You are on page 1of 14

Chemicals safety

Student ID: 6525700001


Nakorn Sritapanya
1. จงบอกวิธีจดั เก็บสารที่เป็ นพิษ แก๊สไวไฟ ของเหลวไวไฟ สารกัดกร่อน และสาร
ที่เข้ากันไม่ได้
พิจารณาการจัดเก็บและวัตถุอน
ั ตรายตามขัน
้ ตอนดังนน้
ข้อกำหนดทั่วไป
 สถานที่เก็บรักษาสารเคมีและวัตถุอนั ตรายต้องมีความมั่นคงแข็งแรงเป็ นไปตามกฎหมายควบคุมอาคาร
 ผนังอาคารและกาแพงกันไฟต้องสามารถทนไฟได้ กาแพงกันไฟมีความสูงเหนือหลังคา 0.30 ถึง 1.00 เมตร ยื่นออกจาดผนัง
ด้านข้าง 0.30 ถึง 0.50 เมตร
 พืน้ แข็งแรงเพียงพอต่อการรับนา้ หนักสารเคมีทงั้ หมด วัสดุทนต่อนา้ และสารเคมี ไม่ดดู ซับของเหลวกรณี เก็บก๊าซไวไฟพืน้ ต้อง
นาไฟฟ้าได้ ไม่เกิดไฟฟ้าสถิต
 มีประตูทางเข้า-ออกที่เหมาะสมกับลักษณะการใช้งาน ประตูฉกุ เฉินอย่างน้อย 2 ทางในทิศตรงข้ามกัน
 มีระบบป้องกันฟ้าผ่า
 มีระบบเตือนภัย เช่น สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ สัญญาณแจ้งเหตุก๊าซรั่ว
 มีอป ุ กรณ์ดบั เพลิงที่มีขนาดและจานวนเหมาะสมกับปริมาณสารเคมีและวัตถุอนั ตรายที่จดั เก็บ และได้รบั การตรวจสอบอย่าง
น้อยทุก 6 เดือน
 มีระบบนา้ ดับเพลิงที่เหมาะสม เช่น ระบบหัวกระจายนา้ ดับเพลิง (Water Sprinkling System) หัวรับนา้ ดับเพลิง สายส่งนา้
ดับเพลิง
 มีปา้ ยเตือนอันตราย และป้ายเตือนอื่นด้านความปลอดภัย
กำรจัดเก็บสำรเคมีประเภท: เป็ นพิษ

 ต้องมีการระบายอากาศที่ดี มีอตั ราการแลกเปลี่ยนอากาศอย่างน้อย 5 เท่า/ชั่วโมง


 อาคารเก็บขนาด > 800 ตร.ม. หรือเก็บ >10 ตันต้องมีสญ
ั ญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
 ต้องห้ามผูท้ ่ีไม่เกี่ยวข้อง ใช้กญ
ุ แจล๊อค และผูป้ ฏิบตั ิงานต้องผ่านการฝึ กอบรม
 กาแพงทนไฟสูงกว่าหลังคา 1 ม. และยื่นออกด้านข้างอย่างน้อย 0.5 ม.
 ห้ามเก็บนอกอาคาร
กำรจัดเก็บสำรเคมีประเภท: แก็สไวไฟ
 ถังที่บรรจุก๊าซไวไฟและถังที่บรรจุก๊าซออกซิไดซ์ ต้องวางไว้ให้ห่างกันอย่างน้อย 2 เมตร
 กรณีก๊าซไวไฟควรติดตัง้ เครือ่ งตรวจวัดก๊าซ ที่เป็ นชนิดป้องกันการระเบิด
 ก๊าซทุกชนิดต้องบรรจุในบรรจุภณ
ั ฑ์ท่ีผ่านการสร้างและทดสอบ มาตรฐาน
 ก๊าซทุกชนิดต้องมีฝาครอบวาล์วปิ ดควบคูก่ บั บรรจุภณ
ั ฑ์
 ต้องป้องกันการล้มของท่อก๊าซ และไม่เก็บในลักษณะที่เสี่ยงต่อการล้ม
 หากใช้การระบายอากาศแบบธรรมชาติตอ้ งมีช่องเปิ ดโดยตรงยังภายนอกอย่างน้อย 10% ของพืน้ ที่อาคารเก็บ (ที่เก็บท่อ
ก๊าซ) ซึง่ ช่องเปิ ดต้องอยู่ตรงพืน้ ที่เก็บท่อก๊าซ และมีการ ไหลของลมเพียงพอที่จะระบายอากาศได้
 หลังคาต้องไม่ลามไฟและแผ่ความร้อนได้ดี
 พืน้ ต้องกันการติดไฟ
กำรจัดเก็บสำรเคมีประเภท: ของเหลวไวไฟ

