You are on page 1of 26

22/12/2016

การตรวจสอบระบบไฟฟ้ าและระบบป้ องกัน อันตรายจากฟ้ าผ่ าของ


สถานที่ประกอบกิจ การนํ้ ามัน

นาย พงษ์ศกั ดิ์ สุภาวัฒนกุล


กรรมการผูจ้ ดั การบริษทั ไตรพาวเวอร์ เอ็นจิเนี ยริ่ง จํากัด

บริเวณอันตราย
บรเวณอนตราย
บริเวณอันตราย คอ คือ สถานท
สถานที่ ซงอาจม ก๊าซไวไฟ ,ฝุฝ่ น หรอเสนใย
ซึ่งอาจมี กาซไวไฟ หรือเส้นใย และปนอย่
และปนอยูเปนปรมาณมากพอทอาจ
ป็ นปริมาณมากพอที่อาจ
ทําให้เกิดระเบิด และทําความเสียหายต่อทรัพย์สนิ และชีวติ ได้ อาทิเช่น
o สถานประกอบการเกี่ยวกับการบรรจุกา๊ ซ หรือ ปิ โตรเลียม
o โรงกลัน่ นํ้ ามัน
o สถานี บริการนํ้ ามัน
o คลังนํ้ ามัน
ฯลฯ

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 1
22/12/2016

บริเวณอันตราย
ดระเบิดขึ้นที่โรงกลัน่ นํ้ ามันที่ใหญ่ท่สี ดดในโลก
เกดระเบดขนทโรงกลนนามนทใหญทสุ
เกิ ในโลก ทเวเนซุ
ที่เวเนซเอลา เมือวันที่ 26 สงหาคม
เอลา เมอวนท พ ศ 2555
สิงหาคม พ.ศ.
มีผูเ้ สียชีวติ 39 ราย และผูบ้ าดเจ็บ 86 ราย

บริเวณอันตราย
ดระเบิดขึ้นที่โรงกลัน่ นํ้ ามันบางจาก ทสุ
เกดระเบดขนทโรงกลนนามนบางจาก
เกิ ที่สขมวิท64 เมอวนท
ขุมวท64 เมือวันที่ 4 กรกฎาคม พพ.ศ.
ศ 2555 ไมมผู
ไม่มีผเ้ สีสยชวต
ยชีวติ
และผูบ้ าดเจ็บ

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 2
22/12/2016

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

o กฎกระทรวง ระบบไฟฟ้ า และระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่าของสถานที่ประกอบ


กิจการนํ้ ามัน พ.ศ. 2556
o ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การป้ องกันการสะสมของประจุุไฟฟ้ าสถิต
พ.ศ.2559

กฎกระทรวง ระบบไฟฟ้ า และระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่าของสถานที่


ประกอบกิจการนํ้ ามัน พ.ศ. 2556

o หมวดที่ 1 บททัว่ ไป
o หมวดที่ 2 แบบระบบไฟฟ้ าและระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า
o หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน
o หมวดที่ 4 ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า
o หมวดที่ 5 การตรวจสอบและรับรองระบบไฟฟ้ า และระบบป้ องกัน อันตรายจากฟ้ าผ่า

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 3
22/12/2016

หมวดที่ 1 บททัว่ ไป

ข้อ 3
o ระบบไฟฟ้ าตามกฎกระทรวงนี้ ครอบคลุมเฉพาะระบบไฟฟ้ าที่อยู่ภายในบริเวณอันตรายของ
สถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน
o ระบบปองกนอนตรายจากฟาผาตามกฎกระทรวงนครอบคลุ
ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่าตามกฎกระทรวงนี้ ครอบคลมเฉพาะระบบป้
มเฉพาะระบบปองกนอนตรายจาก
องกันอันตรายจาก
ฟ้ าผ่าที่อยูใ่ นเขตสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน

หมวดที่ 1 บททัว่ ไป

ข้อ 5 การออกแบบ การเดินสายไฟฟ้ า การติดตัง้ ระบบไฟฟ้ า และการติดตัง้ ระบบป้ องกันอันตราย


จากฟ้ าผ่าให้เป็ นไปมาตรฐาน ดังต่อไปนี้
o มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้ า และมาตรฐานการป้ องกันฟ้ าผ่าสําหรับสิง่ ปลูกสร้างของ
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)
o NATIONAL FIRE PROTECTION ASSOCIATION (NFPA)
o INTERNATION ELECTROTECHNICAL COMMMISSION (IEC)
o มาตรฐานอืน่ ที่อธิบดีกรมธุรกิจพลังงานประกาศกําหนด

