You are on page 1of 81

ความปลอดภัยสําหรับวิศวกร

ความปลอดภัยทัว่ ไป
ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับไฟฟ้ า
ความปลอดภัยด้านอัคคีภัย
ความปลอดภัย ในงานก่อสร้าง
ความปลอดภัยเกี่ยวกับสิง่ แวดล้อมในการทํางาน
ความปลอดภัย (Safety and Health) คืออะไร ?
ปลอดจากภัยหรืออันตรายทัง้ ปวงในการทํางาน
อันตรายจากการทํางาน

อุ บัติเหตุ โรคจากการทํางาน
การกระทําที่ไม่ปลอดภัย

สภาพการณ์ท่ไี ม่ปลอดภัย เออร์กอนอมิคส์


สาเหตุหลักของการเกิดอุ บัติเหตุ
เกิดจากคน
(Human causes)
88%
เกิดจากเครื่องจักร
(Mechanical failure)
10%
ภัยธรรมชาติ
2%
ความสูญเสียจากอุ บัติเหตุ และโรคจากการทํางาน
1. ความสูญเสียทางตรง (เห็นได้ชดั เจน)
2. ความสูญเสียทางอ้อม (ซ่ อนเร้น)

1
การสูญเสียทางตรง
ค่ารักษาพยาบาล ค่าทดแทน ค่าประกัน

2.3 - 101
การสูญเสียทางอ้อม
เวลาการปฏิบัติงาน เวลาการสอบสวนไทยมุ ง
เครื่องจักรเสีย หรือหยุ ดงาน งานล่าช้ า
ขวัญกําลังใจของคนงาน ชื่อเสียงบริษัท ฯลฯ
ทฤษฎีท่อี ธิบายการเกิดอุ บัติเหตุ

ทฤษฎี DOMINO (แนวคิดเก่า)

การกระทํา
ภูมิหลัง ความ และสภาพ การบาดเจ็บ
บกพร่อง อุ บัติเหตุ
ของคน แวดล้อมที่ หรือความ
ไม่ปลอดภัย สูญเสีย

Tarot HEINRICH 1930

Invasion
ทฤษฎีท่อี ธิบายการเกิดอุ บัติเหตุ
6608488649
Loss causation model (แนวคิดใหม่)
ขาดการควบคุม สาเหตุพืน้ ฐาน สาเหตุในขณะนัน้ เหตุการณ์ผิดปกติ ความสูญเสีย

1.โครงการไม่
เพียงพอ
2.มาตรฐานของ ปั จจัย การปฏิบัติและ คน
-บุ คคล สภาพการณ์ท่ี สัมผัสกับ
โครงการไม่เพียงพอ ทรัพย์สิน
พลังงาน
3.การปฏิบัติตาม -งาน ตํา่ กว่ามาตรฐาน กระบวน
มาตรฐานไม่ หรือวัตถุ
การผลิต
เพียงพอ

System Root causes อาการ Frank E.Bird


Marred
3 ขัน้ ตอนในการควบคุมความสูญเสีย
Pre-contact control Contact control Post Contact control
1. ภาวะผู ้นําและการจัดการ 1. อุ ปกรณ์ป้องกันอันตราย 1. การสอบสวนอุ บัติเหตุ
2. การฝึ กอบรมผู ้บริหาร ส่วนบุ คคล (PPE) 2. การเตรียมการเพือ่ รับเหตุฉุกเฉิน
3. การตรวจสอบตามวาระ 3. การวิเคราะห์อุบัตเิ หตุและอุ บัติการณ์
4. การวิเคราะห์งาน / จัดทําขัน้ ตอนการ
ปฏิบัติงาน
5. การสังเกตการณ์การปฏิบัติงาน
6. กฎความปลอดภัยของหน่วยงาน
7. การฝึ กอบรมผู ้ปฏิบัติงาน
8. การควบคุมด้านสุขภาพ
9. ระบบการประเมินผลโครงการ
10. การควบคุมทางวิศวกรรม
11. การสื่อสารรายบุ คคล
12. การประชุ มกลุ่ม
13. การประชาสัมพันธ์ 20 โปรแกรมมาตรฐาน
14. การจ้างและการบรรจุ ผู ้ปฏิบัติงาน
15. การควบคุมการจัดซือ้
16. ความปลอดภัยนอกเวลางาน
การบริหารความปลอดภัยโดยทัว่ ไป
มีนโยบาย
มีแผนงาน
มีองค์กรรองรับ
มีการดําเนินการตามแผน
มีการวัดผล ติดตามผล
มีการปรับปรุ งอย่างต่อเนื่อง
ระบบการจัดการความปลอดภัยสากล
OSHAS 18000
มอก 18000
ILO OSHMS 2001
ISO 45000
qq.am
j
woo
W.SW.Ow80 048820 80610
soon.No
onwarados
Granoont
dooare
การป้ องกันและควบคุมอันตรายจากการทํางาน
การป้ องกันและควบคุมอันตราย
จากเครื่องจักร
guard
การ์ดเครื่องจักร
แบ่งชนิดของการ์ดตามความสามารถในการ
ป้ องกันอันตรายและความนิยม

ชนิดอยู ่กับที่ Fixed จะยึดแน่นกับตัวเครื่องจักรหรือพืน้ โรงงานอย่างแน่นหนา ไม่เคลื่อนที่หรือหลุดได้ง่าย

ชนิดล็อกในตัว Interlocked จะปิ ดคลุมส่วนที่อันตรายไว้ โดยมีส่วนที่ทําให้เป็นช่ องที่เปิ ดซึ่งจะมีกลไก หรือไฟฟ้ า


หรือลม (Pneumatics) ส่งสัญญาณไประบบควบคุมเครื่องจักรให้หยุ ดทํางาน เมื่อช่ องเปิ ดของอุ ปกรณ์ถูกปิ ด
เข้าที่ระบบควบคุมเครื่องจักรก็จะทํางานตามปกติ
82820004sibridaronna

