You are on page 1of 81

กระบวนงาน (Work Flow) การขอใช้ไฟฟ้าสถานีอัดประจุ

ไฟฟ้าสําหรับยานยนต์ไฟฟ้า แบบ Low Priority


หลักสูตร “การตรวจสอบระบบอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้า”
ณ โรงแรมพี ลูส จ.กาญจนบุรี วันที่ 20 ตุลาคม 2565

Low Priority
ฝ่ายกลยุทธ์การตลาด (ฝกต.) การใช้ไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้า
กองกลยุทธ์หน่วยบริการลูกค้า (กกล.)
แผนกประสานงานบริการลูกค้า (ผงบ.) ที่มีความสําคัญเป็นลําดับรองเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ไฟฟ้าเพื่ อวัตถุประสงค์อื่น
โทร. 02-0099339 และสามารถควบคุมปรับลด หรือตัดการใช้ไฟฟ้าของสถานีอัดประจุไฟฟ้าได้
AGENDA

ที่มาของการดําเนินการเพื่ อรองรับการเชื่อมต่อของสถานีอัดประจุไฟฟ้า
1 สําหรับยานยนต์ไฟฟ้าแบบ Low Priority

2 ผลการดําเนินงานขอใช้ไฟฟ้าสถานีอัดประจุไฟฟ้าฯ Low Priority

- กําหนดช่องทางการติดตามผลสถานะคําร้องการขอใช้ไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าฯ
ผ่านระบบ Dashboard (หนังสือเลขที่ กกต. 637/2565 ลงวันที่ 21 กันยายน 2565)

กระบวนงาน (Work Flow) และแบบฟอร์มขอใช้ไฟฟ้าสําหรับสถานี


3 อัดประจุไฟฟ้าฯ Low Priority

3.1 กระบวนงาน (Work Flow) ขอใช้ ไฟฟ้าสํ าหรั บสถานี อั ดประจุ ไฟฟ้าฯ และกํ า หนด
ผู้รับผิดชอบการดําเนินงานฯ
3.2 แบบฟอร์มการขอใช้ไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าฯ Low Priority (เพิ่ มเติม)
และแบบฟอร์มตรวจสอบเอกสารการขอใช้ไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าฯ
AGENDA

4 หลักเกณฑ์การคิดค่าไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าฯ
ภายใต้เงื่อนไขการบริการจัดการแบบ Low Priority

4.1 หลักเกณฑ์การคิดค่าไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าฯ ภายใต้เงื่อนไขการบริการ


จัดการแบบ Low Priority

4.2 หลั ก การคิ ด ค่ า ใช้ จ่ า ย กรณี ผู้ ข อใช้ ไ ฟฟ้า ชั่ ว คราว เพื่ อการก่ อ สร้ า งระบบไฟฟ้า
สําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้า สําหรับยานยนต์ไฟฟ้าฯ

การตรวจสอบมาตรฐานการติดตั้งระบบอัดประจุไฟฟ้าตามมาตรฐาน
5 ที่ กฟภ. กําหนด
- แบบฟอร์มการตรวจสอบการติดตั้งระบบอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าก่อนติดตั้งมิเตอร์
สําหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่รับไฟฟ้าแรงสูงโดยติดตั้งหม้อแปลงเฉพาะราย HV
AGENDA

6 หลักเกณฑ์/คู่มือแนะนํา/แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง

6.1 ระเบียบ กฟภ. ว่าด้วยข้อกําหนดการเชื่อมต่อของสถานีอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์ไฟฟ้า


พ.ศ. 2563 โดย กองส่งเสริมผู้ประกอบกิจการไฟฟ้า (กสผ.)

6.2 ขั้นตอนการขอขึ้นทะเบียนเครื่องอัดประจุไฟฟ้า และขั้นตอนการขอขึ้นทะเบียนสถาบัน/


หน่วยงานทดสอบเครื่องอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์ไฟฟ้าของ กฟภ. โดย กองควบคุม
คุณภาพมาตรฐานระบบไฟฟ้า (กมอ.)

6.3 หลักเกณฑ์/แบบฟอร์มสําหรับการตรวจวัดและทดสอบความปลอดภัยของระบบอัดประจุ
ไฟฟ้าและการทดสอบสถานะการอัดประจุไฟฟ้า โดย กองทดสอบอุปกรณ์สถานีไฟฟ้า (กทอ.)

6.4 หลักเกณฑ์/แบบฟอร์มสําหรับการทดสอบการควบคุมปฏิบัติการระบบโครงข่ายไฟฟ้า
โดยการรั บ และส่ ง ข้ อ มู ล ระหว่ า งผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารระบบควบคุ ม และบริ ห ารจั ด การสถานี อั ด ประจุ
ไฟฟ้า (CPO) และระบบควบคุ ม และบริ ห ารจั ด การระบบอั ด ประจุ ไ ฟฟ้า ของการไฟฟ้า
ส่วนภูมิภาค (PEA EVMS) โดย กองนวัตกรรม (กนว.)
AGENDA

7 ระเบียบ กฟภ. /อนุมัติ ผวก. ที่เกี่ยวข้อง กรณีการขอใช้ไฟฟ้าสําหรับสถานี


อัดประจุไฟฟ้าฯ

7.1 อนุมัติปรับปรุง แก้ไข ระเบียบ กฟภ. ว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับมิเตอร์ พ.ศ. 2562 โดย


คณะกรรมการพิ จารณาปรับปรุง แก้ไข ระเบียบ กฟภ. ว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับมิเตอร์ (ฝมป.)

่ งค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบและทดสอบระบบอัดประจุไฟฟ้าของ กฟภ.
7.2 ประกาศ กฟภ. เรือ
สําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์ไฟฟ้าแบบ Low Priority (อนุมัติ ผวก. ลงวันที่
1 สิงหาคม 2565 หนังสือเลขที่ กกต. 477 ลงวันที่ 25 กรกฎาคม 2565)
1 1
ที่มาของการดําเนินการเพื่ อรองรับการเชื่อมต่อของสถานีอัดประจุไฟฟ้า
สําหรับยานยนต์ไฟฟ้าแบบ Low Priority

พระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550

มาตรา 47
“การประกอบกิ จ การพลั ง งานไม่ ว่ า จะมี ค่ า ตอบแทน
หรือไม่ ต้องได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการ
ในการออกใบอนุญาต ให้คณะกรรมการประกาศกําหนด
ประเภทและอายุ ใ บอนุ ญ าตให้ ส อดคล้ อ งกั บ ขนาดและ
ลักษณะของกิจการพลังงานประเภทต่างๆ โดยให้คํานึงถึง
ผลกระทบต่อประชาชน ความคุ้มค่า ทางเศรษฐกิจสังคม
และการลงทุน รวมถึงลักษณะการแข่งขันของกิจการแต่ละ
ประเภท และอาจกําหนดเงื่อนไขเป็นการเฉพาะรายก็ได้”
1 ที่มาของการดําเนินการเพื่ อรองรับการเชื่อมต่อของสถานีอัดประจุไฟฟ้า
สําหรับยานยนต์ไฟฟ้าแบบ Low Priority
1

รายละเอียดการขออนุญาตติดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้า เพื่ อจําหน่าย

(ก) การออกใบอนุญาตตามมาตรา 47 พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงานฯ


“กรณีที่ 1 : สถานีอัดประจุไฟฟ้ามีขนาดการจําหน่ายไฟฟ้า ซึ่งมีการติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าหรือเครื่อง
แปลงกระแสไฟฟ้า (Grid-Connected Inverter) (แล้วแต่กรณี) ที่มีขนาดรวมตั้งแต่ 1,000 kVA ขึ้นไป
จะถือว่ากิจการดังกล่าวเข้าข่ายเป็นการประกอบกิจการพลังงานตามมาตรา 47 พ.ร.บ. การประกอบกิจการ
พลังงานฯ โดยผู้ประกอบการต้องขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการจําหน่ายไฟฟ้าและยื่นเอกสารประกอบการ
ขอรับ ใบอนุญาตตามระเบียบ กกพ. ว่าด้วยการขอรับใบอนุญาตและการอนุญาตประกอบ กิจการพลังงาน
พ.ศ. 2551”
“กรณีที่ 2 : สถานีอัดประจุไฟฟ้ามีขนาดการจําหน่ายไฟฟ้าซึ่งมีการติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าหรือเครื่อง
แปลงกระแสไฟฟ้า (Grid–Connected Inverter) (แล้วแต่กรณี) ที่มีขนาดรวมตํ่ากว่า 1,000 kVA จะถือ
ว่ า กิ จ การดั ง กล่ า วเข้ า ข่ า ยเป็ น การประกอบกิ จ การพลั ง งานที่ ไ ด้ รั บ การยกเว้ น ไม่ ต้ อ งขอรั บ ใบอนุ ญ าตการ
ประกอบกิจการจําหน่ายไฟฟ้า ตามพระราชกฤษฎีกากําหนดประเภทขนาดและลักษณะของกิจการพลังงานที่
ได้รับการ ยกเว้นไม่ต้องขอรับใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงาน
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน
1 เรื่อง ขัน
้ ตอนการรับแจ้งการประกอบกิจการพลังงานที่ได้รับการยกเว้น 1
ไม่ต้องขอรับใบอนุญาตจําหน่ายไฟฟ้า สําหรับโครงการสถานีอัดประจุไฟฟ้า
คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน ในการประชุมครั้งที่ ๒๔/๒๕๖๕ (ครั้งที่ ๗๔๑) เมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
จึงได้มีมติเห็นขอบให้สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานออกประกาศ ดังต่อไปนี้

ข้ อ ๑ ผู้ ป ระกอบกิ จ การสถานี อั ด ประจุ ไ ฟฟ้า ที่ ไ ด้ รั บ การยกเว้ น ไม่ ต้ อ งขอรั บ ใบอนุ ญ าต
จํ า หน่ า ยไฟฟ้ า ให้ ดํ า เนิ น การแจ้ ง ต่ อ สํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ กิ จ การพลั ง งานที่
http://www.erc.or.th/th พร้ อ มด้ ว ยเอกสารหลั ก ฐานตามเอกสารหมายเลข ๑ แนบท้ า ย
ประกาศนี้
ข้ อ ๒ เมื่ อ ดํ า เนิ น การตามข้ อ ๑ แล้ ว ให้ ยื่ น คํ า ขอใช้ ไ ฟฟ้า ต่ อ การไฟฟ้า ฝ่ า ยจํ า หน่ า ยตาม
หลักเกณฑ์ที่การไฟฟ้าฝ่ายจําหน่ายกําหนด พร้อมแนบหลักฐานการแจ้งตามข้อ ๑
ข้อ ๓ การไฟฟ้าฝ่ายจําหน่ายจะจัดส่งข้อมูลและรายชื่อผู้ยื่นคําขอใช้ไฟฟ้าตามข้อ ๒ มายัง
สํานักงานฯ เพื่ อให้ดําเนินการออกหลักฐานการแจ้งกิจการพลังงานที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้อง
ขอรับใบอนุญาตจําหน่ายไฟฟ้าภายในระยะเวลา ๗ วัน นับแต่วันที่ได้รับข้อมูลจากการไฟฟ้าฝ่าย
จําหน่าย
ข้ อ ๔ ขั้ น ตอนการรั บ แจ้ ง การประกอบกิ จ การพลั ง งานที่ ไ ด้ รั บ การยกเว้ น ไม่ ต้ อ งขอรั บ
ใบอนุญาตจําหน่ายไฟฟ้า สําหรับโครงการสถานีอัดประจุไฟฟ้าให้เป็นไปตามเอกสารหมายเลข ๒
แนบท้าย
ข้ อ ๕ การแจ้ ง การประกอบกิ จ การสถานี อั ด ประจุ ไ ฟฟ้า ที่ ไ ด้ รั บ การยกเว้ น ไม่ ต้ อ งขอรั บ
ใบอนุญาตที่ได้ยื่นไว้ก่อนวันที่ออกประกาศฉบับนี้และยังอยู่ในระหว่างการพิ จารณา ให้ถือว่าเป็น
การแจ้งตามประกาศนี้โดยอนุโลม และหากมีขั้นตอนใดที่แตกต่างไปจากการแจ้งตามประกาศนี้
ให้สํานักงานคณะกรรมการฯ แจ้งให้แก้ไขเพิ่ มเติมเพื่ อให้เป็นไปตามประกาศนี้ได้
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน
1 เรื่อง ขัน
้ ตอนการรับแจ้งการประกอบกิจการพลังงานที่ได้รับการยกเว้น 1
ไม่ต้องขอรับใบอนุญาตจําหน่ายไฟฟ้า สําหรับโครงการสถานีอัดประจุไฟฟ้า
คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน ในการประชุมครั้งที่ ๒๔/๒๕๖๕ (ครั้งที่ ๗๔๑) เมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
จึงได้มีมติเห็นขอบให้สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานออกประกาศ ดังต่อไปนี้