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 4
22/12/2016

หมวดที่ 2 แบบระบบไฟฟ้าและระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้าผ่ า

ข้อ 7 แบบระบบไฟฟ้
ขอ แบบระบบไฟฟาตองแสดงรายละเอยดอยางนอย ดังต่อไปนี้
าต้องแสดงรายละเอียดอย่างน้อย ดงตอไปน
o แบบแผนผังแสดงการแบ่งขอบเขตพื้นที่บริเวณอันตราย
o แบบแผนผังแสดงการติดตัง้ อุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้ า และบริภณั ฑ์ภายในบริเวณ
อันตรายและส่วนต่อเนื่ องที่จาํ เป็ น
o แบบแผนผงแสดงการติ
ั ้ั ินสายไฟฟา
ดิ ตงเดิ ไฟฟ้ สายควบคุม สายสือ่ื สาร การปิปิ ดผนึึ ก และ
การต่อลงดินภายในบริเวณอันตรายและส่วนต่อเนื่ องที่จาํ เป็ น
o แบบแสดงแผนภาพเส้นเดียว (single line diagram)
o แบบแสดงรายการคํานวณโหลดไฟฟ้ า (load schedule)

หมวดที่ 2 แบบระบบไฟฟ้าและระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้าผ่ า

ข้อ 8 แบบระบบป้
ขอ แบบระบบปองกนอนตรายจากฟาผาตองแสดงรายละเอยดอยางนอย ดังต่อไปนี้
องกันอันตรายจากฟ้ าผ่าต้องแสดงรายละเอียดอย่างน้อย ดงตอไปน
o แบบแผนผังแสดงบริเวณป้ องกัน
o แบบแสดงการติดตัง้ ตัวนํ าล่อฟ้ า
o แบบแสดงการติดตัง้ ตัวนํ าลงดินพร้อมจุดต่อทดสอบ
o แบบแสดงการติดิ ตัง้ั รากสายดินิ

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 5
22/12/2016

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


ข้อ 11 บริ
ขอ เวณอันตรายภายในเขตสถานี บริการนํ้ ามันประเภท ก ประเภท ข ประเภท ค ประเภท ง
บรเวณอนตรายภายในเขตสถานบรการนามนประเภท
และประเภท จ สําหรับนํ้ ามันชนิ ดไวไฟมาก
ข้อ 12 บริเวณอันตรายภายในสถานี บริการนํ้ ามันประเภท ฉ คลังนํ้ ามัน และสถานที่ท่มี กี ารรับหรือ
จ่ายนํ้ ามันโดยระบบการขนส่งนํ้ ามันทางท่อ สําหรับนํ้ ามันดิบ นํ้ ามันเบนซิน นํ้ ามันสําหรับ
นํ้ ามันก๊าด นํนามนดเซล
เครื่องบิน นามนกาด
เครองบน ้ ามันดีเซล นามนเตา
นํ้ ามันเตา หรอนามนอนตามทอธบดกรมธุ
หรือนํ้ ามันอืน่ ตามที่อธิบดีกรมธรกิ
รกจพลงงาน
จพลังงาน
ประกาศกําหนด
ข้อ 13 บริเวณอันตรายภายในสถานที่เก็บรักษานํ้ ามัน ลักษณะที่สาม สําหรับนํ้ ามันชนิ ดไวไฟมาก

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


ตัวอย่างภาพประกอบที่ 1 (ทอหวรบนามน)
ตวอยางภาพประกอบท (ท่อหัวรับนํ้ ามัน)

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 6
22/12/2016

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


ตัวอย่างภาพประกอบที่ 2 (ปลายทอระบายไอนามน)
ตวอยางภาพประกอบท (ปลายท่อระบายไอนํ้ ามัน)

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


ตัวอย่างภาพประกอบที่ 3 (ตู
ตวอยางภาพประกอบท (ต้จายนามนชนดตงพน
า่ ยนํ้ ามันชนิ ดตัง้ พื้น แบบมชองเปดโลง)
แบบมีช่องเปิ ดโล่ง)