การ์ดชนิดอยู ่กับที่

16
หม้อนํา้ (Steam Boiler)

คือ ภาชนะปิ ด (Closed Vessel) ที่ใช้ ผลิตไอนํา้ สที่มีความดันสูงกว่า


บรรยากาศ โดยใช้ ความร้อนจากเชือ้ เพลิง ไฟฟ้ า หรือแม้แต่พลังงาน
นิวเคลียร์
การสร้าง

สาเหตุ การใช้ งาน


หม้อไอนํา้ ระเบิด ผู ้ควบคุม
นายจ้าง
62800no
วิศวกรผู ้ตรวจสอบ not
หม้อนํา้ (Steam Boiler)
6. water level regulator and 1st low
5. manometer with water cut-off
control valve
7. 2nd low water cut-off
3. pressure 10. safety valve
4. over pressure 9. main steam valve
regulators
cut-off
8. control panel 11. two water gauges

2. reversing
chamber

12. flue-gas
1. boiler drum with connection
insulation

13.Bottom blow
down valve

16. oil-, gas- or dual


fuel burner
14. feed pump(s)
15.base complete with fittings
frame

ที่มาของรูปจาก http://boiler.de/eng/steamboiler/equipment.html
การป้ องกันและควบคุมอันตรายจากไฟฟ้ า
ระบบการจ่ายไฟฟ้ าของประเทศไทย
230 kV, สถานีไฟฟ้ าต้นทาง 69 kV, 115 kV
500 kV

โรงไฟฟ้ า
(ระบบผลิต)

69 kV. 115 kV

MEA 12 kV, 24 kV
PEA 22 kV, 33 kV
230/400 V.
3∅ 4W. สถานีไฟฟ้ าย่อย
ผู ้ใช้ไฟฟ้ า
อันตรายจากไฟฟ้ า (จากการทํางานและใช้ ไฟฟ้ า)

ไฟฟ้ าดูด (Electric Shock) ประกายไฟ และการระเบิด

ไฟฟ้ าดูดเพราะสัมผัสส่วนที่มีไฟฟ้ า
เป็นอันตรายต่อบุ คคล
และทรัพย์สิน
สัมผัสโดยตรง (direct contact)
คือการสัมผัสส่วนที่ปกติมีไฟฟ้ า
สัมผัสโดยอ้อม (Indirect contact)
จากการทํางาน
คือสัมผัสส่วนที่ปกติไม่มีไฟ แต่จะมีไฟเมื่อ และการใช้ ไฟฟ้ า
อุ ปกรณ์ชํารุ ด หรือไฟรัว่
ไฟฟ้ าดูดเพราะสัมผัสกับส่วนที่มไี ฟฟ้ า

Jason sq
สัมผัสโดยตรง (Direct Contact) สัมผัสโดยอ้อม (Indirect Contact)
คือการสัมผัสส่วนที่ปกติมีไฟฟ้ า คือสัมผัสส่วนที่ปกติไม่มีไฟฟ้ า แต่จะมี
ไฟฟ้ าเมื่อชํารุ ด หรือไฟรัว่ (อันตรายสูง
กว่าเนื่องจากขาดความระมัดระวัง)
afraid
3 OWN 40703318hr
ไฟฟ้ าดูดได้อย่างไร? Baronstannon 0660
หม้อแปลงไฟฟ้ า trattoria
สายเส้นไฟ
230180 autostarky
afternoon01889
สายนิวทรัล (ศูนย์)
Tartaglione
Gaiden Dodo
สายดิน Mainsootasted
2 3 230
1
พืน้ ยาง
4208089 66508400
กระแสไหลผ่านร่างกายลงดิน aretz Overused
TONTI
Yarrington artwork
บุ คคลถูกไฟดูดเพราะสัมผัสกับส่วนที่มีไฟฟ้ า 2 จุ ดที่มีแรงดันต่างกันBastardo
มีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านร่างกาย (มีจุดที่กระแสไหลเข้า และออก) two
กระแสไฟฟ้ าจะไหลผ่านร่างกายได้ต้องครบวงจร (ทางไฟฟ้ า)
หลักการป้ องกันอันตรายจากไฟฟ้ าดูด
หุ้มฉนวนส่วนที่มีไฟ (เหมาะสมกับแรงดันไฟฟ้ า)
มีท่กี นั ้ หรือใส่ตู้ Bongaigaon
หลักการป้ องกัน มีสิง่ กีดขวางหรือทํารัว้ กัน้ guard
กรณีสัมผัสโดยตรง อยู ่ในระยะห่างที่เอือ้ มไม่ถึง
ใช้ PPE เมื่อต้องทํางานกับไฟฟ้ า Shotstick
ป้ องกันเสริมด้วยเครื่องตัดไฟรัว่
detont footnote
8898417
ต่อลงดินและมีเครื่ องปลดวงจรอัตโนมัติ
other ใช้ เครื่ องใช้ ไฟฟ้าประเภท II Sorrow2882820
หลักการป้ องกัน 382 It
กรณีสัมผัสโดยอ้อม ใช้ เครื่ องใช้ ไฟฟ้าแรงดันตํ่าพิเศษ (ไม่เกิน 50V)
ป้องกันเสริ มด้ วยเครื่ องตัดไฟรั่ว Tea TVcomputer
ARCFlash alsonew
are TatHarairwoman
ประกายไฟ (อาร์ก) และการระเบิด bondmaid
Nssmen
เป็นอันตรายต่อทัง้ ทรัพย์สินและบุ คคล ofVasantWon
682080