 เก็บห่างจากแหล่งความร้อน แหล่งกานิดไฟเปลวไฟ ประกายไฟ


 อุปกรณ์ไฟฟ้าและยานพาหนะต้องเป็ นชนิดป้องกันการระเบิด
 ควรมีระบบกระจายนา้ ดับเพลิง และหัวรับนา้ ดับเพลิงที่เหมาะสมในจานวนที่เพียงพอ
 อาคารเก็บรักษาควรมีกาแพงทนไฟ 90 นาที กรณีไม่มีหวั กระจายนา้ ดับเพลิงต้องมีกาแพงทนไฟ 180 นาที
 กาแพงทนไฟต้องสูงกว่าหลังคาอย่างนา้ 0.30 เมตรหรือวิธีการอื่นที่สามารถป้องกันการลุกลามของไฟได้
 ผนังอาคารหากทนไฟน้อยกว่า 90 นาที อาคารนา้ ต้องมีระยะห่างจากอาคารอื่นไม่นอ้ ยกว่า 10 เมตร
 จัดให้มีการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติหรือวิธีกล ให้มีอตั ราการแลกเปลี่ยนอากาศเป็ น 5 เท่าของปริมาตรห้องต่อ 1
ชั่วโมง
 การเก็บของเหลวไวไฟนอกอาคาร ต้องมีระยะห่างจากอาคารอื่นไม่นอ้ ยกว่า 10 เมตร พืน้ มีความลาดเอียงไม่นอ้ ยกว่า
1% และมีรางระบายสารเคมีท่ีหกรั่วไหลลงสูบ่ อ่ เก็บหรือเขื่อนที่ควบคุมไม่ให้ไหลออกสูภ่ ายนอกได้
กำรจัดเก็บสำรเคมีประเภท: สำรกัดกร่อน