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 7
22/12/2016

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


ข้ขออ 16 อุอปกรณ์
ปกรณ เครองใชไฟฟา และบริภณั ฑ์ท่ยี อมรับให้ใช้ในบริเวณอันตรายแบบที่ 1 และแบบท
เครื่องใช้ไฟฟ้ า และบรภณฑทยอมรบใหใชในบรเวณอนตรายแบบท และแบบที่
2 ต้องได้รบั การรับรองจากองค์กรใดองค์กรหนึ่ งดังต่อไปนี้
1. สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม
2. Underwriters Laboratories, Inc. (UL)
3. Electrical Equipment Certification Services (EECS)
4. Physikalisch Technische Bundesanstalt (PTB)
5. Laboratoire Central des Industries Electriques (LCIE)
6.Centro Elettrotecnico Sperimentale Italiano (CESI)
7.Canada Standard Association (CSA)

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


ข้อ 16 (ต่
ขอ (ตอ)อ)
8. Technology Institution of Industrial Safety (TIIS)
9. องค์กรอืน่ ที่กรมธุรกิจพลังงานเห็นชอบ

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 8
22/12/2016

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


การจําแนกบริเวณอันตราย(อ้ ดตัง้ ทางไฟฟ้ าสําหรับประเทศ
( างอิง บทที่ 7 ของหนังสือมาตรฐานการติ

ไทย พ.ศ. 2556 ) แบ่งออกเป็ น 3 ปะเภท ดังนี้
1. บริเวณอันตรายประเภทที่ 1 บริเวณที่มแี ก๊ส และไอระเหย
2. บริเวณอันตรายประเภทที่ 2 บริเวณที่มฝี นุ่
3. บริเวณอันตรายประเภทที่ 3 บริเวณที่มีเส้นใย หรือละอองที่จุดระเบิดได้งา่ ย

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


บริเวณอันตรายประเภทที่ 1 ((อ้างอิง บทที่ 7 ของหนังสือมาตรฐานการติ
ฐ ดตัง้ ทางไฟฟ้ าสําหรับ
ประเทศไทย พ.ศ. 2556 ) แบ่งออกเป็ น 2 แบบ ดังนี้

1. บริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1
2. บริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 9
22/12/2016

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


วิธีการเดินสายบริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1 ((อ้างอิง บทที่ 7 ของหนังสือมาตรฐานการ

ติดตัง้ ทางไฟฟ้ าสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 )
วิธีการเดินสายบริเวณอันตรายประเภทที่ 1
แบบที่ 1 มี 2 วิธี
1.การเดินสายในท่อ IMC หรือ RSC
2.การเดินด้วยสายเคเบิลชนิ ดMI หรือสาย
เคเบิลที่ได้รบั การรับรองว่าสามารถใช้ได้กบั
บริเวณอันตรายดังกล่าว

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


การเดินสายในท่อ IMC หรือ RSC ในบริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1
เครื่องประกอบ และข้อต่อต่างๆ ต้องเป็ นชนิ ดที่
ได้รบั การรับรอง จากสถาบันที่เชื่อถือได้ เช่น
UL, PTB,CSA หรือองค์กรอืน่ ที่กรมธุรกิจ
พลังงานเห็นชอบ
พลงงานเหนชอบ
ท่อร้อยสายที่ออกจากบริเวณอันตรายประเภทที่
1 แบบที่ 1 ต้องมีการปิ ดผนึ ก (seal) ที่ดา้ นใด
ด้านหนึ่ ง ภายในระยะ 3 เมตร

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 10
22/12/2016

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


ตัวอย่าง การเดินสายในท่อ IMC หรือ RSC ในบริเวณอันตราย

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


ตัวอย่าง เครื่องประกอบการปิ ดผนึ กท่อ ((sealingg fitting)
g)

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 11
22/12/2016

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


ตัวอย่าง เครื่องประกอบท่อ และข้อต่อท่อต่างๆๆ ต้องขันให้แน่ นอย่างน้อย 5 เกลี่ยว

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


ช่องว่างของกล่องต่อสาย หรืออุปุ กรณ์ในบริเวณอันตราย ต้องปิ ดด้วยปลัก๊ อุดุ โลหะ

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 12
22/12/2016

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


การติดตัง้ ระบบไฟฟ้ าภายในต้จายนามน
ตัวอย่าง การตดตงระบบไฟฟาภายในตู
ตวอยาง า่ ยนํ้ ามัน ดวยทอรอยสาย
ด้วยท่อร้อยสาย IMC

