You are on page 1of 28

รายงาน

วิชา งานช่าง (รหัสวิชา ง 22101)

จัดทำโดย
ด.ญ.อาทิตยา บุญรัตน์
ชั้น ม.2/8 เลขที่47

เสนอ
อ.สมหมาย จันทร์งาม

รายงานฉบับนี้ เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา งานช่าง( รหัสวิชา ง 22101)


ประจำภาคเรี ยนที่2/2564 โรงเรี ยนหาดใหญ่วิทยาลัย จ.สงขลา

คำนำ\

รายงานฉบับนี้ เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชางานช่าง ( รหัสวิชา ง 22101 ) โดยมีจุดประสงค์ เพื่อการศึกษาความรู ้


ซึ่ งรายงานนี้ มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้ดา้ นอาชีพช่าง เช่น ช่างยนต์ ช่างกล ช่างไฟฟ้ า
ผูจ้ ดั ทำหวังว่า  รายงานเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์กบั ผูท้ ี่ก ำลังหาข้อมูลเรื่ องนี้ อยู่ หากมีขอ้ แนะนำหรื อ ข้อ
ผิดพลาดประการใด ผูจ้ ดั ทำขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่น้ ี ดว้ ย

สารบัญ
ช่างยนต์……………………………………………………………………………………………………...1
ช่างไฟฟ้ า……………………………………………………………………………………………...…….5
ช่างกล……………………………………………………………………………………………………....9
ช่างไม้………………………………………………………………………………………………………18
ช่างแกะสลัก………………………………………………………………………………………………..21
ช่างเขียน……………………………………………………………………………………………………24
บรรณานุกรม……………………………………………………………………………………………….27

1
ช่ างยนต์
ความสำคัญ
ช่างยนต์ คือ อาชีพที่เกี่ยวข้องกับเครื่ องยนต์ เช่น  
ระบบการทำงานเครื่ องยนต์
การซ่อมบำรุ ง
การเปลี่ยนอุปกรณ์
การบำรุ งรักษาเครื่ องยนต์
และการให้ค ำปรึ กษาเกี่ยวกับการดูแลรักษาเครื่ องยนต์ เป็ นต้น

2
ลักษณะหน้ าที่
เป็ นงานที่ตอ้ งอาศัยความรู้ ความสามารถในการซ่อมแซมและบำรุ งรักษายานยนต์ ดังนั้น จึงต้องมีการ
เรี ยนรู ้ในเรื่ องของเครื่ องยนต์เป็ นหลัก ในปัจจุบนั ยานยนต์ที่นิยมใช้ได้แก่ รถยนต์ รถจักรยานยนต์ ซึ่ งจะมี
ค่าใช้จ่ายในการใช้งานและการดูแลรักษามาก การยืดอายุการใช้งาน การดูแลตรวจเช็คจะช่วยลดค่าใช้จ่าย
และอุบตั ิเหตุจากการใช้งานของเครื่ องยนต์ได้
สาขาวิชาช่างยนต์ คือ สาขาวิชาที่เรี ยนเกี่ยวกับการบำรุ งรักษารถยนต์ เช่น การบำรุ งรักษาระบบเครื่ องยนต์
ระบบเครื่ องล่างรถยนต์ ระบบส่ งกำลังรถยนต์ ระบบไฟฟ้ าและระบบปรับอากาศรถยนต์ เป็ นต้น รวมไปถึง
รถจักรยานยนต์และเครื่ องยนต์ต่างๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวันหรื อใช้ในการเกษตร การเรี ยนในสาขาวิชาช่าง
ยนต์น้ นั จะเน้นการฝึ กปฏิบตั ิและทฤษฎีควบคู่กนั เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีทกั ษะในสายงานช่างยนต์

วัสดุอุปกรณ์
1 เลื่อย
เป็ นเครื่ องมือพื้นฐานมีหลายชนิด

วิธีใช้
วางไม้ส่วนที่ขีดเส้นนำสายตาให้ห่างจากขอบโต๊ะที่รอง ประมาณ 3 นิ้ว เพื่อที่เวลาเลื่อยแล้วจะไม่เลื่อยไปติด
โต๊ะที่รอง

 ใช้นิ้วหัวแม่มือข้างที่ไม่ได้จบั เลื่อย ช่วยประคองนำใบเลื่อย เพื่อให้ใบเลื่อยนิ่ง ไม่ส่าย หรื อพลิกไปมา เมื่อ


เลื่อยไม้เข้าไปจนลึกในระดับหนึ่งแล้ว ก็สามารถเอานิ้วที่ใช้ประคองออกได้
3
2 ประแจ
ประแจแหวนเป็ นเครื่ องมือที่ดีมาก สามารถประกบน็อตได้ทุกด้าน ซึ่ งจะลดการลื่นไถลที่จะทำให้หวั น็อต
เสี ยหาย

วิธีใช้
สวมใส่ ประแจเข้ากับหัวน็อต หรื อหัวสกรู แล้ว ปากของประแจต้องแน่นพอดี และคลุมเต็มหัวน็อต การจับ
ประแจสำหรับผูถ้ นัดมือขวา ให้ใช้มือขวาจับปลายประแจ ส่ วนมือซ้ายหาที่ยดึ ให้มนั่ คง ร่ างกายต้องอยูใ่ น
สภาพมัน่ คง และสมดุล

4
กฎความปลอดภัย 
ในการปฏิบตั ิงานในงานช่างสิ่ งสำคัญอีกสิ่ งหนึ่งที่ตอ้ งนึกถึงอยูเ่ สมอนัน่ ก็คือ
ความปลอดภัยในขณะปฏิบตั ิงาน (Safety First) ถึงแม้วา่ มีความระมัดระวังสักเพียงใด
อุบตั ิเหตุกม็ กั เกิดขึ้นได้ตลอดเวลาในการเรี ยนภาคปฏิบตั ิวิชางานช่างจึงควรมีการส่ งเสริ ม
ระบบการทำงานให้ถูกต้องตามกระบวนการและทักษะทางด้านงานช่างต่างๆ
ตระหนักถึงเรื่ องการป้ องกันอุบตั ิเหตุจากการทำงาน รวมไปถึงการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เพื่อเป็ นการสร้างนิสยั แห่งการรักษาความปลอดภัย (Safety Habit) แก่นกั เรี ยนทุกคน
หรื ออาจเกิดอันตรายแก่ร่างกายถึงพิการหรื อเสี ยชีวิตได้ หากทุกคนรู ้จกั วิธีการทำงาน
วิธีใช้เครื่ องมือและวัสดุอุปกรณ์ดว้ ยความถูกต้อง เหมาะสมกับงาน
และไม่ประมาทจะช่วยลดปัญหาการเกิดอุบตั ิเหตุได้เป็ นอย่างดี
เพราะเครื่ องมือทุกชนิดถึงแม้จะออกแบบมาอย่างเหมาะสม
แต่กอ็ าจมีอุบตั ิเหตุที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นได้เสมอ
เพราะฉะนั้นในการปฏิบตั ิงานให้เกิดความปลอดภัยสู งสุ ด
ควรปฏิบตั ิตามหลักความปลอดภัย และดูแลความเรี ยบร้อยของโต๊ะปฏิบตั ิงานทุกครั้ งหลังเลิกใช้งาน

