You are on page 1of 15

Primary Focus Thermocouple

เทอร์
โมคัปเปิ ล
เทอร์โมคัปเปิ ล (Thermocouple)
เทอร์โมคัปเปิ ล คือ อุปกรณ์วัดอุณหภูมิโดยใช้
หลักการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิหรือความร้อน
เป็ นแรงเคลื่อนไฟฟ้ า
เทอร์โมคัปเปิ ล (Thermocouple)
เทอร์โมคับเปิ ลนั้น ถูกค้นพบในปี พ.ศ. 2364
โดยนักฟิ สิกส์ ชาวเยอรมันชื่อ โทมัส โจฮานน์ ซี
เบค ( Thomas Johann Seebeck ) ได้ค้นพบว่า
เมื่อต่อโลหะ 2 ชนิ ดเข้าด้วยกัน ให้มีรอยต่อ
ระหว่างโลหะ2 ชนิ ดนี้ 2 แห่ง แล้วทำาให้รอยต่อ
ทั้งสองมีอุณหภูมิตา่ งกัน จะเกิดกระแสไฟฟ้ า
ขนาดอ่อนๆนักไหลภายในวงจร
ฟิ สิกส์ ชาวเยอรมันชื่อ โทมัส โจฮานน์
ซีเบค ( Thomas Johann Seebeck ) ผู้
ค้นพบแรงดันซีเบค ที่ทำาให้เกิดการสร้าง
เทอร์โมคัปเปิ ลในเวลาต่อมา
เทอร์โมคัปเปิ ล (Thermocouple)
การที่เกิดกระแสไฟฟ้ าไหลได้น้ ี เนื่ องจากมี
ความแตกต่างศักย์เกิดขึ้นที่รอยต่อแต่ละแห่ง และ
มีข้ ัวตรงข้ามกัน. โดยที่แรงดันขั้วรอยต่อร้อนจะสูง
กว่าแรงดันที่รอยต่อเย็น ความต่างศักย์ที่เกิดขึ้น
บนรอยต่อของโลหะนี้ เราเรียกว่า " แรงดันไฟฟ้ าซี
เบค " ( Seebeck EMF ) ผลต่างของแรงดันที่
เกิดขึ้นนี้ ทำาให้เกิดเป็ นแรงดันจำานวนหนึ
ภาพแสดงโครงสร้ ่ งที่ทำาให้มี
างพื้ นฐานของ
กระแสไหลก็ได้. เทอร์โมคัปเปิ ล
โดยใช้โลหะ A และ B เชื่อมต่อ
กัน
เทอร์โมคัปเปิ ล (Thermocouple)
ที่กล่าวมาแล้ว Thermocouple ทำามาจาก
โลหะ 2 ชนิ ด ถ้าหากว่ามีการเปลี่ยนชนิ ดของ
โลหะด้านใดด้านหนึ่ ง หรือทั้ง 2 ด้านให้ตา่ ง
ชนิ ดไป ก็จะได้แรงดันที่ต่างกันไปแม้จะวัดใน
อุณหภูมิเดียวกัน เกิดเป็ น Thermocouple
ต่างชนิ ด ดังนี้
เทอร์โมคัปเปิ ล (Thermocouple)
Type ส่วนผสม ย่านอุณหภูมิ แรงเคลื่อน
C F mV

