You are on page 1of 67

1

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของโครงงำน

การเกิ ดฟ้ าผ่าเป็ นเรื่ องที่อยู่เหนื อการควบคุ มของมนุ ษย์ ดังนั้นจึงจาเป็ นต้องมี ระบบป้ องกัน
ฟ้ าผ่าอาคารที่ สมบูรณ์ ซึ่ งประกอบด้วยระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอก และระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายใน
ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอกประกอบด้วยตัวนาล่ อฟ้ า ตัวนาลงดิ น และรากสายดิ น ที่ เห็ นกันทัว่ ไป
ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอกนี้ มีไว้เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิ ดเพลิงไหม้อาคารเนื่ องจากฟ้ าผ่า แต่ไม่ได้มีไว้
เพื่อป้ องกันอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่มีอยูภ่ ายในอาคารไม่ให้เกิดความเสี ยหายเนื่ องจากฟ้ าผ่า ระบบป้ องกันฟ้ าผ่า
ภายในประกอบด้วยการต่อลงดิ นที่ สมบูรณ์ การประสานให้ศกั ย์เท่ากันของระบบต่างๆไม่ว่าจะเป็ น
ระบบไฟฟ้ า สื่ อสาร ท่อน้ า ท่อก๊าซ นอกจากนี้ ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายในยังรวมถึ งการติดตั้งอุปกรณ์
ป้ องกันเสิ ร์จ (Surge Protection Devices) ที่ใช้สาหรับป้ องกันอุปกรณ์ไฟฟ้ าในอาคาร

มาตรฐานการป้ องกันฟ้ าผ่า ของวิศ วกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชู ปถัม ภ์


(วสท.) [1 - 2] ได้กาหนดการประเมินความเสี่ ยง เพื่อใช้เป็ นข้อมูลในการบริ หารจัดการระบบป้ องกันภัย
อาคารและผูใ้ ช้อาคาร ซึ่ งจากการสื บค้นข้อมูลพบว่าในต่างประเทศได้มีการดาเนิ นการประเมินความ
เสี่ ยงของอาคารจากระบบป้ องกันฟ้ าผ่า ตามมาตรฐาน IEC (IEC 62305-2: Risk management) [3] และ
มีผทู้ าวิจยั เพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์ ช่วยในการประเมินความเสี่ ยง [4] รวมทั้งวิเคราะห์ความเสี่ ยงของระบบ
ป้ องกันฟ้ าผ่าสถานีไฟฟ้ าจากแผงเซลส์แสงอาทิตย์ [5]

ผูจ้ ดั ทาโครงงานจึงมีความสนใจที่จะศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ ยงระบบป้ องกันฟ้ าผ่า


ทั้งภายในและภายนอกอาคารเพื่อความปลอดภัย ต่อสิ่ งปลูกสร้าง โดยออกแบบ และพัฒนาซอฟต์แวร์
Simplified IEC Risk Assessment Calculator (SIRAC) ซึ่ งยังมีขอ้ จากัดในการใช้งาน ให้สามารถ
รองรับการวิเคราะห์ความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่าอาคาร ในประเทศไทยได้อย่างถูกต้องต่อไป
2

1.2 วัตถุประสงค์

โครงงานนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาและประเมินความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่าของอาคาร


ภายในมหาวิทยาลัย ศรี ปทุ ม โดยอ้างอิ งมาตรฐาน วิศวกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทย ในพระบรม
ราชูปถัมภ์ (วสท. EIT 2008-53) เรื่ อง มาตรฐานการป้ องกันฟ้ าผ่า ภาคที่ 2 การบริ หารความเสี่ ยง พ.ศ.
2553 และหาแนวทาง การแก้ไขผลกระทบที่ทาให้เกิดความเสี่ ยงโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
(1) ศึกษาการเกิดฟ้ าผ่าและผลกระทบต่ออาคาร และผูใ้ ช้อาคาร
(2) ศึกษาการประเมินความเสี่ ยงของอาคารเรี ยนในมหาวิทยาลัยศรี ปทุมเพื่อนาข้อมูลไป
ออกแบบซอฟต์แวร์ การประเมินความเสี่ ยงของสิ่ งปลูกสร้างจากฟ้ าผ่า
(3) จัดทาซอฟแวร์ เพื่อการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ ยงของสิ่ งปลูกสร้างจากฟ้ าผ่า
(4) สรุ ปการประเมินความเสี ยหายของสิ่ งปลูกสร้างจากฟ้ าผ่า

