะระบุถึงประเทศ
ฮอนด้าคันใหม่คันนี้่ การเลือกซื้อรถจักรยานยนต์ฮอนด้า • ภาพประกอบที่ปรากฏอยู่ในคู่มือเล่มนี้มีพื้นฐานมา
ของท่านครั้งนี้ทำ�ให้ท่านได้เป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว จากรถรุ่น NBC110MDF TH
ฮอนด้าทั่วโลก ซึ่งเป็นลูกค้าที่มีความพึงพอใจและชื่นชม รหัสประเทศ
ในชื่อเสียงของฮอนด้าในการสร้างสรรค์ทุกผลิตภัณฑ์
รหัส ประเทศ
ให้มีคุณภาพ
NBC110MDF
เพื่อความปลอดภัยและความเพลิดเพลินในการขับขี่ TH, 2TH ประเทศไทย
ของท่าน : NBC110KDF
• กรุณาอ่านคู่มือผู้ใช้เล่มนี้โดยละเอียด
TH ประเทศไทย
• ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�และวิธีการปฏิบัติทั้งหมดที่ปรากฏ
อยู่ในคู่มือเล่มนี้ * ข้อมูลทางเทคนิคอาจแตกต่างกันไปตามแต่ละพื้นที่
• กรุณาให้ความสนใจเป็นพิเศษกับข้อความเกี่ยวกับ หมายเหตุ :
ความปลอดภัยซึ่งปรากฏอยู่ในคู่มือเล่มนี้และที่ตัวรถ NBC110MDF TH/2TH = สตาร์ทมือ
จักรยานยนต์ด้วย NBC110KDF TH = สตาร์ทเท้า
คำ�ที่ควรรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย
ความปลอดภัยของท่านและของผู้อื่นเป็นสิ่งสำ�คัญมากและ อันตราย
การขับขี่รถจักรยานยนต์รุ่นนี้อย่างปลอดภัยก็ถือเป็นความ ท่านอาจเป็นอันตรายร้ายแรงถึงแก่ชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บ
รับผิดชอบที่สำ�คัญด้วยเช่นกัน เพื่อที่จะช่วยให้ท่านตัดสินใจ สาหัสหากไม่ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�
เกี่ยวกับความปลอดภัยได้เป็นอย่างดี ทางบริษัทฯ ได้ให้ข้อ-
มูลเกี่ยวกับวิธีการขับขี่และข้อมูลอื่นๆ แก่ท่านดังที่ปรากฏ คำ�เตือน
อยู่บนแผ่นป้ายเตือนเพื่อความปลอดภัยที่ตัวรถและในคู่มือ ท่านอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บสาหัสหาก
เล่มนี้แล้ว ข้อมูลนี้จะเตือนท่านให้ระวังอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ไม่ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�
ทั้งกับตัวของท่านเองหรือผู้อื่น
อย่างไรก็ดีในทางปฏิบัติหรือโดยความเป็นไปได้แล้ว ทาง ข้อควรระวัง
บริษัทฯ ไม่สามารถที่จะเตือนให้ท่านระวังอันตรายทุกอย่าง ท่านอาจได้รับบาดเจ็บหากไม่ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�
ที่เกี่ยวเนื่องกับการขับขี่หรือการบำ�รุงรักษารถจักรยานยนต์
ได้ ดังนั้นท่านจึงต้องใช้วิจารณญาณที่ดีของท่านเองในการ ข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยที่สำ�คัญอื่นๆ ได้แสดงไว้ภาย
ตัดสินใจด้วย ใต้หัวข้อต่อไปนี้ :
ท่านจะพบข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยที่สำ�คัญในหลาย ข้อสังเกต สัญลักษณ์นี้มุ่งหมายที่จะช่วยให้ท่านหลีกเลี่ยง
รูปแบบ ประกอบด้วย : ความเสียหายที่จะเกิดแก่รถจักรยานยนต์ของท่าน
• แผ่นป้ายเตือนเพื่อความปลอดภัย ซึ่งปรากฏอยู่ที่ตัวรถ ทรัพย์สินอื่นๆ หรือสภาพแวดล้อม
• ข้อความเกี่ยวกับความปลอดภัย ซึ่งนำ�หน้าด้วยสัญลักษณ์
เตือนด้านความปลอดภัยและหนึ่งในสามของคำ�สัญญาณ คำ�เตือน
เหล่านี้ได้แก่ : อันตราย คำ�เตือน หรือ ข้อควรระวัง
โดยคำ�สัญญาณเหล่านี้หมายถึง : อาจถึงตายหรือพิการ หากไม่สวมหมวกนิรภัย
การรับประกันคุณภาพ
บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จ�ำกัด รับประกันคุณภาพของชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ เป็นระยะเวลา 3 ปี หรือ 30,000 กม. และ
ชิ้นส่วนระบบหัวฉีด ได้แก่ ตัวตรวจจับอุณหภูมิน�้ำมันเครื่อง, ตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน, กล่อง ECU, ปั๊มน�้ำมัน
เชื้อเพลิง, หัวฉีด, เรือนลิ้นเร่ง, ตัวตรวจจับต�ำแหน่งลิ้นเร่ง รับประกันเป็นระยะเวลา 5 ปี หรือ 50,000 กม. แล้วแต่
ระยะใดมาถึงก่อน ถ้าเกิดการบกพร่องเสียหายอันเนื่องมาจากกรรมวิธีทางการผลิตไม่ดี หรือวัสดุไม่ได้คุณภาพ
ภายใต้การใช้งานและการบ�ำรุงรักษาที่ถูกต้องตามที่ก�ำหนดไว้ในคู่มือผู้ใช้ การรับประกันคุณภาพจะมีผลตั้งแต่
วันที่ที่ซื้อรถเป็นต้นไป
เมื่อรถของท่านเกิดปัญหาทางด้านคุณภาพ ท่านสามารถไปใช้สิทธิในการรับประกันโดยการน�ำรถและสมุดคู่มือ
รับประกันไปที่ศูนย์จ�ำหน่ายและบริการที่ได้รับการแต่งตั้งจาก บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จ�ำกัด โดยรถของท่านจะได้
รับการแก้ไข ปรับแต่ง หรือเปลี่ยนชิ้นส่วนอะไหล่ที่มีความบกพร่องนั้นโดยไม่คิดราคาค่าอะไหล่และค่าแรงซ่อม
การรับประกันคุณภาพนี้จะใช้กับรถที่จ�ำหน่ายโดย บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จ�ำกัด เท่านั้น ในกรณีที่มีการน�ำรถออก
นอกประเทศถือเป็นการสิ้นสุดการรับประกัน
กรณีที่มีการเปลี่ยนเจ้าของรถคนใหม่ กรุณาติดต่อ บริษัท เอ.พี.ฮอนด้า จ�ำกัด แผนกลูกค้าสัมพันธ์ 0-2725-4000
เพื่อแก้ไขชื่อที่อยู่ของผู้ครอบครองรถคนใหม่

ในกรณีที่รถจักรยานยนต์ของท่านเกิดปัญหาด้านคุณภาพ และตรวจพบว่ามีสาเหตุมาจากการ
ละเลยไม่น�ำรถเข้ารับการตรวจเช็คตามระยะที่ก�ำหนด กรณีเช่นนี้ท่านอาจเสียสิทธิในการรับ
ประกันคุณภาพได้ ดังนั้นจึงขอให้ท่านถือเป็นเรื่องส�ำคัญอย่างยิ่งที่ต้องน�ำรถเข้ารับการบริการ
ตรวจเช็คตามก�ำหนดเวลาที่ศูนย์จ�ำหน่ายและบริการฮอนด้า
เงื่อนไขการรับประกันชิ้นส่วนที่มีการสึกหรอหรือเสื่อมสภาพ
ชิ้นส่วนอะไหล่และวัสดุสิ้นเปลืองที่มีการสึกหรอหรือเสื่อมสภาพ หากเกิดความบกพร่องเสียหาย อันเนื่องมาจากกรรมวิธี
ทางการผลิตไม่ดีหรือวัสดุไม่ได้คุณภาพ บริษัทฯ จะท�ำการรับประกันคุณภาพ แต่หากความเสียหายเกิดขึ้นมาจากการสึกหรอหรือเสื่อม
สภาพตามอายุการใช้งานปกติ บริษัทฯ ขอให้ท่านเป็นผู้ช�ำระค่าใช้จ่ายเอง
ชิ้นส่วนอะไหล่ที่มีการสึกหรอหรือเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน
หัวเทียน หลอดไฟต่างๆ ฟิวส์ สายไฟ แปรงถ่านมอเตอร์สตาร์ท สายควบคุมต่างๆ ผ้าเบรก ผ้าคลัทช์ ชุดโซ่สเตอร์ ปะเก็น
สายยาง ท่อยาง และชิ้นส่วนที่เป็นยาง ไส้กรอง ซีลกันน�้ำมัน ซีลกันฝุ่น น�้ำมันหล่อลื่น และสารหล่อลื่นทุกชนิด
หมายเหตุ รับประกันแบตเตอรี่ และ ยางนอก ยางใน เป็นระยะเวลา 6 เดือน หรือ ระยะทาง 5,000 กม. แล้วแต่ระยะใด
ถึงก่อน โดยมีผลตั้งแต่วันที่ซื้อรถเป็นต้นไป
ข้อปฏิบัติในการใช้รถในระยะรับประกัน
ข้อปฏิบัติต่อไปนี้เป็นสิ่งที่ท่านต้องให้ความส�ำคัญและปฏิบัติตาม มิเช่นนั้นท่านอาจเสียสิทธิในการรับประกันคุณภาพในบาง
กรณีได้ หากตรวจพบว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นกับรถมีสาเหตุมาจากการละเลยไม่ปฏิบัติตามข้อปฏิบัตินี้
1. ปฏิบัติและใช้รถให้ถูกต้องตามค�ำแนะน�ำในคู่มือผู้ใช้รถจักรยานยนต์ฮอนด้ารุ่นที่ท่านซื้อ
2. น�ำรถเข้ารับการบริการตรวจเช็คบ�ำรุงรักษาตามระยะเวลาที่ก�ำหนดไว้ในคู่มือเล่มนี้ พร้อมกับลงบันทึกประวัติการซ่อมใน
คู่มือเล่มนี้ทุกครั้ง
3. การบ�ำรุงรักษาจะกระท�ำอย่างถูกต้องโดยศูนย์จ�ำหน่ายและบริการฮอนด้าที่ท่านซื้อรถ แต่อย่างไรก็ตามในกรณีที่จ�ำเป็น
ท่านสามารถน�ำรถเข้ารับบริการได้ที่ศูนย์จ�ำหน่ายและบริการที่ได้รับการแต่งตั้งจากฮอนด้าที่ใกล้ที่สุด
4. ไม่ดัดแปลงแก้ไขชิ้นส่วนต่างๆ ไปจากมาตรฐานการผลิตเดิม นอกจากจะเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมตามข้อมูลของบริษัท เอ.พี.
ฮอนด้า จ�ำกัด
5. ไม่น�ำรถไปใช้ในกิจกรรมอื่นๆ ที่มิใช่การใช้งานตามปกติ เช่น การแข่งขัน เป็นต้น
6. เมื่อมีการซ่อมบ�ำรุงรักษา ควรใช้แต่อะไหล่แท้และสารหล่อลื่นที่ฮอนด้าก�ำหนด เช่น น�้ำมันเครื่อง น�้ำมันเบรก และน�้ำยา
หม้อน�้ำ เป็นต้น
รายการอะไหล่ระบบหัวฉีด ที่รับประกัน 5 ปี หรือ 50,000 กม. แล้วแต่ระยะใดถึงก่อน
1. ปั๊มน�้ำมันเชื้อเพลิง (ไม่รวมลูกลอยน�้ำมันเชื้อเพลิง)
2. หัวฉีด
3. เรือนลิ้นเร่ง
4. ตัวตรวจจับต�ำแหน่งลิ้นเร่ง
5. กล่อง ECU
6. ตัวตรวจจับอุณหภูมิน�้ำมันเครื่อง
7. ตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน

1 2 3 4 5 6 7
สารบัญ
การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย หน้า 2
คำ�แนะนำ�การใช้งาน หน้า 13
การบำ�รุงรักษา หน้า 33
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง หน้า 74
ข้อมูลที่ควรทราบ หน้า 89
ข้อมูลทางเทคนิค หน้า 100
การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย

ในส่วนนี้ประกอบด้วยข้อมูลสำ�คัญที่ควรทราบเพื่อให้ท่านสามารถขับขี่รถจักรยานยนต์ของท่านได้อย่างปลอดภัย
กรุณาอ่านข้อมูลส่วนนี้อย่างละเอียด

คำ�แนะนำ�ความปลอดภัยน�������������������������หน้า 3
ข้อควรระวังเพื่อความปลอดภัย................หน้า 6
ข้อควรระวังในการขับขี่. ...........................หน้า 7
การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมและการดัดแปลง
สภาพรถ....................................................หน้า 11
การบรรทุก................................................หน้า 12
คำ�แนะนำ�ความปลอดภัย
คำ�แนะนำ�ความปลอดภัย
ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�เหล่านี้เพื่อช่วยเพิ่มความปลอดภัยใน ตรวจสอบด้วยว่าทั้งตัวท่านเองและผู้ซ้อนท้ายของท่านสวม
การขับขี่ของท่าน : หมวกกันน็อกส�ำหรับรถจักรยานยนต์ที่ได้รับการรับรองคุณ-

การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย
• ตรวจสอบรถของท่านเป็นประจ�ำและตามระยะเวลาที่ ภาพและอุปกรณ์ป้องกันภัย ท่านควรแนะน�ำให้ผู้ซ้อนท้าย
ก�ำหนดไว้ในคู่มือเล่มนี้ทั้งหมด ของท่านยึดหรือจับเหล็กท้ายเบาะหรือเอวของท่านไว้ให้แน่น
• ดับเครื่องยนต์และอยู่ให้ห่างจากเปลวไฟและประกายไฟ เอียงตัวไปในทิศทางเดียวกันกับท่านในขณะเข้าโค้ง และ
ก่อนที่จะเติมน�้ำมันลงในถังน�้ำมันเชื้อเพลิง วางเท้าทั้งสองข้างบนที่พักเท้าแม้แต่เมื่อหยุดรถก็ตาม
• อย่าติดเครื่องยนต์ในพื้นที่ปิดหรือพื้นที่ปิดเป็นบางส่วนเพราะ ศึกษาทำ�ความเข้าใจและฝึกปฏิบัติ
ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในไอเสียเป็นก๊าซที่ีมีพิษและอาจ
ท�ำให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ แม้ว่าท่านจะเคยขับขี่รถจักรยานยนต์อื่นๆ มาแล้วก็ตาม
สวมหมวกกันน็อกอยู่เสมอ ท่านก็ควรฝึกหัดขับขี่ในบริเวณที่ปลอดภัยเพื่อให้เกิดความ
คุ้นเคยกับการท�ำงาน การบังคับ และการควบคุมรถจักร-
เป็นข้อเท็จจริงที่พิสูจน์แล้วว่าหมวกกันน็อกและอุปกรณ์ป้อง ยานยนต์รุ่นนี้ และยังเพื่อให้เกิดความเคยชินกับขนาดและ
กันภัยมีส่วนส�ำคัญในการช่วยลดจ�ำนวนและความรุนแรง น�้ำหนักของรถจักรยานยนต์อีกด้วย
ของการบาดเจ็บที่ศีรษะและการบาดเจ็บอื่นๆ ดังนั้นท่านควร
สวมหมวกกันน็อกส�ำหรับรถจักรยานยนต์ที่ได้รับการรับรอง การขับขี่อย่างปลอดภัย
คุณภาพและอุปกรณ์ป้องกันภัยเสมอ หน้า 6 ท่านควรให้ความสนใจกับยานพาหนะอื่นๆ ที่อยู่รอบตัวท่าน
ก่อนการขับขี่ เสมอ และอย่าคิดไปเองว่าผู้ขับขี่คนอื่นมองเห็นท่านอยู่ ท่าน
ต้องแน่ใจว่าท่านมีร่างกายแข็งแรง มีสภาพจิตใจและสมาธิดี ควรจะต้องเตรียมพร้อมอยู่ตลอดเวลาในการที่จะหยุดรถหรือ
และไม่ได้บริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และเสพยาเสพติด หลบหลีกอย่างฉับพลัน
3
คำ�แนะนำ�ความปลอดภัย
ท�ำให้ผู้ขับขี่คนอื่นสามารถมองเห็นท่านได้อย่างชัดเจน ไปขับขี่รถจักรยานยนต์ และเพื่อความปลอดภัยอย่าให้ผู้
โดยสารหรือเพื่อนของท่านดื่มสุราด้วยเช่นกัน
ท�ำให้ผู้ขับขี่คนอื่นสามารถมองเห็นท่านได้ชัดเจนยิ่งขึ้นโดย
การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย

เฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเวลากลางคืน โดยสวมชุดที่มีสีสว่าง รักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้าของท่านให้อยู่ในสภาพดี


หรือสีสะท้อนแสง ขับขี่บนเส้นทางที่ผู้ขับขี่คนอื่นสามารถ ถือเป็นสิ่งส�ำคัญในการบ�ำรุงรักษารถจักรยานยนต์ของท่าน
มองเห็นท่านได้ ให้สัญญาณก่อนที่ท่านจะเลี้ยวหรือเปลี่ยน อย่างถูกวิธีและให้อยู่ในสภาพการขับขี่ที่ปลอดภัยด้วย
ช่องทาง และใช้แตรเมื่อจ�ำเป็น ตรวจสอบรถจักรยานยนต์ของท่านก่อนการขับขี่ทุกครั้งและ
ท�ำการบ�ำรุงรักษาตามที่ได้แนะน�ำไว้ทั้งหมด
ขับขี่ภายในขีดจ�ำกัดของท่าน อย่าบรรทุกของเกินกว่าขีดจ�ำกัดในการบรรทุก (หน้า 12)
อย่าขับขี่เกินกว่าความสามารถของท่านหรือขับขี่ด้วยความ และอย่าดัดแปลงสภาพรถหรือติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมซึ่งอาจ
เร็วสูงเกินกว่าที่ก�ำหนด ควรระลึกไว้ว่าความเมื่อยล้าและ ท�ำให้รถของท่านอยู่ในสภาพไม่ปลอดภัยได้ (หน้า 11)
การเพิกเฉยละเลยมีส่วนส�ำคัญที่จะลดความสามารถในการ หากท่านเกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม
ใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจและการขับขี่อย่างปลอดภัยได้
ความปลอดภัยของตัวท่านเองเป็นสิ่งที่ท่านต้องค�ำนึงถึงเป็น
อย่าดื่มสุราในขณะขับขี่รถจักรยานยนต์ อันดับแรก หากท่านหรือบุคคลอื่นได้รับบาดเจ็บหรือได้รับ
ความเสียหาย ขอให้ท่านได้ใช้เวลาในการประเมินดูความ
ท่านไม่ควรดื่มสุราแล้วไปขับขี่รถจักรยานยนต์ เพราะแม้แต่
รุนแรงของการบาดเจ็บหรือความเสียหายนั้นและดูว่ามีความ
การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เพียงแก้วเดียวก็อาจลดความ ปลอดภัยในการที่ท่านจะขับขี่รถต่อไปได้หรือไม่ ท่านควร
สามารถของท่านในการตอบสนองต่อสภาพการณ์ต่างๆ ที่ ร้องขอความช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินถ้าจ�ำเป็น และควรปฏิ-
เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอได้ และการตอบสนองดังกล่าวจะยิ่ง บัติตามกฎหมายและกฎข้อบังคับต่างๆ ที่มีหากมีบุคคลอื่น
เลวร้ายลงหากท่านดื่มเพิ่มเข้าไปอีก ดังนั้นอย่าดื่มสุราแล้ว หรือยานพาหนะอื่นเข้ามาเกี่ยวพันกับการเกิดอุบัติเหตุ
4
คำ�แนะนำ�ความปลอดภัย
หากท่านตกลงใจแล้วว่าท่านสามารถที่จะขับขี่รถต่อไปได้ ถ้าหากท่านติดเครื่องยนต์ในบริเวณที่อับอากาศหรือแม้แต่
อย่างปลอดภัย ก่อนอื่นขอให้ท่านประเมินดูสภาพของรถ พื้นที่ปิดเป็นบางส่วน อากาศที่ท่านหายใจเข้าไปนั้นอาจ

การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย
จักรยานยนต์ของท่านด้วย หากเครื่องยนต์ยังคงติดอยู่ ให้ปิด ประกอบไปด้วยก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ที่เป็นอันตรายใน
สวิทช์ดับเครื่องยนต์ก่อนที่จะจับรถให้ตั้งขึ้น และตรวจสอบ
ปริมาณมาก ดังนั้นอย่าติดเครื่องยนต์ภายในโรงเก็บรถหรือ
ดูว่ามีการรั่วซึมของน�้ำมันต่างๆ หรือไม่ ตรวจเช็คว่าน๊อตและ
โบ้ลท์ที่ส�ำคัญๆ ขันแน่นอยู่หรือไม่ และตรวจสอบดูด้วยว่า พื้นที่ปิดอื่นๆ
แฮนด์บังคับเลี้ยว คันบังคับต่างๆ เบรกหน้า-หลัง และล้อหน้า-
หลังอยู่ในสภาพที่มั่นคงและปลอดภัยหรือไม่ ขอให้ท่านขับ คำ�เตือน
ขี่อย่างช้าๆ และโดยระมัดระวัง ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์เป็นก๊าซพิษ การหายใจเอา
รถจักรยานยนต์ของท่านอาจได้รับความเสียหายซึ่งเป็นความ
ก๊าซดังกล่าวเข้าไปอาจทำ�ให้หมดสติและถึงแก่เสีย
เสียหายที่ยังไม่ปรากฏให้เห็นอย่างเด่นชัดโดยทันทีหรือใน
ขณะนั้น ดังนั้นท่านควรจะน�ำรถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้า ชีวิตได้
รับบริการตรวจเช็คอย่างละเอียดที่ศูนย์ซ่อมที่ได้มาตรฐานที่
ใกล้ที่สุดในทันทีที่เป็นไปได้ หลีกเลี่ยงการอยู่ในพื้นที่หรือการกระทำ�ใดๆ ที่อาจ
ทำ�ให้ท่านได้รับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์
อันตรายจากก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์
ไอเสียประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ที่เป็นพิษซึ่งเป็น
ก๊าซที่ไม่มีสีและไม่มีกลิ่น การหายใจเอาก๊าซคาร์บอนมอ-
นอกไซด์เข้าไปอาจท�ำให้หมดสติและอาจน�ำไปสู่การเสีย
ชีวิตได้
5
ข้อควรระวังเพื่อความปลอดภัย
ข้อควรระวังเพื่อความปลอดภัย • หน้ากากสำ�หรับป้องกันใบหน้าซึ่งไม่ขัดขวางการมองเห็น
• ขับขี่อย่างระมัดระวัง ให้้มือทั้งสองข้างของท่านจับอยู่ที่ หรือใช้เครื่องป้องกันดวงตาที่ได้รับการรับรองคุณภาพอื่นๆ
การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย

แฮนด์บังคับเลี้ยวและวางเท้าทั้งสองข้างลงบนที่พักเท้า คำ�เตือน
• ให้มือทั้งสองข้างของผู้ซ้อนท้ายจับอยู่ที่เหล็กท้ายเบาะหรือ
ที่เอวของท่าน และวางเท้าทั้งสองข้างลงบนที่พักเท้าในขณะ การไม่สวมหมวกกันน็อกจะเพิ่มโอกาสในการได้รับ
ซ้อนท้าย บาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิต เนื่องจากการเกิด
• ขอให้ท่านคำ�นึงถึงความปลอดภัยของผู้ซ้อนท้ายของท่าน อุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้มได้
รวมถึงผู้ขับขี่รถยนต์และรถจักรยานยนต์คันอื่นๆ เสมอ ต้องแน่ใจว่าท่านและผู้ซ้อนท้ายของท่านสวมหมวก
อุปกรณ์ป้องกันภัย กันน็อกที่ได้รับการรับรองคุณภาพและอุปกรณ์ป้อง-
ต้องแน่ใจว่าท่านและผู้ซ้อนท้ายของท่านสวมหมวกกันน็อก กันภัยอยู่เสมอในขณะที่ท่านขับขี่รถจักรยานยนต์
สำ�หรับรถจักรยานยนต์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ เครื่อง ถุงมือ
ป้องกันดวงตา และเครื่องแต่งกายที่ช่วยป้องกันภัยสะท้อน สวมถุงมือหนังแบบเต็มนิ้วซึ่งมีความทนทานต่อการเสียดสีสูง
แสง ขับขี่อย่างปลอดภัยเพื่อตอบสนองต่อสภาพถนนและ รองเท้าบู๊ทหรือรองเท้าสำ�หรับการขับขี่
สภาพอากาศต่างๆ สวมรองเท้าบู๊ทที่แข็งแรงมีพื้นรองเท้าที่ไม่ลื่นและมีส่วนที่
หมวกกันน็อก ช่วยป้องกันข้อเท้าของท่าน
หมวกกันน็อกที่ได้รับการรับรองมาตรฐานความปลอดภัย มี เสื้อแจ็กเก้ตและกางเกงขายาว
สีสว่างสดใส และมีขนาดที่พอเหมาะกับศีรษะของท่าน ควรสวมเสื้อแจ็กเก้ตแขนยาวที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน
• ต้องสวมใส่ได้อย่างสบายแต่กระชับพอดีกับศีรษะของท่าน และสามารถป้องกันร่างกายของท่าน รวมทั้งกางเกงขายาว
พร้อมกับรัดสายรัดคางให้แน่น ที่ทนทานเพื่อการขับขี่ (หรือชุดป้องกันร่างกายทั้งตัว)
6
ข้อควรระวังในการขับขี่
ข้อควรระวังในการขับขี่ เบรก
ช่วงรัน-อิน ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้ :

การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย
• หลีกเลี่ยงการเบรกอย่างกะทันหันและรุนแรง และการ
ในระหว่างระยะ 500 กิโลเมตร (300 ไมล์) แรกของการขับขี่
เปลี่ยนเกียร์ลงสู่เกียร์ที่ต�่ำกว่าแบบทันทีทันใด
ขอให้ท่านปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�เหล่านี้เพื่อให้ท่านมั่นใจได้ การเบรกอย่างทันทีทันใดอาจท�ำให้รถเสียการทรงตัวได้
ว่าการใช้งานรถจักรยานยนต์ของท่านในอนาคตเชื่อถือได้ ถ้าเป็นไปได้ควรจะลดความเร็วของรถลงก่อนที่จะเลี้ยว
และมีประสิทธิภาพ มิฉะนั้นท่านอาจเสี่ยงต่อการลื่นไถลได้
• หลีกเลี่ยงการเร่งเครื่องยนต์จนสุดคันเร่งและการเร่งความ • ขอให้ท่านโปรดใช้ความระมัดระวังเมื่อต้องขับขี่ไปบนพื้น
เร็วอย่างกะทันหัน ผิวถนนที่มีแรงยึดเกาะต�่ำ
• หลีกเลี่ยงการเบรกอย่างกะทันหันหรืออย่างรุนแรง รวมทั้ง ยางจะลื่นไถลได้ง่ายยิ่งขึ้นหากขับขี่ไปบนพื้นถนนดังกล่าว
การเปลี่ยนเกียร์ลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งระยะการหยุดรถก็จะยาวขึ้นด้วย
• ขับขี่อย่างรอบคอบและระมัดระวัง • หลีกเลี่ยงการใช้เบรกอย่างต่อเนื่อง
การเบรกซ�้ำๆ หรือการย�้ำเบรก เช่น เมื่อขับขี่ลงทางลาด
ชันเป็นระยะทางยาวๆ อาจท�ำให้เบรกร้อนเกินไป และ
ท�ำให้ประสิทธิภาพในการเบรกลดลง ใช้ก�ำลังอัดของ
เครื่องยนต์ช่วยในการเบรกพร้อมกับกดเบรกแล้วปล่อย
สลับกันไปเป็นระยะเพื่อลดความเร็วของรถ
• เพื่อประสิทธิภาพในการเบรกอย่างเต็มที่ ให้ใช้ทั้งเบรก
หน้าและเบรกหลังพร้อมกัน
7
ข้อควรระวังในการขับขี่
การใช้กำ�ลังอัดของเครื่องยนต์ช่วยเบรก การจอดรถ
การใช้ก�ำลังอัดของเครื่องยนต์ช่วยเบรกจะช่วยท�ำให้รถจักร- • จอดรถบนพื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับเสมอกัน
การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย

ยานยนต์ของท่านวิ่งช้าลงเมื่อท่านปล่อยคันเร่ง และเพื่อท�ำ • ในกรณีที่ท่านต้องจอดรถบนพื้นที่ลาดเอียงเล็กน้อย


ให้รถเคลื่อนตัวได้ช้าลงไปอีก ให้เปลี่ยนเกียร์ลงสู่เกียร์ที่ต�่ำ หรือจอดรถบนพื้นผิวถนนที่ไม่อัดแน่น ขอให้ท่านจอด
กว่า ใช้ก�ำลังอัดของเครื่องยนต์ช่วยในการเบรกพร้อมกับกด รถโดยไม่ให้ตัวรถเคลื่อนหรือล้มลงได้
เบรกแล้วปล่อยสลับกันไปเป็นระยะเพื่อลดความเร็วของรถ • ต้องแน่ใจว่าชิ้นส่วนที่มีอุณหภูมิสูงไม่สัมผัสกับวัสดุ
เมื่อขับขี่ลงทางลาดชันเป็นระยะทางยาวๆ ที่ติดไฟได้ง่าย
สภาพผิวถนนที่เปียกหรือมีฝนตก • อย่าสัมผัสเครื่องยนต์ ท่อไอเสีย เบรก และชิ้นส่วนที่
ผิวถนนจะลื่นเมื่อเปียก และเบรกที่เปียกก็จะท�ำให้ประสิทธิ- มีอุณหภูมิสูงอื่นๆ จนกว่าจะเย็นลง
ภาพในการเบรกลดลงไปอีก • เพื่อลดโอกาสในการถูกขโมยรถ ให้ล๊อคแฮนด์บังคับ
ดังนั้นท่านต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษเมื่อจะเบรกใน เลี้ยวเสมอและดึงกุญแจออกและปิดระบบกุญแจ
สภาพผิวถนนที่เปียก นิรภัย 2 ชั้นทุกครั้งเมื่อท่านจอดรถทิ้งไว้หรืออยู่ห่าง
ถ้าเบรกเปียก ควรย�้ำเบรกหลายๆ ครั้งในขณะที่ขับขี่ที่ความ จากรถของท่านโดยไม่มีผู้ดูแล
เร็วต�่ำเพื่อช่วยให้ผ้าเบรกแห้งเร็วขึ้น ขอแนะนำ�ให้ท่านใช้อุปกรณ์กันขโมยด้วย

8
ข้อควรระวังในการขับขี่
จอดรถโดยใช้ขาตั้งข้างหรือขาตั้งกลาง
1. ดับเครื่องยนต์ ปลอกแฮนด์ด้านซ้าย
เหล็กท้ายเบาะ

การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย
2. การใช้ขาตั้งข้าง
ลดขาตั้งข้างลง
ค่อยๆ เอียงรถจักรยานยนต์มาทางด้านซ้ายอย่างช้าๆ
จนกระทั่งน�้ำหนักของตัวรถอยู่ที่ขาตั้งข้าง
การใช้ขาตั้งกลาง
เอาขาตั้งกลางลง ยืนทางด้านซ้ายของตัวรถ จับปลอก
แฮนด์ด้านซ้ายและเหล็กท้ายเบาะไว้ กดส่วนปลาย
ของขาตั้งกลางลงด้วยเท้าขวาของท่านและในขณะ
เดียวกันให้ยกรถขึ้นและดึงถอยมาทางด้านหลัง ขาตัง้ กลาง

3. หมุนแฮนด์บังคับเลี้ยวมาทางด้านซ้ายจนสุด
การหมุนแฮนด์บังคับเลี้ยวไปด้านขวาจะท�ำให้ความ
มั่นคงในการทรงตัวลดลงและอาจเป็นเหตุให้รถล้มได้
4. หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง LOCK และดึง
กุญแจออก หน้า 21
9
ข้อควรระวังในการขับขี่
ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงและการ
เติมน�้ำมันเชื้อเพลิง
การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย

ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำเหล่านี้เพื่อเป็นการปกป้องเครื่อง-
ยนต์และอุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย :
• ใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สารตะกั่วเท่านั้น
• ใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีค่าออกเทนตามที่ได้แนะน�ำไว้
การใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีค่าออกเทนที่ต�่ำกว่าจะส่งผล
ให้ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ลดลง
• อย่าใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ใน
ระดับความเข้มข้นสูง หน้า 92
• อย่าใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเก่าหรือสกปรก หรือน�้ำมันเบนซิน
ผสมกับน�้ำมันเครื่อง
• หลีกเลี่ยงอย่าให้มีสิ่งสกปรกหรือน�้ำในถังน�้ำมันเชื้อเพลิง

10
การติดตัง้ อุปกรณ์เพิม่ เติมและการดัดแปลงสภาพรถ
การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมและการดัดแปลงสภาพรถ คำ�เตือน
ทางบริษัทฯ ขอแนะนำ�ว่าท่านไม่ควรติดตั้งอุปกรณ์เพิ่ม การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมหรือการดัดแปลง

การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย
เติมใดๆ ซึ่งไม่ได้ออกแบบมาเป็นพิเศษโดยฮอนด้าเพื่อ สภาพรถที่ไม่เหมาะสมอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ
ใช้กับรถจักรยานยนต์ของท่าน หรือทำ�การดัดแปลงสภาพ เช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาด-
รถให้แตกต่างไปจากการออกแบบดั้งเดิม ซึ่งการกระทำ� เจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้
เช่นนั้นจะทำ�ให้ไม่ปลอดภัยในการขับขี่
การดัดแปลงสภาพรถจักรยานยนต์ของท่านอาจทำ�ให้ ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ทั้งหมดในคู่มือผู้ใช้เล่ม
การรับประกันคุณภาพเป็นโมฆะ อีกทั้งยังอาจทำ�ให้รถ นี้เกี่ยวกับการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมและการ
จักรยานยนต์ของท่านอยู่ในสภาพที่ผิดกฎหมายในการ ดัดแปลงสภาพรถ
ที่จะขับขี่บนถนนสาธารณะและบนถนนทางหลวงได้
ไม่ควรลากรถพ่วงด้วยรถจักรยานยนต์ของท่านหรือติด
ดังนั้นก่อนที่ท่านจะพิจารณาติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมใดๆ
ตั้งรถพ่วงข้างเข้ากับรถจักรยานยนต์ของท่าน เพราะ
เข้ากับรถจักรยานยนต์ของท่าน ต้องแน่ใจว่าการดัดแปลง
รถของท่านไม่ได้ออกแบบมาเพื่อการติดรถพ่วงข้าง
สภาพรถนั้นๆ มีความปลอดภัยและถูกต้องตามกฎหมาย
หรือรถพ่วง และการกระทำ�เช่นนี้อาจก่อให้เกิดความ
เสียหายร้ายแรงกับการบังคับรถได้ ซึ่งทำ�ให้ไม่ปลอด-
ภัยในการขับขี่

11
การบรรทุก
การบรรทุก
• การบรรทุกน�้ำหนักสัมภาระมากเกินไปจะมีผลเสียกับ คำ�เตือน
การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย

การบังคับ การเบรก และการทรงตัวของรถจักรยาน- การบรรทุกเกินขนาดทีก่ ฎหมายกำ�หนดหรือการ


ยนต์ของท่าน บรรทุกที่ไม่เหมาะสมอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ เช่น
ท่านควรขับขี่โดยใช้ความเร็วที่ปลอดภัยให้เหมาะสม การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัส
กับน�้ำหนักที่ท่านบรรทุกเสมอ หรือถึงแก่เสียชีวิตได้
• หลีกเลี่ยงการบรรทุกของที่มีน�้ำหนักมากเกินไป และ
ควรบรรทุกของให้อยู่ภายในขีดจ�ำกัดในการบรรทุก ปฏิบัติตามขีดจ�ำกัดในการบรรทุกทั้งหมดและค�ำ
ที่ระบุไว้ แนะน�ำในการบรรทุกอื่นๆ ที่ปรากฏอยู่ในคู่มือ
อ้างอิง ความสามารถในการรับน�้ำหนักสูงสุด หน้า เล่มนี้
100
• ผูกมัดสัมภาระทั้งหมดไว้อย่างแน่นหนา วางน�้ำหนัก
สัมภาระให้ได้สมดุลเท่ากันทั้งสองด้าน และให้ได้จุด
ศูนย์ถ่วงของรถเท่าที่จะเป็นไปได้
• อย่าวางสิ่งของไว้ใกล้ไฟสัญญาณต่างๆ หรือท่อไอเสีย

12
แผนภาพแสดงการขับขี่รถจักรยานยนต์ขั้นพื้นฐาน
การตรวจเช็คก่อนการขับขี่ หน้า 38

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ตรวจเช็คสภาพรถจักรยานยนต์ของท่านอย่างละเอียด การเร่งความเร็ว
เพื่อให้แน่ใจว่ามีความปลอดภัยในการขับขี่
ค่อยๆ บิดคันเร่งเพิ่มความเร็วทีละน้อย
ปฏิบัติตามขีดจำ�กัดความเร็วที่กำ�หนด

การเปลี่ยนเกียร์ หน้า 27

การสตาร์ทเครื่องยนต์ หน้า 24
สตาร์ทและอุ่นเครื่องยนต์ หลีกเลี่ยงการเร่ง
เครื่องยนต์ในขณะที่รถจอดอยู่กับที่
การออกรถ
การใช้อุปกรณ์พื้นฐาน ก่อนที่จะออกเดินทาง ให้สัญญาณแสดง
• เครื่องวัดต่างๆ หน้า 17 ทิศทางที่จะไปด้วยสวิทช์ไฟเลี้ยว และเพื่อ
• สวิทช์ต่างๆ หน้า 20 ความปลอดภัยให้ตรวจสอบดูว่ามีรถมา
• การล๊อคคอรถ หน้า 22 จากทางด้านหลังหรือไม่ก่อนออกรถ

13
การเบรก การจอดรถ หน้า 8
ผ่อนคันเร่งและใช้ทั้งคันเบรกหน้าและคันเบรกหลัง
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

STOP ! พร้อมกัน จอดรถบนพื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับ


ไฟเบรกจะติดเพื่อแสดงว่าท่านบีบคันเบรกหน้า เสมอกัน ใช้ขาตั้งข้างหรือขาตั้งกลาง และ
และกดคันเบรกหลังอยู่ ล๊อคคอรถไว้

การหยุดรถ
ถ้าจะนำ�รถเข้าจอดข้างทาง ให้สัญญาณแต่เนิ่นๆ ซึ่งนานพอ
ที่จะแสดงให้รถคันอื่นๆ เห็นว่าท่านกำ�ลังจะขับขี่รถเข้าข้างทาง
และขอให้ขับขี่รถเข้าข้างทางอย่างราบรื่นและปลอดภัย การเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง หน้า 29
การเลี้ยวโค้ง
เบรกก่อนที่จะเข้าโค้ง

ค่อยๆ บิดคันเร่งเพิ่มความเร็วของรถ
อีกครั้งเมื่อรถกำ�ลังจะวิ่งผ่านทางโค้ง

14
ตำ�แหน่งของชิ้นส่วนต่างๆ
แบตเตอรี่ หน้า 50
กล่องฟิวส์ หน้า 88

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ที่แขวนหมวกกันน็อก หน้า 31
ปลอกคันเร่ง หน้า 70
ตัวปรับตั้งพรีโหลดของสปริง
คันเบรกหน้า หน้า 57
ระบบกันสะเทือนหลัง หน้า 72

หัวเทียน หน้า 52

คันเบรกหลัง หน้า 59
คันสตาร์ท หน้า 25 โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่อง หน้า 56
ฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด หน้า 54
15
ที่แขวนหมวกกันน็อก หน้า 31
ฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง หน้า 29
ซองเก็บเอกสาร หน้า 32
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ชุดเครื่องมือประจ�ำรถ หน้า 32

ที่ล๊อคเบาะ หน้า 31

ตัวปรับตั้งพรีโหลดของสปริง
ระบบกันสะเทือนหลัง หน้า 72
โซ่ขับเคลื่อน หน้า 65
ขาตั้งข้าง หน้า 64

ขาตั้งกลาง หน้า 9

ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ คันเปลี่ยนเกียร์ หน้า 27


หน้า 71
16
เครื่องวัดต่างๆ
มาตรวัดความเร็ว

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
แสดงความเร็วแต่ละเกียร์
แสดงความเร็วที่ใช้ในแต่ละเกียร์

มาตรวัดระยะทาง
แสดงระยะทางรวมที่รถวิ่ง

เกจวัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง
เมื่อเข็มเกจวัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิงชี้ไปที่แถบสีแดง ปริมาณน�้ำมันเชื้อเพลิง
ที่เหลืออยู่ในถังน�้ำมันมีค่าประมาณ 1.17 ลิตร
17
สัญญาณไฟต่างๆ
สัญญาณไฟเลี้ยวซ้าย สัญญาณไฟเลี้ยวขวา
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