B แพลทินัม- 30 % โรเดียม / 0 – 1820 32 -3310 0 – 13.814


แพลทินม
ั -6 % โรเดียม
R แพลทินม
ั /13 % โรเดียม -50 - -60 - - 2.26 –
แพลทินัม 1768 3210 21.108
S แพลทินัม / 10 % โรเดียม -50 - -60 - 0.236 –
แพลทินัม 1768 3210 18.698
J เหล็ก / คอนสแตนแตน -210 - -350 - -8.096 -
760 1400 42.992
K โครเมล / อลูเมล -270 - -450 - -6.458 -
1372 2500 54.872
T ทองแดง /คอนสแตนแตน -270 – -450 - -6.258 –
ตารางแสดงย่านอุณหภูมิและแรงเคลื่อ400
นของเทอร์
750โมคัปเปิ20.869
ลแต่ละชนิ ด
E โครเมล / คอนสแตนแตน -270 - -450 - -9.835 –
เทอร์โมคัปเปิ ล (Thermocouple)
คุณสมบัติของเทอร์โมคัปเปิ ลแบบมาตรฐาน
1. ความไว (Sensitivity) ย่านของแรงเคลื่อนจากเทอร์โมคัปเปิ ล
จะมีค่าน้อยกว่า 100 mV แต่ความไวที่แท้จริงในการใช้งานจะ
ขึ้นอย่่กับการใช้วงจรปรับสภาพสัญญาณและตัวเทอร์โมคัปเปิ ล
เอง
2. โครงสร้าง (Construction) โครงสร้างของเทอร์โมคัปเปิ ลต้องมี
ลักษณะดังนี้
คือ มีความต้านทานต่า่ ให้สัมประสิทธิอ ์ ุณหภ่มิสง่ ต้านทานต่อ
การเกิดออกไซด์ท่ีอุณหภ่มิสง่ ๆ ทนต่อสภาวะแวดล้อมที่น่าไป
ใช้วัดค่า และเป็ นเชิงเส้นส่งที่สด
ุ เท่าที่จะเป็ นไปได้
ตัวฝั กหรือท่อป้ องกันส่วนมากจะท่าจากแสตนเลส ความไวของ
เทอร์โมคัปเปิ ลขึ้นอย่่กับความหนาของท่อป้ องกันทั้งเยอรมัน
เนี ยมและซิลค ิ อนจะท่าให้คุณสมบัติการเกิดเทอโมอิเล็กทริกจึง
ใช้กันมากในอุปกรณ์ท่าความเย็น (peltier element) มากกว่าที่
จะใช้เป็ นเทอร์โมคัปเปิ ลวัดอุณหภ่มิ
เทอร์โมคัปเปิ ล (Thermocouple)

รูปที่5 แสดงโครงสร้างของเทอร์โมคัปเปิ ล
เทอร์โมคัปเปิ ล (Thermocouple)
คุณสมบัติของเทอร์โมคัปเปิ ลแบบมาตรฐาน
3. ย่านการใช้งาน (Range) ย่านอุณหภ่มก ิ ารใช้งานและความไวในการวัด
ของ เทอร์โมคัปเปิ ล แต่ละตัว จะแตกต่างกันตามแต่ละสมาคมจะ
ก่าหนด ในส่วนที่ส่าคัญคือค่าแรงเคลื่อนที่ออกมาจากแต่ละอุณหภ่มิ จะ
ต้องอ้างอิงกับตารางค่ามาตรฐานของแต่ละสมาคมที่ใช้ให้ถ่กต้องเป็ น
เอกภาพเดียวกันหมดทั้งระบบ
4. เวลาตอบสนอง (Time Response) เวลาตอบสนองของเทอร์โมคัปเปิ ล
ขึ้นอย่่กับขนาดของสายและวัสดุท่น ี ่ามาท่าท่อป้ องกันตัวเทอร์โมคัปเปิ ล
5. การปรับสภาพสัญญาณ (Signal Conditioning) ปกติแรงเคลื่อนของ
เทอร์โมคัปเปิ ลจะมีขนาดน้อยมากจึงจ่าเป็ นต้องมีการขยาย
สัญญาณโดยใช้ ออปแอมป์ ขยายความแตกต่างที่มอ ี ต
ั ราขยาย
ส่งๆ
เทอร์โมคัปเปิ ล (Thermocouple)
ชนิ ดของเทอร์โมคัปเปิ ลมาตรฐาน
ในปั จจุบัน พบว่ามี Thermocoupleชนิ ดมาตรฐานอย่่ 7 ชนิ ดตาม
มาตรฐานของ ANSI และ ASTM โดยการจ่าแนกตามประเภทของ
วัสดุท่ีใช้ท่า แต่ว่า Thermocouples ที่นิยมใช้กันจะมีอย่่ 4 ประเภท
ดังนี้ J, K, T และ E. โดยจะใช้ในช่วงอุณหภ่มิและสิ่งแวดล้อมทีแตก
ต่างกัน โดยสามารถแบ่งแยก thermocouples ได้เป็ น 4 class ดังนี้
• Home body class (เรียกว่า base metal) : Types E, J, K, N และ
T
• Upper crust class (เรียกว่า rare metal หรือ precious metal) :
Types B, S, และ R, platinum
• Rarified class (เรียกว่า refractory metals)
• Exotic class (เรียกว่า standards และ developmental devices) ;
tungsten alloy thermocouples โดยปกติแล้วจะถ่กก่าหนดให้เป็ น
Type W
เทอร์โมคัปเปิ ล (Thermocouple)