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


ตัตวอยาง การติดตัง้ ระบบไฟฟ้ าภายในเครื่องสบนํ
วอย่าง การตดตงระบบไฟฟาภายในเครองสู บนามน้ ามัน
เชื้อเพลิงที่ตดิ ตัง้ ไว้ในถังเก็บนํ้ ามันเชื้อเพลิงใต้พ้ นื ดิน
ด้วยท่ออ่อนกันระเบิด ประเภทที่ 1 แบบที่ 1

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 13
22/12/2016

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


โครงสร้างสายเคเบิลเอ็มไอ ( Mineral Insulated Cable))
เป็ นสายเคเบิลเปลือกโลหะ ที่มีตวั นํ า
หุม้ ด้วยฉนวนแร่อยูภ่ ายในเปลือกท่อ
ทองแดง หรือโลหะชนิ ดอืน่ ตาม
มาตรฐานโรงงานผู
โ ผ้ ลิติ โดยมี
โ ี
ลักษณะดังรูป

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


ตัวอย่าง Termination ของสายเคเบิลเอ็มไอจาก The MICC & TRM Groupp Companies
p

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 14
22/12/2016

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


ตาราง ขนาดกระแสของสายเคเบิ
ขนาดกระแสของสายเคเบลชนดเอมไอ
ลชนิ ดเอ็มไอ
ขนาดสาย ค่ ากระแสไฟฟ้า (A)
(No.xSq.mm.) เดินในอากาศ MICC เดินเกราะผนัง วสท.
หุม้ ฉนวน เปลือย หุม้ ฉนวน เปลือย
2x1.5 25.0 22.5
3x1.5 21.0 19.0
20 18
4x1.5 21.0 19.0
7x1.5 14.0 12.5
2x2.5 33.0 30.0
3x2.5 28.0 25.0
26 23.4
4x2.5 28.0 25.0
7x2.5 19.0 17.0
2x4.0 44 40 34 30.6

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


การเดินด้วยสายเคเบิลชนิ ดMI ในบริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1

เครื่องประกอบ และข้อต่อต่างๆ ต้องเป็ นชนิ ดที่ได้รบั การ


รับรอง จากสถาบันที่เชื่อถือได้ และเป็ นไปตามมาตรฐาน
ผูผ้ ลิตแนะนํ า

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 15
22/12/2016

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


การติดตัง้ ระบบไฟฟ้ าภายในต้จายนามน
ตัวอย่าง การตดตงระบบไฟฟาภายในตู
ตวอยาง า่ ยนํ้ ามัน ดวยทอรอยสาย
ด้วยท่อร้อยสาย MI

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน

ตัวอย่าง การติดตัง้ ระบบไฟฟ้ าภายในเครื่องสูบนํ้ ามัน


เชื้อเพลิงที่ตดิ ตัง้ ไว้ในถังเก็บนํ้ ามันเชื้อเพลิงใต้พ้ นื ดิน
ด้วยสายเคเบิล ชนิ ด MI ประเภทที่ 1 แบบที่ 1

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 16
22/12/2016

หมวดที่ 3 บริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามัน


วิธีการเดินสายบริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 ((อ้างอิง บทที่ 7 ของหนังสือมาตรฐานการติ
ฐ ดตัง้
ทางไฟฟ้ าสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 ) มี 2 วิธี
1. การเดินสายในท่อ IMC หรือ RSC
2. การเดินด้วยสายเคเบิลชนิ ดMI หรือสายเคเบิลที่ได้รบั การรับรองว่าสามารถใช้ได้กบั
บริเวณอันตรายดังกล่าว

หมายเหตุ วิธีการเดินสายบริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 2 เหมือนกับการติดตัง้ วิธกี ารเดินสาย