สัญญาณไฟสูง

สัญญาณไฟบอกตำ�แหน่งเกียร์ สัญญาณไฟ PGM-FI


สัญญาณไฟจะติดขึ้นเป็นช่วงเวลาสั้นๆ
แสดงตำ�แหน่งเกียร์ 1 ถึงเกียร์ 4
เมื่อสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ตำ�แหน่ง ON
ถ้าสัญญาณไฟติดขึ้นขณะเครื่องยนต์
กำ�ลังทำ�งาน : หน้า 76

สัญญาณไฟเกียร์ว่าง
สัญญาณไฟจะติดเมื่ออยู่ใน
ตำ�แหน่งเกียร์ว่าง
18
คำ�แนะนำ�การใช้งาน
19
สวิทช์ต่างๆ
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

NBC110MDF TH/2TH
ปุ่มสตาร์ท

ปุ่มแตร
สวิทช์ไฟเลี้ยว
กดปุ่มสวิทช์ลงเมื่อต้องการยกเลิกสัญญาณ

สวิทช์ไฟสูง-ต�่ำ
• : ไฟสูง
• : ไฟต�่ำ
20
สวิทช์จุดระเบิด
เปิด/ปิดระบบไฟฟ้า หรือล๊อคคอรถ

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
สามารถดึงกุญแจออกได้ เมื่อสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ต�ำแหน่ง OFF หรือต�ำแหน่ง LOCK

ON
เปิดระบบไฟฟ้าเพื่อการสตาร์ท/การขับขี่

OFF
ดับเครื่องยนต์

LOCK
ล๊อคคอรถ

21
สวิทช์ต่างๆ (ต่อ)
การล๊อคคอรถ การล๊อคคอ
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ควรล๊อคคอรถไว้เมื่อจอดรถจักรยานยนต์เพื่อช่วยป้องกัน 1 หมุนแฮนด์รถไปด้านซ้ายหรือด้านขวาจนสุด
การขโมย 2 กดกุญแจลง และหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง
ขอแนะน�ำให้ท่านใช้ตัวล๊อคล้อกันขโมยรูปตัวยูหรืออุป- LOCK
กรณ์กันขโมยที่มีลักษณะใกล้เคียงกันอีกด้วย ให้ขยับแฮนด์ซ้าย-ขวา ถ้าหมุนกุญแจไปที่ตำ�แหน่ง
LOCK ได้ยาก
3 ดึงกุญแจออก
กุญแจจุดระเบิด

การปลดล๊อคคอ
กดลง
เสียบกุญแจ กดลง และหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�-
แหน่ง OFF

หมุน

22
ระบบกุญแจนิรภัย 2 ชั้น ระบบกุญแจนิรภัย 2 ชั้นจะปิดสวิทช์จุดระเบิดโดยอัต-
รถจักรยานยนต์รุ่นนี้มีสวิทช์จุดระเบิดติดตั้งร่วมกับระบบ โนมัติเมื่อท่านดึงกุญแจจุดระเบิดออกที่ตำ�แหน่งล๊อค
กุญแจนิรภัย 2 ชั้น หลังจากจอดรถขอให้ท่านปิดระบบ “LOCK”

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
กุญแจนิรภัย 2 ชั้นเพื่อป้องกันการขโมย ท่านยังสามารถปิดระบบกุญแจนิรภัยด้วยมือได้อีกด้วย

การปิด
ต�ำแหน่งล๊อค 1 ถอดกุญแจจุดระเบิดออกจากสวิทช์จุดระเบิด
“LOCK”
2 จัดให้เดือยของกุญแจนิรภัยลงในร่องของสวิทช์
กุญแจนิรภัย และหมุนกุญแจนิรภัยทวนเข็มนาฬิกา
3 ดึงกุญแจออก
เปิด
การเปิด
ปิด
ร่อง กุญแจนิรภัย
จัดให้เดือยของกุญแจนิรภัยลงในร่องของสวิทช์กุญแจ
นิรภัย และหมุนกุญแจนิรภัยตามเข็มนาฬิกา
กุญแจจุด
ระเบิด
เดือยของกุญแจนิรภัย

23
การสตาร์ทเครื่องยนต์ เพื่อที่จะสตาร์ทเครื่องยนต์ใหม่อีกครั้งในขณะที่เครื่อง-
สตาร์ทเครื่องยนต์โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ ยนต์อุ่นให้ปฏิบัติตามขั้นตอนสำ�หรับ “เครื่องยนต์อุ่น”
ข้อสังเกต
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

• ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติดภายใน 5 วินาที ให้หมุนสวิทช์จุด


ระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง OFF และรอเป็นเวลา 10 วินาทีก่อนจะ
ลองสตาร์ทเครื่องยนต์อีกครั้งเพื่อฟื้นฟูแรงเคลื่อนไฟฟ้าของ
แบตเตอรี่ (ใช้ปุ่มสตาร์ท)
• การเดินเบารอบสูงเป็นเวลานานและการเร่งเครื่องยนต์อยู่กับ
ที่อาจทำ�ให้เครื่องยนต์และระบบไอเสียเกิดความเสียหายได้

ท่านควรขอคำ�แนะนำ�จากศูนย์บริการฮอนด้าของท่าน
หากท่านต้องการที่จะขับขี่รถจักรยานยนต์ของท่านที่
ระดับความสูงเกินกว่า 2,500 เมตร (8,000 ฟุต)
ข้อสังเกต
•ถ้าหากรถจักรยานยนต์ถูกขนย้ายหรือขนส่งไปยังที่ที่มีระดับ
ความสูงขึ้นไปหรือต�่ำลงมาจากจุดเดิมที่ท่านอยู่ 2,000 เมตร
(6,500 ฟุต) ท่านอาจจะไม่สามารถใช้งานเครื่องยนต์ของท่าน
ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพที่ระดับความสูง ณ ต�ำแหน่งที่อยู่
ใหม่นั้น ดังนั้นขอให้ท่านปรึกษากับศูนย์บริการฮอนด้าของ
ท่านก่อนการขนย้ายหรือขนส่งรถจักรยานยนต์ของท่าน
24
เครื่องยนต์เย็น : ใช้คันสตาร์ท
1 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง ON กดคันสตาร์ทเบาๆ จนกระทั่งรู้สึกว่ามีแรงต้าน
2 เปลีย่ นเป็นเกียร์ว่าง (สัญญาณไฟรูปตัว ติด) จากนั้นปล่อยให้คันสตาร์ทกลับไปที่ตำ�แหน่งสูงสุดของ

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ช่วงคันสตาร์ทตามเดิม
3 ใช้ป่มุ สตาร์ท
NBC110MDF TH/2TH บิดคันเร่งเล็กน้อยแล้วถีบคันสตาร์ทจากต�ำแหน่งสูงสุด
บิดคันเร่งเล็กน้อย หลังจากนั้นกดปุ่มสตาร์ท ของช่วงคันสตาร์ทจนถึงต�ำแหน่งต�่ำสุดด้วยความเร็ว
และต่อเนื่อง
ไม่ควรถีบคันสตาร์ทในขณะที่เครื่องยนต์ท�ำงานเพราะ
จะท�ำให้เครื่องยนต์เสียหายได้ และไม่ควรถีบคันสตาร์ท
แรงเกินไป
พับคันสตาร์ทเก็บเข้าที่ทุกครั้งหลังเลิกใช้งาน
4 อุ่นเครื่องยนต์โดยการบิดและผ่อนคันเร่งเล็กน้อย

25
การสตาร์ทเครื่องยนต์ (ต่อ)
เครื่องยนต์อุ่น :
1 ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 1-3 ในหัวข้อ “เครื่องยนต์เย็น”
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด :
1 หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง OFF
2 บิดคันเร่งจนสุด
3 หมุนเครื่องยนต์โดยการถีบคันสตาร์ทอย่างเร็วและแรง
หลายๆ ครั้ง
4 ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 1 ในหัวข้อ “เครื่องยนต์อุ่น”
5 ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทติด ให้บิดคันเร่งเล็กน้อยหาก
รอบเดินเบาไม่สม�่ำเสมอ
6 ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด ให้รอเป็นเวลา 10 วินาที
ก่อนที่จะปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 1 - 4 ใหม่อีกครั้ง

ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด หน้า 75

26
การเปลี่ยนเกียร์
ระบบส่งก�ำลังของรถจักรยานยนต์ของท่านเป็นแบบ 4

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
เกียร์เดินหน้า
การเปลี่ยนเกียร์จะแตกต่างกันเมื่อรถหยุดและเมื่อรถ
เคลื่อนที่ รถหยุด
เมื่อรถหยุดสามารถเปลี่ยนจากเกียร์ 4 ไปเกียร์ว่างได้
ทันทีด้วยระบบเกียร์วน 4 ระดับ
เมื่อรถเคลื่อนที่จะใช้การเปลี่ยนเกียร์แบบย้อนกลับ
การเปลี่ยนเกียร์จะไม่สามารถเปลี่ยนจากเกียร์ 4 เป็น
เกียร์ว่างได้ทันที
ก่อนเปลี่ยนเกียร์ทุกครั้งจะต้องผ่อนคันเร่งก่อน
ใช้ปลายเท้ากดเบาๆ จนกระทั่งคันเปลี่ยนเกียร์ต�่ำลง รถเคลื่อนที่
อย่าเปลี่ยนเกียร์โดยไม่จ�ำเป็นและขับขี่รถโดยที่ยังวาง
เท้าอยู่บนคันเปลี่ยนเกียร์ เพราะอาจจะท�ำให้ระบบ
กลไกของเกียร์และคลัทช์เสียหายได้

27
การเปลี่ยนเกียร์ (ต่อ)
การเปลี่ยนเกียร์ที่เหมาะสมจะช่วยป้องกันความเสียหาย การเปลี่ยนเกียร์จากเกียร์สูงลงสู่เกียร์ต�่ำ
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ซึ่งจะเกิดกับเครื่องยนต์และระบบส่งก�ำลังได้ การเปลี่ยนเกียร์ที่ความเร็วที่สูงกว่าความเร็วที่ระบุไว้ใน
ตารางข้างล่างนี้ จะท�ำให้รอบเครื่องยนต์สูงมากเกินไป
การเปลี่ยนเกียร์จากเกียร์ต�่ำขึ้นสู่เกียร์สูง และเป็นสาเหตุให้เกิดความเสียหายกับเครื่องยนต์และ
ช่วงความเร็วจ�ำกัดในแต่ละเกียร์ได้แสดงไว้ตามหัวข้อ ระบบส่งก�ำลังได้
แสดงความเร็วในแต่ละเกียร์ หน้า 17 ควรปฏิบัติตามตารางข้างล่างนี้เมื่อจะใช้เกียร์ต�่ำ
ควรเปลี่ยนเกียร์ไปสู่เกียร์ที่สูงกว่า หลังจากเลยช่วงความ
เร็วจ�ำกัดในแต่ละเกียร์ ความเร็วที่สามารถใช้ได้เมื่อใช้เกียร์ต�่ำ
การใช้เกียร์ที่ไม่เหมาะสมกับช่วงความเร็วที่จ�ำกัดในแต่ จากเกียร์ 4 ไป เกียร์ 3 75 กม./ชม. หรือน้อยกว่า
จากเกียร์ 3 ไป เกียร์ 2 50 กม./ชม. หรือน้อยกว่า
ละเกียร์อาจท�ำให้เกิดความเสียหายแก่เครื่องยนต์ได้ จากเกียร์ 2 ไป เกียร์ 1 30 กม./ชม. หรือน้อยกว่า

28
การเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง
ฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
ประเภทของน�้ำมันเชื้อเพลิง : น�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สาร ขอบล่างของขอบปาก

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ตะกั่วเท่านั้น ถังน�้ำมันเชื้อเพลิง

ค่าออกเทนของน�้ำมันเชื้อเพลิง : รถจักรยานยนต์ของ
ท่านได้รับการออกแบบมาให้ใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีค่า
ออกเทน 91 หรือสูงกว่า
ความจุถังน�้ำมันเชื้อเพลิง : 4.2 ลิตร
เครื่องหมายลูกศร
ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงและการ
เติมน�้ำมันเชื้อเพลิง หน้า 10

การเปิดฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
1 เปิดเบาะนั่งขึ้น หน้า 31
2 หมุนฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิงทวนเข็มนาฬิกาจน
กระทั่งสุด แล้วถอดฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิงออก อย่าเติมน�้ำมันเชื้อเพลิงจนล้นเกินจากขอบล่างของขอบ
ปากถังน�้ำมันเชื้อเพลิง

29
การเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง (ต่อ)
การปิดฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

1 ประกอบและขันฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิงจนแน่น
โดยการหมุนตามเข็มนาฬิกา
ต้องแน่ใจว่าเครื่องหมายลูกศรบนฝาปิดถังน�้ำมัน
กับบนถังน�้ำมันตรงกัน
2 ปิดเบาะนั่งลง
คำ�เตือน
น�้ำมันเชื้อเพลิงมีความไวต่อการติดไฟและการระเบิด
สูง ท่านอาจได้รับอันตรายหรือบาดเจ็บสาหัสอันเนื่อง
มาจากน�้ำมันเชื้อเพลิงได้
• ดับเครื่องยนต์และอยู่ให้ห่างจากความร้อน ประกาย
ไฟและเปลวไฟ
• เติมน�้ำมันในที่โล่งแจ้งเท่านั้น
• เช็ดน�้ำมันที่หกให้แห้งทันที

30
อุปกรณ์ส�ำหรับการจัดเก็บ
ที่แขวนหมวกกันน็อก
ที่แขวนหมวกกันน็อกมีอยู่ที่ใต้เบาะนั่ง

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ใช้ที่แขวนหมวกกันน็อกเมื่อจอดรถเท่านั้น

คำ�เตือน
การขับขีใ่ นขณะทีห่ มวกกันน็อกยังแขวนติดอยูก่ บั ทีแ่ ขวน
หมวกกันน็อกจะท�ำให้การขับขี่ของท่านไม่ปลอดภัยได้และ
ที่ล๊อคเบาะ อาจน�ำมาซึ่งการเกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่ง
กุญแจจุดระเบิด ท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้
การเปิดเบาะนั่ง ทีแ่ ขวนหมวกกันน็อกออกแบบมาเพือ่ ใช้แขวนหมวกกันน็อก
เสียบกุญแจจุดระเบิดเข้ากับที่ล๊อคเบาะ แล้วหมุนกุญแจ ในขณะที่จอดรถเท่านั้น ไม่ควรขี่รถจักรยานยนต์ในขณะ
จุดระเบิดตามเข็มนาฬิกาเพื่อคลายล๊อค ที่หมวกกันน็อกยังแขวนอยู่กับที่แขวนหมวกกันน็อก
การปิดเบาะนั่ง
ปิดเบาะนั่งและกดช่วงหลังของเบาะนั่งลงจนกระทั่งล๊อค
เข้าที่ ต้องแน่ใจว่าล๊อคเบาะเรียบร้อยแล้วโดยการดึง
เบาะนั่งขึ้นเล็กน้อย
31
อุปกรณ์ส�ำหรับการจัดเก็บ (ต่อ)
ซองเก็บเอกสาร ชุดเครื่องมือประจำ�รถ
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ซองเก็บเอกสารอยู่ในช่องเก็บเอกสารซึ่งอยู่ด้านตรงข้าม ชุดเครื่องมือประจำ�รถอยู่ในช่องเก็บเครื่องมือซึ่งอยู่ใต้
กับเบาะนั่ง เบาะนั่ง
ช่องเก็บเอกสาร
ชุดเครื่องมือประจำ�รถ ช่องเก็บเครื่องมือ

ซองเก็บเอกสาร

การเปิดเบาะนั่ง หน้า 31
การเปิดเบาะนั่ง หน้า 31
32
การบำ�รุงรักษา
โปรดอ่าน “ความสำ�คัญของการบำ�รุงรักษา” และ “หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา”

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
โดยละเอียดก่อนทำ�การบำ�รุงรักษาใดๆ ขอให้อ้างถึง “ข้อมูลทางเทคนิค” ในส่วนของ
ข้อมูลบริการ

ความส�ำคัญของการบ�ำรุงรักษา................ หน้า 34 โซ่ขับเคลื่อน............................................. หน้า 65


ตารางการบ�ำรุงรักษา............................... หน้า 35 คันเร่ง....................................................... หน้า 70
หลักการเบื้องต้นในการบ�ำรุงรักษา.......... หน้า 38 ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ................. หน้า 71
ชุดเครื่องมือประจ�ำรถ.............................. หน้า 49 การปรับตั้งอื่นๆ....................................... หน้า 72
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง. หน้า 50 ระบบกันสะเทือนหลัง. ............................. .หน้า 72
แบตเตอรี่............................................... หน้า 50 ระดับไฟหน้า........................................... หน้า 73
หัวเทียน.................................................... หน้า 52
น�้ำมันเครื่อง.............................................. หน้า 54
เบรก......................................................... หน้า 57
ขาตั้งข้าง................................................... หน้า 64
ความสำ�คัญของการบำ�รุงรักษา
ความสำ�คัญของการบำ�รุงรักษา ความปลอดภัยในการบำ�รุงรักษา
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์ของท่านเป็นอย่างดีเป็นสิ่ง อ่านคำ�แนะนำ�สำ�หรับการบำ�รุงรักษาก่อนที่ท่านจะเริ่มต้น
จำ�เป็นอย่างยิ่งต่อความปลอดภัยของท่าน อีกทั้งยังเพื่อปก- งานบำ�รุงรักษาแต่ละงานเสมอ และต้องแน่ใจว่าท่านมีเครื่อง-
ป้องการลงทุนของท่านให้มีความคุ้มค่า เกิดประสิทธิภาพ มือ ชิ้นส่วนอะไหล่ต่างๆ และทักษะความชำ�นาญที่จำ�เป็น
สูงสุด หลีกเลี่ยงกรณีการเกิดรถเสียหรือชิ้นส่วนของรถชำ�รุด ทางบริษัทฯ ไม่สามารถเตือนท่านให้ระวังอันตรายทุกอย่าง
การบำ�รุงรักษา

กะทันหัน และช่วยลดมลพิษทางอากาศด้วย ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างการปฏิบัติการบำ�รุงรักษา ดังนั้น


การบำ�รุงรักษารถจักรยานยนต์ถือเป็นความรับผิดชอบที่ ขอให้ท่านตัดสินใจด้วยตัวท่านเองว่าควรจะกระทำ�การบำ�รุง
สำ�คัญของท่านเจ้าของรถ ต้องแน่ใจว่าท่านได้ทำ�การตรวจ รักษาที่ให้ไว้หรือไม่
สอบรถจักรยานยนต์ของท่านก่อนการขับขี่ทุกครั้ง และนำ�
รถเข้ารับการตรวจเช็คตามระยะที่กำ�หนดไว้ในตารางการ ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�เหล่านี้เมื่อทำ�การบำ�รุงรักษาใดๆ
บำ�รุงรักษา หน้า 35 • ดับเครื่องยนต์และดึงกุญแจออก
คำ�เตือน • จอดรถบนพื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับเสมอกันด้วยขา-
การบ�ำรุงรักษารถจักรยานยนต์ของท่านอย่างไม่ถกู - ตั้งข้าง ขาตั้งกลาง หรือขาตั้งที่ใช้ในงานบริการเพื่อที่จะตั้ง
ต้องเหมาะสม หรือการละเลยในการแก้ไขปัญหาก่อน รถให้มั่นคง
การขับขี่ อาจท�ำให้เกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม • ปล่อยให้เครื่องยนต์ ท่อไอเสีย เบรก และชิ้นส่วนที่มีอุณหภูมิ
ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้ สูงต่างๆ เย็นลงก่อนทำ�การบำ�รุงรักษาใดๆ เนื่องจากท่าน
อาจได้รับบาดเจ็บจากความร้อนหรือการเผาไหม้ได้
ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำในการตรวจสอบและการบ�ำรุง • ติดเครื่องยนต์เมื่อได้รับการแนะนำ�ไว้เท่านั้น และกระทำ�
รักษาและตารางการบ�ำรุงรักษาในคู่มอื ผู้ใช้เล่มนี้เสมอ เช่นนั้นเมื่ออยู่ในที่ที่มีการระบายอากาศที่ดี
34
ตารางการบำ�รุงรักษา
ตารางการบำ�รุงรักษาจะระบุถึงรายการบำ�รุงรักษาที่ การบำ�รุงรักษาตามระยะเวลาที่กำ�หนดไว้ทั้งหมดจะถือ
จำ�เป็นเพิื่อรับรองว่ารถจักรยานยนต์ของท่านมีความ เป็นค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินการตามปกติที่เจ้าของรถ
ปลอดภัยในการขับขี่ มีประสิทธิภาพเชื่อถือได้ และมี ต้องเป็นผู้รับผิดชอบ และจะถูกเรียกเก็บค่าดำ�เนินการ
การควบคุมไอเสียที่เหมาะสม ดังกล่าวจากศูนย์บริการฮอนด้า กรุณาเก็บรักษาใบเสร็จ