1.3 ขอบเขตของโครงกำร

ขอบเขตของการค้นคว้าพัฒนาให้โครงงานมีดงั ต่อไปนี้
(1) ตรวจสอบระบบป้ องกันฟ้ าผ่าอาคารมหาวิทยาลัยศรี ปทุม
(2) พัฒนาซอฟต์แวร์ สาหรับวิเคราะห์และประเมินความเสี่ ยงของสิ่ งปลูกสร้าง ระบบอาคาร
และผูใ้ ช้อาคาร
(3) วิเคราะห์และประเมินความเสี่ ยงระบบป้ องกันฟ้ าผ่าต่ออาคาร ระบบอาคาร และบุคคลผูใ้ ช้
อาคาร
3

1.4 ประโยชน์ ของโครงงำน

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการทาโครงงานในครั้งนี้ได้แก่
(1) นักศึกษามีความรู้ความสามารถในการประเมินความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่าได้
(2) นักศึกษามีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอกอาคารได้
(3) นักศึกษามีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายในอาคารได้
(4) นักศึกษามีความรู้ความสามารถในการนาซอฟต์แวร์มาจาลองการประเมินความเสี่ ยงได้จริ ง
(5) มหาวิทยาลัยได้รู้รับทราบเรื่ องความเสี่ ยงจากการเกิดฟ้ าผ่าของอาคารเรี ยน
4

บทที่ 2

ทฤษฏีและหลักกำรที่เกีย่ วข้ อง

ในการประเมินความเสี่ ยงระบบป้ องกันฟ้ าผ่าสาหรับอาคารจาเป็ นต้องรู ้ทฤษฏีและหลักการที่


เกี่ ย วข้องเบื้ อ งต้น ได้แ ก่ การเกิ ด ฟ้ าผ่า ระบบป้ องกัน ฟ้ าผ่า ส าหรั บ สิ่ ง ปลู ก สร้ า ง และการบริ ห าร
ความเสี่ ยง เพื่อนาทฤษฏี ไปใช้ในการประกอบการตัดสิ นใจการหาค่าพารามิเตอร์ ต่างๆ ที่เกี่ ยวข้องได้
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ดังต่อไปนี้

2.1 กำรเกิดฟ้ ำผ่ ำ

ฟ้ าผ่า เป็ นปรากฎการณ์ ทางธรรมชาติ ซึ่ ง เป็ นการดิ ส ชาร์ จกระแสสู ง ตามเส้ นทางฟ้ าผ่า ใน
ช่วงเวลาสั้นๆ โดยเกิดขึ้นได้ 4 ลักษณะคือ
(1) การเกิดดิสชาร์ จในก้อนเมฆ (Intra cloud)
(2) การเกิดดิสชาร์ จระหว่างก้อนเมฆกับพื้นดิน (Cloud to ground)
(3) การเกิดดิสชาร์ จระหว่างก้อนเมฆที่แรงดันไฟฟ้ าต่างกัน (Cloud to cloud)
(4) การเกิดดิสชาร์ จระหว่างก้อนเมฆกับอากาศ (Cloud to air)

2.2 อันตรำยจำกฟ้ำผ่ ำ

อันตรายที่เกิดจากฟ้ าผ่าเราสามรถจาแนกได้เป็ น 4 แบบดังนี้


(1) ฟ้ าผ่าโดยตรง (Direct strikes) เมื่ อคนถู ก ผ่า โดยตรง ร่ า งกายของคนจะเป็ นเส้ นทางที่
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านลงสู่ พ้ืนดิ นและทาให้เกิ ดแรงดันไฟฟ้ าตกคร่ อมร่ างกายเป็ นเหตุให้เกิ ดการเผา
ไหม้ของร่ างกายได้
(2) ฟ้ าผ่าด้านข้าง (Side flash) โดยธรรมชาติแล้วฟ้ าจะลงสิ่ งที่สูงเด่นกว่าสิ่ งอื่นทั้งนี้ เนื่ องจาก
ฟ้ าผ่าลงต้นไม้ กระแสไฟฟ้ าไหลลงมาตามต้นไม้ลงสู่ ดินนั้นทาให้ตน้ ไม้มีศกั ย์ไฟฟ้ าสู งเพียงพอที่จะทา
5

ให้เกิดการเบรกดาวน์ผ่านช่องว่างอากาศระหว่างต้นไม้กบั คน ส่ วนใหญ่จะเป็ นที่บริ เวณศีรษะซึ่ งเป็ น