ข้ อ ๑ ผู้ ป ระกอบกิ จ การสถานี อั ด ประจุ ไ ฟฟ้า ที่ ไ ด้ รั บ การยกเว้ น ไม่ ต้ อ งขอรั บ ใบอนุ ญ าต
จํ า หน่ า ยไฟฟ้ า ให้ ดํ า เนิ น การแจ้ ง ต่ อ สํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ กิ จ การพลั ง งานที่
http://www.erc.or.th/th พร้ อ มด้ ว ยเอกสารหลั ก ฐานตามเอกสารหมายเลข ๑ แนบท้ า ย
ประกาศนี้
ข้ อ ๒ เมื่ อ ดํ า เนิ น การตามข้ อ ๑ แล้ ว ให้ ยื่ น คํ า ขอใช้ ไ ฟฟ้า ต่ อ การไฟฟ้า ฝ่ า ยจํ า หน่ า ยตาม
หลักเกณฑ์ที่การไฟฟ้าฝ่ายจําหน่ายกําหนด พร้อมแนบหลักฐานการแจ้งตามข้อ ๑
ข้อ ๓ การไฟฟ้าฝ่ายจําหน่ายจะจัดส่งข้อมูลและรายชื่อผู้ยื่นคําขอใช้ไฟฟ้าตามข้อ ๒ มายัง
สํานักงานฯ เพื่ อให้ดําเนินการออกหลักฐานการแจ้งกิจการพลังงานที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้อง
ขอรับใบอนุญาตจําหน่ายไฟฟ้าภายในระยะเวลา ๗ วัน นับแต่วันที่ได้รับข้อมูลจากการไฟฟ้าฝ่าย
จําหน่าย
ข้ อ ๔ ขั้ น ตอนการรั บ แจ้ ง การประกอบกิ จ การพลั ง งานที่ ไ ด้ รั บ การยกเว้ น ไม่ ต้ อ งขอรั บ
ใบอนุญาตจําหน่ายไฟฟ้า สําหรับโครงการสถานีอัดประจุไฟฟ้าให้เป็นไปตามเอกสารหมายเลข ๒
แนบท้าย
ข้ อ ๕ การแจ้ ง การประกอบกิ จ การสถานี อั ด ประจุ ไ ฟฟ้า ที่ ไ ด้ รั บ การยกเว้ น ไม่ ต้ อ งขอรั บ
ใบอนุญาตที่ได้ยื่นไว้ก่อนวันที่ออกประกาศฉบับนี้และยังอยู่ในระหว่างการพิ จารณา ให้ถือว่าเป็น
การแจ้งตามประกาศนี้โดยอนุโลม และหากมีขั้นตอนใดที่แตกต่างไปจากการแจ้งตามประกาศนี้
ให้สํานักงานคณะกรรมการฯ แจ้งให้แก้ไขเพิ่ มเติมเพื่ อให้เป็นไปตามประกาศนี้ได้
ระเบียบคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน กําหนดอัตราค่าธรรมเนียม
การอนุญาตและการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2551 1
รายละเอียดค่าธรรมเนียมของการขออนุญาตติดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้า เพื่ อจําหน่าย

ใบอนุญาตจําหน่ายไฟฟ้า
ฉบับละ 50,000 บาท
การประกอบกิจการจําหน่าย
ไฟฟ้า กิโลวัตต์ละ 0.1 สตางค์
ที่มาของอัตราค่าบริการไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าแบบ Low Priority

ตามหนังสือสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน ที่ สกพ 5502/2258 ลงวันที่ 25 กุมภาพั นธ์ 2564


แจ้งการพิ จารณาการกําหนดอัตราค่าบริการไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าแบบ Low Priority ประกอบด้วย
1) เห็ นชอบการกํ าหนดอั ตราค่ าบริ การไฟฟ้าสํ าหรั บสถานี อั ดประจุ ไฟฟ้าแบบ Low Priority
ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ค่าพลังงานไฟฟ้า ค่าบริการรายเดือน และค่า Ft สรุปตามตาราง ดังนี้

อัตราค่าบริการไฟฟ้า ค่าพลังงานไฟฟ้า
สําหรับสถานี (Energy Charge) ค่าบริการรายเดือน
ค่า Ft (บาท/หน่วย)
อัดประจุไฟฟ้าแบบ Low (บาท/หน่วย) (บาท/ราย/เดือน)
Priority On Peak Off Peak
แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป ให้เป็นไปตามอัตราที่
แรงดัน 22-33 กิโลโวลต์ กกพ. เห็นชอบ
แรงดันตํ่ากว่า 22 กิโล 2.6369 312.24 ซึ่งจะมีการทบทวนทุก 4
โวลต์ เดือน

2) เห็นควรให้การไฟฟ้าฝ่ายจําหน่ายดําเนินการ เมื่อข้อปฏิบัติทางเทคนิคของการไฟฟ้าฝ่าย
จําหน่ายตามพื้ นที่รับผิดชอบมีผ ลบังคับใช้ และดําเนินการเป็นระยะเวลา 2 ปี หรือจนกว่า จะมี
ประกาศโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าใหม่ ทั้งนี้ เป็นไปตามมติ ของ กพช. เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2563
3) เห็นควรให้ กฟภ. ดําเนินการปรับแก้ไขข้อตกลงแก้ไขเพิ่ มเติมสัญญาซื้อขายไฟฟ้า สําหรับ
สถานี อั ด ประจุ ไ ฟฟ้า แบบ Low Priority ให้ ส อดคล้ อ งกั บ บทปรั บ ของ กฟน. ตามมติ กกพ.
เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2563
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority มติที่ประชุม กพช. ขยายอัตราค่าไฟฟ้าจนถึงปี 256811
ฝ่ายกลยุทธ์การตลาด (ฝกต.)
กองกลยุทธ์หน่วยบริการลูกค้า (กกล.)
แผนกประสานงานบริการลูกค้า (ผงบ.)
โทร. 02-0099339

ผลการดําเนินงานการขอใช้ไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุ
2
ไฟฟ้าสําหรับยานยนต์ไฟฟ้า แบบ Low Priority

สถานะข้อมูล ณ 4 ตุลาคม 2565


ข้ อ 3.1 ขออนุ มั ติ ก ระบวนงาน (Work Flow)
ขอใช้ไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุสําหรับยานยนต์
ไฟฟ้าแบบLow Priority และกํ าหนดผู้ รั บผิ ดชอบ
การดําเนินงานที่เกี่ยวกับการเชื่อมต่อสถานีอัดประจุ
ไฟฟ้ า สํ า หรั บ ยานยนต์ ไ ฟฟ้ า แบบ Low Priority
สําหรับผู้ใช้ไฟฟ้ารายเดิมและผู้ใช้ไฟฟ้ารายใหม่
ข้ อ 3.2 ขออนุ มั ติ แ บบฟอร์ ม การขอใช้ ไ ฟฟ้า
สําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์ไฟฟ้า
แบบ Low Priority (เพิ่ มเติ ม ) สํ า หรั บ ผู้ ข อใช้
ไฟฟ้า และแบบฟอร์มตรวจสอบเอกสารการขอใช้
ไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์
ไฟฟ้าฯ สําหรับพนักงาน กฟภ.

ตามอนุมัติ ผวก. ลงวัน ที่ 3 สิ ง หาคม 2564 เรื่องขออนุมัติกระบวนงาน (Work Flow) การขอใช้ไ ฟฟ้า
สําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์ไฟฟ้าแบบ Low Priority
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
2
ช่องทางการยื่นคําร้องการขอใช้ไฟฟ้า
สําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าแบบ Low Priority
ในส่วนของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA)

แผนกประสานงานบริการลูกค้า (ผงบ.) กองกลยุทธ์หน่วยบริการลูกค้า (กกล.)


ชั้น 2 อาคาร 2 สํานักงานใหญ่ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค กรุงเทพฯ

แผนกบริการและงานธุรกิจ กองบริการลูกค้า สํานักงานการไฟฟ้าเขต


ทั้ง 12 แห่ง ทั่วประเทศ

แผนกบริการลูกค้า/แผนกบริการลูกค้าและการตลาด
สํานักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ทั่วประเทศ
สถานะการขอใช้ไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้า
สําหรับยานยนต์ไฟฟ้า แบบ Low Priority (ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2565)

=2 = 15
ยื่นคําร้อง กฟภ.สนญ. ยื่นคําร้อง กฟภ.สนญ.
Nov 2021 Mar 2022
EV Station Low Priority

46 =1 = 20
ยื่นคําร้อง กฟภ.สนญ. ยื่นคําร้อง กฟภ.สนญ.
Feb 2022 Apr 2022

่ ืน
EV Station ทีย ่ ขอ
อัตรา Low Priority ยื่นคําร้อง การไฟฟ้าหน้างาน =8
Jan – Aug 2022
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
สถานะการขอใช้ไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้า
สําหรับยานยนต์ไฟฟ้า แบบ Low Priority
กําหนดช่องทางการติดตามผลสถานะคําร้องการขอใช้ไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์ไฟฟ้า
แบบ Low Priority ผ่านระบบ Dashboard (หนังสือเลขที่ กกต. 637/2565 ลงวันที่ 21 กันยายน 2565)

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


กระบวนงาน (Work Flow) และแบบฟอร์มขอใช้ไฟฟ้า
สําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์ไฟฟ้าแบบ Low Priority
3
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
หมายเหตุ ระยะเวลาของกระบวนการตั้งแต่ลูกค้ายื่นคําร้องขอใช้ไฟฟ้า จนได้รับอนุมัติอัตราค่าไฟฟ้าแบบ Low Priority
ใช้เวลาดําเนินการประมาณ 15-30 วันทําการ ทั้งนี้ไม่นับรวมระยะเวลาขยายเขตระบบจําหน่ายไฟฟ้า ระยะเวลารอลูกค้าชําระเงิน
ระยะเวลารอที่ลูกค้าขอเอกสารอนุญาตจาก กกพ. และระยะเวลาการปรับปรุงระบบไฟฟ้าภายในของลูกค้าให้เป็นไปตามมาตรฐานที่
กฟภ. กําหนด โดยเมื่อตรวจสอบผ่านทั้งหมดลูกค้าจะได้เริม่ ใช้อัตรา Low Priority ในรอบบิลเดือนถัดไป
ขั้นตอนการขอใช้ไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าแบบ
Low Priority ในส่วนของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA)

PEA ดําเนินการตรวจสอบมาตรฐานการ
ติดตั้งระบบอัดประจุไฟฟ้า
หลังจากที่ลูกค้าก่อสร้างสถานีอัดประจุไฟฟ้าแล้วเสร็จ PEA
นั ดหมายลู กค้ าเพื่ อดํ าเนิ นการตรวจสอบมาตรฐานตามที่ PEA
กําหนด

- แบบมาตรฐาน : การติดตั้งทางไฟฟ้าสถานีอัดประจุยานยนต์
ไฟฟ้าสําหรับสถานประกอบการ (การประกอบเลขที่ 0903)
- แบบมาตรฐาน : ข้อกําหนดทั่วไปสําหรับการติดตั้งทางไฟฟ้า
ระบบอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้า (การประกอบเลขที่ 9807)

สามารถศึกษารายละเอียด
มาตรฐาน EV code ได้ที่
ระเบี ย บ กฟภ. ว่ า ด้ ว ยข้ อ กํ า หนดการ
เชื่อมต่อสถานีอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยาน
ยนต์ไฟฟ้า พ.ศ. 2563
กระบวนงาน (Work Flow) การขอใช้ไฟฟ้ารายใหม่ สําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์
ไฟฟ้าแบบ Low Priority
ระยะเวลา
หน่วยงาน ผู้ขอใช้ ระบบงาน / มาตรฐาน /เอกสาร/แบบฟอร์ม
กิจกรรม ที่รับผิดชอบ ไฟฟ้า
กฟภ. ดําเนินการ
ที่เกี่ยวข้อง
หมายเหตุ
(วันทําการ)

1 รับคําร้องและตรวจสอบคําร้องขอใช้ไฟฟ้า - ผรล. กกต. - ระบบ SAP (CS) 1. ให้ผู้ประกอบการบันทึกเอกสารข้างต้นใน