การบำ�รุงรักษา
งานบำ�รุงรักษาควรกระทำ�ตามมาตรฐานของฮอนด้า ทุกใบไว้ หากท่านขายรถจักรยานยนต์นี้ ท่านควรจะส่ง
และข้อมูลทางเทคนิค โดยช่างเทคนิคที่ได้รับการฝึก มอบใบเสร็จเหล่านี้ให้แก่เจ้าของรถคนใหม่พร้อมกับรถ
อบรมอย่างถูกต้องและมีเครื่องมือครบครัน ซึ่งศูนย์ จักรยานยนต์
บริการฮอนด้ามีคุณสมบัติตรงตามข้อกำ�หนดดังกล่าว
ทั้งหมดข้างต้น จดบันทึกประวัติการบำ�รุงรักษาอย่าง ทางบริษัทฯ ขอแนะนำ�ให้ศูนย์บริการฮอนด้าของท่าน
ถูกต้องและแม่นยำ�เพื่อช่วยให้มั่นใจได้ว่ารถจักรยาน- ทำ�การทดสอบการขับขี่รถจักรยานยนต์ของท่านหลัง
ยนต์ของท่านจะได้รับการบำ�รุงรักษาอย่างเหมาะสม จากได้ทำ�การบำ�รุงรักษาแต่ละรายการแล้ว
ต้องแน่ใจว่าช่างเทคนิคผู้ซึ่งได้ทำ�การบำ�รุงรักษารถ
จักรยานยนต์ให้แก่ท่านได้ลงบันทึกประวัติการบำ�รุง
รักษาอย่างครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว

35
ตารางการบำ�รุงรักษา
การตรวจเช็ค ระยะทางที่อ่านได้บนเรือนไมล์ *1 การ การ
รายการ ก่อนการขับขี่ x 1,000 กม. 1 4 8 12 16 20 24 ตรวจเช็ค เปลี่ยนตาม อ้างอิง
หน้า 38 x 1,000 ไมล์ 0.6 2.5 5 7.5 10 12.5 15 ประจำ�ปี กำ�หนด หน้า
สายน�้ำมันเชื้อเพลิง I I I I I I I -
ระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง I 29
การท�ำงานของคันเร่ง I I I I I I I I 70
การบำ�รุงรักษา

ไส้กรองอากาศ *2 ทุกๆ 16,000 กิโลเมตร (10,000 ไมล์) R 48


ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ *3 71
หัวเทียน I R I R I R 52
ระยะห่างวาล์ว I I I I I I I -
น�้ำมันเครื่อง I R R R R R R R R 54
ตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง -
ตัวกรองน�้ำมันเครื่อง -
รอบเดินเบา I I I I I I I I -
ระดับของการบำ�รุงรักษา คำ�อธิบายสัญลักษณ์เพื่อการบำ�รุงรักษา
: ทักษะระดับกลาง ทางบริษัทฯ ขอแนะนำ�ให้ท่านนำ�รถไปเข้ารับบริการที่ I : ตรวจเช็ค (ทำ�ความสะอาด ปรับตั้ง หล่อลื่น หรือเปลี่ยนใหม่ถ้าจำ�เป็น)
ศูนย์บริการฮอนด้า นอกเสียจากท่านจะมีเครื่องมือที่จำ�เป็นและมีฝีมือทาง R : เปลี่ยน
ช่างด้วย : ทำ�ความสะอาด
ขั้นตอนการบำ�รุงรักษาต่างๆ มีอยู่ในคู่มือการซ่อมของฮอนด้า
: หล่อลื่น
: ทักษะด้านเทคนิคที่สูงขึ้น เพื่อความปลอดภัย ขอแนะนำ�ให้ท่านนำ�รถไปเข้า
รับบริการที่ศูนย์บริการฮอนด้าเท่านั้น

36
ตารางการบำ�รุงรักษา
การตรวจเช็ค ระยะทางที่อ่านได้บนเรือนไมล์ *1 การ การ
รายการ ก่อนการขับขี่ x 1,000 กม. 1 4 8 12 16 20 24 ตรวจเช็ค เปลี่ยนตาม อ้างอิง
หน้า 38 x 1,000 ไมล์ 0.6 2.5 5 7.5 10 12.5 15 ประจำ�ปี กำ�หนด หน้า
โซ่ขับเคลื่อน I ทุกๆ 500 กิโลเมตร (300 ไมล์) : I 65
การสึกหรอของผ้าเบรก I I I I I I I I 62
ระบบเบรก I I I I I I I I I 57

การบำ�รุงรักษา
สวิทช์ไฟเบรก I I I I I I I 63
ไฟหน้า I I I I I I I 73
ไฟแสงสว่าง/แตร I -
ระบบคลัทช์ I I I I I I I I -
ขาตั้งข้าง I I I I I I I 64
ระบบกันสะเทือน I I I I I I I -
น๊อต โบ้ลท์ และสกรู I I I I I -
ล้อ/ยาง I I I I I I I I I 45
ลูกปืนคอ I I I I -

หมายเหตุ :
*1 : กรณีที่ระยะทางที่อ่านได้บนเรือนไมล์มีระยะทางเกินกว่า 24,000 กม. ให้ทำ�การบำ�รุงรักษาต่อไปทุกๆ 4,000 กม. โดยเริ่มดูรายการบำ�รุงรักษาตาม
คู่มือตรงช่อง 4,000 กม., 8,000 กม., 12,000 กม., 16,000 กม., 20,000 กม., และ 24,000 กม. ตามลำ�ดับ
*2 : ควรตรวจเช็คบำ�รุงรักษาให้บ่อยขึ้นถ้าขับขี่ในพื้นที่ที่เปียกหรือมีฝุ่นมาก
*3 : ควรตรวจเช็คบำ�รุงรักษาให้บ่อยขึ้นถ้าขับขี่ในพื้นที่ที่ฝนตกหรือการใช้งานหนัก

37
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
การตรวจเช็คก่อนการขับขี่ • โซ่ขับเคลื่อน - เช็คสภาพของโซ่และความหย่อนของ
เพื่อให้มั่นใจในความปลอดภัยถือเป็นความรับผิดชอบ โซ่ ปรับตั้งและหล่อลื่นถ้าจ�ำเป็น หน้า 65
ของท่านในการท�ำการตรวจเช็คก่อนการขับขี่และต้อง • เบรก - เช็คการท�ำงาน :
แน่ใจว่าปัญหาใดๆ เกี่ยวกับรถของท่านที่ตรวจพบนั้น หน้าและหลัง : ตรวจสอบการสึกหรอของผ้าเบรก
ได้รับการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว การตรวจเช็คก่อนการขับ
การบำ�รุงรักษา

หน้า 62 และระยะฟรี ปรับตั้งถ้าจ�ำเป็น หน้า 58, 60


ขี่นั้นถือเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นต้องท�ำ เพราะไม่เพียงแต่เพื่อให้
เกิดความปลอดภัยเท่านั้น แต่เป็นเพราะการที่มีชิ้นส่วน • อุปกรณ์ไฟแสงสว่างและแตร - ตรวจสอบการท�ำงาน
ของรถเสียหายกะทันหันหรือแม้กระทั่งยางแบน ก็อาจ ของไฟแสงสว่าง สัญญาณไฟต่างๆ และแตรว่าเป็น
เป็นสิ่งที่น�ำความยากล�ำบากมาให้แก่ท่านอย่างยิ่งใน ไปอย่างถูกต้องเหมาะสมหรือไม่
ระหว่างการขับขี่ • ล้อและยาง - ตรวจเช็คสภาพและแรงดันลมยาง หน้า
45
ตรวจเช็ครายการดังต่อไปนี้ก่อนที่ท่านจะขับขี่รถจักรยานยนต์
ของท่าน :
• ระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง - เติมน�้ำมันเชื้อเพลิงเมื่อจ�ำเป็น
หน้า 29
• คันเร่ง - ตรวจสอบการท�ำงานตั้งแต่เริ่มแรกจนถึงบิด
สุดในสภาพมุมเลี้ยวต่างๆ หน้า 70
• ระดับน�้ำมันเครื่อง - เติมน�้ำมันเครื่องถ้าจ�ำเป็น เช็ค
การรั่วซึม หน้า 54
38
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา
การเปลี่ยนชิ้นส่วนต่างๆ คำ�เตือน
ควรใช้แต่อะไหล่แท้ของฮอนด้าหรืออะไหล่ที่เทียบเท่า การประกอบชิ้นส่วนที่ไม่ใช่ของฮอนด้าอาจท�ำ
เสมอ เพื่อให้มั่นใจว่ารถจักรยานยนต์ของท่านมีความ ให้รถของท่านอยู่ในสภาพไม่ปลอดภัยได้ และ
น่าเชื่อถือและปลอดภัย อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม

การบำ�รุงรักษา
ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสีย
ชีวิตได้

ควรใช้แต่อะไหล่แท้ของฮอนด้าหรืออะไหล่ที่
เทียบเท่าซึ่งได้รับการออกแบบและรับรองคุณ-
ภาพว่าเหมาะสมกับรถจักรยานยนต์ของท่าน

39
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา
แบตเตอรี่ คำ�เตือน
รถจักรยานยนต์ของท่านใช้แบตเตอรี่แบบไม่ต้องบ�ำรุง แก๊สที่ระเหยจากแบตเตอรี่เป็นแก๊สไฮโดรเจนซึ่ง
รักษา ท่านไม่ต้องตรวจเช็คระดับน�้ำยาแบตเตอรี่หรือ ท�ำให้เกิดระเบิดได้ระหว่างการปฏิบัติงานตามปกติ
ไม่ต้องเติมน�้ำกลั่นลงไป ท�ำความสะอาดขั้วแบตเตอรี่
ถ้าสกปรกหรือมีสนิมขึ้น หลีกเลี่ยงการเกิดเปลวไฟหรือประกายไฟเพราะแก๊ส
การบำ�รุงรักษา

อย่าถอดซีลของฝาปิดช่องเติมน�้ำยาออก การชาร์จ ที่ระเหยจากแบตเตอรี่สามารถท�ำให้เกิดระเบิดได้


ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้
แบตเตอรี่ไม่จ�ำเป็นต้องถอดฝาปิดช่องเติมน�้ำยาออก
สวมเสื้อผ้าและหน้ากากป้องกัน หรือเข้ารับบริการ
ข้อสังเกต จากช่างที่มีความช�ำนาญในการบ�ำรุงรักษาแบตเตอรี่
แบตเตอรี่ของท่านเป็นแบบไม่ต้องบ�ำรุงรักษา และ
อาจได้รับความเสียหายได้ถ้าซีลของฝาปิดช่องเติม การทำ�ความสะอาดขั้วแบตเตอรี่
น�้ำยาถูกถอดออกมา 1. ถอดแบตเตอรี่ออก หน้า 50
2. ถ้าขั้วแบตเตอรี่ก�ำลังเริ่มที่จะถูกกัดกร่อนและมีคราบ
สีขาวๆ หรือคราบซัลเฟตเกาะอยู่ ให้ล้างออกโดยใช้
น�้ำอุ่นและเช็ดให้สะอาด

40
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา
3. ถ้าขั้วแบตเตอรี่ถูกกัดกร่อนมากหรือมีคราบสีขาวๆ เกาะ ฟิวส์
อยู่มาก ให้ทำ�ความสะอาดและขัดขั้วแบตเตอรี่ด้วยแปรง ฟิวส์เป็นอุปกรณ์ป้องกันวงจรไฟฟ้าภายในรถจักรยานยนต์
ลวดหรือกระดาษทราย ควรสวมแว่นตานิรภัยเพื่อความ
ของท่าน ถ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าใดๆ ในรถหยุดการทำ�งาน ให้ตรวจ
ปลอดภัยของท่าน
เช็คและเปลี่ยนฟิวส์ใดๆ ที่ขาด หน้า 88

การบำ�รุงรักษา
การตรวจสอบและการเปลี่ยนฟิวส์
หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง OFF เพื่อที่จะถอดและ
ตรวจสอบฟิวส์ ถ้าฟิวส์ขาดให้เปลี่ยนใหม่โดยใช้ฟิวส์ที่มี
4. หลังจากทำ�ความสะอาด ให้ประกอบแบตเตอรี่กลับเข้าที่ ขนาดเดียวกับฟิวส์เดิม สำ�หรับขนาดของฟิวส์ให้ดูได้จาก
“ข้อมูลทางเทคนิค” หน้า 102
แบตเตอรี่มีอายุการใช้งานจำ�กัด ดังนั้นท่านควรปรึกษากับ
ทางศูนย์บริการฮอนด้าว่าเมื่อไรที่ท่านควรจะต้องเปลี่ยน
แบตเตอรี่ใหม่ และควรเปลี่ยนแบตเตอรี่ลูกใหม่ด้วยแบต- ฟิวส์ขาด
เตอรี่แบบไม่ต้องบำ�รุงรักษาชนิดเดียวกัน
ข้อสังเกต
การประกอบอุปกรณ์เสริมระบบไฟฟ้าที่ไม่ใช่ของฮอนด้าอาจ
ท�ำให้ระบบไฟฟ้าท�ำงานเกินก�ำลัง ท�ำให้แบตเตอรี่จ่ายกระแส ข้อสังเกต
ไฟออกจนหมด และอาจเป็นไปได้ว่าจะท�ำให้ระบบไฟฟ้าได้ การเปลี่ยนฟิวส์โดยใช้ฟิวส์ที่มีเบอร์สูงกว่ามาตรฐานที่ก�ำหนด
รับความเสียหายได้ จะยิ่งเพิ่มโอกาสของความเสียหายที่จะเกิดแก่ระบบไฟฟ้า
41
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา
ถ้าฟิวส์ขาดบ่อย อาจเป็นไปได้ว่าวงจรไฟฟ้าภายในรถจักร- *1.
มาตรฐาน JASO T 903 เป็นดัชนีส�ำหรับน�้ำมันเครื่อง
ยานยนต์ของท่านเกิดบกพร่อง ดังนั้นควรน�ำรถเข้ารับบริการ
ส�ำหรับเครื่องยนต์รถจักรยานยนต์ 4 จังหวะ โดยแบ่งน�้ำมัน
ตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า
เครื่องออกเป็น 2 ประเภทคือ MA และ MB ยกตัวอย่าง
น�้ำมันเครื่อง เช่น ป้ายต่อไปนี้แสดงน�้ำมันประเภท MA
อัตราการสิ้นเปลืองของน�้ำมันเครื่องจะแตกต่างกันและคุณ-
การบำ�รุงรักษา

รหัสน�้ำมัน
ภาพของน�้ำมันเครื่องจะเสื่อมไปตามสภาพการขับขี่และระยะ
เวลาในการใช้งาน ประเภทของน�้ำมัน
ตรวจสอบระดับน�้ำมันเครื่องเป็นประจ�ำและเติมน�้ำมันเครื่อง
ที่แนะน�ำถ้าจ�ำเป็น น�้ำมันเครื่องที่สกปรกหรือเก่าควรจะเปลี่ยน *2.
มาตรฐาน SAE แบ่งเกรดของน�้ำมันเครื่องตามความหนืด
ใหม่ทันทีที่เป็นไปได้ *3.
การแบ่งประเภทน�้ำมันเครื่องตามมาตรฐาน API จะระบุ
การเลือกใช้น�้ำมันเครื่อง ถึงคุณภาพและสมรรถนะของน�้ำมันเครื่อง ขอให้ใช้น�้ำมัน
ส�ำหรับน�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำ ดูได้จาก “ข้อมูลทางเทคนิค” เครื่องซึ่งมีระดับสมรรถนะ SG หรือสูงกว่า โดยไม่รวมถึง
ในหน้า 101 น�้ำมันที่มีข้อความประหยัดเชื้อเพลิงอันได้แก่ “Energy
ถ้าท่านใช้น�้ำมันเครื่องที่ไม่ใช่ของฮอนด้า ให้ตรวจสอบป้าย Conserving” หรือ “Resource Conserving” ปรากฏอยู่
ที่ข้างภาชนะบรรจุน�้ำมัน เพื่อให้แน่ใจว่าน�้ำมันเครื่องนั้นมี ที่สัญลักษณ์มาตรฐาน API บริเวณครึ่งวงกลมส่วนล่าง
คุณสมบัติตรงตามมาตรฐานทั้งหมดดังต่อไปนี้ :
•มาตรฐาน JASO T 903*1 : MA
•มาตรฐาน SAE*2 : 10W-30
•การแบ่งประเภทน�้ำมันเครื่องตามมาตรฐาน API*3 : SG
หรือสูงกว่า ไม่แนะน�ำให้ใช้ แนะน�ำให้ใช้
42
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา
โซ่ขับเคลื่อน
ท่านจ�ำเป็นต้องตรวจสอบและหล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อนเป็นประจ�ำ
ตรวจสอบโซ่ขับเคลื่อนให้บ่อยขึ้นถ้าท่านมักจะขับขี่ีไปบน
สภาพถนนที่ไม่ดี ขับขี่ด้วยความเร็วสูง หรือขับขี่โดยเร่งเครื่อง
อย่างรวดเร็วอยู่บ่อยครั้ง

การบำ�รุงรักษา
ถ้าโซ่ขับเคลื่อนหมุนติดขัดไม่ราบรื่น มีเสียงดังแปลกๆ เกิด
ขึึ้น มีลูกกลิ้งเสียหายหรือสลักหลวม หรือมีข้อต่อบิดงอ ขอ
ให้ท่านนำ�รถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็ค ปกติ สึกหรอ เสียหาย
โซ่ขับเคลื่อนโดยศูนย์บริการฮอนด้า (ดี) (เปลี่ยนใหม่) (เปลี่ยนใหม่)
นอกจากนี้ท่านควรตรวจสอบสเตอร์หน้าและสเตอร์หลังด้วย
ถ้าหากฟันสเตอร์สึกหรอหรือเสียหาย ขอให้ท่านนำ�รถจักร- ข้อสังเกต
ยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการเปลี่ยนสเตอร์ใหม่โดยศูนย์ การใช้โซ่เส้นใหม่กับสเตอร์ที่สึกหรออาจท�ำให้โซ่สึกหรอ
บริการฮอนด้า อย่างรวดเร็วได้

43
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา
การท�ำความสะอาดและการหล่อลื่น
หลังการตรวจสอบความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน ให้ท�ำ
ความสะอาดโซ่ขับเคลื่อน สเตอร์หน้า และสเตอร์หลัง
พร้อมกับหมุนล้อหลังตามไปด้วย
การบำ�รุงรักษา

ใช้ผ้าแห้งชุบตัวท�ำละลายที่มีจุดวาบไฟสูงในการท�ำความ
สะอาดโซ่ขับเคลื่อน
ใช้แปรงขนนุ่มท�ำความสะอาดหากโซ่ขับเคลื่อนสกปรก
หลังการท�ำความสะอาด เช็ดให้แห้ง และหล่อลื่นโซ่ขับ อย่าใช้น�้ำมันเบนซินหรือตัวท�ำละลายที่มีจุดวาบไฟต�่ำ
ในการท�ำความสะอาดโซ่ขับเคลื่อน
เคลื่อนด้วยสารหล่อลื่นที่แนะน�ำ แต่หากไม่สามารถหา
อาจเกิดไฟไหม้หรือระเบิดได้
ได้ก็ขอให้ท่านใช้น�้ำมันเครื่อง SAE 80 หรือ 90 หลีกเลี่ยงอย่าให้สารหล่อลื่นหยดลงบนเบรกหรือยาง
หลีกเลี่ยงอย่าใช้สารหล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อนมากเกินไป เพื่อ
สารหล่อลื่นที่แนะน�ำ : ป้องกันไม่ให้สารหล่อลื่นส่วนเกินกระเด็นติดเสื้อผ้าของ
สารหล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อน ท่านและรถจักรยานยนต์ได้
แต่หากไม่สามารถหาได้ก็ขอให้ท่านใช้น�้ำมันเครื่อง
SAE 80 หรือ 90

44
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา
ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ การตรวจสอบความเสียหาย
ควรรับบริการให้บ่อยขึ้นเมื่อขับขี่ในขณะฝนตก ขับขี่ ตรวจสอบยางว่ามีรอยฉีกขาด
ด้วยความเร็วสูง หรือหลังจากล้างรถหรือรถล้ม ควรรับ รอยแยก หรือรอยแตก จนสามารถ
บริการเมื่อระดับเขม่าสะสมในท่อระบายมีมากจนสามารถ มองเห็นโครงสร้างของชั้นผ้าใบ
หรือเส้นลวด หรือมีตะปูหรือวัตถุ