• หลักการป้ องกันอันตรายต่อทรัพย์สิน I
Maosodasso
เลือกใช้ อุกรณ์ป้องกันวงจรและอุ ปกรณ์ไฟฟ้ าที่เหมาะสม circuit
เลือกใช้ อุปกรณ์ไฟฟ้ าที่มีคุณภาพ breaker
ใช้ เครื่องใช้ ไฟฟ้ าอย่างถูกวิธี
เดินสายและติดตัง้ อุ ปกรณ์ไฟฟ้ าตามมาตรฐานฯ
ออกแบบและติดตัง้ โดยผู ้ท่มี ีควมรู้ความชํานาญ
ตรวจสอบและบํารุ งรักษาอย่างสมํา่ เสมอ
ประกายไฟและการระเบิด
หลักการป้ องกันอันตรายต่อบุ คคล (เมื่อทํางานกับไฟฟ้ า)
เลือกใช้ อุปกรณ์ มีมาตรการความปลอดภัย
ความปลอดภัยที่เหมาะสม + ในการทํางาน

ใช้ เครื่องนุ่งห่มชนิดทนไฟ ดับไฟฟ้ าทุกวงจรในพืน้ ที่

ใช้ ชุดป้ องกันประกายไฟ Lockout/Tagout

ใช้ Hot stick narrow อยู ่ในระยะห่างที่ปลอดภัย


0880
สวมถุงมือยาง ปฏิบัติตามข้อกําหนดการทํางาน

อื่นๆ อื่นๆ
หลักการป้ องกันอันตรายเมื่อทํางานกับไฟฟ้ า

Too
ป้ องกันด้วยอุ ปกรณ์ nest
ป้ องกันด้วย คุ้มครองความปลอดภัย ants
ระยะห่าง (Personal Protective
Equipment, PPE)
a Ee
ป้ องกันด้วยเครื่องห่อหุ้ม Gan
ป้ องกันด้วยวงจรไฟฟ้ า
(ปลดวงจร)
ควรเลือกใช้ เป็นวิธีแรก
Ta
การล็อกและแขวนป้ าย (เมื่อปลดวงจรไฟฟ้ าแล้ว)
ใช้ เพื่อป้ องกันอันตรายจากการทํางานกับไฟฟ้ า
ไม่ให้ผู้ท่ไี ม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องมาสับวงจรไฟฟ้ า
หรือป้ องกันวงจรไฟฟ้ ากลับมามีไฟโดยไม่ตัง้ ใจ
• ล็อก (Lock) ใช้ กับอุ ปกรณ์ไฟฟ้ าที่
ปลดวงจรแล้ว เพื่อป้ องกันการใช้ งาน
โดยบุ คคลที่ไม่มีอํานาจหน้าที่ หรือจาก
อุ บัติเหตุ
• ป้ าย (Tag) ใช้ เพื่อระบุ ว่าอุ ปกรณ์ อันตราย
ไฟฟ้ าได้ปลดออกจากระบบไฟฟ้ าแล้ว ห้ามใช้ งาน
เพื่อแจ้งให้บุคคลอื่นทราบ
อุ ปกรณ์นี้
ล็อกโดย
……………….
………………
วันที่ .…/.…/…..
ความปลอดภัยในการทํางานใกล้สายไฟฟ้ าแรงสูง

ตัวอย่างอันตรายที่เกิด แนวทางการป้ องกัน _

• การชักรอก หรือขนส่งสิง่ ของ • ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และ


ต่างๆ ขึน้ ที่สูง ข้อบังคับ
• ผ้าใบคลุมฝุ ่ นหรือแผงกัน้ • อยู ่ในระยะห่างที่เหมาะสม
จากสายไฟฟ้ า
ต่างๆ หลุดหรือปลิวไปถูก • หุ้มสายไฟฟ้ าไว้ชวั่ คราว
สายไฟฟ้ า • จัดให้มีเจ้าหน้าที่ควบคุม
• การใช้ ปั้นจัน่ ในงานก่อสร้าง ดูแล และตรวจสอบการ
ทํางานเป็นประจํา

28
การต่อลงดิน
คือการเดินสายดินจากเปลือกหรือโครงโลหะของอุ ปกรณ์ไฟฟ้ าลงดิน โดยต้องเดินสายดินไปต่อลง
ดินที่แผงเมนสวิตช์
เมื่อเครื่องใช้ ไฟฟ้ ามีไฟรัว่ กระแสไฟฟ้ าจะไหลผ่านสายดินไปครบวงจรที่แผงเมน เครื่องป้ องกัน
กระแสเกินจะปลดวงจร ผู ้สัมผัสอุ ปกรณ์ไฟฟ้ าที่ไฟรัว่ อยู ่จะปลอดภัย

N LLine

แผงเมนสวิตช์ สายดิน
เครื่องใช้ ไฟฟ้ า
Donar Erdosoaf
อุ ปกรณ์ท่ีต้องต่อลงดิน
อะไรบ้างต้องต่อลงดิน
• อุ ปกรณ์ไฟฟ้ าที่มีเปลือกเป็นโลหะ อยู ่ในตําแหน่ง
ที่บุคคลอาจสัมผัสได้ (สูงไม่เกิน 2.40 ม. )
• อุ ปกรณ์ท่ใี ช้ วิธีการเดินสายในอุ ปกรณ์การ
เดินสายโลหะ เช่ นท่อร้อยสายโลหะ
• รัว้ โลหะของอุ ปกรณ์ไฟฟ้ า
• ยกเว้น ไม่ต้อลงต่อลงดิน
อุ ปกรณ์ท่เี ป็นชนิดฉนวน 2 ชัน้ (ประเภท II)
และที่ใช้ แรงดันตํา่ พิเศษ (ไม่เกิน 50V.)