1.1 ตรวจสอบคําร้องขอใช้ไฟฟ้า - ผบธ. กบล. รับ - ระบบทะเบียนราษฎร์ รู ป แบบไฟล์ PDFลงใน CD-ROM หรื อ
1.1.1 ตรวจสอบภาระผูกพั นของผู้ใช้ไฟฟ้า - ผบค. กฟฟ. Flash Drive จํานวน 1 ชุด เพื่ อประกอบการ
คําร้อง
- ระบบ PEA MAP
1.1.2 ตรวจสอบรายละเอี ย ดและความถู ก ต้ อ ง ชั้น 1-3 ผู้ขอใช้ไฟฟ้า ขอใช้ไฟฟ้า ยื่นขอใช้ไฟฟ้า
ครบถ้ ว นของเอกสาร หากไม่ ค รบให้ แ จ้ ง ผู้ ใ ช้ ไ ฟฟ้า ขอ - ผบต. กฟส.
ยื่นเอกสาร /ขอขยาย - แบบฟอร์มการขอใช้ไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้า 2. การตรวจวัดและทดสอบความปลอดภัย
เขตไฟฟ้า
เอกสารเพิ่ มเติม ใหม่(ถ้ามี) (เพิ่ มเติม) สําหรับผู้ขอใช้ไฟฟ้า ของระบบอัดประจุไฟฟ้า (ข้อ 1.2.4.1) จาก
1.1.3 ตรวจสอบข้อมูล GIS - แบบฟอร์มตรวจสอบเอกสารขอใช้ไฟฟ้าสําหรับสถานี หน่วยงานภายนอก (Third party) สามารถ
1.2 สร้างใบคําร้อง/ใบสั่งขาย/ใบแจ้งหนี้ นําหลักฐานการตรวจวัดฯ มาประกอบการ
อัดประจุไฟฟ้า สําหรับพนักงาน กฟภ.
1.2.1 สร้ า งใบคํ า ร้ อ งในระบบ CS รหั ส คํ า ร้ อ ง Y1 ยื่นคําร้องต่อพนักงานได้โดยจะต้องเป็นไป
เลือกรหัส S123 : ขอใช้ไฟสถานี EV low Priority ตามเกณฑ์มาตรฐานที่ กทอ. กําหนดไว้
(ดําเนินการตาม Model EV Low Priority) ขั้นตอน 3. การทดสอบสถานะการอั ด ประจุ ไ ฟฟ้า
1.2.2 สร้ า งใบคํา ร้ อ งในระบบ CS รหั ส คํา ร้ อ ง Y2 1–2 (ข้ อ 1.2.4.2) จากหน่ ว ยงานภายนอก
เลือกรหัส S201 : ขอขยายเขตไฟฟ้าใหม่และเรี ยกเก็ บค่ า (Third party) สามารถนําหลักฐาน แสดงผล
สํ า รวจ ออกแบบหรื อ ค่า ตรวจสอบแบบตามระเบีย บ 1 วันทําการ** การทดสอบดั ง กล่ า วหรื อ เอกสารการขึ้ น
กฟภ.รวมทั้งสร้างใบสั่งขาย/ใบแจ้งหนี้ค่าสํารวจ ออกแบบ N เอกสาร ทะเบี ย นกั บ กฟภ. มาประกอบการยื่ น คํ า
หรือค่าตรวจสอบแบบตามระเบียบ กฟภ. พร้อมตั้งหนี้ใน ประกอบ หากมีการแก้ไข ร้องต่อพนักงานได้
ระบบ SAP กรณีผู้ขอใช้ไฟฟ้าพร้อมชําระเงิน (ถ้ามี) ครบถ้วน /ปรับปรุง
4. การทดสอบการควบคุมปฏิบัติการระบบ
1.2.3 สร้ างใบคําร้ องในระบบ CS รหั สคําร้ อง Y3 จะเริ่มนับ
เลือกรหัส S327 : ตรวจสอบและทดสอบสถานีอัดประจุไฟฟ้า ระยะเวลาวัน
โครงข่ายไฟฟ้า (CPO / PEA EVMS)
Y (ข้ อ 1.2.4.3) กฟภ. ขอสงวนสิ ท ธิ์ ใ นการ
1.2.4 สร้างใบสั่งขาย/ใบแจ้งหนี้เรียกเก็บค่าใช้จ่ายใน ทําการใหม่
รายการ S-3Q-106 : ค่าตรวจสอบทดสอบสถานีอัดประจุไฟฟ้า อีกครั้งและไม่ ดํ า เนิ น การเพื่ อความปลอดภั ย และเป็ น ไป
และค่าใช้จ่ายดําเนินการประกอบด้วย นับรวม มาตรฐานตามที่กําหนดไว้
1.2.4.1 การตรวจวั ดและทดสอบความปลอดภั ย ระยะเวลางาน
ของระบบอัดประจุไฟฟ้า (กรณี กฟภ. เป็นผู้ดําเนินการ) ขยายเขตไฟฟ้า
1.2.4.2 การทดสอบสถานะการอัดประจุไฟฟ้า ใหม่
(กรณี กฟภ. เป็นผู้ดําเนินการ)
1.2.4.3 การทดสอบการควบคุ มปฏิ บัติการ
ระบบโครงข่ายไฟฟ้า (CPO / PEA EVMS)
1.3 พิ มพ์ คําร้อง/หนังสือแจ้งค่าใช้จ่าย/นัดหมายวัน
การตรวจสอบมาตรฐานฯ
1.4 ผู้ขอใช้ไฟฟ้าลงนามในคําร้อง

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


หมายเหตุ : จุดเชื่อมต่อ Flow chart
กระบวนงาน (Work Flow) การขอใช้ไฟฟ้ารายใหม่ สําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์
ไฟฟ้าแบบ Low Priority
ผู้ขอติดตัง้
ระยะเวลา
หน่วยงาน มิเตอร์ ระบบงาน / มาตรฐาน /เอกสาร/แบบฟอร์ม
กิจกรรม ที่รับผิดชอบ เครื่องที่
กฟภ. ดําเนินการ
ที่เกี่ยวข้อง
หมายเหตุ
(วันทําการ)
สอง
2 . รั บ ชํ า ร ะ เ งิ น ค่ า ธ ร ร ม เ นี ย ม ข อ ใ ช้ ไ ฟ ฟ้ า , - ผกง.กกง. - ระบบ SAP (BPM : Bill and Payment Management กรณีผู้ขอใช้ไฟฟ้ายื่นที่ กฟภ. สํานักงานใหญ่
1. ผรล. กกต. ระบุรหัสสํานักงานขายของ กฟฟ. ใน
หลัก ประกันการใช้ไฟฟ้า, ค่าบริก ารการตรวจสอบ - ผบป.กฟฟ. System) พื้ นที่ของผู้ขอใช้ไฟฟ้า
และทดสอบสถานี อั ด ประจุ ไ ฟฟ้า (ข้ อ 1.2.4.1 - ชั้น 1-3 2. ผรล. กกต. จัดส่งเอกสารประกอบการขอใช้ไฟฟ้า
1.2.4.3) พร้อมพิ มพ์ ใบเสร็จให้ผู้ขอใช้ไฟฟ้า - ผบง.กฟส. ผู้ขอใช้ไฟฟ้า และสําเนาใบเสร็จรับเงินให้ กฟฟ. ชั้น 1-3 หรือ กฟส.
รับชําระเงิน
ชําระเงิน โดยวิธีการ ดังนี้
2.1 จั ด ทํ า บั น ทึ ก นํ า ส่ ง เอกสารฯทางระบบสาร
บรรณอิเล็กทรอนิกส์แบบรวมศูนย์ (DDOC)
2.2 จั ด ส่ ง เอกสารประกอบการขอใช้ ไ ฟฟ้า ทาง
ไปรษณีย์
2.3 อัพโหลดไฟล์เอกสารประกอบการขอใช้ไฟฟ้า
และใบเสร็จรับเงินทาง ftp://cmd.pea.co.th

กรณีลูกค้าขอขยายเขตระบบไฟฟ้า/ติดตั้งหม้อแปลง
กระบวนงาน ให้ดําเนินการ ดังนี้
ขยายเขต
(ระ ยะ เวลาการดํ า เนิ น การเป็ น ไ ป ต าม ม าต รฐ าน
ระบบไฟฟ้า
คุณภาพบริการของ กฟภ.)
1. สํ า รวจ ออกแบบและประมาณการแจ้ ง ค่ า ใช้ จ่ า ย
พร้อมทั้งรับชําระเงินค่าขยายเขตระบบไฟฟ้า
2. ขยายเขตระบบไฟฟ้า/ปิดงานก่อสร้าง

3. ตรวจสอบมาตรฐานการติ ด ตั้ ง ระบบอั ด - ผบค.กฟฟ. - ระบบ SAP (WMS)


ประจุไฟฟ้าตามมาตรฐานที่ กฟภ. กําหนด ชั้น 1-3 - แบบฟอร์ มสํ าหรั บตรวจสอบการติ ดตั้ งระบบอั ดประจุ
แจ้งผู้ขอใช้ 3 วันทําการ**
- ผบต.กฟส. ไฟฟ้า ตรวจสอบ ยานยนต์ไฟฟ้าก่อนติดตั้งมิเตอร์
3.1 ผบค./ผบต. ประสานผู้ ใ ช้ ไ ฟและหน่ ว ยงานที่ ดําเนินการ มาตรฐานฯ
หากมีการแก้ไข แบ่งออกเป็น 2 แบบฟอร์ม
เกี่ยวข้อง เพื่ อตรวจสอบมาตรฐานฯ - กวฟ. แก้ไข
/ปรับปรุง 1. แบบฟอร์ มตรวจสอบการติ ดตั้ งระบบอั ดประจุ ไฟฟ้า
3.2 กวฟ. และ กบล. กฟข. เข้ าร่ วมตรวจสอบการ - กบล. กฟข. จะเริ่มนับ
ระยะเวลาวัน
ยานยนต์ไฟฟ้า ก่อนติดตั้งมิเตอร์สําหรับผู้ใช้ไฟฟ้าแรงตํ่า
ติดตั้งระบบอัดประจุไฟฟ้า N
ผ่านการ ทําการใหม่ หม้อแปลงจําหน่ายของ PEA
ตรวจสอบ อีกครั้ง 2. แบบฟอร์มตรวจสอบการติดตั้งระบบอัดประจุไฟฟ้า
ยานยนต์ไฟฟ้า ก่อนติดตั้งมิเตอร์สําหรับผู้ใช้ไฟฟ้าแรงสูง
Y โดยติดตั้งหม้อแปลงเฉพาะราย

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


หมายเหตุ : จุดเชื่อมต่อ Flow chart
กระบวนงาน (Work Flow) การขอใช้ไฟฟ้ารายใหม่ สําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์
ไฟฟ้าแบบ Low Priority
ผู้ขอติดตัง้
ระยะเวลา
หน่วยงาน มิเตอร์ ระบบงาน / มาตรฐาน /เอกสาร/แบบฟอร์ม
กิจกรรม ที่รับผิดชอบ เครื่องที่
กฟภ. ดําเนินการ
ที่เกี่ยวข้อง
หมายเหตุ
(วันทําการ)
สอง
4. กําหนดประเภทอัตราค่าไฟฟ้าเริ่มต้น - ผบค กฟฟ. - ระบบ SAP (CS)
ชั้น 1-3 - ตามอนุมัติ หลักเกณฑ์การคิดค่าไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุ
- ผบต.กฟส. กําหนด Low Priority เลขที่ กอธ.(ลฟ.) 267/2564 ข้ อ 2 การขอใช้
ประเภท
อัตราค่า 1 วันทําการ อัตราค่าไฟฟ้าแบบ Low Priority ของผู้ขอใช้ไฟฟ้า
ไฟฟ้า
เริ่มต้น
2.1 ผู้ขอใช้ไฟฟ้าใหม่ ให้นํา TOU meter ไปติดตั้งและ
ให้คิดค่าไฟฟ้าในอัตราประเภทถาวรหรือชั่วคราวไปก่อนแล้วแต่
กรณี โดยเมื่ อ ผ่ า นการตรวจสอบมาตรฐานการติ ด ตั้ ง EV
charger station ที่ กฟภ. กําหนดแล้วให้ดําเนินการดังนี้
2.1.1 กรณี คิ ด ค่ าไฟฟ้าในอั ต ราชั่ ว คราวไปก่ อนให้
เปลี่ยนไปคิดค่าไฟฟ้าอัตรา EV low priority ตั้งแต่วันที่ผ่าน
การตรวจสอบมาตรฐานทั นที สํ าหรั บค่ าไฟฟ้าก่ อนวั นผ่ านการ
ตรวจสอบมาตรฐานให้คิดในอัตราประเภทชั่วคราว
2.1.2 กรณี ที่ คิ ด ค่ าไฟฟ้าในอั ต ราถาวรไปก่ อ น ให้
เปลี่ยนไปคิดค่าไฟฟ้าอัตรา EV low priority ในเดือนถัดไป
5. จัดทําสัญญาซื้อขายไฟฟ้า - ฝบพ.กฟข. อํานาจอนุมัติการจัดทําสัญญาซื้อขายไฟฟ้า
- ผบป.กฟฟ. - ผู้ อํ า นวยการฝ่ า ยบั ญ ชี แ ละพลั ง งานไฟฟ้า ทุ ก เขต หรื อ ผู้
ชั้น 1-3 รักษาการแทนตําแหน่งดังกล่าว ลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า
นัดหมายผู้ และลงนามหนั ง สื อ แจ้ ง ยกเลิ ก สั ญ ญาซื้ อ ขายไฟฟ้ า กั บ
ขอใช้ไฟฟ้า
ทําสัญญา
ทําสัญญา 1 วันทําการ บุคคลภายนอกที่ใช้ไฟฟ้าระดับแรงดัน ตั้งแต่ 22-33 kV ที่
ซื้อขายไฟฟ้า ติ ด ตั้ ง หม้ อ แปลงเฉพาะรายขนาดรวมกั น เกิ น กว่ า 2,500
kVA ขึ้นไป
- ผู้จัดการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคชั้น1-3 หรือผู้รักษาการแทน
ตํ า แหน่ ง ดั ง กล่ า ว ลงนามสั ญ ญาซื้ อ ขายไฟฟ้า และลงนาม
หนังสือแจ้งยกเลิกสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับบุคคลภายนอกที่
ใช้ ไ ฟฟ้า ระดั บ แรงดั น 22-33 kVหรื อ ตํ่ า กว่ า ทิ่ ติ ด ตั้ ง หม้ อ
แปลงเฉพาะราย ขนาดรวมกั น ไม่ เ กิ น 2,500 kVA หรื อ ใช้
ไฟฟ้าจากหม้อแปลงร่วมกันของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


หมายเหตุ : จุดเชื่อมต่อ Flow chart
กระบวนงาน (Work Flow) การขอใช้ไฟฟ้ารายใหม่ สําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์
ไฟฟ้าแบบ Low Priority
ผู้ขอติดตัง้
ระยะเวลา
หน่วยงาน มิเตอร์ ระบบงาน / มาตรฐาน /เอกสาร/แบบฟอร์ม
กิจกรรม ที่รับผิดชอบ เครื่องที่
กฟภ. ดําเนินการ
ที่เกี่ยวข้อง
หมายเหตุ
(วันทําการ)
สอง
6. การติดตั้งมิเตอร์ - ผมต. กฟฟ. - ระบบ SAP (WMS, DM)
6.1 สร้ างใบสั่ งงาน (WMS) โดยอ้ างอิ งเลขที่ ใบ ชัน ้ 1-3 - ระบบ GIS
คําร้อง Y1 เปิดงาน ZW01 : Z01 ติดตั้งมิเตอร์และ - ผบต.กฟส. ติดตั้ง
3 -5 วันทําการ
อุปกรณ์ มิเตอร์
6.2 เบิ กมิ เตอร์ และหรื ออุ ปกรณ์ ประกอบ ผ่ าน
ใบสั่งงาน
6.3 ติ ดตั้ งมิ เ ตอร์ พร้ อมจ่ ายไฟ/แจ้ งให้ ผู้ขอใช้
ไฟฟ้าลงนามในใบสั่งงาน
6.4 สร้างประวัติมิเตอร์ (DM)
6.5 สร้าง/ปรับปรุงฐานข้อมูล GIS