บริเวณอันตรายประเภทที่ 1 แบบที่ 1

หมวดที่ 4 ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า


ข้ขออ 17 สงปลู
สิง่ ปลกสร้
กสรางทมความสู
างที่มีความสงมากกว่
งมากกวาา 15 เมตร และอยู า่ งจากถังเก็บนํ้ ามันชนิ ดไวไฟมากใน
และอย่หางจากถงเกบนามนชนดไวไฟมากใน
ระยะ 50 เมตร โดยวัดจากผนังถังที่ใกล้ท่สี ดุ ภายในเขตสถานี บริการนํ้ ามันประเภท ก ประเภท ข
ประเภท ค และประเภท จ ต้องจัดให้มีระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า
ข้อ 18 สิง่ ปลูกสร้างภายในเขตสถานที่เก็บรักษานํ้ ามัน ลักษณะที่สาม ที่มกี ารเก็บนํ้ ามันชนิ ดไวไฟ
มาก มีปริมาณเกิน 454 ลิตร ที่ตอ้ งจัดให้มีระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า ได้แก่
o ถังเก็บนํ้ ามันเหนื อพื้นดินที่เก็บนํ้ ามันชนิ ดไวไฟมาก
o อาคารเก็บถังนํ้ ามันที่เก็บนํ้ ามันชนิ ดไวไฟมากหรือเก็บนํ้ ามันชนิ ดไวไฟมากอยู่ดว้ ย
o สิง่ ปลูกสร้างที่มีความสูงมากกว่า 15 เมตร และอยู่หา่ งจากถังเก็บนํ้ ามันชนิ ดไวไฟมากใน
ระยะ 50 เมตร โดยวัดจากผนังถังที่ใกล้ท่สี ดุ

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 17
22/12/2016

หมวดที่ 4 ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า


ข้ขออ 19 สงปลู
สิ่งปลกสร้
กสรางภายในเขตสถานบรการนามนประเภท
างภายในเขตสถานีบริการนํา้ มันประเภท ฉ และคลงนามนทตอง
และคลังนํา้ มันที่ต้อง
จัดให้ มีระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้าผ่ า ได้ แก่
o ถังเก็บนํา้ มันเหนือพืน้ ดิน
o อาคารแท่ นจ่ ายนํา้ มัน
o อาคารเก็บถังนํา้ มันที่เก็บนํา้ มันชนิดไวไฟมากหรื อเก็บนํา้ มันชนิดไวไฟ
มากอยู่ด้วย
o สิ่งปลูกสร้ างที่มีความสูงมากกว่ า ๑๕ เมตร และอยู่ห่างจากถังเก็บ
นํา้ มันในระยะ ๕๐ เมตร โดยวัดจากผนังถังที่ใกล้ ท่ สี ุด

หมวดที่ 4 ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า


ข้ขออ 21 วสดุ
วัสดทีท่ใใชในระบบปองกนอนตรายจากฟาผา
ช้ในระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า
ข้ อ 22 ขนาดของวัสดุท่ใี ช้เป็ นตัวนํ าล่อฟ้ า ตัวนํ าลงดิน และตัวนํ าประสาน ให้เป็ นไปตามตารางดังนี้

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 18
22/12/2016

หมวดที่ 4 ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า


ข้ อ 28 รากสายดนตองตดตง
ขอ รากสายดินต้องติดตัง้ ดัดงตอไปน
งต่อไปนี้
1) รากสายดินต้องอยู่หา่ งจากฐานรากของสิง่ ปลูกสร้างไม่นอ้ ยกว่า 0.60 เมตร
2) ความต้านทานระหว่างรากสายดินกับดินต้องไม่เกิน 10 โอห์ม ในกรณี ท่ตี อ้ งเพิ่มจํานวน
รากสายดินเพือ่ ให้ได้ความต้านทานดังกล่าว รากสายดินแต่ละรากต้องอยู่หา่ งกันไม่นอ้ ย
กว่า 6 เมตร

หมวดที่ 4 ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า


1 โครงสรางของระบบปองกนอนตรายจากฟาผา
โครงสร้ างของระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่ า
รูปแบบที่ 1

2 1.ตัวนําล่ อฟ้า
2.ตัวนําลงดิน
3.จุดทดสอบ
4.รากสายดิน
3

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 19
22/12/2016

หมวดที่ 4 ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า


1. ตวนาลอฟา
ตัวนําล่ อฟ้า โดยทวไปทาดวยทองแดง
โดยทั่วไปทําด้ วยทองแดง และอลมิ
และอลูมเนยมเจอทมขนาดเสนผานศู
เนียมเจือที่มีขนาดเส้ นผ่ านศนย์
นยกลาง
กลาง
ไม่ น้อยกว่ า 15 มิลลิเมตร และมีความยาวไม่ น้อยกว่ า 300 มิลลิเมตร