ลักษณะของฟ้ าผ่าด้านข้างไปสู่ คน
(3) แรงดันไฟฟ้ าช่วงก้าว (Step voltage) เมื่อกระแสไฟฟ้ าไหลลงสู่ พ้ืนดิน แพร่ กระจายออกไป
ในดิ น ซึ่ งมี ค วามต้า นทานจะท าให้ เ กิ ด ความต่ า งศัก ย์ร ะหว่า งจุ ด บนพื้ น ดิ น โดยที่ จุ ด สองจุ ด นั้น มี
ระยะห่ างเท่ากับช่วงก้าวของคนหรื อสัตว์ จะเกิ ดความต่างศักย์ระหว่างเท้าซ้ายกับเท้าขวาในขณะก้าว
เป็ นสาเหตุ ที่ทาให้สัตว์มีความรู ้ สึกไวต่อแรงดันไฟฟ้ าช่ วงก้าวมากกว่ามนุ ษย์ เนื่ องจากสัตว์มีช่วงขา
กว้าง ประกอบกับมีขนาดร่ างกายใหญ่โตกว่ามนุษย์จึงทาให้มีความต้านทานของร่ างกายต่า
(4) แรงดันไฟฟ้ าสัมผัส (Touch voltage) หมายถึ ง ความต่างศักย์ระหว่างโลหะตัวนา หรื อ
โครงสร้างที่นากระแสไหลผ่านลงไปสู่ ดิน ที่คนหรื อสัตว์จะมีโอกาสสัมผัสถึงกับดินที่ยนื อยู่

2.3 ระบบป้ องกันฟ้ำผ่ ำภำยนอก

การป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอก คื อการป้ องกันความเสี ยหายอันเกิ ดจากฟ้ าผ่าโดยตรงสู่ อาคารซึ่ ง


อาจเป็ นเหตุให้เกิ ดไฟไหม้, อาคารแตกร้ าวอันเนื่ องจากพลังงานความร้ อนจากฟ้ าผ่าวิธีการป้ องกัน
สามารถทาได้โดยใช้การติดตั้งระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เช่น เสาล่อฟ้ าเพื่อให้ฟ้าผ่าลงไปที่จุดที่ตอ้ งการแล้ว
กระจายกระแสฟ้ าผ่าลงดิ นอย่างปลอดภัยซึ่ งย่อมต้องอาศัยการติดตั้งระบบรากสายดิ นที่ดีดว้ ยเช่ นกัน
ซึ่งประกอบด้วย

2.3.1 ระบบตัวนำล่อฟ้ำ
วัตถุประสงค์ในการออกแบบตัวนาล่อฟ้ าที่ถูกต้อง คือ เพื่อลดโอกาสของลาฟ้ าผ่าที่ทะลุบริ เวณ
ป้ องกัน อาจจะประกอบร่ วมกันของสิ่ งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
(1) แท่งตัวนา (Rods) เรี ยกว่า หลักล่ อฟ้ าหรื อเสาล่ อฟ้ า มี ลกั ษณะเป็ นหลัก หรื อเสาโลหะที่
ติดตั้งมีความสู งเหนื ออาคาร หรื อติดตั้งบนส่ วนที่สูงที่สุดของอาคารเพื่อให้มีพ้ืนที่ป้องกันกว้าง เหมาะ
สาหรับอาคารที่มีลกั ษณะไม่ซบั ซ้อน ที่ปลายเสาล่อฟ้ ามักจะทาให้มีรูปร่ างแหลมคมเพื่อเพิ่มความเข้ม
ของสนามไฟฟ้ า เพื่อช่วยเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการล่อฟ้ าให้สูงขึ้นนั้นเอง
6

(2) สายตัวนาขึง (Stretch wires) โดยปกติจะใช้สายโลหะที่มีความแข็งแรงสู ง เช่น สายเหล็ก


ชุบสังกะสี ป้องกันสนิม หรื อสายทองแดง สายตัวนานี้ จะขึงอยูก่ บั เสาล่อฟ้ าช่วยให้ความสามารถในการ
ป้ องกันดีข้ ึน มีพ้นื ที่ป้องกันมากขึ้นกว่าการใช้เสาล่อฟ้ าอย่างเดียว
(3) ตัวนาแบบตาข่าย (Meshed conductor) เป็ นการใช้สายตัวนาติดตั้งบนส่ วนที่สูงของอาคาร
เป็ นรู ปตาข่าย ขนาดของตาข่ายกาหนดตามระดับ ป้ องกัน เมื่ อติ ดตั้งเสร็ จแล้วจึ งเหมื อนกับ มี ตาข่า ย
ครอบอยู่บนอาคาร การติ ดตั้งนี้ อาจวางติดกับอาคารเลยหรื ออาจมี ตวั รองรั บเพื่อยกให้สูงเหนื อพื้น
อาคาร
ในการออกแบบการจัดวางตาแหน่งตัวนาล่อฟ้ า มี 3 วิธี โดยจะใช้แบบ อิสระ หรื อร่ วมกันก็ได้
ดังนี้
(1) วิธีมุมป้ องกัน (Protective angle) เป็ นวิธีที่กาหนดมุมสาหรั บการป้ องกันไว้แล้ว ซึ่ งมี
ลักษณะพื้นที่ของการป้ องกันจะเป็ นรู ปทรงกรวย จะปลอดภัยจากฟ้ าผ่า มุมป้ องกันจะแปรผันตามระดับ
การป้ องกันและความสู งของตัวนาล่อฟ้ า วิธีมุมป้ องกันนี้เหมาะสมที่จะใช้กบั สิ่ งปลูกสร้างอย่างง่ายหรื อ
ส่ วนเล็กๆ ของสิ่ งปลูกสร้ างขนาดใหญ่ และมุมป้ องกันนี้ จะใช้ได้กบั ตัวนาล่อฟ้ าแบบแท่งตัวนา และ
แบบตัวนาขึงเท่านั้น
(2) วิธีทรงกลมกลิ้ง (Rolling sphere) วิธีน้ ีใช้ทรงกลมเหมือนลูกบอลที่มีรัศมีตามที่กาหนดตาม
ตารางที่ 2.1 กลิ้งไปบนส่ วนของอาคาร ในการออกแบบจึงต้องติดตั้ง ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าชนิ ดที่เป็ น
หลักล่อฟ้ า หรื อสายตัวนาขึงเสี ยก่อน และกลิ้งลูกบอล ส่ วนใดของอาคารที่ผิวของลูกบอลสัมผัสจะถือ
ว่าเป็ นส่ วนที่ไม่ได้รับการป้ องกัน
(3) วิธีตาข่าย (Mesh size) วิธีน้ ี เป็ นการใช้ตวั นาล่อฟ้ าแนวราบขึงบนส่ วนของอาคาร ส่ วนที่สูง
ที่สุด การติดตั้งที่ดีจะต้องติดตั้งตัวนาแนวราบโดยรอบอาคาร
7