การบำ�รุงรักษา
มองเห็นได้อย่างชัดเจน
ถ้าท่อระบายเรือนเครื่องยนต์มีน�้ำมันเครื่องล้นออกมา แปลกปลอมอื่นๆ ติดฝังในด้าน
ไส้กรองอากาศอาจปนเปื้อนไปด้วยน�้ำมันเครื่องซึ่งจะ ข้างของยางหรือดอกยางหรือไม่
ท�ำให้ประสิทธิภาพในการท�ำงานของเครื่องยนต์ต�่ำ ตรวจสอบดูด้วยว่ายางมีรอยบวมหรือส่วนที่นูนออกมา
หน้า 71 จากบริเวณแก้มยางหรือไม่

ยาง (การตรวจสอบ/การเปลี่ยน) การตรวจสอบการสึกหรอผิดปกติ


ตรวจสอบสภาพของยางว่ามีอาการ
การตรวจเช็คแรงดันลมยาง สึกหรอผิดปกติที่บริเวณหน้ายางที่
ตรวจสอบสภาพของยางด้วยสายตาและใช้เกจวัดแรง- สัมผัสพื้นผิวถนนหรือไม่
ดันลมยางเพื่อวัดแรงดันลมยางอย่างน้อยที่สุดเดือนละ
ครั้งหรือเมื่อใดก็ตามที่ท่านเห็นว่ายางอ่อน ตรวจเช็ค
แรงดันลมยางเสมอในขณะที่ยางเย็น

45
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา
การตรวจสอบความสึกของดอกยาง คำ�เตือน
ตรวจสอบต�ำแหน่งความสึกของดอกยาง ถ้าสามารถ การขับขี่รถจักรยานยนต์ที่มีสภาพยางสึกหรอ
มองเห็นได้ชัดเจนให้เปลี่ยนยางใหม่ทันที มากหรือเติมลมยางไม่เหมาะสม อาจก่อให้เกิด
อุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจ
การบำ�รุงรักษา

ได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้

หรือ TWI ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำทั้งหมดในคู่มือผู้ใช้เล่มนี้


เกี่ยวกับการเติมลมยางและการบ�ำรุงรักษายาง

จุดสังเกตความสึกของดอกยาง

46
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา
กรุณาน�ำรถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการเปลี่ยน คำ�เตือน
ยางโดยศูนย์บริการฮอนด้า ส�ำหรับยางและแรงดันลม การประกอบยางทีไ่ ม่เหมาะสมเข้ากับรถจักรยานยนต์
ยางที่แนะน�ำให้ดูได้จาก “ข้อมูลทางเทคนิค” หน้า 101 ของท่าน อาจมีผลเสียต่อการบังคับรถและการทรงตัว
เมื่อใดก็ตามที่ท่านเปลี่ยนยางให้ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำ ของรถได้ และสิ่งนี้เองอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุเช่น การ
ชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึง

การบำ�รุงรักษา
ดังต่อไปนี้
• ใช้ยางที่แนะน�ำหรือยางเทียบเท่า ซึ่งมีขนาดยาง โครง แก่เสียชีวิตได้
สร้างของยาง อัตราความเร็วสูงสุดที่ยางรับได้ และ
ใช้ยางให้ถูกต้องตามชนิดและขนาดของยางตามที่ได้
ความสามารถในการรับน�้ำหนักเหมือนกับยางดั้งเดิม แนะน�ำไว้ในคู่มือผู้ใช้เล่มนี้เสมอ
ของท่าน
• พึงระลึกไว้เสมอว่าควรเปลี่ยนยางในใหม่เมื่อใดก็ตาม
ที่ท่านเปลี่ยนยางนอก เนื่องจากยางในเส้นเก่าอาจ
จะเสียรูปแล้ว และหากท่านนำ�ไปประกอบเข้ากับยาง
นอกเส้นใหม่อาจมีผลเสียกับการทรงตัวของรถได้

47
หลักการเบือ้ งต้นในการบำ�รุงรักษา
ไส้กรองอากาศ
รถจักรยานยนต์รุ่นนี้มีไส้กรองอากาศเป็นแบบกระดาษ
เปียก
การทำ�ความสะอาดโดยการใช้ลมเป่าหรือการทำ�ความ
การบำ�รุงรักษา

สะอาดด้วยวิธีการอื่นใด จะทำ�ให้ประสิทธิภาพของไส้-
กรองอากาศแบบกระดาษเปียกลดลง และทำ�ให้มีฝุ่น
เข้าไปด้านในได้
อย่าทำ�การบำ�รุงรักษาใดๆ กับไส้กรองอากาศ
การบริการไส้กรองอากาศควรกระทำ�โดยศููนย์บริการ
ฮอนด้า

48
ชุดเครื่องมือประจำ�รถ
ชุดเครื่องมือประจำ�รถอยู่ในช่องเก็บเครื่องมือ หน้า 32

ท่านสามารถซ่อมรถระหว่างทาง ปรับแต่งเล็กๆ น้อยๆ


และเปลี่ยนชิ้นส่วนได้โดยใช้เครื่องมือที่อยู่ในชุดเครื่อง-
มือนี้

การบำ�รุงรักษา
• ประแจปากตาย 10 x 14 มม
• ไขควงแบน/ไขควงแฉก
• ด้ามไขควง
• ประแจขันหัวเทียน

49
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง
แบตเตอรี่
การถอด
สกรู B ฝาปิดแบตเตอรี่
ต้องแน่ใจว่าสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ตำ�แหน่ง OFF
การบำ�รุงรักษา

1. ถอดฝาครอบกลางโดยการถอดสกรู A ออก
2. ปลดขั้วลบ - แบตเตอรี่ออกจากแบตเตอรี่
3. ถอดฝาปิดแบตเตอรี่โดยการถอดสกรู B ออก

สกรู A ฝาครอบกลาง

สกรู B
ขั้วลบ - แบตเตอรี่

50
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง แบตเตอรี่

4. ปลดขั้วบวก + แบตเตอรี่ออกจากแบตเตอรี่ การประกอบ


5. ถอดแบตเตอรี่ออก และระวังอย่าทำ�น๊อตยึดขั้วสาย ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ โดยทำ�ย้อนลำ�ดับขั้นตอนการ
หล่น ถอด ต่อขั้วบวก + แบตเตอรี่ก่อนเสมอ ต้องแน่ใจว่า
โบ้ลท์และน๊อตต่างๆ ขันแน่นอยู่

การบำ�รุงรักษา
ขั้วบวก + แบตเตอรี่

สำ�หรับการจัดการกับแบตเตอรี่ที่เหมาะสม ให้ดูได้จาก
“หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา” หน้า 40
“แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ” ดูหน้า 82

แบตเตอรี่

51
หัวเทียน
การตรวจเช็คหัวเทียน
ปลั๊กหัวเทียน
สำ�หรับหัวเทียนที่แนะนำ� ให้ดูได้จาก “ข้อมูลทางเทคนิค”
หน้า 101
ใช้หัวเทียนชนิดที่แนะนำ�ไว้เท่านั้นซึ่งมีเบอร์หัวเทียนตาม
การบำ�รุงรักษา

ที่ได้แนะนำ�ไว้

ข้อสังเกต
การใช้หัวเทียนผิดเบอร์อาจท�ำให้เกิดความเสียหายแก่
เครื่องยนต์ได้

1. ปลดปลั๊กหัวเทียนออกจากหัวเทียน
2. ทำ�ความสะอาดเอาสิ่งสกปรกออกจากรอบๆ ฐาน 4. เช็คสภาพของเขี้ยวและขั้วแกนกลางว่ามีคราบเขม่า
หัวเทียน สะสมหรือสึกหรอหรือไม่
3. ถอดหัวเทียนออกด้วยประแจขันหัวเทียนที่อยู่ในชุด ถ้าสึกหรอหรือมีคราบเขม่าสะสมมากควรเปลี่ยน
เครื่องมือประจำ�รถ หัวเทียนใหม่
ทำ�ความสะอาดเขม่าหรือสิ่งสกปรกโดยใช้ที่ล้าง
หัวเทียนหรือแปรงลวด
52
หัวเทียน การตรวจเช็คหัวเทียน
5. เช็คระยะห่างของเขี้ยวหัวเทียนโดยใช้ฟิลเลอร์เกจชนิดที่ 8. ขันหัวเทียน :
เป็นลวด • ถ้าหัวเทียนเก่าอยู่ในสภาพที่ดี :
ถ้าจำ�เป็นจะต้องปรับตั้งให้ค่อยๆ ดัดเขี้ยวหัวเทียน NGK : ขันเข้าไป 1/6 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว
DENSO : ขันเข้าไป 1/8 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว
• ถ้าใช้หัวเทียนใหม่ ให้ขันหัวเทียน 2 ครั้งเพื่อป้องกันการ
ระยะห่างเขี้ยวหัวเทียน :
คลาย :

การบำ�รุงรักษา
0.80 - 0.90 มม. (0.031 - 0.035 นิ้ว) ก) ในครั้งแรก, ให้ขันหัวเทียน :
NGK : 1/4 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว
DENSO : 3/4 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว
เขี้ยวหัวเทียน ข) จากนั้นให้คลายหัวเทียนออก
ค) ขันหัวเทียนอีกครั้ง :
NGK : 1/6 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว
ระยะห่าง DENSO : 1/8 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว
เขี้ยวหัวเทียน
ข้อสังเกต
การขันหัวเทียนอย่างไม่ถูกต้องเหมาะสมอาจท�ำให้เครื่อง-
ยนต์เสียหายได้ ถ้าหัวเทียนหลวมเกินไปลูกสูบอาจได้รับ
6. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าแหวนรองหัวเทียนอยู่ในสภาพที่ดี ความเสียหายได้ และถ้าหากหัวเทียนแน่นเกินไป เกลียว
7. ใส่หัวเทียนเข้ากับฝาสูบโดยใช้มือหมุนนำ�เข้าไปก่อนให้ ของหัวเทียนอาจได้รับความเสียหายได้
สุดเกลียวเพื่อป้องกันเกลียวหัวเทียนเสียหาย 9. ประกอบปลั๊กหัวเทียนเข้ากับหัวเทียน ระวังอย่าทำ�ให้สาย
เคเบิลหรือสายไฟใดๆ บิดงอ
53
น�้ำมันเครื่อง
การตรวจเช็คน�้ำมันเครื่อง
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้งกลางบนพื้นที่มั่นคง ฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด
ขีดบอกระดับสูงสุด
แข็งแรงและมีระดับเสมอกัน
2. ถ้าเครื่องยนต์เย็น ปล่อยให้เครื่องยนต์เดินเบาเป็น
การบำ�รุงรักษา

เวลา 3-5 นาที ขีดบอกระดับต�่ำสุด

3. หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง OFF และรอเป็น


เวลา 2-3 นาที
4. ถอดฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดออก และเช็ด
น�้ำมันออกจากก้านวัด
5. ใส่ฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดกลับเข้าที่แต่
ยังไม่ต้องขันเกลียว
ตรวจสอบระดับน�้ำมันเครื่องว่าอยู่ระหว่างขีดบอก
ระดับสูงสุดและขีดบอกระดับต�่ำสุดบนฝาปิดช่องเติม
น�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดหรือไม่
6. ประกอบฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดกลับเข้า
ที่เดิมให้แน่นหนา
54
น�้ำมันเครื่อง การเติมน�้ำมันเครื่อง

การเติมน�้ำมันเครื่อง ข้อสังเกต
การเติมน�้ำมันเครื่องจนล้นหรือติดเครื่องยนต์ในขณะที่
ถ้าหากระดับน�้ำมันเครื่องอยู่ต�่ำกว่าหรือใกล้ถึงขีดบอก มีน�้ำมันเครื่องไม่เพียงพออาจท�ำให้เกิดความเสียหาย
ระดับต�่ำสุด ให้เติมน�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำ หน้า 42 แก่เครื่องยนต์ของท่านได้ อย่าน�ำน�้ำมันเครื่องต่างยี่ห้อ
1. ถอดฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดออก เติมน�้ำมัน และต่างเกรดมาผสมกันเพราะอาจมีผลกระทบต่อการ

การบำ�รุงรักษา
เครื่องที่แนะน�ำจนกระทั่งถึงขีดบอกระดับสูงสุด หล่อลื่นและการท�ำงานของคลัทช์ได้
ตั้งรถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้งกลางบนพื้นที่มั่นคง
ส�ำหรับน�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำและค�ำแนะน�ำในการเลือก
แข็งแรงและมีระดับเสมอกันเมื่อท�ำการตรวจเช็ค ใช้น�้ำมันเครื่อง ให้ดูได้จาก “หลักการเบื้องต้นในการ
ระดับน�้ำมันเครื่อง บ�ำรุงรักษา” หน้า 42
อย่าเติมน�้ำมันเครื่องจนเกินกว่าขีดบอกระดับสูงสุด
ต้องแน่ใจว่าไม่มีสิ่งแปลกปลอมใดๆ เข้าไปในช่อง การเปลี่ยนน�้ำมันเครื่อง
เติมน�้ำมันเครื่อง การเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องจ�ำเป็นต้องใช้เครื่องมือพิเศษ
เช็ดน�้ำมันที่หกให้แห้งทันที ทางบริษัทฯ ขอแนะน�ำให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ของ
2. ประกอบฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดกลับเข้า ท่านไปเข้ารับบริการโดยศูนย์บริการฮอนด้า
ที่เดิมให้แน่นหนา 1. ตั้งรถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้งกลางบนพื้นที่มั่นคงแข็ง-
แรงและมีระดับเสมอกัน
2. ถ้าเครื่องยนต์เย็น ปล่อยให้เครื่องยนต์เดินเบาเป็นเวลา
3-5 นาที
55
น�้ำมันเครื่อง การเปลี่ยนน�้ำมันเครื่อง
3. หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง OFF และรอเป็น 6. ประกอบแหวนรองกันรั่วอันใหม่เข้ากับโบ้ลท์ถ่ายน�้ำมัน
เวลา 2-3 นาที เครื่อง ขันโบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่องให้แน่น
4. วางถาดรองรับน�้ำมันไว้ใต้โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่อง
5. ถอดฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด โบ้ลท์ถ่าย อัตราการขันแน่น :
24 นิวตัน-เมตร (2.4 กก.-ม., 18 ฟุต-ปอนด์)
น�้ำมันเครื่อง และแหวนรองกันรั่วออกเพื่อที่จะถ่าย
การบำ�รุงรักษา

น�้ำมันเครื่อง
7. เติมน�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำ (หน้า 42) และประกอบฝา
น�ำน�้ำมันเครื่องไปก�ำจัดที่ศูนย์รีไซเคิลที่ได้รับการ
ปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด
รับรอง
น�้ำมันเครื่องที่ก�ำหนด
เมื่อเปลี่ยนน�้ำมันเครื่อง : 0.8 ลิตร

8. ตรวจเช็คระดับน�้ำมันเครื่อง หน้า 54
9. ตรวจสอบดูว่าไม่มีน�้ำมันเครื่องรั่วซึม

โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่อง
แหวนรองกันรั่ว
56
เบรก
การตรวจสอบระยะฟรีคันเบรกหน้า ตรวจเช็คสายเบรกว่าสึกหรอหรือติดขัดหรือไม่ ถ้าจ�ำเป็น
ให้เปลี่ยนสายเบรกใหม่โดยศูนย์บริการฮอนด้า
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้งกลางบนพื้นที่มั่นคง หล่อลื่นสายเบรกด้วยสารหล่อลื่นสายเคเบิลที่สามารถ
แข็งแรงและมีระดับเสมอกัน หาซื้อได้ทั่วไป เพื่อป้องกันการสึกหรอเร็วกว่าก�ำหนด
2. วัดระยะที่คันเบรกหน้าเคลื่อนที่ไปจนเบรกเริ่มท�ำงาน

การบำ�รุงรักษา
ต้องแน่ใจว่าขาเบรก สปริง และตัวยึดต่างๆ อยู่ในสภาพ
ที่ดี
ระยะฟรีที่ปลายของคันเบรกหน้า :
10 - 20 มม. (0.4 - 0.8 นิ้ว)

ระยะฟรี

57
เบรก การปรับตั้งระยะฟรีคันเบรกหน้า
การปรับตัง้ ระยะฟรีคนั เบรกหน้า
ปรับตั้งระยะฟรีคันเบรกหน้าในขณะที่จัดต�ำแหน่งของ
ล้อหน้าของรถให้มุ่งตรงไปข้างหน้า
ต้องแน่ใจว่ารอยตัดของน๊อตปรับตั้งเบรกหน้าลงร่องบน น๊อตปรับตัง้ เบรกหน้า
การบำ�รุงรักษา

สลักขาเบรกหลังจากปรับตั้งระยะฟรีเบรก
ลดระยะฟรี
น๊อตปรับตั้งเบรกหน้า สลักขาเบรก
สลักขาเบรก

เพิ่มระยะฟรี

1. ปรับตั้งโดยการหมุนน๊อตปรับตั้งเบรกหน้าทีละครึ่ง
รอบในแต่ละครั้งของการหมุน
2. บีบคันเบรกหน้าหลายๆ ครั้ง แล้วตรวจสอบการหมุน
หากท่านปรับตั้งด้วยวิธีดังกล่าวแล้วไม่ได้ผลให้ท่านน�ำ ฟรีของล้อเมื่อปล่อยคันเบรกหน้า
รถไปตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า 3. ดันขาเบรกหน้าเข้าไปเพื่อให้แน่ใจว่ามีช่องว่างระหว่าง
น๊อตปรับตั้งเบรกหน้ากับสลักขาเบรก

58
เบรก การตรวจสอบระยะฟรีคันเบรกหลัง
การตรวจสอบระยะฟรีคันเบรกหลัง
ขาเบรกหน้า
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้งกลางบนพื้นที่มั่นคง
แข็งแรงและมีระดับเสมอกัน
ดันเข้าไป 2. วัดระยะจากจุดปกติของคันเบรกหลังเคลื่อนที่ไปจน

การบำ�รุงรักษา
เบรกเริ่มท�ำงาน
สลักขาเบรก
ระยะฟรีที่ปลายของคันเบรกหลัง :
น๊อตปรับตั้งเบรกหน้า ช่องว่าง 20 – 30 มม. (0.8 – 1.2 นิ้ว)

หลังการปรับตั้งระยะฟรี ให้ตรวจเช็คเพื่อยืนยันระยะฟรี คันเบรกหลัง


ของคันเบรกหน้า

ข้อสังเกต
อย่าหมุนน๊อตปรับตั้งเกินขีดจ�ำกัดในการปรับตั้งตามปกติ
ระยะฟรี

ต้องแน่ใจว่าก้านเบรก ขาเบรก สปริง และตัวยึดต่างๆ


อยู่ในสภาพที่ดี
59
เบรก การปรับตั้งระยะฟรีคันเบรกหลัง
การปรับตั้งระยะฟรีคันเบรกหลัง 1. ปรับตั้งโดยการหมุนน๊อตปรับตั้งเบรกหลังทีละครึ่งรอบ
ในแต่ละครั้งของการหมุน
ต้องแน่ใจว่ารอยตัดของน๊อตปรับตั้งเบรกหลังลงร่องบน
สลักขาเบรกหลังจากปรับตั้งระยะฟรีเบรก
การบำ�รุงรักษา

น๊อตปรับตั้งเบรกหลัง สลักขาเบรก

ลดระยะฟรี
หากท่านปรับตั้งด้วยวิธีดังกล่าวแล้วไม่ได้ผลให้ท่านน�ำ สลักขาเบรก
รถไปตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า เพิ่มระยะฟรี
น๊อตปรับตั้งเบรกหลัง

2. กดคันเบรกหลังลงหลายๆ ครั้ง แล้วตรวจสอบการ


หมุนฟรีของล้อเมื่อปล่อยคันเบรกหลัง
60
เบรก การปรับตั้งระยะฟรีคันเบรกหลัง
3. ดันขาเบรกหลังเข้าไปเพื่อให้แน่ใจว่ามีช่องว่างระหว่าง หลังการปรับตั้งระยะฟรี ให้ตรวจเช็คเพื่อยืนยันระยะฟรี
น๊อตปรับตั้งเบรกหลังกับสลักขาเบรก ของคันเบรกหลัง
ขาเบรกหลัง
ข้อสังเกต
อย่าหมุนน๊อตปรับตั้งเกินขีดจ�ำกัดในการปรับตั้งตามปกติ

การบำ�รุงรักษา
ดันเข้าไป

สลักขาเบรก

น๊อตปรับตั้งเบรกหลัง ช่องว่าง

61
เบรก การตรวจสอบการสึกหรอของผ้าเบรก
การตรวจสอบการสึกหรอของผ้าเบรก หลัง จานเบรก
ลูกศร
เบรกหน้าและเบรกหลังจะประกอบด้วยเครื่องหมายแสดง
ระดับการสึกหรอของผ้าเบรก
การบำ�รุงรักษา