5
ช่ างไฟฟ้ า

ความสำคัญ
ช่างไฟฟ้ า เป็ นคนที่มีอาชีพที่ตอ้ งใช้ฝีมือที่เชี่ยวชาญในการเดินสายไฟฟ้ าของอาคาร, สายส่ ง, เครื่ องจักรที่
อยูก่ บั ที่ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ช่างไฟฟ้ าอาจได้รับการว่าจ้างในการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ าใหม่ หรื อการบำรุ ง
รักษาและการซ่อมแซมโครงสร้างพื้นฐานไฟฟ้ าที่มีอยู[1]่  ช่างไฟฟ้ าอาจเชี่ยวชาญในการเดินสายไฟเรื อ เครื่ อง
บิน และแพลตฟอร์มมือถืออื่น ๆ รวมถึงสายข้อมูลและสายเคเบิล

ลักษณะหน้ าที่
ทำงานทางเทคนิคภายใต้การแนะนำ  และการควบคุมของวิศวกรไฟฟ้ า  และอิเล็กทรอนิกส์  โดยใช้ทฤษฎี
อิเล็กทรอนิกส์หลักของวงจรไฟฟ้ า วิธีการทดสอบ   ไฟฟ้ า คณิ ตศาสตร์ทางวิศวกรรมและวิชาการที่
เกี่ยวข้องกันมาใช้ในการผลิตการ  ก่อสร้าง  การติดตั้ง    การทดสอบ    การใช้   และการบำรุ งรักษา  การ
พัฒนา  การแก้ไข เปลี่ยนแปลง   การซ่อมระบบอิเล็กทรอนิกส์  อุปกรณ์  และ ส่ วนประกอบต่างๆทำงานติด
ตั้ง ซ่อมบำรุ ง ควบคุมการทำงานของระบบไฟฟ้ า เครื่ องใช้ไฟฟ้ า หม้อแปลงไฟฟ้ า เครื่ องกลไฟฟ้ า  เครื่ อง
ทำความเย็น  และเครื่ องปรับอากาศภายในอาคาร  และในงานอุตสาหกรรมช่างเทคนิคไฟฟ้ าจะปฏิบตั ิงาน
ในลักษณะผูค้ วบคุมงาน  ผูช้ ่วยวิศวกร  ในการออกแบบ เขียนแบบติดตั้งและซ่อมบำรุ งระบบไฟฟ้ าแสง
สว่าง  ระบบไฟฟ้ าทั้งภายในและ   ภายนอกอาคาร ระบบไฟฟ้ าในงานอุตสาหกรรม อาจควบคุมช่างและคน
งานที่ท ำงานเกี่ยวกับการสร้าง  การติดตั้ง  และการซ่อมระบบหรื ออุปกรณ์ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์
วิศวกรไฟฟ้ าคือผูท้ ี่ประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิ ตศาสตร์ เพื่อแก้ปัญหาทางวิศวกรรม
ไฟฟ้ าอย่างสมเหตุสมผลทางเศรษฐศาสตร์ งานของวิศวกรไฟฟ้ าจึงเกี่ยวข้องกับการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีใหม่ ๆ และเชื่อมโยงกับการประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมนอกจากนี้ งานของ
วิศวกรไฟฟ้ ายังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการออกแบบ วิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ รวมทั้งการทดสอบ
ผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน งานของวิศวกรรมไฟฟ้ ายังมีโอกาสเกี่ยวข้องกับโรงงานอุตสาหกรรมในการดูแล
ระบบไฟฟ้ าและกระบวนการผลิต ซึ่ งต้องใช้การวิเคราะห์ท้ งั ทางด้านวิศวกรรม การวิเคราะห์ทาง
เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม
6
วัสดุอุปกรณ์
1 ค้อน
เป็ นเครื่ องมือที่ใช้ตอกตะปู ซึ่ งต้องเป็ นค้อนหน้าแข็ง

วิธีใช้
วางหน้าค้อนลงบนหัวตะปูที่จะตอก ยกค้อนสู งประมาณระดับไหล่ในการตอก

2 สว่าน
เป็ นเครื่ องมือที่ใช้เจาะรู ขนาดต่างๆ
วิธีใช้
ออกแรงกดให้สมั พันธ์กบั การหมุน เพื่อความปลอดภัยของผูใ้ ช้งาน ในการเจาะชิ ้นงานให้ทะลุทุกประเภท
จะต้องมีวสั ดุรองรับชิ้นงาน
7

กฎ

ความ

ปลอดภัย 
      1.
อย่าใช้สวิทช์ปิด-เปิ ด
ไฟฟ้ าบน
เตียงนอน
เพราะอาจพลิกตัวนอนทับแตก จะถูกไฟฟ้ าดูดได้
      2. อย่าเปิ ดวิทยุหรื อใช้ไฟฟ้ าในห้องน้ำที่ช้ืนแฉะ ถ้ากระแสไฟฟ้ ารั่วอาจเป็ นอันตรายถึงชีวิตได้
      3. อุปกรณ์ไฟฟ้ าที่แตกชำรุ ด ควรซ่อมแซมหรื อเปลี่ยนให้เรี ยบร้อย
      4. อย่าใช้ขอ้ ต่อแยก เสี ยบปลัก๊ หลายทาง เป็ นการใช้กระแสไฟเกินกำลัง อาจทำให้สายร้อนและเกิดไฟ
ไหม้ได้
      5. อย่าใช้วสั ดุอื่นแทนฟิ วส์ หรื อใช้ฟิวส์เกินขนาด
      6. อย่าปล่อยให้สายเครื่ องไฟฟ้ า เช่น พัดลม ลอดใต้เสื่ อหรื อพรม เปลือกหุม้ หรื อฉนวนอาจแตกเกิด
ไฟช๊อตได้ง่าย
      7. อย่าเดินสายไฟชัว่ คราวอย่างลวก ๆ อาจเกิดอันตรายได้
      8. อย่าแก้ไฟฟ้ าเองโดยไม่มีความรู้

8
      9. อย่าเดินสายไฟติดรั้วสังกะสี หรื อเหล็กโดยไม่ใช้วิธีร้อยในท่อ ไฟฟ้ าอาจรั่วเป็ นอันตรายได้
10. อย่าปล่อยให้เครื่ องใช้ไฟฟ้ าเปี ยกน้ำ เพราะน้ำจะเป็ นสะพานให้ไฟฟ้ ารั่วไหลออกมาได้
    11. อย่าใช้เครื่ องมือไฟฟ้ าที่ไม่มีฉนวนหุม้ เป็ นที่จบั เช่น ไขควง หัวแร้ง เครื่ องวัดไฟฟ้ า ฯลฯ
    12. อย่านำเครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่ใช้กระแสตรงไปใช้กบั ไฟกระแสสลับ ควรตรวจสอบให้ดีเสี ยก่อน
    13. สวิทช์และสะพานไฟ (Cut Out) ทุกแห่งต้องปิ ด-เปิ ดได้สะดวก
    14. อย่ายืนบนพื้นคอนกรี ตด้วยเท้าเปล่าขณะปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับไฟฟ้ า ควรใช้ผา้ ยางหรื อสวมใส่ รองเท้า
9
ช่ างกล