7. ตรวจวัดและทดสอบระบบอัดประจุไฟฟ้า - ผบค. กฟฟ. - ระบบ SAP (WMS)


7.1 ผบค./ผบต. สร้ า งใบสั่ งงาน (WMS) โดย ชั้น 1-3 - ตา ม ระเ บี ยบก า รไฟฟ้ า ส่ ว น ภู มิ ภา ค ว่ า ด้ ว ย ข้ อ
3 วันทําการ**
อ้ างอิ งเลขที่ ใ บคํ าร้ อง Y3 เปิ ดงาน ZW03 : Z3O - ผบต. กฟส. แจ้งผู้ขอใช้ ตรวจวัด
ไฟฟ้า และ กํ าหนดการเชื่ อมต่ อสถานี อั ดประจุ ไฟฟ้าสํ าหรั บยานยนต์
ตรวจสอบทดสอบสถานีอัดประจุไฟฟ้า หากมีการแก้ไข
7.2 ผบค./ผบต. ประสานผู้ใช้ไฟฟ้าและหน่วยงานที่
ดําเนินการ ทดสอบ
มาตรฐานฯ ไฟฟ้า พ.ศ. 2563 ภาคผนวก 3
แก้ไข /ปรับปรุง
เกี่ยวข้อง เพื่ อตรวจวัดและทดสอบมาตรฐานฯ ดังนี้ จะเริ่มนับ ข้อ 2 การตรวจวัดและทดสอบตามมาตรฐาน IEC
7.2.1 กทอ. และ กฟข. ตรวจวั ด และทดสอบ - กทอ. ระยะเวลาวัน 60364-6 (Measuring procedure for testing
ความปลอดภัยของระบบอัดประจุไฟฟ้า (กรณี กฟภ. ทําการใหม่ electric charging stations)
- กฟข. อีกครั้ง
เป็นผู้ดําเนินการ) ข้อ 3 การทดสอบสถานะการอัดประจุไฟฟ้าเข้าสู่ยาน
7.2.2 กทอ. และ กฟข. ทดสอบสถานะการอั ด ยนต์ไฟฟ้า IEC 61851
N ผ่านการ
ประจุไฟฟ้า (กรณี กฟภ. เป็นผู้ดําเนินการ) ตรวจวัด
ข้อ 4 ทดสอบการควบคุมปฎิบัติการระบบโครงข่าย
7.2.3 กนว. และ กฟข. ทดสอบการควบคุ ม และ
- กนว. ทดสอบ ไฟฟ้า
ปฎิ บัติ ก ารระบบโครงข่ า ยไฟฟ้า โดยการรั บและส่ ง - กฟข.
ข้ อ มู ล ระหว่ า งผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารระบบควบคุ ม และบริ ห าร
จัดการสถานีอัดประจุไฟฟ้า (CPO) และระบบควบคุม Y
และบริ ห ารจั ด การระบบอั ด ประจุ ไ ฟฟ้า ของ กฟภ.
(PEA EVMS)

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


หมายเหตุ : จุดเชื่อมต่อ Flow chart
กระบวนงาน (Work Flow) การขอใช้ไฟฟ้ารายใหม่ สําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์
ไฟฟ้าแบบ Low Priority
ผู้ขอติดตัง้
ระยะเวลา
หน่วยงาน มิเตอร์ ระบบงาน / มาตรฐาน /เอกสาร/แบบฟอร์ม
กิจกรรม ที่รับผิดชอบ เครื่องที่
กฟภ. ดําเนินการ
ที่เกี่ยวข้อง
หมายเหตุ
(วันทําการ)
สอง
8. เปลี่ยนแปลงอัตราค่าไฟฟ้าสําหรับสถานีอัด - ผบค.กฟฟ. - ระบบ SAP (CS)
ประจุ ไ ฟฟ้า ของยานยนต์ ไ ฟฟ้า ภายใต้ เ งื่ อ นไข ชั้น 1-3
แจ้งผู้ขอใช้
การบริหารจัดการแบบ EV Low Priority ไฟฟ้า
เริ่มต้นใช้อัตรา
EV Low 1 วันทําการ
(ตามอนุมัติหลักเกณฑ์การคิดค่าไฟฟ้าสําหรับ ทราบ Priority

สถานีอัดประจุ Low Priority เลขที่ กอธ.(ลฟ.)


267/2564 ลว. 17 มีนาคม 2564) และแจ้ง
กําหนดวันเริ่มต้นการใช้อัตราค่าไฟฟ้าใหม่ให้
ผู้ใช้ไฟฟ้าทราบ

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


หมายเหตุ : จุดเชื่อมต่อ Flow chart
กระบวนงาน (Work Flow) การขอใช้ไฟฟ้ารายเดิม สําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์
ไฟฟ้าแบบ Low Priority
ผู้ขอติดตั้ง
ระยะเวลา
หน่วยงาน มิเตอร์ ระบบงาน / มาตรฐาน /เอกสาร/แบบฟอร์ม
กิจกรรม ที่รับผิดชอบ เครื่องที่
กฟภ. ดําเนินการ
ที่เกี่ยวข้อง
หมายเหตุ
(วันทําการ)
สอง

1. รั บคํ าร้ องและตรวจสอบคํ าร้ องขอเปลี่ ยนมิ เตอร์ - ผรล. กกต. - ระบบ SAP (CS) 1. ให้ ผู้ ประกอบการบั นทึ กเอกสารข้ างต้ นใน
ประเภทสถานี อัดประจุ ไ ฟฟ้า สํ า หรั บยานยนต์ ไ ฟฟ้า - ผบธ. กบล. รับ - ระบบทะเบียนราษฎร์ รู ปแบบไฟล์ PDF ลงใน CD-ROM หรื อ
แบบ Low Priority - ผบค. กฟฟ. Flash Drive จํานวน 1 ชุด เพื่ อประกอบการ
คําร้อง
- ระบบ PEA MAP
1.1 ตรวจสอบคํ า ร้ องขอเปลี่ ยนมิ เ ตอร์ ประเภทสถานี อัด ชั้น 1-3 ผู้ขอใช้ไฟฟ้า ขอใช้ไฟฟ้า ยื่นขอใช้ไฟฟ้า
ประจุฯ - ผบต. กฟส.
ยื่นเอกสาร /ขอขยาย - แบบฟอร์มการขอใช้ไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้า 2. การตรวจวัดและทดสอบความปลอดภัย
เขตไฟฟ้า
1.1.1 ตรวจสอบภาระผู กพั นของผู้ ขอเปลี่ ยนมิ เ ตอร์ ใหม่(ถ้ามี) (เพิ่ มเติม) สําหรับผู้ขอใช้ไฟฟ้า ของระบบอัดประจุไฟฟ้า (ข้อ 1.2.3.1) จาก
ประเภทสถานีอัดประจุฯ - แบบฟอร์มตรวจสอบเอกสารขอใช้ไฟฟ้าสําหรับสถานี หน่วยงานภายนอก (Third party) สามารถ
1.1.2 ตรวจสอบรายละเอี ย ดและความถู ก ต้ อ ง อัดประจุไฟฟ้า สําหรับพนักงาน กฟภ. นําหลักฐานการตรวจวัดฯ มาประกอบการ
ครบถ้ ว นของเอกสาร หากไม่ ค รบให้ แ จ้ ง ผู้ ใ ช้ ไ ฟฟ้า ขอ ยื่นคําร้องต่อพนักงานได้โดยจะต้องเป็นไป
เอกสารเพิ่ มเติม ตามเกณฑ์มาตรฐานที่ กทอ. กําหนดไว้
1.1.3 ตรวจสอบข้อมูล GIS ขั้นตอน 3. การทดสอบสถานะการอั ด ประจุ ไ ฟฟ้า
1.2 สร้างใบคําร้อง/ใบสั่งขาย/ใบแจ้งหนี้ 1–2 (ข้ อ 1.2.3.2) จากหน่ ว ยงานภายนอก
1.2.1 สร้างใบคําร้องในระบบ CS รหัสคําร้อง Y1เลือก (Third party) สามารถนําหลักฐาน แสดงผล
รหัส S126 : ขอเปลี่ยนมิเตอร์/ประเภทการใช้ไฟฟ้า EV Low 1 วันทําการ** การทดสอบดั ง กล่ า วหรื อ เอกสารการขึ้ น
1.2.2 สร้ า งใบคํ า ร้ อ งในระบบ CS รหั ส คํ า ร้ อ ง Y3 N เอกสาร ทะเบีย นกับ กฟภ.ฯ มาประกอบการยื่น คํา
เลือกรหัส S327 : ตรวจสอบและทดสอบสถานีอัดประจุไฟฟ้า ประกอบ หากมีการแก้ไข ร้องต่อพนักงานได้
1.2.3 สร้างใบสั่งขาย/ใบแจ้งหนี้เรียกเก็บค่าใช้จ่ายใน ครบถ้วน /ปรับปรุง
4. การทดสอบการควบคุมปฏิบัติการระบบ
รายการ S-3Q-106 : ค่าตรวจสอบทดสอบสถานีอัดประจุ จะเริ่มนับ
ไฟฟ้าและค่าใช้จ่ายดําเนินการประกอบด้วย ระยะเวลาวัน
โครงข่ายไฟฟ้า (CPO / PEA EVMS)
Y (ข้ อ 1.2.3.3) กฟภ. ขอสงวนสิ ท ธิ์ ใ นการ
1.2.3.1 การตรวจวั ดและทดสอบความปลอดภั ย ทําการใหม่
ของระบบอัดประจุไฟฟ้า (กรณี กฟภ. เป็นผู้ดําเนินการ) อีกครั้งและไม่ ดํ า เนิ น การเพื่ อความปลอดภั ย และเป็ น ไป
1.2.3.2 การทดสอบสถานะการอั ด ประจุ ไ ฟฟ้า นับรวม มาตรฐานตามที่กําหนดไว้
(กรณี กฟภ. เป็นผู้ดําเนินการ) ระยะเวลางาน
1.2.3.3 การทดสอบการควบคุ มปฏิ บัติการระบบ ขยายเขตไฟฟ้า
โครงข่ายไฟฟ้า (CPO / PEA EVMS) ใหม่

1.3 พิ มพ์ คําร้อง/หนังสือแจ้งค่าใช้จ่าย/นัดหมายวัน


การตรวจสอบมาตรฐานฯ
1.4 ผู้ขอใช้ไฟฟ้าลงนามในคําร้อง

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


หมายเหตุ : จุดเชื่อมต่อ Flow chart
กระบวนงาน (Work Flow) การขอใช้ไฟฟ้ารายเดิม สําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์
ไฟฟ้าแบบ Low Priority
ผู้ขอติดตัง้
ระยะเวลา
หน่วยงาน มิเตอร์ ระบบงาน / มาตรฐาน /เอกสาร/แบบฟอร์ม
กิจกรรม ที่รับผิดชอบ เครื่องที่
กฟภ. ดําเนินการ
ที่เกี่ยวข้อง
หมายเหตุ
(วันทําการ)
สอง
2. รั บ ชํ า ระเงิ น ค่ า ธรรมเนี ย มขอใช้ ไ ฟฟ้า (ถ้ า มี ) , - ผกง. กกง. - ระบบ SAP (BPM : Bill and Payment กรณีผู้ขอใช้ไฟฟ้ายื่นที่ กฟภ. สํานักงานใหญ่
1. ผรล. กกต. ระบุรหัสสํานักงานขายของ กฟฟ. ใน
หลั ก ประกั น การใช้ ไ ฟฟ้า (ถ้ า มี ) , ค่ า บริ ก ารการ - ผบป.กฟฟ. Management System) พื้ นที่ของผู้ขอใช้ไฟฟ้า
ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ ท ด ส อ บ ส ถ า นี อั ด ป ร ะ จุ ไ ฟ ฟ้ า ชั้น 1-3 2. ผรล. กกต. จัดส่งเอกสารประกอบการขอใช้ไฟฟ้า
(ข้อ 1.2.3.1 - 1.2.3.3) พร้อมพิ มพ์ ใบเสร็จให้ผู้ขอใช้ - ผบง.กฟส. ผู้ขอใช้ไฟฟ้า และสําเนาใบเสร็จรับเงินให้ กฟฟ. ชั้น 1-3 หรือ กฟส.
รับชําระเงิน
ชําระเงิน โดยวิธีการ ดังนี้
ไฟฟ้า 2.1 จั ด ทํ า บั น ทึ ก นํ า ส่ ง เอกสารฯทางระบบสาร
บรรณอิเล็กทรอนิกส์แบบรวมศูนย์ (DDOC)
2.2 จั ด ส่ ง เอกสารประกอบการขอใช้ ไ ฟฟ้า ทาง
ไปรษณีย์
2.3 อัพโหลดไฟล์เอกสารประกอบการขอใช้ไฟฟ้า
และใบเสร็จรับเงินทาง ftp://cmd.pea.co.th

3. ตรวจสอบมาตรฐานการติ ด ตั้ ง ระบบอั ด - ผบค.กฟฟ. - ระบบ SAP (WMS)