เครื่องหมายแสดงว่าเป็นฉนวน 2 ชัน้
เครื่องตัดไฟรัว่

ใช้ ป้องกันอันตรายจากไฟดูด และใช้ เป็นอุ ปกรณ์ป้องกัน


เสริมเท่านัน้ เพราะเครื่องตัดไฟรัว่ อาจชํารุ ดได้ขณะใช้ งาน
จะติดตัง้ ใช้ งานในวงจรที่มีความเสี่ยงจากไฟฟ้ าดูด เช่ นการ
ใช้ งานอุ ปกรณ์ไฟฟ้ าในสถานที่ชืน้ แฉะ หรือการใช้ ไฟฟ้ า
ภายนอกอาคาร เป็นต้น
เพลิงไหม้จากไฟฟ้ า
ตัวอย่างสาเหตุ ตัวอย่างแนวทางป้ องกัน
• ความร้อนที่จุดต่อสาย สาเหตุหลักเกิด • ออกแบบและติดตัง้ ระบบไฟฟ้ าตามมาตรฐานฯ
จากจุ ดต่อสายหลวม • เลือกใช้ เครื่องใช้ ไฟฟ้ าที่มีคุณภาพ
• ความร้อนและประกายไฟจากการระเบิด • ใช้ เครื่องใช้ ไฟฟ้ าอย่างถูกวิธี
• ความร้อนจากกระแสเกินในสายไฟฟ้ า • ตรวจสอบและบํารุ งรักษาระบบไฟฟ้ าอย่าง
• ประกายไฟจากกระแสลัดวงจร สมํา่ เสมอ
• ความร้อนและประกายไฟจากกระแสรัว่
ลงดิน
การช่ วยเหลือผู ้ประสบอันตรายจากไฟฟ้ า

• ต้องช่ วยให้พ้นจากไฟฟ้ าโดยเร็ว โดย :-


ปลดวงจรไฟฟ้ า หรือ
ดึงออกด้วยฉนวนไฟฟ้ า
• ตรวจว่ายังหายใจหรือไม่
• ถ้าไม่หายใจ ต้องผายปอดหรือนวดหัวใจ CPR
• ปฐมพยาบาลอื่นๆตามความจําเป็น
• ส่งโรงพยาบาล/ EMS ติดต่อ 1669

33
การป้ องกันและระงับอัคคีภยั

สาเหตุการ การตรวจจับ
การระงับ
เกิดและการ การเกิดเพลิง การอพยพ
อัคคีภัย
ป้ องกัน ไหม้
ธรรมชาติการเกิดอัคคีภัย (สาเหตุ)

prawn
อากาศ ความร้อน

10000
god
1

อันตราย
จากอัคคีภัย
เชือ้ เพลิง ขาดอากาศหายใจ
การป้ องกันและระงับอัคคีภัย
แหล่งกําเนิดไฟ (Ignition Sources)

ไฟฟ้ า
ธู ป บุ หรี่
การลอบวางเพลิง ปฏิกิริยาเคมี
ไฟฟ้ าสถิต แรงเสียดทาน
ฟ้ าผ่า จุ ดติดไฟเอง
ประกายไฟ เปลวไฟ
การแผ่รังสี
มาตรการป้ องกันจาก กรณีศึกษาเพลิงไหม้ สถาน
บันเทิง
1 มกราคม 2552 เวลา 00:15 น. ซานติก้าผับ
เอกมัย มีผู้เสียชีวิตจํานวน 66 ราย
ปัญหา
มีคนแออัดจํานวนมากในอาคาร
มีการจุ ดพลุไฟ
ที่เพดานมีฉนวนเป็นเยื่อกระดาษ และภายใน
ตกแต่งด้วยวัสดุติดไฟได้ง่ายอื่นๆ เช่ น โฟมส
ไตริน เบาะนวมฟองนํา้ ไฟเบอร์กลาสเรซิน
แก้ไข
กฎหมายความปลอดภัยสําหรับสถานบริการ
เพิม่ มาตรการป้ องกัน ได้แก่
o เพิม ่ จํานวนและความกว้างทางออกตาม
สัดส่วนจํานวนคน
o จํากัดการตกแต่งวัสดุติดไฟ
มาตรการป้องกันจาก กรณี ศึกษาเพลิงไหม้ คอนโดมิเนียม
10 มิถุนายน 2551 เวลา 4:50 น. คอนโดย่านสีพ ่ ระยา
มีผู้เสียชีวิต 3 ราย
ปัญหา
Heat Detector ใช้ เวลาตรวจจับนานเกินไป
ทําให้เสียงเตือนภัยดังช้ าเกินไป
แก้ไข
มาตรการป้ อ งกั น ได้ แ ก่ ติ ด ตั ้ง เพิ่ ม Smoke
Alarm ภายในห้ อ งชุ ดทุ ก ห้ อ ง และโครงการ
ใหม่ ๆ ผู ้ บริ ห ารมี น โยบายติ ด ตั ้ ง Smoke
Detector ทุกโครงการ ตามมาตรฐาน วสท.
มาตรการป้องกันจาก กรณี ศึกษาเพลิงไหม้ โรงงาน
10 พฤษภาคม 2536 เวลา 16:00 น. โรงงาน KADOR TOY
นครปฐม ประเทศไทย มีคนงาน เสียชีวิต จํานวน 188 ราย
ปัญหา
ประตูทางหนีไฟถูกล็อค มีการชะลอการอพยพ ขาด
การฝึ กซ้ อม มีทางหนีไฟไม่เพียงพอ และ อาคารถล่ม
แก้ไข
เพิม่ มาตรการป้ องกัน ได้แก่
o เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยประจําสถานประกอบการ
Doaarp
o วันความปลอดภัยในการทํางานแห่งชาติ

o กฎหมายควบคุมอาคารกําหนดให้โครงสร้างอาคาร
มีการทนไฟ ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 48
มาตรการป้องกันจาก กรณี ศึกษาเพลิงไหม้ โรงแรม
11 กรกฎาคม 2540 เวลา 9:30 น โรงแรมรอยัล จอมเทียน
พัทยา มีผู้เสียชีวิตจํานวน 91 ราย
ปัญหา
ช่ องบันไดกลางอาคารไม่ปิดล้อมทําให้ควัน ไอเชือ้ เพลิง
และความร้อนลอยขึน้ ท่วมทุกชัน้ , ระบบแจ้งเหตุเพลิง
ไหม้เสีย, ประตูหนีไฟถูกล็อก
แก้ไข
เพิม่ มาตรการป้ องกัน ได้แก่
o กฎหมายควบคุมอาคารกําหนดให้มีการตรวจสอบ
สภาพอาคาร
o บันไดที่มิใช่ บันไดหนีไฟ ให้ต้องปิ ดล้อมทนไฟด้วย

Fire Origin @ 4th Floor


ทราบได้อย่างไรว่าเกิดไฟไหม้ ?