ความสำคัญ
 เป็ นวิชาเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้คณิ ตศาสตร์ และกฎทางฟิ สิ กส์เพื่อการประดิษฐ์ การผลิต และการ
ดูแลรักษาระบบเชิงกล วิศวกรรมเครื่ องกลเป็ นหนึ่งในสาขาทางวิศวกรรมที่เก่าแก่ที่สุดและมีขอบข่ายกว้าง
ขวางที่สุด
การศึกษาวิศวกรรมเครื่ องกลนั้นจำเป็ นต้องมีความเข้าใจในหลักการพื้นฐานของหลักกลศาสตร์  พลศ
าสตร์ อุณหพลศาสตร์  กลศาสตร์ของไหลและพลังงานเป็ นอย่างดี วิศวกรเครื่ องกลนั้นสามารถใช้หลักการณ์
พื้นฐานได้ดีพอกับความรู้อื่น ๆ ในงานภาคสนามเพื่อการออกแบบและวิเคราะห์ยานยนต์ อากาศยาน ระบบ
ทำความร้อนและความเย็น เรื อ ระบบการผลิต จักรกลและอุปกรณ์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์และอุปกรณ์
ทางการแพทย์ เป็ นต้น

เครื่ องกลไฟฟ้ าเป็ นศาสตร์ผสมระหว่างวิศวกรรมเครื่ องกล, วิศวกรรมไฟฟ้ าและวิศวกรรมซอฟต์แวร์  


ซึ่ งพิจารณาได้วา่ การผสมผสานความรู้ทางไฟฟ้ าและเครื่ องกลนั้นเป็ นระบบผสม (Hybrid system) ดังนั้น
เครื่ องยนต์จะสามารถเคลื่อนไหวได้ดว้ ยตัวเองจากการใช้มอเตอร์ไฟฟ้ า, กลไกเซอร์โว หรื ออุปกรณ์ทาง
ไฟฟ้ าอื่น ๆ ภายใต้การควบคุมของโปรแกรมพิเศษ ตัวอย่างง่าย ๆ ของเครื่ องกลไฟฟ้ าคือเครื่ องอ่านซี ดีรอม
โดยระบบเชิงกลนั้นคือระบบชักถาดซีดีเข้า/ออก, การหมุนแผ่นซี ดี และกลไกขยับหัวอ่านเลเซอร์ โดยที่
ระบบทางไฟฟ้ าจะทำการอ่านข้อมูลและแปลงสัญญาณ ส่ วนซอฟต์แวร์ท ำหน้าที่ควบคุมกระบวนการและ
สื่ อสารระหว่างซีดีกบั คอมพิวเตอร์
สำหรับวิศวกรรมหุ่นยนต์น้ นั เป็ นการประยุกต์ใช้เครื่ องกลไฟฟ้ าเพื่อการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่ งส่ วนมากจะ
ใช้ปฏิบตั ิงานที่อนั ตราย, ไม่พึงประสงค์ หรื องานซ้ำซากสำหรับมนุษย์ หุ่นยนต์เหล่านี้จะมีรูปร่ างหรื อขนาด
อย่างไรก็ได้ แต่พวกมันล้วนถูกโปรแกรมและสามารถตอบสนองทางกายภาพต่อสิ่ งเร้าได้ เพื่อการสร้างหุ่น
ยนต์ วิศวกรจะใช้คิเนมาติกส์เพื่อออกแบบขอบเขตการเคลื่อนไหว และกลศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ ความเค้นใน
หุ่นยนต์
หุ่นยนต์ถูกใช้มากในอุตสาหกรรม ซึ่ งทำให้ตน้ ทุนแรงงานต่ำลง สามารถทำให้ผปู ้ ระกอบการทำงาน
ที่อนั ตรายเกินไป หรื อซ้ำซากเกินไปสำหรับมนุษย์ได้อย่างคุม้ ค่าและสามารถรับประกันคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์ได้ หลาย ๆ บรรษัทอาจจะใช้หุ่นยนต์ในขั้นตอนการประกอบชิ้นส่ วน และบางโรงงานใช้หุ่นยนต์
10
ในการทำงานทั้งหมดจนไม่ตอ้ งใช้มนุษย์ในการทำงาน และนอกจากในโรงงานแล้ว หุ่นยนต์อาจจะ
ถูกใช้ในการกูร้ ะเบิด, การสำรวจอวกาศ หรื องานอื่น ๆ นอกจากนี้ หุ่นยนต์กส็ ามารถทำงานบ้านได้

ลักษณะหน้ าที่
ซ่อมเครื่ องจักรและอุปกรณ์เพื่อให้คงอยูใ่ นสภาพที่ท ำงานได้ งานเกี่ยวกับการติดตั้งซ่อม บำรุ งรักษาเครื่ อง
มือ เครื่ องจักร และอุปกรณ์ในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่ งประกอบด้วยงานควบคุมระบบการบำรุ งรักษาเชิง
ป้ องกัน งานตรวจสอบค้นหาข้อบกพร่ องของเครื่ องจักรกล งานถอดประกอบชิ้นส่ วนเครื่ องจักรกล
อาชีพช่างเทคนิคเครื่ องกล ได้จดั ระดับงานเป็ น 2 ระดับ ดังนี้
งานระดับช่ างฝี มือ ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการอ่านแบบ   เขียนแบบเครื่ องกล   แบบโครงสร้างผังโรงงาน งาน
เขียนแบบสัง่ งานและกำหนดขนาดงานซ่อม และสร้างชิ้นส่ วนเครื่ องมือกลตามแบบที่ก ำหนด โดยการ
ทำงานตั้งแต่การร่ างแบบการเจาะ การคว้าน การกลึงการไส  การกัด   การเจียระไนราบ  การเจียระไนกลม
การประกอบปรับฟิ ตชิ้นส่ วนเครื่ องกลตามคู่มือ   ติดตั้ง บำรุ งรักษาเครื่ องมือ เครื่ องจักร  ตรวจสอบค้นหาข้อ
บกพร่ องของเครื่ องจักรชนิดต่างๆ  ซ่อมสร้างชิ้นส่ วนที่ช ำรุ ดด้วยเครื่ องมือกล
งานระดับช่ างเทคนิค ปฏิบตั ิงานในลักษณะผูค้ วบคุมงาน  ผูช้ ่วยวิศวกร  หรื อทำงานภายใต้การแนะนำของ
วิศวกรเป็ นงานเกี่ยวกับการออกแบบเขียนแบบ การสร้าง  หรื อซ่อมชิ้นส่ วนและเครื่ องมือแม่พิมพ์ตดั แม่
พิมพ์ข้ ึนรู ปแม่พิมพ์พลาสติก อุปกรณ์จบั ยึดอุปกรณ์จบั เจาะด้วยวิธีการเจาะ คว้าน  กลึง  ไส   กัด เจียระไน
ด้วยเครื่ องมือกลอัตโนมัติหรื อเครื่ องมือกลซี เอ็นซี  การทำงานในห้องทดลองหรื อห้องตรวจสอบวัสดุการ
วางแผน การวางระบบบำรุ งรักษาเชิงป้ องกันและระบบการซ่อมแซมเครื่ องจักรที่เสี ยหาย ตรวจสอบ ค้นหา
วิเคราะห์ขอ้ บกพร่ องเครื่ องจักรกลชนิดต่างๆ