หน้า จานเบรก
ลูกศร
มาร์คชี้ระดับ

ขาเบรก

มาร์คชี้ระดับ เมื่อใช้เบรก ลูกศรที่ติดอยู่บนขาเบรกจะเคลื่อนที่ไปที่


มาร์คชี้ระดับบนจานเบรก ถ้าลูกศรตรงกับมาร์คชี้ระดับ
ขาเบรก เมื่อบีบหรือกดเบรกเต็มที่จ�ำเป็นจะต้องเปลี่ยนผ้าเบรก
ใหม่ ควรเข้าศูนย์บริการฮอนด้าเพื่อรับบริการนี้

เมื่อต้องการบริการเกี่ยวกับผ้าเบรก ควรไปรับบริการที่
ศูนย์บริการฮอนด้า และควรใช้แต่อะไหล่แท้ของฮอนด้า
หรือเทียบเท่า
62
เบรก การปรับตั้งสวิทช์ไฟเบรก
การปรับตั้งสวิทช์ไฟเบรก

เช็คการทำ�งานของสวิทช์ไฟเบรก
จับสวิทช์ไฟเบรกไว้และหมุนน๊อตปรับตั้งตามทิศทาง
การหมุน A ถ้าสวิทช์ทำ�งานช้าเกินไป หรือหมุนน๊อต

การบำ�รุงรักษา
ปรับตั้งตามทิศทางการหมุน B ถ้าสวิทช์ทำ�งานเร็วเกิน
ไป
สวิทช์ไฟเบรก

B A

น๊อตปรับตั้ง

63
ขาตั้งข้าง

1. ตรวจเช็คว่าขาตั้งข้างทำ�งานได้อย่างราบรื่นหรือไม่
ถ้าขาตั้งข้างฝืดหรือมีเสียงดัง ให้ทำ�ความสะอาด
บริเวณจุดหมุนขาตั้งข้างและหล่อลื่นโบ้ลท์ยึดจุดหมุน
ด้วยจาระบีที่สะอาด
การบำ�รุงรักษา

2. เช็คความเสียหายหรือการเสียความยืดหยุ่นของสปริง
ขาตั้งข้าง

สปริงขาตั้งข้าง

64
โซ่ขับเคลื่อน
การตรวจเช็คความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน
เช็คความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อนหลายๆ จุดตลอด
แนวโซ่ ถ้าโซ่มีความตึงหย่อนไม่สม�่ำเสมอในทุกจุด ข้อ
ต่อโซ่บางข้ออาจติดขัดและบิดงอ

การบำ�รุงรักษา
ขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการ
ตรวจเช็คโซ่ขับเคลื่อนโดยศูนย์บริการฮอนด้า
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้งกลางบนพื้นที่มั่นคง
แข็งแรงและมีระดับเสมอกัน
ฝาปิดรูตรวจสอบ
2. เข้าเกียร์ว่าง ดับเครื่องยนต์
3. ถอดฝาปิดรูตรวจสอบออก

65
โซ่ขับเคลื่อน การตรวจเช็คความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน
4. เช็คความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อนบริเวณครึ่งล่าง 6. ถอดฝาครอบโซ่โดยการถอดโบ้ลท์ออก
ของโซ่ที่จุดกึ่งกลางระหว่างสเตอร์หน้าและสเตอร์หลัง ฝาครอบโซ่
โบ้ลท์
ความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน :
20 – 30 มม. (0.8 – 1.2 นิ้ว)
การบำ�รุงรักษา

อย่าขับขี่รถจักรยานยนต์ของท่านถ้าความตึงหย่อน
ของโซ่มากกว่า 50 มม. (2.0 นิ้ว)

โบ้ลท์

7. ตรวจสอบสเตอร์หน้าและสเตอร์หลัง หน้า 43
8. ทำ�ความสะอาดและหล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อน หน้า 44
9. ประกอบชิ้นส่วนโดยทำ�ย้อนลำ�ดับขั้นตอนการถอด

5. หมุนล้อหลังและตรวจสอบว่าโซ่ขับเคลื่อนหมุนได้อย่าง
ราบรื่นหรือไม่
66
โซ่ขับเคลื่อน การปรับตั้งความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน
การปรับตั้งความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน
ขีดเครื่องหมายบนสวิงอาร์ม
การปรับตั้งความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อนจำ�เป็นต้อง
ใช้เครื่องมือพิเศษ
น๊อตปรับตั้ง
ขอแนะน�ำให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้า
รับบริการปรับตั้งความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อนโดย

การบำ�รุงรักษา
ศูนย์บริการฮอนด้า
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้งกลางบนพื้นที่มั่นคงแข็งแรง
และมีระดับเสมอกัน น๊อตล๊อค
2. เข้าเกียร์ว่าง ดับเครื่องยนต์ ตัวปรับตั้งโซ่
3. ถอดฝาปิดรูตรวจสอบ หน้า 65
4. คลายน๊อตยึดเพลาล้อหลังออก 6. หมุนน๊อตปรับตั้งทั้งสองข้างให้ได้จำ�นวนรอบที่เท่ากัน
5. คลายน๊อตล๊อคที่อยู่บนตัวปรับตั้งโซ่ทั้งสองตัวออก จนกว่าจะได้ความตึงหย่อนของโซ่ที่เหมาะสม หมุน
น๊อตยึดเพลาล้อหลัง ขีดเครื่องหมาย น๊อตปรับตั้งตามเข็มนาฬิกาเพื่อทำ�ให้โซ่ตึงหรือหมุน
น๊อตปรับตั้ง บนสวิงอาร์ม น๊อตปรับตั้งทวนเข็มนาฬิกาเพื่อทำ�ให้โซ่หย่อน
ปรับตั้งความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อนที่จุดกึ่งกลาง
ระหว่างสเตอร์หน้าและสเตอร์หลัง
ตรวจเช็คความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน หน้า 65
น๊อตล๊อค ตัวปรับตั้งโซ่
67
โซ่ขับเคลื่อน การปรับตั้งความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน
7. ตรวจศูนย์ของเพลาล้อหลังโดยเช็คให้มั่นใจว่าส่วน 12. ในขณะที่ท่านขยับล้อหลังเพื่อปรับตั้งความตึงหย่อน
ปลายของตัวปรับตั้งโซ่อยู่ในแนวเดียวกับขีดเครื่องหมาย ของโซ่นั้น การกระทำ�ดังกล่าวจะมีผลต่อระยะฟรี
บนสวิงอาร์มทั้ง 2 ด้าน ทั้งด้านซ้ายและด้านขวาควร ของคันเบรกหลัง ดังนั้นจึงควรเช็คระยะฟรีคันเบรก
จะตรงกัน ถ้าเพลาไม่ได้ศูนย์ให้หมุนน๊อตปรับตั้งด้าน หลัง และปรับตั้งถ้าจำ�เป็น หน้า 59
การบำ�รุงรักษา

ซ้ายหรือด้านขวาจนกว่าส่วนปลายของตัวปรับตั้งโซ่
จะอยู่ในแนวเดียวกับขีดเครื่องหมายบนสวิงอาร์ม
ถ้าไม่ได้ใช้ประแจปอนด์ในการประกอบ ควรนำ�รถเข้า
และเช็คความตึงหย่อนของโซ่อีกครั้ง
ศูนย์บริการฮอนด้าทันทีที่เป็นไปได้เพื่อตรวจเช็คอัตรา
8. ขันน๊อตยึดเพลาล้อหลังให้แน่น
การขันแน่นและความถูกต้องของการประกอบ
อัตราการขันแน่น : การประกอบที่ไม่ถูกต้องอาจทำ�ให้สูญเสียประสิทธิภาพ
59 นิวตัน-เมตร (6.0 กก.-ม., 44 ฟุต-ปอนด์) ในการเบรกได้
9. ยึดน๊อตปรับตั้งไว้และขันน๊อตล๊อคให้แน่น
10. ตรวจเช็คความตึงหย่อนของโซ่อีกครั้ง
11. ประกอบฝาปิดรูตรวจสอบ

68
โซ่ขับเคลื่อน การปรับตั้งความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน

การตรวจสอบความสึกหรอของโซ่ขับเคลื่อน
ถ้าความตึงหย่อนของโซ่มากเกินปกติเมื่อเพลาล้อหลัง
เลื่อนไปจนสุดระยะการปรับตั้งแล้วแสดงว่าโซ่สึกหรอ
มากและต้องเปลี่ยนใหม่

การบำ�รุงรักษา
โซ่ที่แนะนำ� :
DID420AD หรือ
KMC420JB

ถ้าจ�ำเป็น ขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับ
บริการเปลี่ยนโซ่ขับเคลื่อนใหม่โดยศูนย์บริการฮอนด้า

69
คันเร่ง
การตรวจเช็คคันเร่ง
ในขณะที่ดับเครื่องยนต์ ตรวจสอบว่าปลอกคันเร่งหมุน
ได้อย่างราบรื่นจากตำ�แหน่งปิดสุดถึงตำ�แหน่งเปิดสุด
และในทุกตำ�แหน่งการเลี้ยว รวมทั้งระยะฟรีคันเร่งมี
การบำ�รุงรักษา

ค่าถูกต้องหรือไม่ ถ้าคันเร่งหมุนไม่คล่องตัว ไม่คืนกลับ


โดยอัตโนมัติ หรือถ้าสายคันเร่งเสียหาย ขอให้ท่านนำ�
รถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คโดย
ศูนย์บริการฮอนด้า
ระยะฟรีที่ริมขอบของปลอกคันเร่ง :
2 – 6 มม. (0.1 – 0.2 นิ้ว)
ระยะฟรี

ริมขอบของปลอกคันเร่ง

70
ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ

การทำ�ความสะอาดท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ
1. ถอดท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศออก
2. เทเขม่าสะสมลงในภาชนะที่ีเหมาะสม
3. ประกอบท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ

การบำ�รุงรักษา
ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ

71
การปรับตั้งอื่นๆ
การปรับตั้งระบบกันสะเทือนหลัง
พรีโหลดของสปริง ตัวปรับตั้ง
ท่านสามารถปรับตั้งพรีโหลดของสปริงได้โดยใช้ตัวปรับ A
การบำ�รุงรักษา

ตั้งเพื่อให้เหมาะสมกับน�้ำหนักบรรทุกหรือสภาพพื้นผิว
B B A
ถนน
หมุนตัวปรับตั้งไปที่ตำ�แหน่ง B เพื่อเพิ่มพรีโหลดของ
สปริง (สปริงแข็ง) ตำ�แหน่งมาตรฐานคือ ตำ�แหน่ง A
โช๊คอัพหลัง
ข้อสังเกต
ต้องแน่ใจว่าได้ปรับตั้งโช๊คอัพหลังทั้ง 2 ข้างให้อยู่ใน
ตำ�แหน่งเดียวกันเสมอ

72
การปรับตั้งอื่นๆ การปรับตั้งระดับไฟหน้า
การปรับตั้งระดับไฟหน้า
ท่านสามารถปรับตั้งระดับไฟหน้าในแนวดิ่งเพื่อให้ไฟหน้า
อยู่ในระดับที่เหมาะสม สามารถเลื่อนไฟหน้าขึ้นลงโดย
คลายโบ้ลท์

การบำ�รุงรักษา
ขันโบ้ลท์ให้แน่นหลังจากปรับตั้งเรียบร้อยแล้ว
ปฏิบัติตามกฎหมายและกฎข้อบังคับที่กำ�หนด
ไฟหน้า

ขึ้น

ลง
โบ้ลท์
73
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด .............................หน้า 75
สัญญาณไฟเตือนต่างๆ ติด.......................... .หน้า 76
สัญญาณไฟ PGM-FI................................. .หน้า 76
ยางรั่ว.........................................................หน้า 77
การซ่อมและการเปลี่ยนยางใน....................หน้า 77
ปัญหาระบบไฟฟ้า.................................... หน้า 82
แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ...................................หน้า 82
หลอดไฟขาด.............................................. หน้า 82
ฟิวส์ขาด......................................................หน้า 88
เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด
เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด มอเตอร์สตาร์ททำ�งาน แต่เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด
ตรวจเช็ครายการดังต่อไปนี้ : NBC110MDF TH/2TH เท่านั้น
• ตรวจเช็คขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์ว่าถูกต้องหรือไม่ ตรวจเช็ครายการดังต่อไปนี้ :
หน้า 24 • ตรวจเช็คขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์ว่าถูกต้องหรือไม่
• ตรวจเช็คว่ามีน�้ำมันเชื้อเพลิงอยู่ในถังน�้ำมันเชื้อเพลิงหรือ หน้า 24
ไม่ • ตรวจเช็คว่ามีน�้ำมันเชื้อเพลิงอยู่ในถังน�้ำมันเชื้อเพลิงหรือไม่

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
• ตรวจเช็คว่าฟิวส์ขาดหรือไม่ หน้า 88 • ตรวจเช็คว่าสัญญาณไฟ PGM-FI ติดหรือไม่
• ตรวจเช็คว่าการเชื่อมต่อแบตเตอรี่หลวมหรือเกิดสนิมที่ขั้ว ถ้าสัญญาณไฟติด ขอให้ติดต่อศูนย์บริการฮอนด้าทันที
แบตเตอรี่หรือไม่ หน้า 40 ที่เป็นไปได้
• ตรวจเช็คสภาพของแบตเตอรี่ หน้า 82 มอเตอร์สตาร์ทไม่ทำ�งาน
• ตรวจเช็คว่าสัญญาณไฟ PGM-FI ติดหรือไม่ NBC110MDF TH/2TH เท่านั้น
ถ้าสัญญาณไฟติด ขอให้ติดต่อศูนย์บริการฮอนด้าทันที ตรวจเช็ครายการดังต่อไปนี้ :
ที่เป็นไปได้ • ตรวจเช็คว่าฟิวส์ขาดหรือไม่ หน้า 88
• ตรวจเช็คว่าการเชื่อมต่อแบตเตอรี่หลวมหรือเกิดสนิมที่ขั้ว
ถ้าปัญหายังคงมีอยู่ ขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ของท่าน แบตเตอรี่หรือไม่ หน้า 40
ไปเข้ารับบริการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า • ตรวจเช็คสภาพของแบตเตอรี่ หน้า 82
ถ้าปัญหายังคงมีอยู่ ขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ของท่าน
ไปเข้ารับบริการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า
75
สัญญาณไฟเตือนต่างๆ ติด
สัญญาณไฟ PGM-FI
ถ้าสัญญาณไฟติดขึ้นในขณะขับขี่ ท่านอาจมีปัญหา
ร้ายแรงเกี่ยวกับระบบ PGM-FI ดังนั้นขอให้ลดความเร็ว
ลงและนำ�รถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจ
เช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้าทันทีที่เป็นไปได้
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

76
ยางรั่ว
การซ่อมรูรั่วของยางหรือการถอดล้อจำ�เป็นต้องใช้เครื่องมือ คำ�เตือน
พิเศษและมีความชำ�นาญด้านเทคนิคด้วย ทางบริษัทฯ ขอ การขับขี่รถจักรยานยนต์โดยที่ยางนอกหรือยางใน
แนะนำ�ให้ท่านนำ�รถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการ ได้รับการซ่อมแซมไว้ชั่วคราวนั้นมีความเสี่ยงสูง
ดังกล่าวโดยศูนย์บริการฮอนด้า มากที่จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุ และถ้าหากการซ่อมแซม
หลังจากการซ่อมแซมในกรณีฉุกเฉินแล้ว ท่านควรจะนำ�รถ ชั่วคราวนั้นไม่ได้ผลอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ เช่น
จักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจสอบยาง/เปลี่ยน การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัส

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
ยางใหม่โดยศูนย์บริการฮอนด้าเสมอ หรือถึงแก่เสียชีวิตได้
การซ่อมและการเปลีย่ นยางใน
ถ้าท่านต้องขับขี่รถจักรยานยนต์โดยที่ยางนอกหรือ
ถ้ายางในถูกเจาะหรือเสียหาย ท่านควรจะเปลี่ยนยางใหม่ ยางในได้รับการซ่อมแซมไว้ชั่วคราว ท่านควรจะ
ทันทีที่เป็นไปได้ พึงระลึกไว้ว่ายางในที่แก้ไขโดยการปะ ขับขี่อย่างช้าๆ และด้วยความระมัดระวัง และอย่า
คุณภาพของยางจะไม่ดีเท่ากับยางเส้นใหม่และอาจรั่วหรือ ขับขี่ด้วยความเร็วเกินกว่า 50 กิโลเมตร/ชั่วโมง (30
เสียหายในระหว่างการขับขี่ได้ ไมล์/ชั่วโมง) จนกว่าท่านจะได้เปลี่ยนยางนอกและ
ถ้าท่านจ�ำเป็นต้องซ่อมแซมยางชั่วคราวโดยการปะยางใน ยางในใหม่เรียบร้อยแล้ว
หรือฉีดพ่นน�้ำยากันรั่ว ควรขับขี่ด้วยความระมัดระวังด้วย
ความเร็วที่ต�่ำกว่าปกติ และท�ำการเปลี่ยนยางในก่อนที่จะ การถอดล้อ
ขับขี่ในครั้งต่อไป
ทุกครั้งที่ท�ำการเปลี่ยนยางในใหม่ ควรตรวจสอบยางนอก ปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้ถ้าท่านจำ�เป็นต้องถอดล้อออกเพื่อ
ด้วยความระมัดระวังตามที่ได้อธิบายไว้ ที่จะซ่อมรูรั่วของยาง

77
ยางรั่ว การถอดล้อ
ล้อหน้า ขาเบรกหน้า
น๊อตยึดเพลาล้อหน้า
สายมาตรวัดความเร็ว
การถอด
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้งกลางบนพื้นที่มั่นคง น๊อตปรับตั้ง
แข็งแรงและมีระดับเสมอกัน เบรกหน้า
2. ตั้งรถจักรยานยนต์ให้มั่นคงและยกล้อหน้าให้ลอยขึ้น
จากพื้นโดยใช้ขาตั้งที่ใช้ในงานบริการหรือแม่แรง เดือยล๊อค
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

3. ถอดสายมาตรวัดความเร็วโดยปลดเดือยล๊อค
4. ถอดน๊อตปรับตั้งเบรกหน้าและปลดสายเบรกหน้าออก สายเบรกหน้า
จากขาเบรกหน้า
5. ถอดน๊อตยึดเพลาล้อหน้าออก
6. ถอดเพลาล้อหน้า ล้อหน้า และปลอกรองข้างล้อหน้า
เพลาล้อหน้า
ออก

78
ยางรั่ว การถอดล้อ
การประกอบ จานเบรก
1. ประกอบปลอกรองข้างล้อหน้าเข้าไปในดุมล้อด้านขวา
2. จัดวางล้อหน้าเข้าไปอยู่ระหว่างแกนโช๊คอัพทั้งสองด้าน เดือย
และสอดเพลาล้อหน้าเข้าไปจากทางด้านขวาโดยให้ผ่าน
แกนโช๊คอัพด้านขวาและดุมล้อ ร่อง
3. ต้องแน่ใจว่าเดือยที่แกนโช๊คอัพด้านซ้ายลงร่องของจาน

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
เบรกพอดี
4. ขันน๊อตยึดเพลาล้อหน้าให้แน่น
อัตราการขันแน่น :
59 นิวตัน-เมตร (6.0 กก.-ม., 44 ฟุต-ปอนด์)
5. ประกอบสายเบรกหน้าและน๊อตปรับตั้งเบรกหน้า
6. ปรับตั้งระยะฟรีคันเบรกหน้า หน้า 58
7. หลังจากประกอบล้อแล้วบีบคันเบรกหน้าหลายๆ ครั้ง จาก
ถ้าไม่ได้ใช้ประแจปอนด์ในการประกอบ ควรนำ�รถเข้าศูนย์
นั้นเช็คการหมุนฟรีของล้อเมื่อปล่อยคันเบรกหน้า ตรวจเช็ค
บริการฮอนด้าทันทีที่เป็นไปได้เพื่อตรวจเช็คอัตราการขันแน่น
อีกครั้งถ้าเบรกลื่นหรือล้อไม่หมุนฟรี
และความถูกต้องของการประกอบ
8. ประกอบสายมาตรวัดความเร็วกลับเข้าที่เดิม
การประกอบที่ไม่ถูกต้องอาจทำ�ให้สูญเสียประสิทธิภาพใน
การเบรกได้
79
ยางรั่ว การถอดล้อ
ล้อหลัง
การถอด น๊อตปรับตั้ง
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้งกลางบนพื้นที่มั่นคง ตัวปรับตั้งโซ่
แข็งแรงและมีระดับเสมอกัน น๊อตล๊อค
น๊อตยึดเพลาล้อหลัง
2. ตั้งรถจักรยานยนต์ให้มั่นคงและยกล้อหลังให้ลอย ก้านเบรก
ขึ้นจากพื้นโดยใช้ขาตั้งที่ใช้ในงานบริการหรือแม่แรง ขาเบรก
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