ประจุไฟฟ้า ตามมาตรฐานที่ กฟภ. กําหนด ชั้น 1-3 แจ้งผู้ขอใช้
3 วันทําการ** - แบบฟอร์ มสํ าหรั บตรวจสอบการติ ดตั้ งระบบอั ดประจุ
ไฟฟ้า ตรวจสอบ
- ผบต.กฟส. ดําเนินการ มาตรฐานฯ ยานยนต์ไฟฟ้าก่อนติดตั้งมิเตอร์
3.1 ผบค./ผบต. ประสานผู้ ใ ช้ ไ ฟและหน่ ว ยงานที่ หากมีการแก้ไข
แก้ไข แบ่งออกเป็น 2 แบบฟอร์ม
เกี่ยวข้อง เพื่ อตรวจสอบมาตรฐานฯ - กวฟ. /ปรับปรุง
จะเริ่มนับ 1. แบบฟอร์ มตรวจสอบการติ ดตั้ งระบบอั ดประจุ ไฟฟ้า
3.2 กวฟ. และ กบล. กฟข. เข้ าร่ วมตรวจสอบการ - กบล. กฟข.
N ระยะเวลาวัน ยานยนต์ไฟฟ้า ก่อนติดตั้งมิเตอร์สําหรับผู้ใช้ไฟฟ้าแรงตํ่า
ติดตั้งระบบอัดประจุไฟฟ้า ผ่านการ ทําการใหม่
ตรวจสอบ หม้อแปลงจําหน่ายของ PEA
อีกครั้ง
2. แบบฟอร์มตรวจสอบการติดตั้งระบบอัดประจุไฟฟ้า
Y ยานยนต์ไฟฟ้า ก่อนติดตั้งมิเตอร์สําหรับผู้ใช้ไฟฟ้าแรงสูง
โดยติดตั้งหม้อแปลงเฉพาะราย

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


หมายเหตุ : จุดเชื่อมต่อ Flow chart
กระบวนงาน (Work Flow) การขอใช้ไฟฟ้ารายเดิม สําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์
ไฟฟ้าแบบ Low Priority
ผู้ขอติดตัง้
ระยะเวลา
หน่วยงาน มิเตอร์ ระบบงาน / มาตรฐาน /เอกสาร/แบบฟอร์ม
กิจกรรม ที่รับผิดชอบ เครื่องที่
กฟภ. ดําเนินการ
ที่เกี่ยวข้อง
หมายเหตุ
(วันทําการ)
สอง
4. จัดทําสัญญาซื้อขายไฟฟ้า - ฝบพ.กฟข. อํานาจอนุมัติการจัดทําสัญญาซื้อขายไฟฟ้า
- ผบป.กฟฟ. - ผู้อํานวยการฝ่ายบัญชีและพลังงานไฟฟ้าทุกเขต หรือผู้รักษาการ
ชั้น 1-3 นัดหมายผู้ แทนตํ า แหน่ ง ดั ง กล่ า ว ลงนามสั ญ ญาซื้ อ ขายไฟฟ้า และลงนาม
ขอใช้ไฟฟ้า
ทําสัญญา หนังสือแจ้งยกเลิกสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับบุคคลภายนอกที่ใช้ไฟฟ้า
ทําสัญญา 1 วันทําการ
ระดับแรงดัน ตั้งแต่ 22-33 kV ที่ติดตั้งหม้อแปลงเฉพาะรายขนาด
ซื้อขายไฟฟ้า
รวมกันเกินกว่า 2,500 kVA ขึ้นไป
- ผู้ จั ด การการไฟฟ้า ส่ ว นภู มิ ภ าคชั้ น 1-3 หรื อ ผู้ รั ก ษาการแทน
ตําแหน่งดังกล่าว ลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าและลงนามหนังสือ
แจ้งยกเลิกสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับบุคคลภายนอกที่ใช้ไฟฟ้าระดับ
แรงดัน 22-33 kV หรือตํ่ากว่าทิ่ติดตั้งหม้อแปลงเฉพาะราย ขนาด
รวมกั น ไม่ เ กิ น 2,500 kVA หรื อ ใช้ ไ ฟฟ้า จากหม้ อ แปลงร่ ว มกั น
ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
5. ติดตั้ง/สับเปลี่ยน(กรณีที่ไม่ใช่ TOU)/เพิ่ ม - ผมต.กฟฟ. - ระบบ SAP (WMS, DM)
ขนาด มิเตอร์ ชั้น 1-3 - ระบบ GIS
- ผบต.กฟส. ตามอนุมัติ หลักเกณฑ์การคิดค่าไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุ Low
5.1 สร้างใบสั่งงาน (WMS) โดยอ้างอิงเลขที่ใบ
Priority เลขที่ กอธ.(ลฟ.) 267/2564
คําร้อง Y1 แบ่งเป็น ข้อ 2 การขอใช้อัตราค่าไฟฟ้าแบบ Low Priority ของผู้ใช้ไฟฟ้า
5.1.1 กรณีติดตั้งมิเตอร์ใหม่ เปิดงาน ZW01 ติดตั้ง /
2.2 ผู้ ใช้ ไ ฟฟ้า รายเดิ ม แต่ ไ ด้ เ ปลี่ ย นแปลงการประกอบกิ จ การ
สับเปลี่ยน
: Z01 ติดตั้งมิเตอร์และอุปกรณ์ (กรณีที่ไม่ใช่ เป็ น EV charger station ภายใต้เงื่อนไข EV low priority ให้
3-5 วันทําการ
5.1.2 กรณีสับเปลี่ยนมิเตอร์ เปิดงาน ZW01 TOU) /
ดําเนินการดังนี้
เพิ่ มขนาด
: Z02 เปลี่ยนประเภทมิเตอร์ มิเตอร์ 2.2.1 Meter ที่ ติ ด ตั้ ง อยู่ ไ ม่ ใ ช่ TOU Meter ให้ นํ า TOU
5.1.3 กรณีเพิ่ มขนามิเตอร์ เปิดงาน ZW01 : Meter ไปสับเปลี่ยนโดยยกเว้นการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง
Z03 เพิ่ มขนาดมิเตอร์และอุปกรณ์ มิเตอร์กับผู้ใช้ไฟฟ้าที่เลือกใช้อัตรา TOU และเมื่อผ่านการตรวจสอบ
5.2 เบิก มิเตอร์ และหรืออุปกรณ์ประกอบ ผ่าน มาตรฐานการติดตั้ง EV charger station ที่ กฟภ. กําหนดแล้ว
ใบสั่งงาน ให้เริ่มคิดค่าไฟฟ้าอัตรา Low Priority ในเดือนถัดไป สําหรับเดือน
ที่รอการสับเปลี่ยนและเดือนที่สับเปลี่ยนมิเตอร์ให้คิดค่าไฟฟ้าอัตราที่
5.3 ติ ด ตั้ ง มิ เ ตอร์ พ ร้ อ มจ่ า ยไฟ/แจ้ ง ให้ ผู้ ข อใช้ ใช้อยู่เดิม
ไฟฟ้าลงนามในใบสั่งงาน 2.2.2 Meter ที่ ติ ด ตั้ ง อยู่ เ ป็ น TOU Meter เมื่ อ ผ่ า นการ
5.4 สร้างประวัติมิเตอร์ (DM) ตรวจสอบมาตรฐานการติดตั้ง EV charger station ที่ กฟภ. กําหนด
5.5 สร้าง/ปรับปรุงฐานข้อมูล GIS แล้ว ให้เริ่มคิดค่าไฟฟ้าตามอัตราฯ Low priority ในเดือนถัดไปที่ผู้ใช้
ไฟฟ้าได้เริ่มดําเนินการสถานีอัดประจุไฟฟ้าแล้ว

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


หมายเหตุ : จุดเชื่อมต่อ Flow chart
กระบวนงาน (Work Flow) การขอใช้ไฟฟ้ารายเดิม สําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์
ไฟฟ้าแบบ Low Priority
ผู้ขอติดตัง้
ระยะเวลา
หน่วยงาน มิเตอร์ ระบบงาน / มาตรฐาน /เอกสาร/แบบฟอร์ม
กิจกรรม ที่รับผิดชอบ เครื่องที่
กฟภ. ดําเนินการ
ที่เกี่ยวข้อง
หมายเหตุ
(วันทําการ)
สอง
6. ตรวจวัดและทดสอบระบบอัดประจุไฟฟ้า - ผบค. กฟฟ. - ระบบ SAP (WMS)
6.1 ผบค./ผบต. สร้างใบสั่งงาน (WMS) โดยอ้างอิง ชั้น 1-3 3 วันทําการ**
- ตา ม ระเ บี ยบก า รไฟฟ้ า ส่ ว น ภู มิ ภา ค ว่ า ด้ ว ย ข้ อ
เลขที่ใบคําร้อง Y3 เปิดงาน ZW03 : Z3O ตรวจสอบ - ผบต. กฟส.
หากมีการแก้ไข กํ าหนดการเชื่ อมต่ อสถานี อั ดประจุ ไฟฟ้าสํ าหรั บยานยนต์
ทดสอบสถานีอัดประจุไฟฟ้า แจ้งผู้ขอใช้ ตรวจวัด
6.2 ผบค./ผบต. ประสานผู้ ใช้ ไ ฟฟ้า และหน่ ว ยงานที่ ไฟฟ้า และ /ปรับปรุง ไฟฟ้า พ.ศ. 2563 ภาคผนวก 3
ดําเนินการ ทดสอบ จะเริ่มนับ
เกี่ยวข้อง เพื่ อตรวจวัดและทดสอบมาตรฐานฯ ดังนี้ แก้ไข มาตรฐานฯ
ระยะเวลาวัน
ข้ อ 2 การตรวจวั ด และทดสอบตามมาตรฐาน IEC
6.2.1 กทอ. และ กฟข. ตรวจวัดและทดสอบความ - กทอ. ทําการใหม่ 60364-6 (Measuring procedure for testing electric
ปลอดภั ย ของระบบอั ด ประจุ ไ ฟฟ้า (กรณี กฟภ. เป็ น อีกครั้ง charging stations)
- กฟข.
ผู้ดําเนินการ)
6.2.2 กทอ. และ กฟข. ทดสอบสถานะการอัดประจุ
ข้ อ 3 การทดสอบสถานะการอั ดประจุ ไฟฟ้าเข้ าสู่ ยาน
ไฟฟ้า (กรณี กฟภ. เป็นผู้ดําเนินการ) ยนต์ไฟฟ้า IEC 61851
6.2.3 กนว. และ กฟข. ทดสอบการควบคุมปฎิบัติ - กนว. N ผ่านการ ข้ อ 4 ทดสอบการควบคุ มปฎิ บั ติ การระบบโครงข่ าย
ตรวจวัด
การระบบโครงข่ายไฟฟ้าโดยการรับและส่งข้อมูลระหว่าง - กฟข. และ ไฟฟ้า
ผู้ให้บริการระบบควบคุมและบริหารจัดการสถานีอัดประจุ ทดสอบ
ไฟฟ้ า (CPO) และระบบควบคุ ม และบริ ห ารจั ด การ
ระบบอัดประจุไฟฟ้าของ กฟภ. (PEA EVMS)
Y

7. เปลี่ ยนแปลงอั ตราค่ าไฟฟ้าสํ าหรั บสถานี อัดประจุ - ผบค. กฟฟ. - ระบบ SAP (CS)
ไฟฟ้าของยานยนต์ ไฟฟ้าภายใต้ เงื่ อนไขการบริ หาร ชัน ้ 1-3
จัดการแบบ EV Low Priority (ตามอนุมัติหลักเกณฑ์ แจ้งผู้ขอใช้ เริ่มต้นใช้อัตรา
ไฟฟ้า EV Low 1 วันทําการ
การคิ ดค่ าไฟฟ้าสํ าหรั บสถานี อัดประจุ Low Priority ทราบ Priority
เลขที่ กอธ.(ลฟ.) 267/2564 ลว. 17 มีนาคม 2564) และ
แจ้ งกํ าหนดวั นเริ่ มต้ นการใช้ อัตราค่ าไฟฟ้าใหม่ ให้ ผู้ใช้
ไฟฟ้าทราบ

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


หมายเหตุ : จุดเชื่อมต่อ Flow chart
Y1 Y3
การรับคําร้อง EV low priority ผ่านระบบ SAP

สร้างใบคําร้องในระบบ CS รหัสคําร้อง Y1 สร้างใบคําร้องในระบบ CS รหัสคําร้อง Y3


- รายใหม่ เลือกรหัส S123 ขอใช้ไฟสถานีEV low Priority เลือกรหัส S327 : ตรวจสอบและทดสอบสถานีอัดประจุไฟฟ้า
- รายเดิม เลือกรหัส S126 ขอเปลี่ยน มิเตอร์/ประเภทการใช้ไฟฟ้า EV Low อ้างอิง บัญชีลูกหนี้ธุรกิจเสริม ขึ้นต้นด้วย 92........

สร้างใบสั่งขาย/ใบแจ้งหนี้
เรียกเก็บค่าใช้จ่ายในรายการ S-3Q-106 : ค่าตรวจสอบทดสอบสถานีอัด
ประจุไฟฟ้า ประกอบด้วย
1. ตรวจวัดและทดสอบความปลอดภัยของระบบอัดประจุไฟฟ้า
2.การทดสอบสถานะการอัดประจุไฟฟ้า
3. การทดสอบการควบคุมปฏิบัติการระบบโครงข่ายไฟฟ้า
(CPO / PEA EVMS)

สร้างใบสั่งงาน อ้างอิง Y1 สร้างใบสั่งงาน อ้างอิงY3


เปิดงานตามกรณี ดังนี้ เปิดงาน ZW03 : Z3O ตรวจสอบทดสอบสถานีอัดประจุไฟฟ้า
- กรณีติดตั้งมิเตอร์ใหม่ เปิดงาน ZW01 : Z01 ติดตั้งมิเตอร์และอุปกรณ์ 1. ตรวจวัดและทดสอบความปลอดภัยของระบบอัดประจุไฟฟ้า
- กรณีสับเปลี่ยนมิเตอร์ เปิดงาน ZW01 : Z02 เปลี่ยนประเภทมิเตอร์ 2.การทดสอบสถานะการอัดประจุไฟฟ้า
- กรณีเพิ่ มขนาดมิเตอร์ เปิดงาน ZW01 : Z03 เพิ่ มขนาดมิเตอร์และอุปกรณ์ 3. การทดสอบการควบคุมปฏิบัติการระบบโครงข่ายไฟฟ้า
(CPO / PEA EVMS)
สร้างใบคําร้องในระบบ CS รหัสคําร้อง Y1
รายใหม่ เลือกรหัส S123 ขอใช้ไฟสถานีEV low Priority
รายเดิม เลือกรหัส S126 ขอเปลี่ยน มิเตอร์/ประเภทการใช้ไฟฟ้า EV Low

รายเดิม เลือกรหัส S126 ขอเปลี่ยน


มิเตอร์/ประเภทการใช้ไฟฟ้า EV Low

รายใหม่ เลือกรหัส S123 ขอใช้ไฟ


สถานีEV low Priority
สร้างใบคําร้องในระบบ CS รหัสคําร้อง Y3
เลือกรหัส S327 : ตรวจสอบและทดสอบสถานีอัดประจุไฟฟ้า
อ้างอิง บัญชีลูกหนี้ธุรกิจเสริม ขึ้นต้นด้วย 92........