วัสดุอุปกรณ์
1 ไขควงไร้สาย
งานไขตะปูเกลียวปล่อย

11
วิธีใช้
ใช้แทนสว่านได้ใช้กบั แบตเตอร์รี่ จะมีถ่านสำรองให้เพื่อชาร์ทเตรี ยมไว้ อาจไม่สะดวกเท่าไฟฟ้ าหรื อลม
แต่กรณี ที่ท ำงานในจุดที่ไฟฟ้ าไม่มีหรื อต้องการความสะดวก คล่องตัวนั้น สว่านไร้สายก็เหมาะเช่นกัน
2 เครื่ องตัดองศา
เลื่อยวงเดือนชนิดติดตั้งบนแท่นตัดกลมเหมาะกับการตัดไม้ขวางเสี้ ยน สามารถปรับเอียงได้ 45-90 องศา

วิธีใช้
ดึงเลื่อยลงมาช้าๆ จนถึงไม้ ถ้าเลื่อยเป็ นแบบที่มีแขนสำหรับเลื่อน ให้เลื่อนมาข้างหน้าจนสุ ดก่อนที่
จะหมุนลงมา กดใบเลื่อยผ่านลงไปในไม้ แล้วผลักกลับขึ้นด้านบนอย่างช้าๆ ปล่อยไก เพื่อให้มอเตอร์หยุด
ทำงาน – รอจนใบเลื่อยหยุดหมุน ปล่อยไม้ที่จบั ไว้ และปล่อยที่จบั บนตัวเลื่อย แล้วนำชิ้นงานออกจากเลื่อย

12
กฎความปลอดภัย

ในการปฏิบตั ิงานในงานช่างสิ่ งสำคัญอีกสิ่ งหนึ่งที่ตอ้ งนึกถึงอยูเ่ สมอนัน่ ก็คือ


ความปลอดภัยในขณะปฏิบตั ิงาน (Safety First) ถึงแม้วา่ มีความระมัดระวังสักเพียงใด
อุบตั ิเหตุกม็ กั เกิดขึ้นได้ตลอดเวลาในการเรี ยนภาคปฏิบตั ิวิชางานช่างจึงควรมีการส่ งเสริ ม
ระบบการทำงานให้ถูกต้องตามกระบวนการและทักษะทางด้านงานช่างต่างๆ
ตระหนักถึงเรื่ องการป้ องกันอุบตั ิเหตุจากการทำงาน รวมไปถึงการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เพื่อเป็ นการสร้างนิสยั แห่งการรักษาความปลอดภัย (Safety Habit) แก่นกั เรี ยนทุกคน
หรื ออาจเกิดอันตรายแก่ร่างกายถึงพิการหรื อเสี ยชีวิตได้ หากทุกคนรู ้จกั วิธีการทำงาน

13
วิธีใช้เครื่ องมือและวัสดุอุปกรณ์ดว้ ยความถูกต้อง เหมาะสมกับงาน
และไม่ประมาทจะช่วยลดปัญหาการเกิดอุบตั ิเหตุได้เป็ นอย่างดี
เพราะเครื่ องมือทุกชนิดถึงแม้จะออกแบบมาอย่างเหมาะสม
แต่กอ็ าจมีอุบตั ิเหตุที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นได้เสมอ
เพราะฉะนั้นในการปฏิบตั ิงานให้เกิดความปลอดภัยสู งสุ ด
ควรปฏิบตั ิตามหลักความปลอดภัย และดูแลความเรี ยบร้อยของโต๊ะปฏิบตั ิงานทุกครั้ ง
• หลักความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงาน
ในการปฏิบตั ิงานนั้น ผูป้ ฏิบตั ิงานควรคำนึงถึงความปลอดภัยเป็ นอันดับแรก
เพราะถ้าประมาทจะทำให้เกิดความเสี ยหายทั้งร่ างการและทรัพย์สิน
• ความปลอดภัยทางด้ านร่ างกาย
การรักษาความปลอดภัยทางด้านร่ างกายมีหลักปฏิบตั ิ ดังนี้
1. ไม่ควรใช้กล้ามเนื้ อส่ วนหลักยกของหนัก ให้ใช้เฉพาะกล้ามเนื้ อขาและแขนเท่านั้น
ถ้าของหนักมากหรื อมีขนาดใหญ่ควรให้ผอู้ ื่นช่วยยกเสมอ
2. การทดสอบความคมของเครื่ องมือและอุปกรณ์ ควรใช้ไม้หรื อกระดาษเท่านั้น
ห้ามใช้มือสัมผัสความคม เพราะอาจเกิดอันตรายจากการบาดของมีคมได้
• ขณะเลื่อยไม้ควรควบคุมนิ้วหัวแม่มือ ให้มนั่ คง ไม่ลื่นไปมาเพราะหากพลาดเกิดอันตรายได้
• เมื่อใช้มีหรื อของมีคม จะต้องให้ดา้ นคมหันออกจากตัวเสมอ
• ไม่ควรนำเอาเครื่ องมือที่มีลกั ษณะแหลมคมใส่ ไว้ในกระเป๋ าเสื้ อหรื อกระเป๋ ากางเกง
• ขณะถือเครื่ องมือและวัสดุอุปกรณ์ที่มีปลายแหลมหรื อมีคม จะต้องให้ปลายของเครื่ องมือชี้ ลงสู่ พ้ืน และ
หันด้านคมออกจากตัวผูถ้ ือเสมอ
14
• ไม่ควรใช้ปากคาบตะปูเกลียวหรื อวัสดุที่ท ำด้วยโลหะขณะปฏิบตั ิงาน
• ไม่ควรโยนเครื่ องมือวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ให้เพื่อนร่ วมงาน
• ขณะใช้เครื่ องเจียระไนวัสดุต่างๆ ควรสมแว่นตาทุกครั้ง เพราะอาจมีสะเก็ดหรื อเศษเล็กเศษน้อยกระเด็น
เข้าตาได้
• ความปลอดภัยด้านการสวมใส่ เครื่ องแต่งกายให้เหมาะสม
เลิกใช้งาน
การสวมใส่ เครื่ องแต่งกายให้เหมาะสมกับการปฏิบตั ิงาน มีดงั นี้
• ขณะปฏิบตั ิงานไม่ควรสวมเครื่ องประดับต่างๆ เช่น แหวน นาฬิกา สร้อย เป็ นต้น
• ขณะปฏิบตั ิงานควรสวมเสื้ อผ้าที่รัดกุม และสวนผ้าปิ ดหน้าอกทุกครั้งขณะปฏิบตั ิงาน
• ขณะปฏิบตั ิงานในโรงงานควรสวมรองเท้าที่ใช้ส ำหรับปฏิบตั ิงานนั้นๆ ไม่ควรสวมรองเท้าแตะ
หรื อ รองเท้าฟองน้ำ เพื่อป้ องกันการเกิดอันตราย
• ความปลอดภัยด้ านการใช้ เครื่องมือ
การใช้เครื่ องมือต่างๆ ให้ปลอดภัยมีหลักปฏิบตั ิ ดังนี้
• ควรปฏิบตั ิตามคำแนะนำในการใช้เครื่ องมือชนิดนั้นๆ อย่างเคร่ งครัด
• เรี ยนรู ้วิธีการใช้เครื่ องมืออย่างถูกต้อง และใช้ให้เหมาะสมกับชนิดของงานที่ปฏิบตั ิเสมอ
• ควรจัดวางเครื่ องมือให้เป็ นระเบียบ อย่างมีระบบ ไม่วางระเกะระกะ เครื่ องมือที่มีคมไม่ควรวางให้คมของ
เครื่ องกระทบกัน
และหันคมออกจากผูป้ ฏิบตั ิงานเสมอ
• การใช้ไขควง เลือกไขควงที่ถูกต้องกับชนิดของงานและมีสภาพดีอยูเ่ สมอ เพื่อป้ องกันการพลาดขณะขัน
ตะปูเกลียว