ตารางแสดงคุณสมบัติของเทอร์โมคัปเปิ ลชนิ ดต่างๆ


เทอร์โมคัปเปิ ล (Thermocouple)
ลักษณะการต่อใช้งาน
เทอร์โมคัปเปิ ลสำาหรับอุณหภูมิสงู ๆที่ใช้งานจริงนั้น
มีรูปร่างต่างๆกัน แบบที่ง่ายที่สด
ุ นั้นอาจจะเป็ นลวด
เส้นเล็ก ๆ สองเส้นร้อยผ่านฉนวนที่ทำาจากเซรามิก
แล้วเชื่อมปลายให้ติดกัน เทอร์โมคัปเปิ ลแบบนี้ ใช้ใน
เตาเผาเครื่องเคลือบดินเผา ขนาดเล็ก

โครงสร้างพื้ นฐานของเทอร์โมคัปเปิ ลแบบง่าย ๆ


ที่เหมาะสำาหรับการวัดอุณหภูมิในเตาอบไฟฟ้ า
เทอร์โมคัปเปิ ล (Thermocouple)
แต่ส่าหรับการวัดอุณหภ่มใิ นสภาพแวดล้อมที่มี
การกัดกร่อนส่ง หรือ เกี่ยวข้องกับปฏิกริยาเคมี
เช่น ไอของสาร เคมีโลหะที่หลอมละลาย หรือ
เปลวไฟแล้ว จ่าเป็ นที่จะต้องหุ้มเทอร์โมคัปเปิ ล
ด้วยปลอกโลหะ แล้วบรรจุสารที่เป็ นฉนวน
ไฟฟ้ า แต่น่าความร้อนได้ดีไว้ระหว่างกลาง ให้
เทอร์โมคัปเปิ ลติดตั้งอย่่แน่นหนากับปลอก
โลหะนั้ น
เทอร์โมคัปเปิ ล (Thermocouple)
เทอร์โมคัปเปิ ลมีวิธีตด
ิ ตั้งอยู่ 3 แบบ คือ
(ก) จะโผล่ส่วนปลาย ที่เป็ นรอยต่อระหว่างโลหะทั้งสองโผล่อกมา
แบบนี้ จะให้ผลตอบสนองต่ออุณหภ่มิ เร็วแต่ไม่สามารถทนการ
กัดกร่อนจากปฏิกิรย ิ าเคมีได้
(ข) หุ้มรอยต่อทั้งหมดไว้ในปลอก ซึ่งป้ องกันการเสียหายได้ดี แต่
การตอบสนองต่ออุณหภ่มิ จะช้าลง เพราะปลอกหุ้ม และ
ฉนวนจะน่าความร้อนได้ช้า
(ค) รอยต่อถ่กยึดติดกับด้าน ในของปลอกหุ้มจึงได้ท้ ังความไวต่อ
การเปลี่ยนแปลงอุณหภ่มิ และ ป้ องกันการเสียหายได้ดี.
Primary Focus
จบการนำาเสนอ

You might also like