อ้างอิง บัญชีลูกหนี้ธุรกิจเสริม
ขึ้นต้นด้วย 92........

S327 : ตรวจสอบและทดสอบ
สถานีอัดประจุไฟฟ้า
การสร้างใบสั่งขาย/ใบแจ้งหนี้
เรียกเก็บค่าใช้จ่ายในรายการ
S-3Q-106 : ค่าตรวจสอบ/
ทดสอบสถานีอัดประจุไฟฟ้าฯ

Y3
คัดลอกออบเจ็ค (Objects)
ไปยังคลิปบอร์ด

สร้างใบเสนอราคา
การสร้างใบสั่งขาย/ใบแจ้งหนี้
เรียกเก็บค่าใช้จ่ายในรายการ
S-3Q-106 : ค่าตรวจสอบ/
ทดสอบสถานีอัดประจุไฟฟ้าฯ

Y3
เลือกบัญชีตามสัญญา

เลือกรายการ วัสดุ S-3Q-106


ค่าตรวจสอบ ทดสอบ
สถานีอัดประจุไฟฟ้า
3.2

แบบฟอร์ ม การขอใช้ ไ ฟฟ้า สํ า หรั บ สถานี อั ด ประจุ ไ ฟฟ้า สํ า หรั บ ยานยนต์


ไฟฟ้าแบบ Low Priority (เพิ่ มเติม) สําหรับผู้ขอใช้ไฟฟ้า และแบบฟอร์มตรวจสอบ
เอกสารการขอใช้ ไ ฟฟ้า สํ า หรั บ สถานี อั ด ประจุ ไ ฟฟ้า สํ า หรั บ ยานยนต์ ไ ฟฟ้า
แบบ Low Priority สําหรับพนักงาน กฟภ.
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
แบบฟอร์ ม การขอใช้ ไฟฟ้าสํ าหรั บสถานี อัด ประจุ ไฟฟ้าสํ าหรั บยานยนต์ ไฟฟ้า
แบบ Low Priority (เพิ่ มเติม) สําหรับผู้ขอใช้ไฟฟ้า

- หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลอายุ
ไม่เกิน 6 เดือน
- บัตรประจําตัวประชาชนของผู้มีอํานาจกระทําการ
แทนนิติบุคคล
- ใบทะเบียนการค้าของกรมสรรพากร (ภ.พ. 20)

- หนังสือมอบอํานาจและประทับตราสําคัญของ
นิติบุคคล (ถ้ามี)
- สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนหรือสําเนาหนังสือ
เดินทาง (Passport) ของผู้มอบอํานาจ
- บัตรประจําตัวประชาชนหรือหนังสือเดินทาง
(Passport) ของผู้รับมอบอํานาจ

หนังสือมอบอํานาจจะต้องติดอากรแสตมป์
(ข) มอบอํานาจให้บุคคลคนเดียว หรือหลายคนร่วมกระทําการมากกว่าครั้งเดียวปิดอากรแสตมป์ 30 บาท
(ค) มอบอํานาจให้กระทําการมากกว่าครั้งเดียว โดยให้บุคคลหลายคนต่างคนต่างกระทํากิจการแยกกันได้
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority คิดตามรายตัวบุคคลที่รับมอบคนละ 30 บาท
แบบฟอร์มตรวจสอบเอกสารการขอใช้ไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้า
สําหรับยานยนต์ไฟฟ้าแบบ Low Priority สําหรับพนักงาน PEA

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


เอกสารประกอบด้านวิศวกรรม

- แผนผังสถานีอัดประจุไฟฟ้า (Layout of EV Charging Station)


- แผนภูมิระบบไฟฟ้า (Single Line Diagram) แสดงการจัดวางและการ
เชื่อมต่อของอุปกรณ์ทั้งหมดโดยละเอียด และมีวิศวกรไฟฟ้าที่ได้รับ
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจากสภาวิศวกรลงนามรับรอง
- ตารางโหลด (Load Schedule) และรายการคํานวณทางไฟฟ้าที่มี
วิศวกรไฟฟ้าที่ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจากสภาวิศวกรลงนาม
รับรอง
- แบบแสดงการติดตั้งฐานรากและนั่งร้านหม้อแปลง และมีวิศวกรโยธาลง
นามรับรอง
- ข้อมูลทางเทคนิคของอุปกรณ์อื่นๆ เช่น หม้อแปลงไฟฟ้า รีเลย์ป้องกัน
เซอร์กิตเบรกเกอร์ เครื่องตัดไฟรั่ว เป็นต้น

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


เอกสารประกอบด้านวิศวกรรม

- สําเนาใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมที่เกี่ยวข้อง
- ข้อมูลทางเทคนิค (Specification) ของเครื่องอัดประจุไฟฟ้า
- ข้อมูลทางเทคนิคของระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า (Energy Storage
System) หรือเครื่องกําเนิดไฟฟ้าอื่นๆ (ถ้ามี)
- เอกสารแสดงการขึ้นทะเบียนเครื่องอัดประจุไฟฟ้ากับ กฟภ. (ถ้ามี)
- ใบอนุญาตขอประกอบกิจการจําหน่ายไฟฟ้า หรือหนังสือรับแจ้งการ
ประกอบกิจการพลังงานที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องขอรับใบอนุญาต
ประกอบกิจการจําหน่ายไฟฟ้า (สถานีอัดประจุไฟฟ้า)
* สามารถนํามายื่นแสดงก่อนวันจ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ (COD) ประเภท
อัตรา Low Priority ได้

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


แผนผังสถานีอัดประจุไฟฟ้า (Layout of EV Charging Station)
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
เน้นการเชื่อมต่อที่จะต้องระบุ CPO

แผนภูมิระบบไฟฟ้า (Single Line Diagram) แสดงการจัดวางและการเชื่อมต่อของ


อุปกรณ์ทั้งหมดโดยละเอียด เน้นการเชื่อมต่อที่จะต้องระบุ CPO และมีวิศวกรไฟฟ้าที่ได้รับ
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจากสภาวิศวกรลงนามรับรอง
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
แบบแสดงการติดตั้งฐานรากและนั่งร้านหม้อแปลง และมีวิศวกรโยธาลงนาม
รับรอง
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority 42
ข้ อ มู ล ทางเทคนิ ค ของอุ ป กรณ์ อ่ื น ๆ เช่ น หม้ อ แปลงไฟฟ้า รี เ ลย์ ป้ อ งกั น
เซอร์กิตเบรกเกอร์ เครื่องตัดไฟรั่ว เป็นต้น
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority 43
การดําเนินการตรวจสอบและทดสอบระบบอัดประจุไฟฟ้า
8 และการทดสอบสถานะการอัดประจุไฟฟ้า

8.1 การตรวจวัดและทดสอบความปลอดภัยของระบบอัด
ประจุไฟฟ้าตามมาตรฐาน IEC 60364-6

8.2 การทดสอบสถานะการอัดประจุไฟฟ้าเข้าสู่ยานยนต์ไฟฟ้า
ตามมาตรฐาน IEC 61851

ประสงค์ให้ กฟภ. เป็นผู้ดําเนินการ


ผู้ขอใช้ไฟฟ้าจัดหาหน่วยงาน/บุคคลภายนอกที่ข้น
ึ ทะเบียนกับ กฟภ.
มาเป็นผู้ดําเนินการ
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority 44
ช่องทางการค้นหาแหล่งข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้อง

หนังสือรับรองจดทะเบียนนิติบุคคล e-Service-Inquiry (dbd.go.th)


ระบบค้นหาข้อมูลผู้ประกอบ https://vsreg.rd.go.th/VATIN
การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ ม (ภพ 20) FOWSWeb/jsp/V001.jsp
ตรวจสอบข้อมูลใบอนุญาตประกอบ https://service.coe.or.th/veri
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม fy_license
รายชื่อผู้ได้รับใบอนุญาตจําหน่ายไฟฟ้า http://app04.erc.or.th/ELice
สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการ nse/Licenser/05_Reporting/
พลังงาน (กกพ.) 504_ListLicensing_Columns_
New.aspx?LicenseType=4
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
ช่องทางการค้นหาแหล่งข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้อง

การสืบค้นแบบมาตรฐานต่างๆ โดยพิ มพ์ ที่ช่องค้นหา intranet แล้วพิ มพ์ คําว่า


“กองวิศวกรรมระบบไฟฟ้า หรือ กวฟ.” ตามลิงค์ https://intranet.pea.co.th
/sites/pssdiv/
คลิกที' ค้นหาแบบมาตรฐาน

- แบบมาตรฐานและสเปก
- แบบมาตรฐานการก่อสร้าง
เอกสารแบบนัง ่ ร้านหม้อแปลง
- ฐานรากเสาคู่สําหรับรับนํ้าหนัก
หม้อแปลง ฯลฯ

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


หลักเกณฑ์การคิดค่าไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าฯ
4
ภายใต้เงื่อนไขการบริการจัดการแบบ Low Priority
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
ประกาศ กฟภ. เรื่องอัตราค่าไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าของยานยนต์ไฟฟ้าภายใต้เงื่อนไขการ
4.1 บริหารจัดการแบบ Low Priority โดย ผวก. ลงนาม ณ วันที่ 15 มีนาคม 2564 [หนังสือเลขที่
กอธ. (ลฟ) 267/2564 ลงวันที่ 17 มีนาคม 2564]

ค่าพลังงานไฟฟ้า 2.6369 บาท/หน่วย ค่าบริการ 312.24 บาท/เดือน


Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
ผู้ใช้ไฟฟ้ารายใหม่ ที่คิดอัตราชั่วคราวไปก่อน
เมื่ อ ผ่ า นมาตรฐานแล้ ว ให้ เ ปลี่ ย นไปคิ ด EV
Low ตั้งแต่วันที่ผ่านมาตรฐานฯ

่ ิดถาวรไปก่อน
ผู้ใช้ไฟฟ้ารายใหม่ ทีค
เมื่ อ ผ่ า นมาตรฐานแล้ ว ให้ เ ปลี่ ย นไปคิ ด EV
Low ในเดือนถัดไป

ผู้ ใ ช้ ไ ฟฟ้า รายเดิ ม ต้ อ งคิ ด เป็ น มิ เ ตอร์


TOU เ มื่ อ ผ่ า น ม า ต ร ฐ า น ฯ แ ล้ ว ใ ห้
เปลี่ยนไปคิด EV Low ในเดือนถัดไป

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


หลักการคิดค่าใช้จ่าย กรณีผู้ขอใช้ไฟฟ้าชั่วคราว เพื่ อการก่อสร้าง
4.2 ระบบไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้า สําหรับยานยนต์ไฟฟ้าฯ

ค่าสํารวจออกแบบหรือค่าตรวจสอบแบบ 5,350.-บาท (กรณีลูกค้าดําเนินการ/


จัดหาหม้อแปลงเอง)
ค่าหลักประกันการใช้ไฟฟ้า (2 เท่า) แต่ถ้าหากคาดว่าจะมีการใช้ไฟฟ้ามากจนเกิน
ครึ่งหนึ่งของวนเงินประกัน ก็ให้พิจารณาเรียกเก็บตามที่เห็นสมควร แต่ต้องไม่
เกิน 3 เท่า *สามารถชําระด้วยเงินสด/หนังสือคํ้าประกันของธนาคารก็ได้)

ค่าตรวจสอบการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า (ตามขนาดแอมป์ของมิเตอร์ที่ติดตั้ง)

ค่าตรวจสอบการก่อสร้างระบบแรงสูงภายใน 2,000.-บาท (กรณีลูกค้าดําเนินการ)

ค่าสมทบก่อสร้างและปรับปรุงระบบจําหน่ายตามขนาดหม้อแปลงที่ขอติดตั้ง
(ไม่เกิน 2,500 kV ค่าสมทบ kV ละ 100.-บาท ตั้งแต่ 2,501-5,000 kV
ค่าสมทบ kV ละ 150.-บาท เป็นต้น)

ค่าตรวจสอบหม้อแปลงไฟฟ้าราคาตามขนาดหม้อแปลง เริ่มต้นที่ 800.-บาท


Copyright © 2020 Provincial Electricity เฉพาะขนาดหม้
Authority อแปลงไฟฟ้า 500 kVA (กรณีลูกค้าดําเนินการจัดหา/ติดตั้ง)
การตรวจสอบมาตรฐานการติดตัง้ ระบบอัดประจุไฟฟ้า
5 ตามมาตรฐานที่ กฟภ. กําหนด
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
แบบฟอร์ ม ตรวจสอบการติ ด ตั้ ง ระบบอั ด ประจุ ย านยนต์
ไฟฟ้าก่อนติดตั้งมิเตอร์ สําหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่รับไฟฟ้าแรงสูง
โดยติดตั้งหม้อแปลงเฉพาะราย HV