15
• ด้ามของเครื่ องมือต่างๆ เช่น ด้ามค้อน ด้ามมี ด้ามสิ่ ว ต้องได้รับการตรวจสอบให้อยูใ่ นสภาพดีและติดแน่น
อยูก่ บั ตัวเครื่ องมือเสมอ
• ใช้เครื่ องมือให้ถูกกับลักษณะของงาน เพราะการใช้เครื่ องมือผิดวัตถุประสงค์อาจก่อให้เกิดความเสี ยหาย
และเป็ นอันตรายได้
• จัดเก็บและตรวจสภาพเครื่ องมืออยูเ่ สมอ หากพบเครื่ องมือที่ช ำรุ ด ควรนำไปซ่อมแซมก่อนนำมาใช้งาน
• ทุกครั้งหลังปฏิบตั ิงานต้องทำความสะอาดและบำรุ งรักษาเครื่ องมือวัสดุอุปกรณ์
และเก็บเข้าที่ให้เป็ นระเบียบอย่างมีระบบอยูเ่ สมอ
• ความปลอดภัยด้านการใช้วสั ดุหรื อชิ้นงานต่างๆหรื อแยกออกไป เพื่อป้ องกันอันตรายจากการใช้เครื่ องมือ
ที่มีความบกพร่ อง
การใช้วสั ดุหรื อชิ้นงานต่างๆ อย่างปลอดภัยมีหลักปฏิบตั ิ ดังนี้
• ยึดวัสดุหรื อชิ้นงานต่างๆ ให้แน่นอยูเ่ สมอเพื่อความปลอดภัยขณะปฏิบตั ิงาน
• เศษวัสดุหรื อเศษไม้ต่างๆ ให้ทิ้งลงถังขยะให้เรี ยบร้อย ไม่ควรทิ้งไว้บริ เวณพื้นโรงงาน หรื อห้องปฏิบตั ิงาน
• วัสดุที่เป็ นเชื้อเพลิงต้องเก็บรักษาอย่างมิดชิด ภายในถังที่มีฝาปิ ดและจะต้องอยูใ่ นที่ที่ปลอดภัย
• เศษผ้าที่เปื้ อนน้ำมัน หรื อเศษผ้าที่ใช้กบั งานตกแต่งผิวชิ้นงานเสร็ จแล้ว ควรทำลายหลังเลิกงาน
หรื อเก็บอย่างมิดชิดภายในถังขยะที่มีฝาปิ ด
ความปลอดภัยด้านการใช้โรงฝึ กงาน
• โรงฝึ กงานทัว่ ไป ( Comprehensive General Shop)
เป็ นโรงฝึ กงานที่มีช่างหลายสาขาอยูร่ วมกันจัดเก็บเครื่ องมือและวัสดุอุปกรณ์ร่วมกันอย่างเป็ นระบบ
เช่น ช่างไม้ ช่างไฟฟ้ า ช่างเขียนแบบ เป็ นต้น
• โรงฝึ กงานแบบประสม ( General Unit Shop) โรงฝึ กงานประเภทนี้ แยกประเภทของช่างที่มีการใช้อุปกรณ์