ตัวนําล่ อฟ้าทําจากทองแดง ตัวนําล่ อฟ้าทําจากอลูมิเนียม

หมวดที่ 4 ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า


2. ตวลงดน
ตัวลงดิน นยมใชสายตเกลยวททาดวยทองแดง
นิยมใช้ สายตีเกลียวที่ทาํ ด้ วยทองแดง หรื
หรออลู
ออลมิมเนยม
เนียม

สายทองแดงเปลือย สายไฟฟ้า IEC-01 (THW)

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 20
22/12/2016

หมวดที่ 4 ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า


3 จดทดสอบ
3.จุ ดทดสอบ สาหรบวดคาความตานทานระหวางรากสายดนกบดน
สําหรับวัดค่าความต้านทานระหว่างรากสายดินกับดิน

หมวดที่ 4 ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า


44. รากสายดน
รากสายดิน นยมใชแทงเหลกหุ ด้วยทองแดง (copper - clad steel) ขนาด 16 มลลเมตร
นิ ยมใช้แท่งเหล็กห้มดวยทองแดง มิลลิเมตร ความ
ยาว 2.40 เมตร และความหนาของทองแดงที่หมุ ้ ไม่นอ้ ยกว่า 0.25 มิลลิเมตร

รากสายดิน ชนิดเหล็กหุม้ ด้วยทองแดง

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 21
22/12/2016

หมวดที่ 4 ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า


ข้ขออ 29 สงปลู
สิง่ ปลกสร้
กสรางทมโครงสรางเปนโลหะตอถงกนโดยตลอด
างที่มีโครงสร้างเป็ นโลหะต่อถึงกันโดยตลอด อาจใช้
อาจใชตวโครงสรางโลหะสวนทอยู
ตวั โครงสร้างโลหะส่วนที่อย่
บนสุดหรือราวกันตกโลหะที่อยู่บนสุดของสิง่ ปลูกสร้างและต่อเชื่อมกับโครงสร้างโลหะทําหน้าที่เป็ นตัวนํ าล่อ
ฟ้ า และอาจใช้โครงสร้างโลหะส่วนที่เป็ นเสาหรือผนังของสิง่ ปลูกสร้างทําหน้าที่เป็ นตัวนํ าลงดิน
ในกรณี ท่ไี ม่มโี ครงสร้างโลหะหรือราวกันตกโลหะที่สว่ นบนสุดของสิง่ ปลูกสร้างตามวรรคหนึ่ ง
ให้ตดิ ตัง้ ตัวนําล่อฟ้ าต่อเข้ากับโครงสร้างโลหะโดยตรงหรือต่อเข้ากับตัวนํ าลงดินเพือ่ เชื่อมกับโครงสร้าง
โลหะทุกระยะไม่เกิน 18เมตร
การติดตัง้ รากสายดินสําหรับสิง่ ปลูกสร้างที่มีโครงสร้างเป็ นโลหะ ให้ต่อรากสายดินเข้ากับตัวนํ า
ลงดินด้านหนึ่ ง และต่อตัวนํ าลงดินอีกด้านหนึ่ งเข้ากับโคนเสาหรือผนังของโครงสร้างโลหะ โดยตัวนํ าลงดิน
ต้องมีไม่นอ้ ยกว่าสองตัวนํ า และระยะห่างกันไม่เกิน 18 เมตร

หมวดที่ 4 ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า


ข้อ 29 ( ตอ
ขอ ต่อ )
การต่อตัวนํ าล่อฟ้ าเข้ากับโครงสร้างโลหะ การต่อตัวนํ าลงดินระหว่างตัวนํ าล่อฟ้ ากับโครงสร้าง
โลหะและการต่อตัวนํ าลงดินระหว่างโคนเสาหรือผนังของโครงสร้างโลหะกับรากสายดิน ต้องใช้แผ่นประกับ
ที่ทาํ ด้วยทองแดงเจือชนิ ดที่มีทองแดงไม่นอ้ ยกว่าร้อยละหกสิบสอง
ลักษณะของแผ่นประกับด้านหนึ่ งมีอปุ กรณ์จบั ยึดสําหรับต่อตัวนํ าล่อฟ้ าหรือตัวนํ าลงดิน และ
อีกด้านหนึ่ งของแผ่นประกับต้องมีพ้ นื ที่สมั ผัสโครงสร้างโลหะได้ไม่นอ้ ยกว่า 5,200 ตารางมิลลิเมตร