ตามอนุมัติ ผวก. ลงวันที่ 4 กุมภาพั นธ์ 2564 (หนังสือเลขที่ กวฟ. (วต) 74/2564 ลงวันที่ 26 มกราคม 2564)
เรื่องขออนุมัติหลักเกณฑ์และแบบฟอร์มตรวจสอบการติดตั้งระบบอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าก่อนติดตั้งมิเตอร์
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
แบบฟอร์มตรวจสอบการติดตั้งระบบอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าก่อนติดตั้ง
มิเตอร์ สําหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่รับไฟฟ้าแรงสูงโดยติดตั้งหม้อแปลงเฉพาะราย HV
5

รูปแบบการต่อลงดินที่แผงเมนสวิตช์
- TN-C-S ใช้สายนิวทรัลเป็นสายดินส่วนหนึ่งของวงจร และมีการ

3.4
เดิ น สายดิ น ของบริ ภั ณ ฑ์ แ ยกต่ า งหากจากนิ ว ทรั ล ณ ตํ า แหน่ ง ที่
สายดินมีการต่อประสาน (Bonding) เข้ากับสายนิวทรัล
- TT สายดินของบริภัณฑ์จะต่อลงดินแยกอิสระต่างหากจาก
การต่อลงดินนิวทรัล
- TT บางส่วน (ต้นทาง TN-C-S และโหลดเป็น TT)

3.4.1 กรณีต่อลงดินแบบ TN-C-S ทั้งระบบ (ต้องมีมาตรการ


อย่างใดอย่างหนึ่ง)
- ค่าความต้านทานการต่อลงดิน ………..………. โอห์ม
กรณีมิเตอร์ 15(45), 5(45)A ต้องมีค่าความ
ต้านทานดินไม่เกิน 2.5 โอห์ม
กรณีมิเตอร์ 30(100), 5(100)A ต้องมีค่าความ
ต้านทานดินไม่เกิน 1.25 โอห์ม
แบบฟอร์มตรวจสอบการติดตั้งระบบอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าก่อนติดตั้ง
5
มิเตอร์ สําหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่รับไฟฟ้าแรงสูงโดยติดตั้งหม้อแปลงเฉพาะราย HV

EV Connector & Inlet (IEC – 62196)


แบบฟอร์มตรวจสอบการติดตั้งระบบอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าก่อนติดตั้ง
5
มิเตอร์ สําหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่รับไฟฟ้าแรงสูงโดยติดตั้งหม้อแปลงเฉพาะราย HV

การตรวจสอบมาตรฐาน EV Connector & Inlet


แบบฟอร์มตรวจสอบการติดตั้งระบบอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าก่อนติดตั้ง
5
มิเตอร์ สําหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่รับไฟฟ้าแรงสูงโดยติดตั้งหม้อแปลงเฉพาะราย HV

5.6.6 ต้องติดตั้งระบบป้องกันอันตรายต่อบุคคล (อย่างใดอย่างหนึ่ง)


- เครื่องตัดไฟรั่ว (RCD) type B ตามมาตรฐาน มอก. 2955
หรือ IEC 62423 พิ กัดกระแสรั่ว 𝐼∆" ≤ 30 mA
- เครื่องตัดไฟรั่ว (RCD) type A หรือ F ร่วมกับอปกรณ์ตัด
ไฟฟ้ารั่วกระแสตรง (RDC-DD) ขนาดพิ กัด 𝐼∆",$% ≥ 6 mA
*อุปกรณ์ RDC-DD อ้างอิงตาม IEC 62955
- เครื่องตัดไฟรั่ว (RCD) type B ตามมาตรฐาน มอก. 2955
หรือ IEC 62423 พิ กัดกระแสรั่ว 𝐼∆" ≤ 30 mA ที่ติดตั้ง
มาภายในเครื่องอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้า
- มีหม้อแปลงแยกขดลวด (Isolation Transformer) ติดตั้ง
มากับเครื่องอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้า

5.6.7 กรณีติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่ว (RCD) type สําหรับเครือ


่ งอัดประจุ
ยานยนต์ไฟฟ้า โดย RCD type B ต้องไม่ติดตั้งภายใต้ RCD
type อื่นๆ อยู่ที่เมนของวงจรนั้นๆ
5
หลักเกณฑ์/คู่มือแนะนํา/แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง
5.1

ระเบียบ กฟภ. ว่าด้วยข้อกําหนดการเชื่อมต่อของสถานีอัดประจุไฟฟ้า


สําหรับยานยนต์ไฟฟ้า พ.ศ. 2563 (EV Code)
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
หัวข้อการนําเสนอ

1. ความเป็นมา
2. วัตถุประสงค์และขอบเขต
3. ความรับผิดชอบของผู้ขอใช้บริการ
4. ข้อกําหนดทั่วไป
5. ระบบมาตรวัดไฟฟ้า และการขอใช้ไฟฟ้า
6. รูปแบบการเชื่อมต่อและระบบป้องกัน
7. การควบคุมคุณภาพไฟฟ้า
8. ระบบการแสดงผลและการควบคุมระยะไกล
9. การปฏิบัติการระบบโครงข่ายไฟฟ้า
10. ระบบการติดต่อสื่อสาร
59
6 รูปแบบการเชื่อมต่อและระบบป้องกัน

การเชื่อมต่อสถานีอัดประจุไฟฟ้าของผู้ขอใช้บริการเข้ากับระบบโครงข่ายไฟฟ้า
ผู้ขอใช้บริการจะต้องติดตั้งอุปกรณ์ไม่น้อยกว่าที่ กฟภ. กําหนด โดยมีรูปแบบ
การเชื่อมต่อตามภาคผนวก 5

เน้นการเชื่อมต่อที่จะต้องระบุ CPO
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
60
6 รูปแบบการเชื่อมต่อและระบบป้องกัน

เน้นการเชื่อมต่อที่จะต้องระบุ CPO
เน้นการเชื่อมต่อที่จะต้องระบุ CPO
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
61
6 รูปแบบการเชื่อมต่อและระบบป้องกัน

เน้นการเชื่อมต่อที่จะต้องระบุ CPO
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
62
6 รูปแบบการเชื่อมต่อและระบบป้องกัน

6.1 กรณีมิเตอร์ประธานและมิเตอร์แยก
เป็นมิเตอร์ประกอบซีที วีที แรงสูง

6.2 กรณีมิเตอร์ประธานเป็นมิเตอร์ประกอบซีที วีที แรงสูง


และมิเตอร์แยกเป็นมิเตอร์ประกอบซีที แรงตํ่า

เน้นการเชื่อมต่อที่จะต้องระบุ CPO
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
63
5.2

ขั้นตอนการขอขึ้นทะเบียนเครื่องอัดประจุไฟฟ้า และขั้นตอนการ
ขอขึ้นทะเบียนสถาบัน/หน่วยงานทดสอบเครื่องอัดประจุไฟฟ้า
สําหรับยานยนต์ไฟฟ้าของ กฟภ.
ั ิ ผวก. แต่งตั้งคณะทํางานขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์อุปกรณ์ไฟฟ้าในระบบไฟฟ้า
ตามอนุมต
อัจฉริยะและระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนของ กฟภ. เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2565
ตามคําสั่ง กฟภ. ที่ พ.(ก) 667/2565 โดย กมอ. ได้รับมอบหมายให้ดูแลงานการขึ้นทะเบียน
เครื่องอัดประจุไฟฟ้า และขั้นตอนการขอขึ้นทะเบียนสถาบัน/หน่วยงานทดสอบเครื่อง
อัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์ไฟฟ้าของ กฟภ.

ผู้ประสานงาน : กองควบคุมคุณภาพมาตรฐานระบบไฟฟ้า (กมอ.)


เบอร์ติดต่อภายใน : 5761
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
ขั้นตอนการขอขึ้นทะเบียนเครื่องอัดประจุไฟฟ้า และขั้นตอนการขอขึ้นทะเบียนสถาบัน/หน่วยงาน
5.2 ทดสอบเครื่องอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์ไฟฟ้าของ กฟภ.
(ผ่านหน่วยงาน กองควบคุมคุณภาพมาตรฐานระบบไฟฟ้า (กมอ.)

ภายในระยะเวลา 10 วันทําการ
เริ่มต้น
สรุปบันทึกและแก้ไขมติ
เอกสารไม่ครบ และหรือ
ที่ประชุมฯ แล้วเสร็จ
ไม่ผ่านการร่วมทดสอบ lab
ยื่นเรื่องขอขึ้นทะเบียน ภายในระยะเวลา 3 วันทําการ

ภายในระยะเวลา 5 วันทําการ เสนอ อฝ.วw. อนุมัติข้น


ึ ทะเบียน

ไม่ผ่าน ตรวจสอบเอกสาร ภายในระยะเวลา 2 วันทําการ


การพิ จารณา
ประกาศรายชื่อที่ผ่านการพิ จารณาขึ้น
ภายในระยะเวลา 10 วันทําการ
ทะเบียนผ่าน www.pea.co.th/vspp

ประชุมคณะทํางานฯ
พิ จารณาขึ้นทะเบียน จบการทํางาน

รวมระยะเวลาดําเนินการทั้งสิ้น 30 วันทําการ
เครื่องอัดประจุไฟฟ้าที่ผ่านการขึ้นทะเบียนกับ PEA

ATESS/EAANYWHERE/Grasen

www.pea.co.th/vspp (สถานะวันที่ 5 ตุลาคม 2565)


Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
รายชื่อสถาบัน/หน่วยงานทดสอบเครื่องอัดประจุไฟฟ้า
สําหรับยานยนต์ไฟฟ้าที่ผ่านการขึ้นทะเบียนกับ PEA

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


5.3

หลักเกณฑ์/แบบฟอร์มสําหรับการตรวจวัดและทดสอบความ
ปลอดภัยของระบบอัดประจุไฟฟ้าและการทดสอบสถานะการอัดประจุ
ไฟฟ้า รับผิดชอบโดย กองทดสอบอุปกรณ์สถานีไฟฟ้า (กทอ.)

หนังสือเลขที่ กทอ.(ก) 1278/2564 ลงวันที่ 8 กันยายน 2564

ผู้ประสานงาน : กองทดสอบอุปกรณ์สถานีไฟฟ้า (กทอ.)


เบอร์ติดต่อภายใน : 6275

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


การตรวจวัดและทดสอบความปลอดภัยของระบบอัดประจุไฟฟ้าและการทดสอบสถานะ
การอัดประจุไฟฟ้า รับผิดชอบโดย กองทดสอบอุปกรณ์สถานีไฟฟ้า (กทอ.)
การตรวจวัดและทดสอบความปลอดภัยของระบบอัดประจุไฟฟ้า

หลักเกณฑ์การตรวจวัดและทดสอบความปลอดภัยของระบบอัดประจุไฟฟ้า
สําหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่ติดตั้งเครื่องอัดประจุไฟฟ้าเข้าสู่ยานยนต์ไฟฟ้า
(1) รูปแบบการจ่ายไฟและการต่อลงกราวน์ของระบบ
(2) การตรวจสอบความเชื่อมต่อของระบบตัวนํา (Continuity of the conductors)
(3) ทดสอบค่าความต้านทานฉนวนทางไฟฟ้า (Insulation resistance)
(4) ทดสอบค่าความเป็นฉนวนของพื้ นและผนัง (Insulation resistance/Impedance of floors and walls)
(5) ทดสอบค่าความต้านทานหลักดินที่ใช้ป้องกันไฟฟ้าลัดวงจร ป้องกันไฟรั่ว (Earth resistance)
(6) ทดสอบอุปกรณ์ป้องกันไฟรั่ว (Testing of RCDs)
(7) ทดสอบความต้านทานของระบบไฟฟ้าขณะที่มีไฟฟ้าในระบบ (Fault loop impedance)
การทดสอบสถานะการอัดประจุไฟฟ้าเข้าสู่ยานยนต์ไฟฟ้า

(1) การตรวจสอบความสมบูรณ์ของการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องอัดประจุไฟฟ้ากับยานยนต์ไฟฟ้า (Verification that the


vehicle is properly connected)
(2) การตรวจสอบความต่อเนื่องของระบบกราวด์ (Continuous protective earth conductor continuity checking)
(3) ทดสอบการจ่ายไฟชาร์จ (Energization of the system)
(4) ทดสอบการปลดการจ่ายไฟชาร์จ (De-energization of the system)
(5) วัดแรงดันและกระแสของเครื่องอัดประจุไฟฟ้าขณะทดลองชาร์จ (Measuring current and voltage)
(6) วัดแรงดันไฟฟ้าที่ยานยนต์ไฟฟ้า (D.C.supply for EV)
(7) ตรวจสอบการยึด/การล็อก และการปลดล็อกของหัวชาร์จขณะอัดประจุ (retaining/locking and releasing of coupler)
(8) ตรวจสอบมาตรฐานการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องอัดประจุไฟฟ้าและยานยนต์ไฟฟ้า (compatibility assessment)
(9) วัดค่าฉนวนก่อนการอัดประจุ (insulation test before charging)
(10) ตรวจสอบความสมบูรณ์ของวงจรควบคุม (control circuit supply integrity)
(11) ตรวจสอบการลัดวงจรของเครื่องอัดประจุไฟฟ้าก่อนชาร์จ (short circuit test before charging)
(12) ทดสอบการปลดเครื่องอัดประจุไฟฟ้าโดยผู้ใช้งาน (User initiate shutdown)
(13) ทดสอบการปลดเครื่องอัดประจุไฟฟ้าโดยระบบฉุกเฉิน (Emergency shutdown)
5.4

หลั กเกณฑ์ /แบบฟอร์ มสํ าหรั บการทดสอบการควบคุ มปฏิ บั ติ การ


ระบบโครงข่ ายไฟฟ้า โดยการรั บและส่ งข้ อมู ลระหว่ างผู้ ให้ บริ การ
ระบบควบคุมและบริหารจัดการสถานีอัดประจุไฟฟ้า (CPO) และระบบ
ควบคุ มและบริ หารจั ดการระบบอั ดประจุ ไ ฟฟ้า ของการไฟฟ้า ส่ วน
ภูมิภาค (PEA EVMS) โดย กองนวัตกรรม (กนว.)