➢ แยกห่างจากบริเวณอื่น 5 ม.
➢ แยกห่างจากวัตถุอนั ตรายอื่น ระยะห่าง 10 ม.
➢ มีผนังทนไฟ
➢ ห้ามเก็บรวมกับ class 1/ 5.1A-C/ 5.2
การจัดเก็บสารเคมีประเภทที่เข้ากันไม่ได้ให้พิจารณาการแยกจัดเก็บตามตาราง
2. จงบอกถึงความเป็ นอันตราย การนาไปใช้ประโยชน์ และ UN number ของสารเคมีและวัตถุ
อันตราย ดังต่อไปนี ้ Acetone / Methyl isocyanate / Xylene / Ammonia / N-heptane /
Ethylene Oxide / Hexane / NaOH / Na2CO3 / ผงกามะถัน (เลือกสารเคมีมา 3 ชนิด)
 แอมโมเนีย (Ammonia; NH3)
UN number: 1005
ความเป็ นอันตราย:
 ก๊าซภายใต้ความดัน (ก๊าซเหลว) - ก๊าซบรรจุภายใต้ความดัน อาจระเบิดได้ เมื่อได้รบั ความร้อน
 ก๊าซไวไฟ ประเภทที่ 2 – ก๊าซไวไฟ
 ความเป็ นพิษเฉียบพลัน: ทางการสูดดม/หายใจเข้าไป ประเภทที่ 3 – เป็ นพิษถ้าสูดดมเข้าไป
 การกัดกร่อนและการระคายเคืองต่อผิวหนัง ประเภทที่ 1B - ทาให้ผิวหนังไหม้อย่างรุ นแรงและทาลายดวงตา
 ความเป็ นอันตรายเฉียบพลันต่อสงแวดล้อมในน้า ประเภทที่ 1 – เป็ นพิษร้ายแรงต่อสิ่งมีชวิตในนา้
 กัดกร่อนทางเดินหายใจ
การนาไปใช้ประโยชน์: ใช้ในอุตสาหกรรมหลายประเภท เช่น การผลตคาโปรแลคตัม้ การผลิตนา้ ยางข้น และเป็ นสารทาความ
เย็นในการผลิตนา้ แข็งและห้องเย็น
 โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH)
UN number: 1823
ความเป็ นอันตราย:
 กัดกร่อน ทาให้ผิวหนังไหม้อย่างรุนแรง และทาลายดวงตา
 ทาให้เกิดอันตรายต่ออวัยวะเป้าหมาย (ระบบทางเดินหายใจ)
 เป็ นอันตรายต่อสัตว์นา้
การนาไปใช้ประโยชน์: ใช้ในอุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมเยื่อกระดาษ อุตสาหกรรมสบู่
และสารซักล้าง ใช้ในการฟอกย้อมเส้นใยเรยอน สิ่งทอ ล้างสีไหม
 อะซีโตน (Acetone; CH3COCH3)
UN number: 1090
ความเป็ นอันตราย:
 ของเหลวไวไฟ
 ระคายเคืองต่อดวงตาอย่างรุนแรง
 ความเป็ นพิษต่ออวัยวะเป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจงจากการรับสัมผัสครัง้ เดียว
การนาไปใช้ประโยชน์: ใช้เป็ นตัวทาละลายสาหรับอุตสาหกรรมสีและหมึกพิมพ์ ใช้เป็ นตัวทาละลายจุดเดือนสูง
สาหรับแลคเกอร์เคลือบเรซินสังเคราะห์ เป็ นทินเนอร์สาหรับอบเคลือบ และเป็ นสารป้องกันการฟอกขาว
3. จงออกแบบฉลากติดบรรจุภณ ั ฑ์ และวาด
แผนผังสถานที่จดั เก็บสารเคมีและวัตถุอนั ตราย
จากข้อ 2 ที่มีขนาดพืน้ ที่ กว้าง 30 เมตร ยาว 15
เมตร (เลือกสารเคมีจดั เก็บมากกว่า 2 ชนิด
จัดเก็บที่สถานที่เดียวกัน)
 ตัวอย่างนฉลากบรรจุภัณฑ์สารเคมตามมาตรฐาน GHS
แผนผังการจัดเก็บสารเคมี แอมโมเนีย 2A, 6A1, 8A
เฮกเซน 3A ผนังอาคารทนไฟ
ประตูฉุกเฉิ น โซเดียมไฮดรอกไซด์ 8B

ระยะห่างจากอาคารอื่ น โซเดียมไฮดรอกไซด์
แอมโมเนี ย
อย่างน้อย 10 เมตร

ระบบกระจาย
ขอบบันวอล์กนั การรั่วไหล น้าดับเพลิง
อาคารเก็บสารเคมี
ประตูฉุกเฉิ น

ขอบบันวอล์กนั การรั่วไหล
อาคารอื่ น

เฮกเซน

ประตูขนถ่ายสิ นค้า รางรวบรวมน้าเสี ย


6525700001 นคร ศรีตะปัญญะ

ข้อ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมี บริษัทผู้ผลิตและผู้จำหน่าย

ข้อ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับอันตราย Hazard Identification

ข้อ 6 ข้อปฏิบัติเมื่อเกิดการรั่วไหล Accidental Release Measures

ข้อ 7 การควบคุมจัดการและการเก็บรักษา Handling and Storage


ข้อ 14 ข้อมูลสำหรับการขนส่ง Transport Information

ข้อ 15 ข้อมูลเกี่ยวกับกฎข้อบังคับ Regulatory Information


ขอ 16 ข้อมูลอื่นๆ Other Information

You might also like