4865dB

อุ ปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือ อุ ปกรณ์
(ถือเป็นอุ ปกรณ์เริม่ สัญญาณเตือนภัย
สัญญาณ)
มาตรการป้ องกันด้วย ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
อุ ปกรณ์เริม่ สัญญาณหรืออุ ปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้อัตโนมัติ

ตรวจจับควัน
(Smoke Detector)

สวิตช์ตรวจจับการไหลของนํา้
SPRINKLER WATER FLOW

ตรวจจับความร้อน
(Heat Detector) ตรวจจับเปลวเพลิง
(Flame Detector)
การระงับอัคคีภัย
มาตรการป้ องกันด้วยระบบดับเพลิง - ท่อยืนและตู้สายฉีดดับเพลิง
1. สายฉีดนํา้ ดับเพลิง ขนาด φ25 มม.,หรือ φ40 มม.
2. หัวต่อสาย ขนาด φ65 มม.
มาตรการป้ องกันด้วยระบบดับเพลิง
ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ

ระบบหัวกระจายนํา้ ดับเพลิงอัตโนมัติ (Water Sprinkler)

DataCenter
ระบบดับเพลิงอัตโนมัติด้วยสารสะอาด (Clean Agent)
มาตรการพืน้ ฐานด้วย เครื่องดับเพลิงแบบยกหิว้ A 250984Jens
saved

B WaarVOsorted
C situations
D
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ K

สารสะอาด

ดับเพลิงโลหะ เคมีเปี ยก
ผงเคมีแห้ง
การอพยพ มาตรการป้องกันช่องเปิ ดแนวดิ่ง
• ช่ องบันได ช่ องท่อลม ช่ องขยะที่เชื่อมต่อเนื่อง
ต้องปิ ดล้อมด้วยวัสดุทนไฟ

• ช่ องท่อไฟฟ้ า ท่อนํา้ ที่เชื่อมต่อเนื่อง ต้องปิ ดล้อม


หรืออุ ดปิ ดพืน้ ของช่ องท่อด้วยวัสดุทนไฟ
มาตรการป้ องกันช่ องเปิ ดผนังและพืน้

• การอุ ดปิ ดช่ องว่าง ช่ องเปิ ด ช่ องท่อ

41
ช่ องเปิ ด - ประตูทนไฟ
ประตูที่ผนังทนไฟ ต้องเป็นประตูทนไฟ
• ชุ ดประตู และอุ ปกรณ์ต้องทนไฟ มีมาตรฐานรับรอง
• กุญแจเปิ ดทัง้ สองด้าน
• มี Door Closer
• เปิ ดตามทิศทางการหนี
• ขนาดและจํานวนให้เหมาะสมกับจํานวนผู ้ใช้อาคาร

42
มาตรการระบบควบคุมควันไฟ

วัตถุประสงค์
1. ลดการแพร่กระจายของควันไฟ เพื่อ
ความปลอดภัยต่อชีวิต
2. ทําให้มองเห็นฐานเพลิงได้ดีขนึ้
3. เพื่อลดอุ ณหภูมิและความหนาแน่น
ของควันไฟ
มาตรการควบคุมควันไฟด้วยระบบอัดอากาศ
(บันได / โถงลิฟต์)
ให้ใช้ ระบบอัดอากาศเมื่อไม่มีช่องระบาย
อากาศโดยวิธีธรรมชาติได้ คือ มีพืน้ ที่ไม่
น้อยกว่า 1.4 ตร.เมตร ทุกชัน้ ในบันได Pressurized
Fan
อัตโนมัติ และใช้ มือ (Auto & Manual)
ไม่ตาํ่ กว่า 38.6 Pa Duct Shaft
แรงผลักประตูต้องไม่เกิน 132 N
การสัง่ ให้พัดลมทํางานอัตโนมัติจาก Duct
อุ ปกรณ์ตรวจจับควัน
การหยุ ดพัดลม ต้องเป็น Manual
มาตรการป้ องกันช่ องเปิ ดเอเทรียมหรือโถงสูง

ช่ องเปิ ดพืน้ ตัง้ แต่ 2 ชัน้ ขึน้ ไป ต้องเป็นอาคารที่ติดตัง้ Sprinkler


เท่านัน้ และต้องติดตัง้ ระบบระบายควันไฟที่เพดานและเติม
อากาศที่ระดับพืน้ ของโถงสูง
ที่เพดานโถงสูง ต้องสามารถกักเก็บควัน (smoke reservoir)
smoke reservoir
ระบายโดยวิธีธรรมชาติ

ระบายโดยวิธีทางกล
จุ ดรวมพล
เป็นสถานที่รวมตัวเพื่อตรวจสอบรายชื่อที่อพยพออกจากอาคาร
ควรอยู ่ห่างจากอาคารไม่น้อยกว่าความสูงของอาคาร แต่ไม่น้อย
กว่า 20 เมตร
ไม่ควรอยู ่ฝั่งตรงข้ามของถนน
มาตรการบริหารการตรวจสอบ ทดสอบ และการ
บํารุ งรักษา
มาตรการป้ องกัน - ประสิทธิภาพในการหนีไฟ
โคมไฟฉุกเฉิน
ป้ ายทางหนีไฟ

โคมไฟฉุกเฉินให้ติดตัง้ ที่บนเส้นทางหนีไฟ
บันได ทางแยก และทางต่างระดับ ให้
ความส่องสว่างไม่น้อยกว่าที่กําหนด
• ป้ ายให้ติดตัง้ ที่ทางออกสุดท้าย
ทางแยก และระยะไม่เกินกําหนด
การป้ องกันและควบคุมอันตรายในงานก่อสร้าง