หนังสือเลขที่ กนว.(บค) 908/2564 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2564

ผู้ประสานงาน : นายภาคภูมิ สุดแสง


หัวหน้าแผนกบริหารทุนวิจัยและพั ฒนานวัตกรรมโครงข่ายระบบไฟฟ้า กองนวัตกรรม
เบอร์ติดต่อภายใน : 5768 (08-4198-9891)
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
รูปแบบการเชื่อมต่อและระบบสื่อสารระหว่าง
PEA EVMS กับ CPO
Electricity

Offensive Security Certified Professional ( OSCP )


เป็นการรับรองการแฮ็กทางจริยธรรมที่เสนอโดย Offensive
Security ที่สอนวิธีการทดสอบการเจาะระบบสารสนเทศ
CPO
PEA OSCP
PEA EVMS
PEA EVMS : ระบบควบคุมและบริหารจัดการระบบอัดประจุไฟฟ้า CPO (Charge Point Operator) :
ของ กฟภ. (PEA EV Management System) ผู้ให้บริการระบบควบคุมและบริหารจัดการ
โดยจะสื่อสารไปยังระบบบริหารจัดการอัดประจุไฟฟ้า (CPO) ระบบอัดประจุ
เพื่ อส่งคําสั่งการปรับลดปริมาณการใช้ไฟฟ้าตามที่ กฟภ. กําหนด

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


ระบบการแสดงผลและการควบคุมระยะไกล
§ ผู้ขอใช้บริการจะต้องออกแบบระบบภายในของสถานีอัดประจุไฟฟ้าให้สามารถควบคุมเครื่องอัดประจุ
ไฟฟ้าได้แบบระยะไกลในรูปแบบเวลาจริง (Real Time) โดย กฟภ. สามารถแจ้งสั่งปลด/ควบคุมเครื่องอัด
ประจุไฟฟ้าผ่าน CPO
§ ผู้ขอใช้บริการจะต้องออกแบบระบบการวัดพลังงานไฟฟ้า ระบบแสดงข้อมูลขณะการวัด โดยส่งข้อมูล
การใช้กําลัง/พลังงานไฟฟ้าของเครื่องอัดประจุไฟฟ้าแต่ละเครื่อง/พลังงานไฟฟ้ารวมของสถานีอัดประจุ
ไฟฟ้า มายังคอมพิ วเตอร์แม่ข่าย (Server)
§ CPO จะต้องส่งข้อมูลปริมาณการใช้กําลัง/พลังงานไฟฟ้าของสถานีอัดประจุไฟฟ้า และรายหัวจ่ายทุกๆ
15 นาที ที่ติดตั้งใช้งานภายในสถานีนั้นให้แก่ กฟภ.
§ CPO ต้องบริหารจัดการการใช้กําลังไฟฟ้าของเครื่องอัดประจุไฟฟ้า/ทั้งหมดภายในสถานีอัดประจุไฟฟ้า ไม่ให้
เกินค่าพิ กัดกําลังไฟฟ้าสูงสุด (kW) ที่อนุญาตให้ใช้งานตามช่วงเวลาที่กําหนด โดย กฟภ. ซึ่ง PEA EVMS
จะมีการแจ้งผ่านระบบสื่อสาร PEA OSCP
• กรณี CPO ขาดการสื่อสารกับระบบของ กฟภ. โดยไม่มีแจ้งเหตุอันควร หรือไม่มีการตอบสนองต่อ Request
ในขั้นตอนสื่อสารต่างๆ รวมถึงการใช้กําลังไฟฟ้าเกินในช่วงเวลาที่กําหนดทุก 15 นาที นับจํานวนรวมได้เกิน
กว่ า 96 ครั้ ง ในระยะเวลา 1 รอบใบแจ้ ง ค่ า ไฟฟ้า จะถื อ ว่ า สถานี อั ด ประจุ ไ ฟฟ้า ดั ง กล่ า วไม่ ป ฏิ บั ติ ต าม
หลักเกณฑ์การบริหารจัดการแบบ Low priority
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
ระเบียบ กฟภ. /อนุมัติ ผวก. ที่เกี่ยวข้อง กรณีการขอใช้ไฟฟ้าสําหรับ
สถานีอัดประจุไฟฟ้าฯ
6
ดาวน์โหลดเอกสาร

อนุมัติ ผวก. ลงวันที่ 6 พฤษภาคม 2565


เรื่อง อนุมัติปรับปรุง แก้ไข ระเบียบ กฟภ. ว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับมิเตอร์ พ.ศ. 2562
โดยคณะกรรมการพิ จารณาปรับปรุง แก้ไข ระเบียบ กฟภ. ว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับมิเตอร์ (ฝมป.)
6.1
Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority
ข้อ 47.2 การติดตั้งมิเตอร์กรณี
ผู้ประกอบกิจการสถานีอัดประจุ
ไ ฟ ฟ้ า ห รื อ ใ ห้ บ ริ ก า ร อั ด ป ร ะ จุ
ยานยนต์ไฟฟ้า
ผู้ ประกอบการรายเดี ยว หรื อรายอื่ นที่ เช่ า
พื้ นที่ มี ความประสงค์ ขอติ ดตั้ งมิ เตอร์ สํ าหรั บ
ป ร ะ ก อ บ กิจ ก า ร ส ถ า นีอ ัด ป ร ะ จุไ ฟ ฟ า้ ห รือ
ให้บ ริก ารอัดประจุย านยนต์ไฟฟ้า โดยเจ้าของ
พื้ นที่และหรือเจ้าของระบบจําหน่ายไฟฟ้ายินยอม
ใ ห ้ผู ้ป ร ะ ก อ บ ก า ร ร า ย อื ่น ส า ม า ร ถ ต ิด ตั ้ง
เพื่ อรองรั บการติ ดตั้ งมิ เตอร์ ได้ หรื อยิ นยอมให้
ก ฟ ภ . ดํ า เ น ิน ก า ร ข ย า ย เ ข ต ส า ม า ร ถ
ดําเนินการได้ดังนี้

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


ข้อ 47.2 การติดตั้งมิเตอร์ กรณีผู้ประกอบกิจการสถานีอัดประจุไฟฟ้าหรือ
ให้บริการอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้า

47.2.1 การขอใช้ไฟฟ้า
(1) ผู้ขอใช้ไฟฟ้ารายใหม่หรือเป็นผู้ใช้ไฟฟ้ารายเดิม มีความประสงค์ขอติดตั้งมิเตอร์เพิ่ ม สําหรับสถานี
อัดประจุไฟฟ้าหรือให้บริการอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าที่สถานที่ใช้ไฟฟ้าเป็นเลขที่บ้านเดิม ที่ใช้ในการขอใช้ไฟฟ้ากับ
กฟภ. และติ ดตั้ งมิ เตอร์ แล้ ว ให้ ถื อปฏิ บั ติ ตามระเบี ยบการไฟฟ้าส่ วนภู มิ ภาคว่ าด้ วยการใช้ ไฟฟ้าและบริ การที่
ประกาศใช้ในปัจจุบัน

(2) ผู้ขอใช้ไฟฟ้ารายอื่นที่เช่าพื้ นที่หรือเจ้าของพื้ นที่ยินยอมให้ประกอบกิจการ ให้นําทะเบียนบ้านของ


ผู้ขอใช้ไฟฟ้าหรือผู้เช่า ทะเบียนบ้านของผู้ให้เช่าหรือเจ้าของพื้ นที่ และหลักฐานสัญญาเช่าหรือหนังสือยินยอมเป็น
ลายลักษณ์อักษร ที่มีผลบังคับตามกฎหมายตามระเบียบของทางราชการมาเป็นหลักฐานในการขอใช้ไฟฟ้า โดย
ดําเนินการตามระเบียบ กฟภ. ว่าด้วยการใช้ไฟและบริการ ที่ประกาศใช้ในปัจจุบัน

ทะเบียนบ้านผู้ขอใช้ไฟ/ผู้เช่า ทะเบียนบ้านผู้ให้เช่า/เจ้าของพื้ นที่ สัญญาเช่า

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


ข้อ 47.2 การติดตั้งมิเตอร์ กรณีผู้ประกอบกิจการสถานีอัดประจุไฟฟ้าหรือ
ให้บริการอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้า

47.2.2 การติดตั้งมิเตอร์
หากบริเวณที่ขอใช้ไฟฟ้าสําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าหรือให้บริการอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้า ตั้งอยู่
ภายในพื้ นที่ ที่ไม่สามารถจ่ายไฟฟ้าจากระบบจําหน่ายของ กฟภ. ให้ติดตั้งมิเตอร์ย่อยหรือมิเตอร์แยกภายใน
ระบบจําหน่ายของผู้ใช้ไฟฟ้าได้ แล้วแต่กรณีตามระเบียบ กฟภ. ว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับมิเตอร์ที่ประกาศใช้ใน
ปัจจุบัน โดยผู้เป็นเจ้าของระบบจําหน่ายไฟฟ้าหรือเจ้าของพื้ นที่ ต้องให้คํายินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรและให้
ติดตั้ง TOU Meter หรือมิเตอร์ที่สามารถกําหนดอัตรา TOU ได้ ให้กับการใช้ไฟฟ้าเฉพาะสถานีอัดประจุไฟฟ้าหรือ
ให้บริการอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าเท่านั้น

ทั้งนี้ หากผู้ใช้ไฟฟ้ารายเดิมเปลี่ยนแปลงการประกอบกิจการเป็นสถานีอัดประจุไฟฟ้าหรือให้บริการอัด
ประจุยานยนต์ไฟฟ้า โดยหากมิเตอร์ที่ติดตั้งอยู่เดิมไม่ใช่มิเตอร์ที่สามารถกําหนดอัตรา TOU ได้ ให้นํา TOU
Meter หรือมิเตอร์ที่สามารถกําหนดอัตรา TOU ได้ ไปสับเปลี่ยน

หนังสือให้คํายอนยอมให้ติดตั้ง TOU Meter


สําหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้า/บริการอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าเท่านั้น

Copyright © 2020 Provincial Electricity Authority


ตามอนุมต ั ิ ผวก. ลงวันที่ 1 สิงหาคม 2565 หนังสือเลขที่ กกต. 477/2565
ลงวั น ที่ 25 กรกฎาคม 2565 เรื่ อ งประกาศค่ า ใช้ จ่ า ยในการตรวจสอบและ
ทดสอบระบบอัดประจุไฟฟ้าของ กฟภ. สํ าหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าสํ าหรับยาน
ยนต์ไฟฟ้าแบบ Low Priority ทั้งนี้ ให้ถือปฏิบัติตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2565 6.2
เป็นต้นไป โดยมีการกําหนดค่าใช้จ่าย ดังนี้
ที่ รายการ การคิดค่าใช้จ่ายของ กฟภ.
ค่าตรวจวัดและทดสอบความปลอดภัยของระบบอัดประจุไฟฟ้า แบ่งออกเป็น 2
กรณี ดังนี้
1) กรณีให้ กฟภ. เป็นผู้ดําเนินการ 10,000 บาทต่อเครื่อง
1
2) กรณีผู้ขอใช้บริการจัดหาหน่วยงาน/บุคคลภายนอกมาดําเนินการตรวจวัดและ กฟภ. ไม่คิดค่าใช้จ่าย
ทดสอบเอง* (ผู้ขอใช้บริการจะต้องจัดส่งผลการทดสอบให้ กฟภ.
พิ จารณา)
ค่าทดสอบสถานะการอัดประจุไฟฟ้าเข้าสู่ยานยนต์ไฟฟ้า (สําหรับเครื่องอัดประจุ
ไฟฟ้าที่ยังไม่ได้ขึ้นทะเบียนรายชื่อกับ กฟภ.) แบ่งออกเป็น 2 กรณี ดังนี้
1) กรณีให้ กฟภ. เป็นผู้ดําเนินการ 14,000 บาทต่อเครื่อง
2
2) กรณีผู้ขอใช้บริการจัดหาหน่วยงาน/บุคคลภายนอกมาดําเนินการตรวจวัด กฟภ. ไม่คิดค่าใช้จ่าย
และทดสอบเอง (ผู้ขอใช้บริการจะต้องจัดส่งผลการทดสอบให้ กฟภ.
พิ จารณา)
3 ค่าทดสอบการรับและส่งข้อมูลระหว่าง CPO และ PEA EVMS** 2,400 – 6,500 บาท

* หน่วยงาน/บุคคลภายนอกจะต้องขึ้นทะเบียนเป็นผู้ตรวจวัดและทดสอบกับ กฟภ. ตามข้อกําหนดการเชื่อมต่อสถานีอัดประจุไฟฟ้าสําหรับยานยนต์ไฟฟ้า พ.ศ.2563


**Copyright
ผู้ขอใช้บริ©ก2020
ารเป็นProvincial
ผู้จัดหารถยนต์ ไฟฟ้
Electricity า เพื่ อใช้ในการทดสอบการรับและส่งข้อมูล หมายเหตุ อัตราค่าใช้จ่ายข้างต้น ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ ม 7 %
Authority
ฝ่ายกลยุทธ์การตลาด (ฝกต.)
กองกลยุทธ์หน่วยบริการลูกค้า (กกล.)
แผนกประสานงานบริการลูกค้า (ผงบ.)
โทร. 02-0099339

เอกสารที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
ฝ่ายลูกค้าและการตลาด (ฝลต.)
เบอร์โทรศั
กองกลยุ ทธ์ลูกพ
ค้าท์ มือถือ : หผ.งบ.
และการตลาด (กกต.) 08-3867-6769
ID Line : fordpea
แผนกระบบงานบริ การลูกค้า (ผรล.)
โทร.6725

You might also like