16
เครื่ องมือเครื่ องใช้คล้ายๆ กันมารวมกัน เช่น ช่างเชื่อมรวมกับช่างยนต์ ช่างไม้รวมกับช่างก่อสร้าง ช่างปูน
เป็ นต้น
• โรงฝึ กงานเฉพาะ (Unit Shop) จะมีเฉพาะช่างสาขาใดสาขาหนึ่งเท่านั้นถ้าเป็ น
โรงฝึ กงานของช่างไม้กจ็ ะมีเฉพาะอุปกรณ์ของช่างไม้ ช่างปูนก็จะมีเฉพาะอุปกรณ์ของช่างปูนไม่น ำมา
ปะปนกัน
กฎแห่งความปลอดภัยในห้องปฏิบตั ิการและโรงฝึ กงาน
• ปฏิบตั ิตามคำแนะนำของครู ผสู้ อนอย่างเคร่ งครัด
• เมื่อเกิดอุบตั ิเหตุตอ้ งแจ้งให้ครู หรื อเพื่อนทราบทันที เพื่อจะสามารถปฐมพยาบาลได้ทนั ที
• ภายในโรงฝึ กงาน ควรมีแสงสว่างเพียงพอและมีอากาศถ่ายเทตลอดเวลา
• ต้องรักษาความสะอาดของพื้นห้องไม่ให้มีคราบน้ำมันหรื อวัสดุที่ก่อให้เกิดการลื่นไหลได
• ไม่ควรหยอกล้อหรื อวิ่งเล่นกันขณะปฏิบตั ิงานควรเดินด้วยความระมัดระวัง
• ในการจับหรื อถือเครื่ องมือ วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ควรถือเพียงน้อยชิ้นเพราะอาจทำให้เกิดการตกหล่น
เป็ นอันตรายทั้งต่อตนเองและผูอ้ ื่น รวมทั้งทำให้อุปกรณ์เกิดการชำรุ ดเสี ยหายได้
• เมื่อต้องขนย้ายวัสดุที่มีขนาดยาวหรื อใหญ่มากควรทำด้วยความระมัดระวังเป็ นพิเศษ
และส่ งเสี ยงเตือนให้ผปู้ ฏิบตั ิงานคนอื่นๆ ที่อยูใ่ นบริ เวณนั้นให้ออกจากแนวการขนย้าย
• ควรให้ความร่ วมมือกับเพื่อนร่ วมงานในการขอความช่วยเหลือหรื อขนย้ายวัสดุต่างๆ
เพื่อป้ องกันการเกิดอุบตั ิเหตุในทุกๆกรณี
• ต้องสวมชุดฝึ กปฏิบตั ิงานและเครื่ องป้ องกันอันตรายต่างๆ ทุกครั้ง เช่น หน้ากาก แว่นตา เป็ นต้น
• ไม่สวมเครื่ องประดับขณะปฏิบตั ิงานช่าง
• ใช้เครื่ องมือให้ถูกต้องเหมาะสมกับชนิดของงานในแต่ละประเภท
• ตรวจซ่อมบำรุ งรักษาเครื่ องมือให้อยูใ่ นสภาพดี ถ้าชำรุ ดควรแจ้งให้อาจารย์ทราบทันที
17
• ปฏิบตั ิตามคำเตือนและสัญลักษณ์ที่บ่งบอกถึงอันตรายในการปฏิบตั ิงานช่าง
• เมื่อหมดชัว่ โมงเรี ยนให้ท ำความสะอาดสถานที่ปฏิบตั ิงาน จัดเก็บเครื่ องมือและวัสดุ
อุปกรณ์ให้เรี ยบร้อยตามกฎระเบียบข้อบังคับของโรงฝึ กงาน
สาเหตุของการเกิดอุบตั ิเหตุ
1. เกิดจากการกระทำของมนุษย์ เนื่องจากความประมาทมักง่าย เผอเรอ และรู ้เท่าไม่ถึงการณ์
2. เกิดจากการใช้เครื่ องมือและวัสดุอุปกรณ์ โดยเฉพาะเครื่ องจักรที่ช ำรุ ดเสี ยหายจะก่อให้เกิดอันตรายได้มาก
3. เกิดจากอัคคีภยั เช่น ไฟฟ้ า น้ำมันเชื้อเพลิง ทินเนอร์ แอลกอฮอล์ และสารติดไฟอื่นๆ
ซึ่ งจัดวางไว้ในที่ๆไม่เหมาะสมก่อให้เกิดอัคคีภยั ได้ง่าย
4. เกิดจากสภาพสิ่ งแวดล้อมบริ เวณโรงฝึ กงาน การจัดวางเครื่ องมือวัสดุอุปกรณ์ไม่เป็ นระเบียบความร้อน
ต่างๆ
แสงสว่างไม่เพียงพอ เสี ยงดัง หรื อทิศทางลมต่างๆ อยูใ่ นภาวะไม่เหมาะสมก่อให้เกิดอุบตั ิเหตุได้ง่าย
18
ช่ างไม้

ความสำคัญ
ความสำคัญของงานช่างไม้ มีความสอดคล้องกับความสำคัญของไม้ที่ใช้ในงานก่อสร้าง เนื่องจากไม้ เป็ น
วัสดุก่อสร้างที่หาได้ยาก และมีราคางานไม้ที่แพงกว่าวัสดุทดแทนประเภทอื่น แต่ถึงกระนั้น ไม้ยงั คงเป็ นที่
ต้องการในงานประเภท เช่น วงกบไม้ ประตูไม้ หน้าต่างไม้ เฟอร์นิเจอร์ไม้ งานแกะสลักไม้ และผลิตภัณฑ์ที่
ใช้สำหรับการตกแต่งบ้าน ช่ างไม้ มืออาชีพจึงมีความจำเป็ นอย่างยิง่ ในปั จจุบนั  ช่ างไม้ ที่ ดีตอ้ งมีทกั ษะและ
ความชำนาญงานในหน้าที่ที่ตนรับผิดชอบได้เป็ นอย่างดี มีใจรักในหน้าที่ มีความคิดสร้างสรรค์งานไม้ให้
ออกมาสวยงาม มีเอกลักษณ์ อีกทั้งยังต้องมีความรับผิดชอบสู ง สามารถใช้งานไม้ได้อย่างเหมาะสม โดย
สามารถแบ่งประเภทของงานช่างไม้ออกเป็ น 4 ประเภทคือ งานช่างไม้ก่อสร้าง งานช่างไม้ครุ ภณั ฑ์ งาน
ช่างไม้ออกแบบ และงานช่างไม้แกะสลัก

ลักษณะหน้ าที่
ปฏิบตั ิหน้าที่ช่างไม้ทวั่ ไปในการ ปลูก สร้าง และบำรุ งรักษาสิ่ งก่อสร้างที่เป็ นไม้และสิ่ งของที่เป็ นไม้ชนิด
ต่างๆ พิจารณาพิมพ์เขียว ภาพร่ าง ภาพเขียน และแบบสำหรับงานก่อสร้างใหม่ ตรวจสอบงานที่จะต้อง
ซ่อมแซม ประมาณวัสดุที่ตอ้ งการใช้และทำการเบิกเครื่ องมือและวัสดุ

วัสดุอุปกรณ์
1 กบไสไม้
เป็ นเครื่ องมือช่างที่สำคัญในงานไม้ชนิดหนึ่ง ใช้ขดั ผิวหน้าไม้ให้เรี ยบและได้รูปทรงที่ตอ้ งการ
วิธีใช้
การไสไม้ดว้ ยกบไสไม้น้ นั จะต้องจับยึดชิ้นงานให้แน่นอยูก่ บั ที่ใช้มือทั้ง 2 ข้างจับกบไสไม้วางบนชิ้นงานที่
จะไส ออกแรงดันกบไสไม้ไปข้างหน้า และไสไม้จนกว่าจะเรี ยบ นอกจากนี้ กบไสไม้ชนิดใบมีดคมเดียวยัง
สามารถใช้ไสบังใบวงกบประตูและหน้าต่างได้อีกด้วย โดยจะต้องไม่ใช้งานเครื่ องจนเกินกําลังเครื่ อง และ
ควรมีการพักเครื่ อง ประจําชัว่ โมงบ้าง ประมาณ 5 – 10 นาที
19

2 กาพ่นสี

กาพ่นสี สามารถใช้กบั งาน เช่น งานพ่น ซ่อทสี รถยนต์ เครื่ องอุตสาหกรรม เฟอร์นิเจอร์ ได้เช่นเดียวกัน