งานก่ อ สร้ า ง (construction) เป็ น งานที่ วิ ศ วกรต้ อ งใส่ ใ จและระมั ด ระวั ง


ตนเองขณะทํางานเป็นพิเศษ เนื่องจาก
(1) มี ก ารใช้ เ ครื่ อ งมื อ หนั ก ต่ า งๆระดมเข้ า ทํ า งาน ซึ่ ง หากเกิ ด การ
ผิดพลาดจะสร้างความเสียหายอย่างรุ นแรง
(2) ผู ้ปฏิบัติงานมีหลายระดับความรู้ กรณีท่ีบางคนไม่ใส่ใจเรื่องความ
ปลอดภัย อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู ้อื่นได้
(3) โครงสร้างมีความอ่อนแอเนื่องจากต้องอาศัยการคํา้ ยัน ดังนัน้
โครงสร้างคํา้ ยันจึงเป็นหัวใจสําคัญของงาน
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง : ตอกเข็ม

1. ปั ้ นจั่นล้ม : ในขณะที่ตรวจสอบดิ่ง
ของเสาเข็ม ต้องไม่เข้าใกล้ปั้นจั่นมาก
เกินไป อย่างน้อยต้องถอยห่างเท่ากับ
ความสูงของปั ้นจัน่

2. ความสมบู รณ์ : ตรวจสอบหมอนรอง การทรงตัวของปั ้นจัน่ และความมัน่ คงของปั ้นจัน่


เพราะอาจถล่มลงมาได้
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง : ตอกเข็ม
ขณะตอกเสาเข็มอาจหัก หรือรอยต่อของเสาเข็มเคลื่อน
ทําให้โค่นทับจนเสียชีวติ

3. ลวดสลิงขาด : สลิงที่ใช้ ในการยกของต้องรับแรงดึงสูง หากเก่าหรือเสื่อมสภาพ


อาจขาดและสะบัดฟาดคนที่อยู ่รอบข้าง หรือทําให้ปั้นจัน่ พังลงมาได้
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง : ตอกเข็ม

เคยมี ก รณี เ ด็ ก ไปวิ่ง เล่ น และตกลงไปในหลุ ม


เสาเข็มมาแล้ว
4. หลุมเสาเข็ม : ในกรณีท่ีใช้ เข็มเจาะหรือการเปิ ดหน้าดิน ต้องทําป้ ายเตือน
หรือล้อมบริเวณเพื่อป้ องกันคนตก (โดยเฉพาะเด็กส่วนมากเป็นลูกคนงาน)
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง : ตอกเข็ม

5. อันตรายทางอ้อม:
(1) ควัน
(2) เสียง
(3) การสัน่ สะเทือนต่ออาคารรอบข้าง

อาจแก้ไขโดยการใช้ เสาเข็มเจาะ
การใช้ ปั้นจัน่ ติดกับเขตที่ดินของอาคาร
ข้างเคียง
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง : Tower crane
เทาเวอร์เครน (Tower crane) คือ ปั ้นจัน่ ประเภทหนึ่ง โดยมากใช้ ในงานก่อสร้าง
อาคารขนาดใหญ่หรืออาคารสูง

ความสามารถของ tower crane ขึน้ อยู ่กับ 2 ปั จจัย คือ การทรงตัวและความ


แข็งแรงของวัสดุ
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง : Tower crane
อั น ตรายจากปั ้ น จั่น ที่ใ ช้ สํ า หรั บ ยกของมาจากความรู้ เ ท่ า ไม่ ถึ งการณ์แ ละ
ความประมาทของผู ้ท่ีทํางาน เช่ น
• อุ บัติเหตุจากของที่ยกตกหล่นมาจากปั ้นจัน่
• ปั ้ นจั่นเองไม่สามารถรับนํา้ หนักของที่ยกขึ้นไปทําให้โครงหรือตัวปั ้นจั่น
หักลง
• ผู ้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับปั ้นจัน่ ยกของพลัดตกลงมาถึงแก่ชีวิต
• ปั ้ นจั่นล้ มลงมาทั บ ตั วบุ คคลที่ป ฏิ บัติงานอยู ่นัน้ เสี ยชี วิตไปก็มีอยู ่ บ้า ง
เช่ นกัน
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง : Tower crane
การป้ องกัน
• ผู ้บังคับปั ้นจัน่ ต้องรายงานทันทีท่ีพบข้อบกพร่อง เพื่อให้วิศวกรที่เกี่ยวข้อง
ดําเนินการตรวจสอบและแก้ไข
• ขณะที่ปั้นจั่นเคลื่อนที่จะต้องยึดนํา้ หนักบรรทุกที่แขวนไว้กับตัวปั ้นจั่นให้แน่น
เพื่อป้ องกันมิให้แกว่งได้
• จะต้องไม่ใช้ ลวดสลิงยาวกว่ากําหนดที่ผู้ผลิตกําหนดไว้เพราะจะทําพันไขว้
พันกันและชํารุ ดเสียหาย
• ควรตรวจสอบพืน้ ที่บริเวณที่จะเคลื่อนปั ้นจั่นเข้าไปทํางาน ถ้าเป็นบริเวณ
ดินอ่อนอาจใช้ วิธีบดอัดให้แน่น
• ตรวจสอบโดยวิศวกรเครื่องกล ระดับสามัญ
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง : ลิฟต์

• ลิฟต์ท่ีใช้ ในงานก่อสร้าง ควรแบ่งเป็นลิฟต์สําหรับขนส่งวัสดุ


และลิฟต์ท่ใี ช้ สําหรับคนงาน
• อันตรายที่เกิดส่วนใหญ่มาจากการบรรทุกนํา้ หนักที่มากเกิน
อัตราที่จะรับได้ ขาดการดูแลเอาใจใส่กับสภาพของชิ ้นส่วน
และอุ ปกรณ์ ข องตั ว ลิ ฟ ต์ เช่ น น๊ อ ตยึ ด ตามข้ อ ต่ อ ต่ า งๆ
ของโครงลิฟต์ ลวดสลิงฉุดดึงกระบะลิฟต์ รวมทัง้ ความ
ประมาทของผู ้ขับลิฟต์
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง : ลิฟต์