หลัง
3. ถอดฝาครอบโซ่ออก หน้า 66
4. ถอดน๊อตปรับตั้งเบรกหลัง ขายึดจาน
เบรกหลัง
5. ปลดก้านเบรกออกจากขาเบรกหลัง
6. ปลดขายึดจานเบรกหลังออกจากจานเบรกโดยถอด น๊อตปรับตั้ง ปิ๊นล๊อค
เบรกหลัง น๊อตยึดขายึดจานเบรกหลัง
ปิ๊นล๊อค น๊อตยึดขายึดจานเบรกหลัง แหวนรอง และ
ยางรอง 8. ถอดเพลาล้อหลัง ตัวปรับตั้งโซ่ และปลอกรองข้าง
7. ถอดน๊อตยึดเพลาล้อหลังออก แล้วคลายน๊อตล๊อค ล้อหลังออก จากนั้นถอดโซ่ขับเคลื่อนออกจากสเตอร์
และน๊อตปรับตั้ง หลังโดยการดันล้อหลังไปข้างหน้า
9. ถอดล้อหลังออกจากสวิงอาร์ม

80
ยางรั่ว การถอดล้อ
3. ขันน๊อตยึดขายึดจานเบรกหลังให้แน่น
ตัวปรับตั้งโซ่
อัตราการขันแน่น :
น๊อตล๊อค 22 นิวตัน-เมตร (2.2 กก.-ม., 16 ฟุต-ปอนด์)
เพลาล้อหลัง
4. ปรับตั้งระยะฟรีคันเบรกหลัง หน้า 60
5. ปรับตั้งความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน หน้า 67

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
6. หลังการประกอบล้อให้กดคันเบรกหลังลงหลายๆ ครั้ง
จากนั้นเช็คการหมุนฟรีของล้อเมื่อปล่อยคันเบรกหลัง
โซ่ขับเคลื่อน
ตรวจเช็คล้ออีกครั้งถ้าเบรกลื่นหรือล้อไม่หมุนฟรี
น๊อตปรับตั้ง

การประกอบ ถ้าไม่ได้ใช้ประแจปอนด์ในการประกอบ ควรนำ�รถเข้า


ศูนย์บริการฮอนด้าทันทีที่เป็นไปได้เพื่อตรวจเช็คอัตรา
1. การประกอบล้อหลังให้ทำ�ย้อนลำ�ดับขั้นตอนการถอด การขันแน่นและความถูกต้องของการประกอบ
ประกอบปลอกรองข้างล้อหลังเข้าไปในดุมล้อทั้งด้าน การประกอบที่ไม่ถูกต้องอาจทำ�ให้สูญเสียประสิทธิภาพ
ขวาและด้านซ้าย ในการเบรกได้
2. ขันน๊อตยึดเพลาล้อหลังให้แน่น
อัตราการขันแน่น : ปิ๊นล๊อคที่ใช้แล้วอาจจะไม่สามารถยึดตัวยึดได้อย่างแน่น
หนา ดังนั้นทุกครั้งที่บริการควรเปลี่ยนปิ๊นล๊อคอันใหม่
59 นิวตัน-เมตร (6.0 กก.-ม., 44 ฟุต-ปอนด์)
เสมอ
81
ปัญหาระบบไฟฟ้า
แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ หลอดไฟขาด
ชาร์จแบตเตอรี่โดยใช้เครื่องชาร์จแบตเตอรี่สำ�หรับรถ ปฏิบัติตามขั้นตอนด้านล่างนี้เพื่อที่จะทำ�การเปลี่ยน
จักรยานยนต์ หลอดไฟที่ขาด
ถอดแบตเตอรี่ออกจากรถจักรยานยนต์ก่อนการชาร์จ หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง OFF หรือตำ�แหน่ง
แบตเตอรี่ LOCK
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

ห้ามใช้เครื่องชาร์จแบตเตอรี่รถยนต์ เนื่องจากจะทำ�ให้ ปล่อยให้หลอดไฟเย็นลงก่อนที่จะเปลี่ยนหลอดไฟ


เกิดความร้อนสูงเกินไปในแบตเตอรี่สำ�หรับรถจักรยาน- อย่าใช้หลอดไฟที่ผิดไปจากมาตรฐานที่กำ�หนด
ยนต์ และอาจทำ�ให้แบตเตอรี่เกิดความเสียหายถาวรได้ ตรวจเช็คว่าหลอดไฟที่นำ�มาเปลี่ยนทดแทนนั้นทำ�งาน
ถ้าแบตเตอรี่ไม่สามารถฟื้นฟูสภาพให้นำ�กลับมาใช้งาน ได้อย่างถูกต้องหรือไม่ก่อนที่ท่านจะขับขี่รถจักรยานยนต์
ได้หลังจากการชาร์จแบตเตอรี่ โปรดติดต่อศูนย์บริการ
ฮอนด้า สำ�หรับจำ�นวนวัตต์ของหลอดไฟ ให้ดูได้จาก “ข้อมูล
ทางเทคนิค” หน้า 102
ข้อสังเกต
ไม่แนะนำ�ให้ใช้วิธีการพ่วงสตาร์ทโดยใช้แบตเตอรี่
สำ�หรับรถยนต์ เนื่องจากอาจทำ�ให้เกิดความเสียหาย
กับระบบไฟฟ้าในรถจักรยานยนต์ของท่านได้

82
ปัญหาระบบไฟฟ้า หลอดไฟขาด
หลอดไฟหน้า เครื่องหมาย “TOP”
ฝาครอบกันฝุ่น
สกรู
ขั้วหลอดไฟ
หลอดไฟ

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
โบ้ลท์ สกรู
ขั้วต่อสายไฟ

7. ถอดขั้วหลอดไฟและหลอดไฟออก
1. ถอดสกรู
8. ประกอบหลอดไฟหลอดใหม่โดยทำ�ย้อนลำ�ดับขั้น-
2. ถอดโบ้ลท์ ตอนการถอด
3. ค่อยๆ ดึงส่วนล่างของไฟหน้าไปข้างหน้า ประกอบฝาครอบกันฝุ่นโดยให้ด้านที่มีเครื่องหมาย
4. ปลดขั้วต่อสายไฟ “TOP” หันขึ้น
5. ดึงฝาครอบกันฝุ่นออก 9. ประกอบชิ้นส่วนที่เหลืออยู่ทั้งหมดกลับเข้าที่โดยทำ�
6. ค่อยๆ กดขั้วหลอดไฟและหมุนทวนเข็มนาฬิกา ย้อนลำ�ดับขั้นตอนการถอด
อย่าสัมผัสผิวแก้วของหลอดไฟด้วยนิ้วมือของท่าน ถ้า
ท่านสัมผัสกับหลอดไฟด้วยมือเปล่า ให้ใช้สำ�ลีชุบแอล-
กอฮอล์เช็ดทำ�ความสะอาดบริเวณที่เป็นรอยนิ้วมือ
83
ปัญหาระบบไฟฟ้า หลอดไฟขาด
หลอดไฟหรี่ 1. ถอดไฟเลี้ยวหน้าโดยการถอดสกรู A และสกรู B ออก
การเปลี่ยนหลอดไฟหรี่ทั้งด้านขวาและด้านซ้ายสามารถ 2. ปลดขั้วต่อสายไฟ
ทำ�ได้ในลักษณะเดียวกัน 3. หมุนขั้วหลอดไฟทวนเข็มนาฬิกาแล้วจึงถอดออก
4. ดึงหลอดไฟออกโดยไม่ต้องหมุน
ไฟเลี้ยวหน้า เครื่องหมาย “∆”
5. ประกอบหลอดไฟหลอดใหม่โดยทำ�ย้อนลำ�ดับขั้น-
ขั้วต่อสายไฟ ตอนการถอด
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

สกรู A
ประกอบขั้วหลอดไฟโดยหมุนตามเข็มนาฬิกา
ต้องแน่ใจว่าเครื่องหมาย “∆” ที่ขั้วหลอดไฟและที่
เรือนไฟหรี่ตรงกัน
6. ประกอบชิ้นส่วนที่เหลืออยู่ทั้งหมดกลับเข้าที่โดยทำ�
ย้อนลำ�ดับขั้นตอนการถอด
หลอดไฟ
สกรู B
ขั้วหลอดไฟ

84
ปัญหาระบบไฟฟ้า หลอดไฟขาด
หลอดไฟเบรก/ไฟท้าย 4. ค่อยๆ กดหลอดไฟและหมุนทวนเข็มนาฬิกา
1. เปิดเบาะนั่งขึ้น หน้า 31 5. ประกอบหลอดไฟหลอดใหม่โดยทำ�ย้อนลำ�ดับขั้น-
2. ถอดฝาปิดท้ายเบาะโดยการถอดสกรูออก ตอนการถอด
3. หมุนขั้วหลอดไฟทวนเข็มนาฬิกาแล้วจึงถอดออก 6. ประกอบชิ้นส่วนที่เหลืออยู่ทั้งหมดกลับเข้าที่โดยทำ�
ย้อนลำ�ดับขั้นตอนการถอด
สกรู

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
หลอดไฟ
ขั้วหลอดไฟ

ฝาปิดท้ายเบาะ

85
ปัญหาระบบไฟฟ้า หลอดไฟขาด
หลอดไฟเลี้ยวหน้า 1. ถอดไฟเลี้ยวหน้าโดยการถอดสกรู A และสกรู B ออก
การเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยวหน้าทั้งด้านขวาและด้านซ้าย 2. ปลดขั้วต่อสายไฟ
สามารถทำ�ได้ในลักษณะเดียวกัน 3. หมุนขั้วหลอดไฟทวนเข็มนาฬิกาแล้วจึงถอดออก
4. ดึงหลอดไฟออกโดยไม่ต้องหมุน
เครื่องหมาย “∆”
ขั้วต่อสายไฟ 5. ประกอบหลอดไฟหลอดใหม่โดยทำ�ย้อนลำ�ดับขั้น-
ตอนการถอด
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

สกรู A ประกอบขั้วหลอดไฟโดยหมุนตามเข็มนาฬิกา
ต้องแน่ใจว่าเครื่องหมาย “∆” ที่ขั้วหลอดไฟและที่
เรือนไฟเลี้ยวหน้าตรงกัน
ใช้เฉพาะหลอดไฟสีน�้ำตาลเหลืองเท่านั้น
6. ประกอบชิ้นส่วนที่เหลืออยู่ทั้งหมดกลับเข้าที่โดยทำ�
หลอดไฟ ย้อนลำ�ดับขั้นตอนการถอด
สกรู B
ไฟเลี้ยวหน้า ขั้วหลอดไฟ

86
ปัญหาระบบไฟฟ้า หลอดไฟขาด
หลอดไฟเลี้ยวหลัง
การเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยวหลังทั้งด้านขวาและด้านซ้าย
สามารถทำ�ได้ในลักษณะเดียวกัน
ฝาปิดท้ายเบาะ สกรู
ไฟเบรก/ไฟท้าย

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
สกรู
เดือยล๊อค
หลอดไฟ
ขั้วหลอดไฟ

4. หมุนขั้วหลอดไฟทวนเข็มนาฬิกาแล้วจึงถอดออก
ยางรอง
5. ดึงหลอดไฟออกโดยไม่ต้องหมุน
6. ประกอบหลอดไฟหลอดใหม่โดยท�ำย้อนล�ำดับขั้น-
1. เปิดเบาะนั่งขึ้น หน้า 31 ตอนการถอด
2. ถอดฝาปิดท้ายเบาะโดยการถอดสกรูออก ใช้เฉพาะหลอดไฟสีน�้ำตาลเหลืองเท่านั้น
3. ถอดไฟเบรก/ไฟท้ายโดยการถอดสกรูออก ต้องแน่ใจว่าเดือยล๊อคประกอบเข้ากับยางรองพอดี

87
ปัญหาระบบไฟฟ้า ฟิวส์ขาด
ฟิวส์ขาด
ฟิวส์รอง
ก่อนทำ�การบำ�รุงรักษาฟิวส์ ให้ดู “การตรวจสอบและ ฟิวส์หลัก
การเปลี่ยนฟิวส์” หน้า 41 ฝาปิดกล่องฟิวส์
ฟิวส์ที่อยู่ในกล่องฟิวส์
1. ถอดฝาครอบกลาง หน้า 50
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

2. ถอดฝาปิดแบตเตอรี่ออก หน้า 50
3. เปิดฝาปิดกล่องฟิวส์ออก กล่องฟิวส์
4. ดึงฟิวส์ออกทีละตัวเพื่อตรวจเช็คว่าฟิวส์ขาดหรือไม่
ฝาปิดแบตเตอรี่
เปลี่ยนฟิวส์ที่ขาดด้วยฟิวส์สำ�รองที่มีขนาดเดียวกับ ฟิวส์ส�ำรอง
ฟิวส์ตัวเดิมเสมอ
ฟิวส์สำ�รองติดตั้งอยู่บนกล่องแบตเตอรี่ ข้อสังเกต
ถ้าฟิวส์ขาดบ่อย อาจเป็นไปได้ว่าระบบไฟฟ้าภายใน
5. ปิดฝาปิดกล่องฟิวส์
รถจักรยานยนต์ของท่านมีปัญหา ดังนั้นควรน�ำรถเข้า
6. ประกอบฝาปิดแบตเตอรี่
รับบริการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า
7. ประกอบฝาครอบกลาง

88
ข้อมูลที่ควรทราบ

กุญแจ.................................................... หน้า 90
เครื่องวัด อุปกรณ์ควบคุม และคุณสมบัติอื่นๆ..หน้า 91
น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์..หน้า 92
อุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย.........................หน้า 93
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์.................หน้า 94
การเก็บรักษารถจักรยานยนต์..................หน้า 97
การขนส่งรถจักรยานยนต์........................หน้า 97
ท่านและสิ่งแวดล้อม.................................หน้า 98
หมายเลขประจ�ำรุ่นรถ.............................หน้า 99
กุญแจ
กุญแจ
กุญแจจุดระเบิด
ต้องแน่ใจว่าท่านได้จดบันทึกหมายเลขกุญแจที่มีมากับ
แผ่นหมายเลขกุญแจไว้ในคู่มือเล่มนี้แล้ว ขอให้ท่านเก็บ
รักษากุญแจส�ำรองไว้ในที่ที่ปลอดภัย
ในการท�ำส�ำเนากุญแจ ขอให้ท่านน�ำกุญแจส�ำรองหรือ
หมายเลขกุญแจไปยังศูนย์บริการฮอนด้า
ข้อมูลที่ควรทราบ

ถ้าท่านท�ำกุญแจทั้งหมดและหมายเลขกุญแจหาย ท่าน
อาจจะต้องน�ำรถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการ
ถอดชุดสวิทช์จุดระเบิดโดยศูนย์บริการฮอนด้าเพื่อที่จะ
ดูหมายเลขกุญแจของท่าน

พวงกุญแจโลหะอาจท�ำให้เกิดความเสียหายกับบริเวณ
โดยรอบสวิทช์จุดระเบิดได้

90
เครื่องวัด อุปกรณ์ควบคุม และคุณสมบัติอื่นๆ

เครื่องวัด อุปกรณ์ควบคุม และคุณสมบัติอื่นๆ ซองเก็บเอกสาร


สวิทช์จุดระเบิด คู่มือผู้ใช้ เอกสารการจดทะเบียน และข้อมูลการรับประกัน
การปล่อยให้สวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ตำ�แหน่ง ON ในขณะ สามารถจัดเก็บไว้ในซองเก็บเอกสารพลาสติกซึ่งอยู่ด้าน
ที่เครื่องยนต์ดับจะทำ�ให้แบตเตอรี่จ่ายกระแสไฟออก ตรงข้ามกับเบาะนั่ง
จนหมดได้

ข้อมูลที่ควรทราบ
อย่าหมุนกุญแจจุดระเบิดในขณะขับขี่รถจักรยานยนต์

มาตรวัดระยะทาง
มาตรวัดระยะทางจะวนกลับมาที่ 0 เมื่อค่าที่อ่านได้เกิน
กว่า 99999.9

91
น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์

น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ ข้อสังเกต
น�้ำมันเชื้อเพลิงทั่วไปบางชนิดซึ่งผสมแอลกอฮอล์สามารถ การใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์
หาซื้อได้ในบางพื้นที่ ซึ่งจะช่วยลดปริมาณไอเสียให้ตรง ซึ่งมีค่าเปอร์เซ็นต์ของแอลกอฮอล์สูงกว่าที่ได้รับรอง
ตามมาตรฐานอากาศสะอาดที่มีก�ำหนดไว้ ถ้าท่านวาง- ไว้ อาจท�ำให้เกิดความเสียหายแก่ชิ้นส่วนที่เป็นโลหะ
แผนว่าจะใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ ยาง และพลาสติกของระบบน�้ำมันเชื้อเพลิงของ
ขอให้ตรวจสอบดูว่าเป็นน�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สารตะกั่วและ ท่านได้
ข้อมูลที่ควรทราบ

มีค่าออกเทนอย่างน้อยที่สุดเท่ากับที่ได้ก�ำหนดไว้หรือไม่
หากท่านสังเกตเห็นอาการผิดปกติของเครื่องยนต์หรือ
น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ดังต่อไปนี้ พบว่าเครื่องยนต์มีปัญหาเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการ
สามารถน�ำมาใช้กับรถจักรยานยนต์ของท่านได้ : ท�ำงาน ให้ท่านลองเปลี่ยนไปใช้น�้ำมันยี่ห้ออื่นแทน
• เอทานอล (เอทิลแอลกอฮอล์) สูงสุด 20% โดยปริมาตร
น�้ำมันเชื้อเพลิงซึ่งประกอบด้วยเอทานอล ซึ่งวาง
จ�ำหน่ายภายใต้ชื่อทางการค้าว่า แก๊สโซฮอล์

92
อุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย
อุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย ดังนั้นควรปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้ เพื่อเป็นการ
รถจักรยานยนต์รุ่นนี้เป็นรถที่มีการติดตั้งอุปกรณ์แปร ป้องกันอุปกรณ์แปรสภาพไอเสียในรถจักรยานยนต์ของ
สภาพไอเสีย 3 ทาง ในอุปกรณ์แปรสภาพไอเสียนี้ประกอบ ท่าน
ด้วยทองคำ�ขาว ซึ่งทำ�หน้าที่ในการเร่งปฏิกิริยาทางเคมี • ใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สารตะกั่วเท่านั้น เพราะน�้ำมันที่
เมื่อมีอุณหภูมิสูง เพื่อเปลี่ยนไฮโดรคาร์บอน (HC) คาร์- มีสารตะกั่วจะท�ำให้อุปกรณ์แปรสภาพไอเสียเกิดความ
บอนมอนอกไซด์ (CO) และไนโตรเจนออกไซด์ (NOx) เสียหายได้
ในก๊าซไอเสียให้เป็นสารประกอบที่ปลอดภัย ไม่ส่งผล • ดูแลเครื่องยนต์ให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี

ข้อมูลที่ควรทราบ
กระทบต่อสภาพแวดล้อม • นำ�รถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการจากศูนย์
บริการฮอนด้าถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด เครื่องยนต์
อุปกรณ์แปรสภาพไอเสียที่มีสภาพไม่สมบูรณ์หรือชำ�รุด ติดขัด หรือทำ�งานไม่เป็นปกติ ในกรณีดังกล่าวขอให้
จะก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศและทำ�ให้ประสิทธิภาพ ท่านหยุดรถและดับเครื่องยนต์
การทำ�งานของเครื่องยนต์ลดลง การเปลี่ยนระบบแปร
สภาพไอเสียอันใหม่จะต้องใช้อะไหล่แท้ของฮอนด้าหรือ
อะไหล่ที่ทดแทนกันได้เท่านั้น

93
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์ หลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดรอยขีดข่วนที่ชิ้นส่วนดังกล่าว หลีกเลี่ยง
การทำ�ความสะอาดและขัดเงารถจักรยานยนต์อยู่เป็นประจำ�นั้น การฉีดน�้ำตรงไปที่ไส้กรองอากาศ ท่อไอเสีย และชิ้นส่วนของ
มีความสำ�คัญต่อการรับประกันอายุการใช้งานที่ยาวนานของรถ ระบบไฟฟ้า
จักรยานยนต์ฮอนด้าของท่าน รถจักรยานยนต์ที่สะอาดจะทำ�ให้ 3. ล้างรถจักรยานยนต์ด้วยน�้ำสะอาดอย่างทั่วถึงและเช็ดรถให้แห้ง
ง่ายแก่การพบเห็นปัญหาต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ด้วยผ้าเนื้อนุ่มที่สะอาด
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง น�้ำทะเลและเกลือที่ใช้ป้องกันการเกิดน�้ำแข็ง 4. หลังจากที่รถจัักรยานยนต์แห้ง ให้หยอดน�้ำมันหล่อลื่นที่ชิ้นส่วน
เกาะบนพื้นถนน จะท�ำให้เหล็กเกิดสนิมหรือผุกร่อนได้ ดังนั้นควร ที่เคลื่อนที่ได้ใดๆ
ล้างท�ำความสะอาดรถจักรยานยนต์ของท่านอย่างทั่วถึงทุกครั้ง ต้องแน่ใจว่าไม่มีน�้ำมันหล่อลื่นกระเด็นไปติดบนเบรกหรือยางรถ
หลังการขับขี่ไปบนถนนที่อยู่เลียบชายฝั่งทะเลหรือบนถนนที่ถูกโรย ดรัมเบรกหรือผ้าเบรกที่ีเปื้อนไปด้วยน�้ำมันจะท�ำให้ประสิทธิภาพ
ข้อมูลที่ควรทราบ