วิธีใช้

เป็ นเครื่ องมือที่ถูกออกแบบมาอย่างปราณี ตเพื่อใช้ในการพ่นของเหลว

20
กฎความปลอดภัย 
อุปกรณ์ป้องกันให้ถูกต้องเหมาะสมกับลักษณะงาน ให้สวมแว่นนิรภัยเป็ นประจำ เพื่อป้ องกันเศษวัสดุ
กระเด็นเข้าตา และถ้ามีฝนฟุ้ ุ่ งจะต้องสวม หน้ากากป้ องกันฝุ่ น
ให้สวมอุปกรณ์ป้องกันเสี ยง หากไม่สามารถได้ยนิ เสี ยงพูดคุยปกติในระยะ 3 ฟุตได้แสดงว่าระดับเสี ยงของ
เครื่ องจักร เกินค่ามาตรฐานความปลอดภัย
ก่อนใช้เครื่ องจักรและอุปกรณ์ทุกครั้งให้ตรวจจนมัน่ ใจว่า การ์ดป้ องกันอยูใ่ นตำแหน่งที่ถูกต้องและครบทุก
ตำแหน่งที่อาจก่อให้เกิดอันตราย
มัน่ ใจว่าเครื่ องจักรต่อสายดินอย่างถูกต้อง
ตรวจเช็คว่าได้ถอดลิ่ม ประแจและเครื่ องมือต่างๆ ออกจากเครื่ องจักรก่อนเปิ ดเครื่ องทำงาน
ตรวจชิ้นงานว่ามีตะปูหรื อเศษวัสดุอื่นฝังอยูห่ รื อไม่ก่อนทำการเลื่อย
มัน่ ใจว่เครื่ องจักรมีปุ่ม เปิ ด-ปิ ด เครื่ องที่สามารถควบคุมได้ง่ายและสะดวก
มัน่ ใจว่าใบมีดหรื ออุปกรณ์ที่ใช้ตดั สะอาดและคมซึ่ งจะช่วยให้การตัดไม่ตอ้ งใช้ก ำลังมาก
ตรวจสอบและปรับแต่งเครื่ องป้ องกันต่าง ๆ
ปิ ดเครื่ องจักรก่อนทำความสะอาด ปรับแต่งหรื อซ่อมแซมส่ วนต่างๆ
ใช้อุปกรณ์ส่งชิ้นงานเพื่อป้ องกันอันตรายจากคมเลื่อย
หลีกเลี่ยงการทำงานในท่วงท่าที่จะทำให้มืออาจลื่นไถลไปถูกคมเลื่อยได้
ดูแลเก็บกวาดให้พ้ืนที่ท ำงานสะอาด และจัดแสงสว่างให้เพียงพอ พื้นที่ยนื ทำงานต้องมีระดับทำงานได้
สะดวกและไม่ลื่น
ข้อห้าม
ห้ามใช้มือปั ดกวาดฝุ่ นที่ติดบริ เวณเลื่อยขณะเดินเครื่ อง ให้ใช้ไม้หรื อแปรงแทน
ห้ามเปิ ดเครื่ องทิ้งไว้ หากไม่ใช้งานให้ปิดเครื่ องทุกครั้ง
ห้ามพยายามขยับหรื อปรับแต่งใบเลื่อยโดยไม่หยุดเครื่ องเสี ยก่อน
ห้ามรบกวนสมาธิผป้ ฏิบตั ิงาน การหยอกล้อกันขณะทำงานอาจเป็ นสาเหตุของการประสบอันตราย จึงต้อง
ห้ามโดยเคร่ งครัด
ห้ามสวมเครื่ องแต่งกายรุ่ มร่ าม ถุงมือ สร้อยคอ แหวน กำไล หรื อเครื่ องประดับต่าง ๆ ซึ่ งอาจเป็ นต้นเหตุให้
ถูกฉุดดึงเข้าไปในเครื่ องได้

21
ช่ างแกะสลัก

ความสำคัญ
         ช่างแกะสลัก ก็คือช่างที่มีความรู้ความสามารถใน การออกแบบลวดลาย และสามารถถ่ายทอดรู ปแบบ
และลวด ลายนั้นด้วยการใช้เครื่ องมือ และของมีคมแกะสลักลงบนเนื้ อ วัสดุ เช่น ไม้ หิ น โลหะ เขาสัตว์ และ
บนวัสดุของอ่อน เช่น ผลไม้ หรื อหัวของ พืช ทำให้เกิดลวดลายและภาพมีแสง เงาและระยะ เกิดความสู งต่ำ
ภายในภาพ ซึ่ งสามารถสัมผัสได้ ด้วยมือและสายตา เป็ นภาพสามมิติอีกทั้งช่างจะต้องมีความ เข้าใจเกี่ยวกับ
เรื่ องตัวลายและภาพ จึงจะสามารถทำการแกะ สลักไม้เพราะการแกะสลักนั้นคือ กระบวนการที่ช่าง ต้องใช้
เครื่ องมือทำการ ขุด ตัด ทอน แล้วแกะเอาเนื้ อวัสดุน้ นั ออก ซึ่ งช่างจะต้องใช้ความประณี ต ต้องมีความรู ้ เกี่ยว
กับลักษณะ ของเนื้ อวัสดุ เช่น ทางของเนื้อไม้ นอกจากนี้ยงั ต้องรู ้เทคนิค และวิธีการใช้เครื่ องมือเพื่อเวลา
แกะสลักไม้จะได้ไม่บิ่น และ หลุด ตลอดจนช่างควรจะรู ้วิธีการประดิษฐ์เครื่ องมือ คือ สิ่ ว และลับให้คมอยู่
เสมอ เพื่อเวลาแกะสลักจะต้องให้งานที่ออก มานั้นมีความสวยงาม 
    
ลักษณะหน้ าที่
         ลักษณะงานช่างแกะสลัก จึงเป็ นงานช่างฝี มือซึ่ งต้องใช้ความชำนาญเฉพาะตัว ใช้ความประณี ต งาน
ช่างแกะสลักแต่ละชิ้นไม่แตกต่างกันที่วิธีการทำงาน แต่ต่างกันที่ลกั ษณะของผลงานแต่ละชิ้น เช่น การแกะ
สลักพระพุทธรู ป ก็เห็นว่าเป็ นลักษณะของการแกะสลัก แบบประติมากรรมลอยตัว
  
    ประเภทของงานแกะสลัก
ประเภทของงานแกะสลัก แบ่งออกได้ 3 ลักษณะ
                1. แบบภาพนูนต่ำ หรื อที่เรี ยกกันในหมู่ช่าง ว่า ภาพหน้าจันทร์ คือ ภาพที่มองเห็นเฉพาะหน้าตรง
เท่านั้นเพราะ ภาพจะนูนขึ้นมาเพียงเล็กน้อย
                2. แบบภาพนูนสูง เป็ นภาพที่มองเห็นส่ วนลึก กว้าง สู ง เป็ นสามมิติ บางภาพเกือบจะหลุดออกจาก
พื้นหลัง โดยการ มองจากต้านตรง
                3. แบบภาพลอยตัว เกี่ยวกับงานประติมากรรม เช่น ภาพพระพุทธรู ปทั้งองค์ ซึ่ งสามารถมองได้
รอบด้าน 

22
วัสดุอุปกรณ์
1 มีด
แกะร่ องเล็กๆ
วิธีใช้
เป็ นมีดเล็กๆ ปลายแหลม ใช้แกะลายเล็กๆ หรื อแกะร่ อง