ลิ ฟ ต์ เ ขตก่ อ สร้ า ง ในนครอู ่ ฮัน่ ที่ เ กิ ด


อุ บั ติเ หตุ หล่ น ลงมาจากตึ กชัน้ ที่ 34
เนื่ อ งจากสลิ งขาด ทํ า ให้ มี ผู้เ สี ยชี วิ ต
19 คน โดยชัน้ ล่างของตึกฯที่เกิดอุ บัติ
ลิ ฟ ต์ นี้ มี ป้ ายใหญ่ เ ขี ย นข้ อ ความ
“เส้นทางปลอดภัย”

กราฟิ กแสดงโครงสร้างลิฟต์
ที่ตกลงมา
ข้อบังคับลิฟต์ขนส่ง
• หอและฐานลิฟต์รับนํา้ หนัก 2 เท่า
• มีป้ายพิกัดนํา้ หนักบรรทุก
• ห้ามพนักงานโดยสาร
• ผู ้บังคับลิฟต์ผ่านการอบรม
• ตรวจสอบทุกวัน
• ออกแบบโดยวิศวกรโยธา
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง : ลิฟต์
ข้อแนะนํา
ก) ตัวหอลิฟต์ท่จี ะต้องยึดโยงให้แข็งแรงกับตัวอาคาร
ข) ลิฟต์จะต้องมีความแข็งแรงพอที่จะรับนํา้ หนักของรอก
นํา้ หนักห้องบรรทุกหรือกระบะ
ค) ควรสร้างเป็นส่วนๆ โดยการสร้างส่วนล่างสูงพอเหมาะ
กับการใช้ งาน เมื่อสร้างอาคารสูงขึ้นจึ งค่อ ยสร้ างหอ
ลิฟต์ให้สูงตาม
ง) ทางเดิ น ซึ่ ง เชื่ อ มระหว่ า งอาคารที่ กํ า ลั ง ก่ อ สร้ า งกั บ หอ
ลิฟต์ควรสร้างราวกัน้ หรือขอบกันตก ฯลฯ
ความปลอดภัยสําหรับโครงสร้างชัว่ คราว
นั่ง ร้ า น หมายถึ ง ที่ ป ฏิ บั ติ ง านซึ่ ง จั ด ไว้ สู ง จากพื้น ดิ น
หรือสูงจากส่วนของอาคารหรือส่วน ของงานก่อสร้าง
สําหรับเป็นที่รองรับผู ้ปฏิบัติงานหรือวัสดุในงานก่อสร้าง
หรืองานซ่ อมบํารุ ง เป็นการชัว่ คราว ตัวอย่างชนิดของนัง่ ร้านที่ใช้ ในงานก่อสร้าง
• นัง่ ร้านไม้ไผ่ (Bamboo Scaffolds)
• นัง่ ร้านแบบเสาเรียงเดี่ยว (Single Pole Scaffolds)
• นัง่ ร้านแบบใช้ ท่อเหล็กหรือนัง่ ร้านสําเร็จรูป
(Prefabricated Scaffolds)
• นัง่ ร้านแบบแขวน (Suspended Scaffolds)
• นัง่ ร้านชนิดเคลื่อนที่ได้ (Movable Scaffolds)
ความปลอดภัยสําหรับโครงสร้างชัว่ คราว : การพังของนัง่ ร้าน
อันตรายจากนัง่ ร้าน มักจะพบเสมอในหน่วยงานก่อสร้าง เพราะมีการใช้ งานตลอดเวลา ตัง้ แต่
เริม่ ต้นจนสิน้ สุด อันตรายที่มักเกิดขึน้ กับผู ้ปฏิบัติงานในการใช้ นัง่ ร้าน ได้แก่

1. การพังของนัง่ ร้าน เป็นสาเหตุท่ีทําให้คนได้รับอันตรายอย่างมาก การพังของ


นัง่ ร้านมีสาเหตุมากมาย เช่ น
รับนํา้ หนักบรรทุกมากเกินไป เป็นเพราะคนงานขึน้ ไปมากเกินไป หรือกองวัสดุไว้มากเกิน
ความจําเป็น
วัสดุนํามาใช้ ไม่สมบู รณ์ เช่ น ใช้ ไม้เก่าจนเนือ้ ไม่ยุ่ย หรือเป็นเหล็กที่คดงอเป็นสนิม
การประกอบหรือติดตัง้ ไม่ถกู ต้องหรือนัง่ ร้านเหล็กใช้สว่ นประกอบไม่ครบ
ฐานของนัง่ ร้านไม่แข็งแรงมัน่ คง วางบนดินอ่อน บนเศษไม้ผุ หรือวัสดุที่ไม่แข็งแรง
พอที่จะรับนํา้ หนักวัสดุได้
จากการทํางานไม่ถูกวิธี เช่ น การเทพืน้ คอนกรีต โดยใช้ ปัม๊ คอนกรีตจะไม่ไหลตามท่อและ
จะสุมเป็นกอง ทําให้คาํ ้ ยันบริเวณนัน้ รับนํา้ หนักเกินกว่าที่ออกแบบไว้ เป็นสาเหตุให้คาํ ้ ยัน
พังทลาย
ความปลอดภัยสําหรับโครงสร้างชัว่ คราว : การพังของนัง่ ร้าน