ด้วยเกลือ ในการเบรกลดลงอย่างมากและอาจน�ำไปสู่การเกิดอุบัติเหตุ
เช่น การชนหรือรถล้มได้
การล้างรถจักรยานยนต์ 5. หล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อนทันทีที่ล้างและเช็ดรถแห้งแล้ว
ปล่อยให้เครื่องยนต์ ท่อไอเสีย เบรก และชิ้นส่วนที่มีอุณหภูมิสูง 6. ใช้แวกซ์เคลือบผิวเพื่อป้องกันสนิมและการกัดกร่อน
อื่นๆ เย็นลงก่อนที่จะล้างรถจักรยานยนต์ หลีกเลี่ยงการใช้ผลิตภัณฑ์ซึ่งประกอบไปด้วยผงซักฟอกที่มี
1. ล้างรถจักรยานยนต์อย่างทั่วถึงโดยใช้สายยางส�ำหรับรดน�้ำ คุณสมบัติในการกัดสูงหรือตัวทำ�ละลายทางเคมีซึ่งอาจทำ�ให้
ต้นไม้เพื่อท�ำความสะอาดสิ่งสกปรกที่ไม่ฝังแน่นออก เกิดความเสียหายกับชิ้นส่วนที่เป็นโลหะ ชิ้นส่วนที่พ่นสี และ
2. ถ้าจ�ำเป็น ท�ำความสะอาดรถจักรยานยนต์ด้วยฟองน�้ำหรือผ้า ชิ้นส่วนที่เป็นพลาสติกของรถจักรยานยนต์ของท่านได้
ขนหนูเนื้อนุ่มชุบน�้ำยาท�ำความสะอาดที่มีฤทธิ์อ่อนๆ เพื่อขจัด อย่าลงแวกซ์ที่ยางและเบรก
ถ้ารถจักรยานยนต์ของท่านมีชิ้นส่วนที่เป็นพื้นผิวสีที่ด้านใดๆ
คราบสกปรกต่างๆ ที่มาจากถนนออก
อย่าใช้แวกซ์เคลือบพื้นผิวดังกล่าว
ท�ำความสะอาดเลนส์ไฟหน้า ฝาครอบตัวถัง และส่วนประกอบ
ที่เป็นพลาสติกต่างๆ ด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษเพื่อ
94
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์
ข้อควรระวังในการล้างรถจักรยานยนต์ • อย่าฉีดน�้ำตรงไปใกล้ไฟหน้า :
ควรปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้เมื่อจะล้างรถจักรยานยนต์ : ไอน�้ำภายในเลนส์ไฟหน้าควรจะหายไปหลังจากที่ติด
• อย่าใช้เครื่องฉีดน�้ำแรงดันสูง : เครื่องยนต์เป็นเวลา 2-3 นาทีแล้ว
เครื่องฉีดล้างทำ�ความสะอาดแรงดันสูงอาจทำ�ให้เกิด • อย่าใช้แวกซ์ซึ่งประกอบไปด้วยสารประกอบชนิดต่างๆ
ความเสียหายกับชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ได้และชิ้นส่วนของ หรือใช้สารขัดเงากับพื้นผิวสีที่ด้าน :
ระบบไฟฟ้า และทำ�ให้ชิ้นส่วนดังกล่าวไม่สามารถใช้งานได้ ให้ใช้น�้ำล้างในปริมาณมากๆ ท�ำความสะอาดพื้นผิวสีที่
• อย่าฉีดน�้ำตรงไปที่ท่อไอเสีย : ด้านด้วยผ้าเนื้อนุ่มหรือฟองน�้ำที่ชุบน�้ำผงซักฟอกอ่อนๆ
น�้ำที่อยู่ในท่อไอเสียอาจท�ำให้รถจักรยานยนต์สตาร์ทไม่ แล้วเช็ดให้แห้งด้วยผ้าเนื้อนุ่มที่สะอาด

ข้อมูลที่ควรทราบ
ติดและยังท�ำให้เกิดสนิมในท่อไอเสียได้
ชิ้นส่วนอะลูมิเนียม
• ทำ�ให้เบรกแห้ง :
น�้ำมีผลเสียต่อประสิทธิภาพในการเบรก หลังจากการ อะลูมิเนียมจะเกิดการผุกร่อนและเป็นสนิมได้เมื่อถูกฝุ่น โคลน
ล้างรถจักรยานยนต์ ให้เบรกซ�้ำๆ หรือย�้ำเบรกในขณะที่ หรือเกลือที่โรยอยู่ตามท้องถนน ทำ�ความสะอาดชิ้นส่วน
ขับขี่ที่ความเร็วต�่ำ เพื่อช่วยให้ผ้าเบรกแห้งเร็วขึ้น อะลูมิเนียมเป็นประจำ�และปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้เพื่อ
• อย่าฉีดน�้ำตรงเข้าไปใต้เบาะนั่ง : หลีกเลี่ยงรอยขีดข่วนต่างๆ :
น�้ำที่เข้าไปในช่องเก็บของใต้เบาะนั่งอาจท�ำให้เกิดความ • อย่าใช้แปรงขนแข็ง เหล็กฝอยสำ�หรับขัด หรือวัสดุและ
เสียหายกับเอกสารและทรัพย์สินอื่นๆ ของท่านได้ อุปกรณ์ทำ�ความสะอาดอื่นๆ ที่มีผงขัดเป็นส่วนประกอบ
• อย่าฉีดน�้ำตรงไปที่ไส้กรองอากาศ : • หลีกเลี่ยงการขับขี่ข้ามหรือครูดไปกับขอบถนน
น�้ำที่เข้าไปในไส้กรองอากาศอาจท�ำให้เครื่องยนต์สตาร์ท
ไม่ติดได้
95
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์
ฝาครอบตัวถังต่างๆ ชุดท่อไอเสีย
ควรปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด เมื่อมีการทาสีที่พื้นผิวของชุดท่อไอเสีย ไม่ควรใช้ผลิต-
รอยขีดข่วนและรอยตำ�หนิต่างๆ : ภัณฑ์ท�ำความสะอาดที่มีฤทธิ์กัดกร่อนพื้นผิว ซึ่งเป็น
• ค่อยๆ ท�ำความสะอาดโดยใช้ฟองน�้ำนุ่มๆ และล้าง ผลิตภัณฑ์ที่สามารถหาซื้อได้ทั่วไปตามท้องตลาดใน
ด้วยน�้ำหลายๆ ครั้ง การใช้ท�ำความสะอาดพื้นผิวดังกล่าว ขอให้ท่านใช้
• ขจัดสิ่งสกปรกที่ฝังแน่นอยู่ออก ใช้น�้ำผสมผงซักฟอก ผลิตภัณฑ์ท�ำความสะอาดที่เป็นกลางในการท�ำความ
เจือจางและล้างด้วยน�้ำหลายๆ ครั้ง สะอาดพื้นผิวสีบนชุดท่อไอเสีย ถ้าหากท่านไม่แน่ใจว่า
ข้อมูลที่ควรทราบ

• หลีกเลี่ยงอย่าให้มีน�้ำมันเชื้อเพลิงหรือผงซักฟอกหกลง ชุดท่อไอเสียของท่านมีการทาสีที่พื้นผิวไว้หรือไม่ ขอให้


บนเครื่องวัด ฝาครอบตัวถัง หรือไฟหน้า ท่านติดต่อสอบถามกับศูนย์บริการฮอนด้าของท่าน

ข้อสังเกต
ถึงแม้ว่าท่อไอเสียจะท�ำมาจากเหล็กกันสนิมก็อาจมี
ร่องรอยหรือคราบสกปรกเกิดขึ้นได้ ให้ขจัดร่องรอย
และต�ำหนิต่างๆ ออกทันทีที่ท่านสังเกตเห็น

96
การเก็บรักษารถจักรยานยนต์
การเก็บรักษารถจักรยานยนต์ หลังจากที่ท่านเอารถจักรยานยนต์ออกมาจากโรงเก็บรถ ขอ
ถ้าท่านเก็บรักษารถจักรยานยนต์ไว้ที่ลานจอดกลางแจ้ง ท่าน ให้ท่านตรวจสอบรายการบำ�รุงรักษาทั้งหมดตามที่ได้กำ�หนด
ควรพิจารณาใช้ผ้าคลุมสำ�หรับรถจักรยานยนต์แบบเต็มคัน ไว้ในตารางการบำ�รุงรักษา
ถ้าหากท่านจะไม่ขับขี่รถจักรยานยนต์เป็นระยะเวลานานๆ
ขอให้ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้ : การขนส่งรถจักรยานยนต์
• ล้างรถจักรยานยนต์ของท่านและลงแวกซ์บนพื้นผิวเคลือบ ถ้าหากรถจักรยานยนต์ของท่านจำ�เป็นต้องถูกขนย้ายหรือ
ทุกแห่ง (ยกเว้นพื้นผิวสีที่ด้าน) ขนส่ง ท่านควรนำ�รถจักรยานยนต์ขึ้นรถพ่วงสำ�หรับบรรทุก
เคลือบแผ่นโครเมียมด้วยน�้ำมันป้องกันสนิม รถจักรยานยนต์ หรือรถบรรทุกหรือรถพ่วงพื้นเรียบซึ่งมีท้าย

ข้อมูลที่ควรทราบ
• หล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อน ลาดหรือมีแท่นยกรถ และมีสายรัดรถจักรยานยนต์ด้วย อย่า
• ตั้งรถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้งกลางและวางตำ�แหน่งของ พยายามที่จะลากจูงรถจักรยานยนต์ของท่านในขณะที่ล้อ
หมอนรองเพื่อยกยางทั้งสองล้อให้อยู่เหนือพื้นดิน ใดล้อหนึ่งหรือทั้งสองล้อยังแตะอยู่กับพื้น
• หลังจากฝนตก เอาผ้าคลุมรถออกและปล่อยรถจักรยาน-
ยนต์ไว้ให้แห้ง ข้อสังเกต
• ถอดแบตเตอรี่ออกเพื่อป้องกันไม่ให้แบตเตอรี่จ่ายกระแส
การลากจูงรถจักรยานยนต์อาจท�ำให้เกิดความเสียหาย
ไฟออกจนหมด
ชาร์จแบตเตอรี่ในที่ร่มและมีการระบายอากาศที่ดี ร้ายแรงต่อระบบส่งก�ำลังได้
ถ้าท่านทิ้งแบตเตอรี่ไว้ในรถจักรยานยนต์ไม่ได้ถอดออก
ให้ปลดขั้วลบ - ออกเพื่อป้องกันไม่ให้แบตเตอรี่จ่าย
กระแสไฟออกจนหมด
97
ท่านและสิ่งแวดล้อม
ท่านและสิ่งแวดล้อม ขยะรีไซเคิล
การที่ได้เป็นเจ้าของและขับขี่รถจักรยานยนต์เป็นเรื่อง บรรจุน�้ำมันและขยะมีพิษอื่นๆ ลงในภาชนะบรรจุที่
ที่สามารถให้ความสนุกและความเพลิดเพลินแก่ท่าน เหมาะสมแล้วส่งไปยังศูนย์รีไซเคิล กรุณาโทรศัพท์ติด-
ได้ แต่ท่านก็ต้องรับผิดชอบในส่วนของท่านในการรักษา ต่อส�ำนักงานท้องถิ่นหรือส�ำนักงานของรัฐที่ท�ำงานเกี่ยว-
สิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน กับงานบริการสาธารณะหรือการบริการด้านสิ่งแวดล้อม
เพื่อสอบถามถึงที่ตั้งของศูนย์รีไซเคิลในพื้นที่ที่ท่านอาศัย
การเลือกใช้น�้ำยาท�ำความสะอาด อยู่และเพื่อขอค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับวิธีการก�ำจัดของเสีย
ข้อมูลที่ควรทราบ

ใช้ผงซักฟอกที่ย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติเมื่อท่าน ที่ไม่สามารถน�ำมารีไซเคิลได้ อย่าทิ้งน�้ำมันเครื่องที่ใช้


จะล้างท�ำความสะอาดรถจักรยานยนต์ของท่าน หลีก แล้วลงในถังขยะ หรือทิ้งลงท่อระบายน�้ำ หรือเทราดลง
เลี่ยงการใช้น�้ำยาท�ำความสะอาดชนิดสเปรย์ที่ประกอบ บนพื้นดิน น�้ำมันเครื่อง น�้ำมันเชื้อเพลิง และตัวท�ำละลาย
ไปด้วยสารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFCs) ซึ่งสามารถ ที่ใช้ในการท�ำความสะอาดต่างๆ ที่ใช้แล้วประกอบไป
ที่จะท�ำให้เกิดความเสียหายกับชั้นโอโซนที่ปกป้องบรร- ด้วยสิ่งที่เป็นอันตรายหรือมีพิษ ซึ่งสามารถท�ำอันตราย
ยากาศรอบโลกได้ แก่พนักงานเก็บขยะและปนเปื้อนในน�้ำดื่ม ทะเลสาบ
แม่น�้ำ และมหาสมุทรได้

98
หมายเลขประจำ�รุ่นรถ
หมายเลขประจ�ำรุ่นรถ
หมายเลขตัวถังและหมายเลขเครื่องยนต์เป็นหมายเลข หมายเลขตัวถัง
เฉพาะตัวของรถจักรยานยนต์ของท่านและเป็นสิ่งจำ�เป็น
สำ�หรับการจดทะเบียนรถ นอกจากนี้หมายเลขดังกล่าว
อาจจำ�เป็นต้องใช้เมื่อท่านจะสั่งชิ้นส่วนสำ�หรับการ
เปลี่ยน
หมายเลขตัวถังประทับอยู่ที่ส่วนหลังของตัวถังใต้เบาะ

ข้อมูลที่ควรทราบ
นั่ง
หมายเลขเครื่องยนต์ประทับอยู่ที่ด้านซ้ายล่างของเรือน
เครื่องยนต์
ท่านควรจะจดบันทึกหมายเลขเหล่านี้ไว้และเก็บรักษา
ไว้ในที่ที่ปลอดภัย

หมายเลขเครื่องยนต์

99
ข้อมูลทางเทคนิค
ส่วนประกอบหลัก ปริมาตรกระบอกสูบ 109.16 ซม.3 (6.659 cu-in)
ความยาว 1,915 มม. (75.4 นิ้ว) 50.000 x 55.597 มม.
กระบอกสูบและระยะชัก
ความกว้าง 696 มม. (27.4 นิ้ว) (1.9685 x 2.1889 นิ้ว)
อัตราส่วนการอัด 9.0 : 1
ความสูง 1,052 มม. (41.4 นิ้ว)
น�้ำมันเชื้อเพลิง น�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สารตะกั่วที่แนะน�ำ :
ระยะห่างช่วงล้อ 1,212 มม. (47.7 นิ้ว) ค่าออกเทน 91 หรือสูงกว่า
ระยะห่างจากพื้น 135 มม. (5.3 นิ้ว) ความจุถังน�้ำมันเชื้อเพลิง 4.2 ลิตร
มุมแคสเตอร์ 26º 30´ NBC110MDF TH/2TH
ระยะเทรล 73 มม. (2.9 นิ้ว) FTZ4V 12V-3.0Ah (10 HR) หรือ
NBC110MDF TH/2TH 100 กก. (220 ปอนด์) YTZ4V 12V-3.0Ah (10 HR)
แบตเตอรี่
น�้ำหนักสุทธิ
ข้อมูลทางเทคนิค

NBC110KDF TH
NBC110KDF TH 98 กก. (216 ปอนด์)
YTZ3 12V-2.5Ah (10 HR) หรือ
ความสามารถในการ FTZ3V 12V-2.3Ah (10 HR)
115 กก. (254 ปอนด์)
รับน�้ำหนักสูงสุด *1 1 2.615
ความสามารถใน 2 1.555
ผู้ขับขี่และผู้ซ้อนท้าย 1 คน อัตราทดเกียร์
การบรรทุก 3 1.136
4 0.916
รัศมีวงเลี้ยวแคบสุด 1.86 ม. (6.10 ฟุต)
อัตราทด
4.059/2.642
*1 ประกอบด้วยน�้ำหนักของผู้ขับขี่ ผู้ซ้อนท้าย สัมภาระทั้งหมด และอุปกรณ์เพิ่ม- (ขั้นต้น/ขั้นสุดท้าย)
เติมทั้งหมด

100
ข้อมูลทางเทคนิค
ข้อมูลบริการ
หน้า 70/90-17M/C 38P น�้ำมันเครื่องส�ำหรับรถจักรยานยนต์ 4 จังหวะฮอนด้า
ขนาดของยาง หลัง 80/90-17M/C 50P มาตรฐานเอพีไอ (API) : SG หรือสูงกว่า
ชนิดของยาง ยางธรรมดา ชนิดมียางใน ไม่รวมถึงน�้ำมันที่มีข้อความประหยัดเชื้อเพลิงอัน
IRC NF63B Z น�้ำมันเครื่อง
หน้า ได้แก่ “Energy Conserving” หรือ “Resource
VEE RUBBER V357F ที่แนะน�ำ
ยางที่แนะน�ำ Conserving” ปรากฏอยู่ที่สัญลักษณ์มาตรฐาน
IRC NR78Y ความหนืด : SAE 10W-30
หลัง
VEE RUBBER V357R มาตรฐาน JASO T903 : MA
หน้า 200 กิโลปาสคาล (2.00 กก./ซม. , 29 ปอนด์/นิ้ว )
2 2
ความจุ หลังถ่ายน�้ำมันเครื่อง 0.8 ลิตร
[ขับขี่คนเดียว] น�้ำมันเครื่อง หลังผ่าเครื่อง 1.0 ลิตร

ข้อมูลทางเทคนิค
แรงดันลมยาง สารหล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อน
2 2
225 กิโลปาสคาล (2.25 กก./ซม. , 33 ปอนด์/นิ้ว )
หลัง สารหล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อน
[มีผู้ซ้อนท้าย 1 คน] แต่หากไม่สามารถหาได้ก็ขอให้ท่านใช้
ที่แนะน�ำ
2 2
280 กิโลปาสคาล (2.80 กก./ซม. , 41 ปอนด์/นิ้ว ) น�้ำมันเครื่อง SAE 80 หรือ 90
CPR6EA-9S (NGK) หรือ ความตึงหย่อนของ
หัวเทียน (มาตรฐาน) 20 - 30 มม. (0.8 - 1.2 นิ้ว)
U20EPR9S (DENSO) โซ่ขับเคลื่อน
ระยะห่างเขี้ยว โซ่ขับเคลื่อนมาตรฐาน DID420AD หรือ KMC420JB
หัวเทียน 0.80 - 0.90 มม. (0.031 - 0.035 นิ้ว) จ�ำนวนข้อต่อ 102
รอบเดินเบา (ห้ามปรับตั้ง) 1,400 ± 100 รอบต่อนาที ฟันสเตอร์มาตรฐาน สเตอร์หน้า 14 ฟัน
สเตอร์หลัง 37 ฟัน

101
ข้อมูลทางเทคนิค

หลอดไฟต่างๆ อัตราการขันแน่น
ไฟหน้า 12V-32/32W โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่อง 24 นิวตัน-เมตร (2.4 กก.-ม., 18 ฟุต-ปอนด์)
ไฟเบรก/ไฟท้าย 12V-18/5W น๊อตยึดเพลาล้อหน้า 59 นิวตัน-เมตร (6.0 กก.-ม., 44 ฟุต-ปอนด์)
ไฟเลี้ยวหน้า 12V-10W × 2 น๊อตยึดเพลาล้อหลัง 59 นิวตัน-เมตร (6.0 กก.-ม., 44 ฟุต-ปอนด์)
ไฟเลี้ยวหลัง 12V-10W × 2 น๊อตยึดขายึดจานเบรกหลัง 22 นิวตัน-เมตร (2.2 กก.-ม., 16 ฟุต-ปอนด์)
ไฟหรี่ 12V-3.4W x 2

ฟิวส์
ฟิวส์หลัก 15A
ข้อมูลทางเทคนิค

ฟิวส์รอง 10A

102
DREAM110i/
SUPER CUB

230615
PRINTED IN THAILAND 3 3 K76A T 1 AP

You might also like