2 กระดาษทราย
ใช้ขดั

วิธีใช้
ใช้ขดั ตกแต่งชิ้นงานหลังจากแกะสลักแล้ว 

23
 กฎความปลอดภัย 
1. แต่งกายให้รัดกุม
2. ไม่ควรหยอกล้อกันในขณะปฏิบตั ิงาน
3. ไม่ควรดื่มของมึนเมาในขณะปฏิบตั ิงาน
4. ควรตรวจสภาพเครื่ องมือก่อนนำไปใช้งาน
5. ควรปฏิบตั ิงานในสถานที่ที่มีแสงสว่างเพียงพอ และอากาศถ่ายเทสะดวก
6. ควรศึกษาระบบการทำงานของเครื่ องจักร ชนิดนั้น ๆ ให้เข้าใจก่อนปฏิบตั ิงาน
7. หากเครื่ องจักรชำรุ ด ควรเขียนป้ ายบอกกำกับไว้
8. ควรสวมหมวกนิรภัยในการปฏิบตั ิงานก่อสร้าง
9. หากน้ำมันหกลงพื้นควรทำความสะอาดทันที
10.เครื่ องจักรที่มีการทำงานเคลื่อนไหว ด้วยความเร็ วสู ง ควรมีอุปกรณ์นิรภัยป้ องกัน

24
ช่ างเขียน
ความสำคัญ

ช่ างเขียน คือ บุคคลที่มีฝีมือ และ ความสามารถกระทำการช่าง ในทางวาดเขียน และ ระบายสี ให้เกิด


เป็ นลวดลาย หรื อ รู ปภาพต่างๆ ได้อย่างงดงาม เป็ นที่พิศวง และ เป็ นสิ่ งน่าพึงตาพอใจแก่ผไู ้ ด้พบเห็น ช่าง
เขียนแต่โบราณ หรื อ แต่ละพื้นถิ่นสยามประเทศ ได้มีค ำเรี ยกต่างกันออกไป อาทิ ช่างแต้ม ช่างเขียนสี น้ำ
กาว ช่างเขียนลายรดน้ำ เป็ นต้น

ในบรรดาช่างประเภทต่างๆ ในหมวดช่างสิ บหมู่ดว้ ยกัน ช่างเขียน จัดว่าเป็ นช่างที่มีความสำคัญ


ยิง่ กว่าช่าง หมู่ใดๆ ทั้งนี้ เนื่องจากการวาดเขียน และ การเขียนระบายสี เป็ นที่ยอมรับนับถือว่า เป็ นสื่ อที่มี
ศักยภาพยิง่ สำหรับ ถ่ายทอดความคิดสร้างสรรค์ออกมา ให้ปรากฏในลักษณะรู ปธรรมที่ชดั เจน สามารถใช้
เป็ นต้นแบบ นำไปสร้างสิ่ งต่างๆ ได้ตอ้ งตามความประสงค์ หรื อ เป็ นต้นแบบที่มีความสำเร็ จ และ มีคุณค่า
เฉพาะในตัวชิ้นงานนั้นโดยตรง ดังมีหลักฐาน เป็ นที่ปรากฏ โดยสำนวนภาษาในหมู่ช่างไทยแต่ก่อนพูดติด
ปากต่อๆ กันมา

ลักษณะหน้ าที่
ช่างที่มีความรู้ ความสามารถในการออกแบบลวดลาย และสามารถ่ายทอดรู ปแบบ และลวดลายนั้นด้วย
การใช้เครื่ องมือ และของมีคมแกะสลักลงบนเนื้ อวัสดุ เช่น ไม้ หิ น โลหะ เขาสัตว์ และบนวัสดุของอ่อน เช่น
ผลไม้ หรื อหัวของพืช ทำให้เกิดลวดลายและภาพ มีแสงและระยะ เกิดความสู งต่ำภายในภาพ ซึ่ งสามารถ
สัมผัสได้ดว้ ยมือ และสายตา

วัสดุอุปกรณ์
1 พูก่ นั
ใช้ระบาย

25
วิธีใช้
ใช้ระบายสี หรื อวาดลวดลายตต่างๆบนผนัง
26

 กฎความปลอดภัย 
ความปลอดภัยในขณะปฏิบตั ิงาน (Safety First) ถึงแม้วา่ มีความระมัดระวังสักเพียงใด
อุบตั ิเหตุกม็ กั เกิดขึ้นได้ตลอดเวลาในการเรี ยนภาคปฏิบตั ิวิชางานช่างจึงควรมีการส่ งเสริ ม
ตระหนักถึงเรื่ องการป้ องกันอุบตั ิเหตุจากการทำงาน รวมไปถึงการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เพื่อเป็ นการสร้างนิสยั แห่งการรักษาความปลอดภัย (Safety Habit) แก่นกั เรี ยนทุกคน
หรื ออาจเกิดอันตรายแก่ร่างกายถึงพิการหรื อเสี ยชีวิตได้ หากทุกคนรู ้จกั วิธีการทำงาน
วิธีใช้เครื่ องมือและวัสดุอุปกรณ์ดว้ ยความถูกต้อง เหมาะสมกับงาน
และไม่ประมาทจะช่วยลดปัญหาการเกิดอุบตั ิเหตุได้เป็ นอย่างดี
เพราะเครื่ องมือทุกชนิดถึงแม้จะออกแบบมาอย่างเหมาะสม
แต่กอ็ าจมีอุบตั ิเหตุที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นได้เสมอ
เพราะฉะนั้นในการปฏิบตั ิงานให้เกิดความปลอดภัยสู งสุ ด
ควรปฏิบตั ิตามหลักความปลอดภัย และดูแลความเรี ยบร้อยของโต๊ะปฏิบตั ิงานทุกครั้ งหลังเลิกใช้งาน

27
บรรณานุกรม
https://sites.google.com/site/xachiphchangynt/
https://sites.google.com/site/krutunop/ng33103-kar-ngan-phun-than-m-6/khwam-plxdphay-ni-ngan-chang
https://th.wikipedia.org/wiki/ช่างไฟฟ้ า
https://sites.google.com/site/sonescience/khwam-plxdphay-ni-kar-chi-fifa
https://th.wikipedia.org/wiki/วิศวกรรมช่างกล
https://sites.google.com/site/krutunop/ng33103-kar-ngan-phun-than-m-6/khwam-plxdphay-ni-ngan-chang
https://www.officeandtools.com/%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%8A
%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89/
https://www.thaicarpenter.com/woodworking/
%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%AD
%E0%B8%94%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A
%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89.html
http://www.thaigoodview.com/node/48241
https://sites.google.com/site/thanadonwongsawat/bth-thi2-khwam-plxdphay-ni-ngan-chang/ff-1
https://sites.google.com/site/krutunop/ng33103-kar-ngan-phun-than-m-6/khwam-plxdphay-ni-ngan-chang
https://sites.google.com/site/krutunop/ng33103-kar-ngan-phun-than-m-6/khwam-plxdphay-ni-ngan-chang
http://people54.blogspot.com/2011/01/blog-post.html

You might also like