2. คนงานตกลงมาจากนัง่ ร้าน ซึ่ งโดยมากเกิดจากความประมาทและ


ขาดอุ ปกรณ์ป้องกันที่ถูกต้อง

3. การพังทลายของนัง่ ร้านตกลงมาโดนอาคารที่อยู ่รอบข้าง

4. คนงานได้รับอันตรายจากการเดินผ่านนัง่ ร้าน ทําให้ได้รับบาดเจ็บได้


ข้อบังคับนัง่ ร้านก่อสร้าง
• ทํางานสูง 2 เมตร มีนัง่ ร้าน
• รับนํา้ หนักได้เกินกว่า 2 เท่า
• ราวกันตกสูง 90 – 110 ซม.
• พืน้ ทางเดินกว้าง 35 ซม.
• ปิ ดคลุมป้ องกันวัสดุตก
• ห้ามทํางานขณะพายุ ฟ้ าคะนอง
• สวมใส่อุปกรณ์ป้องกัน
การป้ องกันและควบคุมอันตราย
จากสิง่ แวดล้อมในการทํางาน

มีหลักการ 3 ข้อ คือ

ป้ องกันที่แหล่งกําเนิด

ทางผ่าน

บุ คคล
การป้ องกันอันตรายจากเสียง

เสียงดังเกิน 85 เดซิเบล (เอ)

อันตราย การป้ องกัน

- หูเสีย - การบํารุ งรักษา


- ขาดสมาธิ - วัสดุดูดซับเสียง แหล่งกําเนิด
- ความเครียด - ครอบปิ ด
- ความดันเลือด - กัน้ ทางผ่าน (ทางผ่าน)
- การย่อยอาหาร - สวมใส่ท่ปี ้ องกัน (บุ คคล)
- การสื่อสาร

* เสียงดังเกิน 140 เดซิเบล (ซี) ห้ามทํางาน*


การป้ องกันอันตรายจากความร้อน

ความร้อนและอุ ณหภูมิสูง

อันตราย การป้ องกัน

- ร่างกายขาดนํา้ - ฉนวนหุ้ม (แหล่งกําเนิด)


- ตะคริว -กัน้ ทางผ่าน
ทางผ่าน
- อ่อนเพลีย - แยกแผนก
- เป็นลม - สวมเครื่องป้ องกัน
บุ คคล
- ติดเชื้อทางหายใจ - ควบคุมเวลา
การป้ องกันอันตรายจากรังสี

อันตรายจากรังสีท่ีไม่ก่อไอออน
• ที่สําคัญคือรังสีอุลตร้าไวโอเลต และอินฟราเรด (UV และ Infrared) ซึ่ง
ทําลายผิวและดวงตา ส่วนใหญ่จะพบในงานเชื่อมโลหะ หลอมโลหะ และงาน
กลางแจ้ง
การป้ องกัน
• กัน้ รังสีท่ีแหล่งกําเนิด
• ใช้ ฉากกัน้ ทางผ่าน
• ใช้ อุปกรณ์ป้องกันตาและหน้าที่เหมาะสม (บุ คคล)
การป้ องกันอันตรายจากรังสี

อันตรายจากรังสีท่ีก่อไอออน
• เกิดความผิดปกติของเซลและอันตรายต่อระบบอวัยวะต่าง ๆ
• เกิดความผิดปกติทางพันธุ กรรม
• ผลกระทบในการเกิดมะเร็ง
การป้ องกัน
• กําหนดพืน้ ที่ควบคุมบริเวณที่มีอันตรายจากการใช้ รังสี
• มีการติดเครื่องหมาย สัญลักษณ์ ป้ ายเตือนอันตราย
• กําหนดวิธีการและระยะเวลาในการทํางาน
• ห้ามหญิงมีครรภ์เข้าไปในพืน้ ที่ควบคุม
• มีแผนป้ องกันและระงับอันตรายจากรังสีในภาวะปกติและในภาวะฉุกเฉิน พร้อมมีการฝึ กซ้ อม
• จัดอุ ปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุ คคลคามสภาพและลักษณะงาน
• จัดให้มีกฎ ระเบียบ ว่าด้วยความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับรังสี
การป้ องกันอันตรายจากสารเคมี

ของแข็ง

ของเหลว
ลักษณะ
แก๊ส
สารเคมี
การหายใจ
เข้าสู่
ผิวหนัง
ร่างกาย
ทางปาก
การป้ องกันอันตรายจากสารเคมี
ปิ ดคลุม
ระบบเปี ยก
แหล่งกําเนิด ระบายอากาศเฉพาะที่

ป้ องกัน แยกออก

อันตราย ทางผ่าน ปิ ดกัน้


ระบายอากาศโดยรวม
จากสารเคมี
ป้ องกันไม่ให้เข้า
บุ คคล
สุขอนามัย
ขจัดออก
การป้ องกันอันตรายจากการเคลื่อนย้ายและจัดเก็บวัสดุ

สาเหตุของการบาดเจ็บ
• การยกผิดท่า
• นํา้ หนักมากเกินไป
• การถือที่ไม่ถูกต้อง
• ไม่สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุ คคล
• เช่ น รองเท้า ถุงมือ เป็นต้น

การป้ องกัน
ต้องมีการฝึ กอบรมการยกอย่างถูกวิธี พร้อมจัดหาอุ ปกรณ์
สวมใส่ท่ีเหมาะสม
การขนย้ายวัสดุด้วยเครื่องมือหรืออุ ปกรณ์ (ตัวอย่าง)
ชะแลง
ปั ้นจัน่

ล้อเลื่อน

พาเลทชนิดแม่แรง รถเข็น
ตะขอ

รถโฟล์คลิฟท์
พลัว่

สายพานลําเลียง
ปั จจัยเสี่ยงอื่น ๆ ทางด้านเออร์กอนอมิกส์
• พืน้ ที่การทํางาน
• สภาพแวดล้อมในการทํางาน
• ปั จจัยส่วนบุ คคล
การออกแบบเครื่องมือ/อุ ปกรณ์
การออกแบบสถานีงาน
อุ ปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุ คคล
(Personal Protective Equipment)

ใช้ สวมใส่ลงบนส่วนหนึ่งส่วนใด
หรื อ หลายส่ ว นเพื่ อ ป้ องกั น
หรือลดความรุ นแรงของการ
ประสบอัตราย
Thank you.

You might also like