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 22
22/12/2016

หมวดที่ 4 ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า


โครงสรางของระบบปองกนอนตรายจากฟาผา
โครงสร้ างของระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่ า
1
รู ปแบบที่ 2

2
1.ตัวนําล่ อฟ้า ใช้ โครงสร้ างของเสาป้ายที่เป็ นโลหะ
2.ตัวนําลงดิน ใช้ โครงสร้ างของเสาป้ายที่เป็ นโลหะ
3.จุดทดสอบ
3 4.รากสายดิน
4

หมวดที่ 4 ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า


ตัวอย่าง เครองมอวดความตานทานดน
ตวอยาง เครื่องมือวัดความต้านทานดิน

KYORITSU Model 4105A KYORITSU Model 4200

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 23
22/12/2016

หมวดที่ 4 ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า


การใชงานเครองมอวดความตานทานดน
การใช้
งานเครือ่ งมือวัดความต้านทานดิน KYORITSU Model 4105A
1.เสียบหลักดิน(AUXILIARY EARTH SPIKES)
ให้หา่ งจากหลักดินที่ตอ้ งการทดสอบ แต่ละช่วงห่างกัน
ประมาณ 5 – 10 เมตร
2.ปรับั ปุ่่ มมาตําํ แหน่่ ง EARTH VOLTAGE โดยมี
โ คี า่
ไม่ควรเกิน 10 V
3.ปรับปุ่ มมาตําแหน่ งย่านหยาบก่อน โดยเริ่มจาก 2000
Ω,200 Ω,20 Ω ตามลําดับเพื่ออ่านค่า

หมวดที่ 4 ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า


การใชงานเครองมอวดความตานทานดน
การใช้
งานเครือ่ งมือวัดความต้านทานดิน KYORITSU Model 4200
1.กดปุ่ มเลือก A / Ω เพื่อเลือกย่านวัดเป็ นย่านวัดค่า
ความต้านทานดิน
2.คล้องแคมป์ กา้ มปูเข้ากับสายดินที่ทาํ การทดสอบ
3.อ่านค่า แล้วบันทึกผล

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 24
22/12/2016

หมวดที่ 4 ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้าผ่ า


ตัวอย่าง ระบบปองกนอนตรายจากฟาผา
ตวอยาง ของเสาป้ ายภายในสถานี บริการนํ้ ามัน
ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า ของเสาปายภายในสถานบรการนามน

หมวดที่ 4 ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้าผ่ า


ตัวอย่าง ระบบปองกนอนตรายจากฟาผา
ตวอยาง ของเสาป้ ายภายในสถานี บริการนํ้ ามัน
ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า ของเสาปายภายในสถานบรการนามน

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 25
22/12/2016

หมวดที่ 5 การตรวจสอบและรับรองระบบไฟฟ้ า และ


ระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า
ข้ขออ 30 สถานทประกอบกจการนามนตองทาการตรวจสอบระบบไฟฟาและระบบปองกนอนตรายจาก
สถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามันต้องทําการตรวจสอบระบบไฟฟ้ าและระบบป้ องกันอันตรายจาก
ฟ้ าผ่าก่อนเริ่มประกอบกิจการนํ้ ามันหรือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในเขตสถานที่ประกอบกิจการนํ้ ามันที่มีผล
ต่อระบบไฟฟ้ าและระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า โดยผูป้ ระกอบกิจการควบคุมต้องจัดให้มีการตรวจสอบ
ระบบดังกล่าวโดยกรมธุรกิจพลังงานหรือผูท้ ดสอบและตรวจสอบตามกฎกระทรวงว่าด้วยการกําหนด
คุณุ สมบัตขิ องผููท้ ดสอบและตรวจสอบนํ้ ามัน และผููป้ ฏฏิบตั งิ านเกี่ยวกับการทดสอบและตรวจสอบนํ้ ามัน
และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือ่ นไขในการทดสอบและตรวจสอบนํ้ ามัน
ในกรณี ท่ผี ูท้ ดสอบและตรวจสอบทําการตรวจสอบตามวรรคหนึ่ ง ต้องออกหนังสือรับรองการ
ตรวจสอบระบบไฟฟ้ าและระบบป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่าด้วย

END

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า 26

You might also like