ตารางที่ 2.1 การจัดวางตาแหน่งตัวนาล่อฟ้ าตามระดับการป้ องกัน

วิธีการป้ องกัน
ระดับการ กระแสค่ายอด รัศมีทรงกลมกลิ้ง ขนาดตาข่าย มุมป้ องกัน
ป้ องกัน (kA) (m) (m) (α)
1 2.9 20 5×5 ดูจากรู ป
2 5.4 30 10 × 10 ด้านล่าง
3 10.1 45 15 × 15
4 15.7 60 20 × 20

2.3.2 ระบบตัวนำลงดิน
ทาหน้าที่นากระแสฟ้ าผ่าจากตัวนาล่อฟ้ าลงในพื้นดิน การติดตั้งตัวนาลงดินต้องพยายามจัดให้
มีเส้นทางไหลของกระแสหลายชุด ให้มีความยาวของเส้นทางที่กระแสไหลสั้นที่สุด และตรงที่สุด และ
ควรทาการประสานศักย์เท่ากันนี้ ควรทาที่ทุกๆระยะสู งไม่เกิ น 20 เมตร ระบบตัวนาลงดิ นแบ่งการ
ติดตั้งออกเป็ น 2 แบบ คือ
(1) ระบบตัวนาลงดินแบบแยกอิสระ หมายถึง ตัวนาลงดินที่เดินลงมาตามผนังอาคาร โดยเดิน
บนวัสดุที่เป็ นฉนวน เช่ น อิฐ ไม้ เป็ นต้น และไม่มีการเชื่ อมต่อกับส่ วนที่เป็ นตัวนาของอาคารและเมื่อ
เดินถึงดินจะมีการเชื่อมต่อตัวนาลงดินนี้เข้าด้วยกันที่ระดับพื้นดินเท่านั้น
(2) ระบบตัวนาลงดินแบบไม่อิสระ หมายถึง สิ่ งปลูกสร้างที่มีตวั นาจานวนมาก โดยปกติจะฝัง
ในผนังหรื อกาแพงและในหลังคาของอาคาร โดยเฉพาะอาคารที่มีโครงสร้ างเป็ นเหล็กหรื อคอนกรี ต
เสริ มเหล็ก ตัวนาลงดิ นจะต่อเข้า สิ่ งปลู กสร้ างส่ วนที่ เป็ นตัวนาหลายจุ ด ทาให้ส่วนที่ เป็ นตัวนาของ
อาคารทาหน้าที่เป็ นตัวนาลงดินด้ว ย ลักษณะนี้ จะเป็ นการประสานศักย์ให้เท่ากันและเมื่อเกิ ดฟ้ าผ่าจะ
สามารถลดแรงดันไฟฟ้ าและลดการเหนี่ยวนาของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าภายในอาคารได้

2.3.3 ระบบรำกสำยดิน
มีวตั ถุ ประสงค์เพื่อกระจายกระแสฟ้ าผ่าลงดิ น โดยไม่เกิ ดกระแสไฟฟ้ าเกิ นจนเป็ นอันตราย
ระบบรากสายดินอาจมีลกั ษณะหลายแบบตามความเหมาะสม คือ แบบวงแหวน แบบแนวดิ่ง แบบรัศมี
8

และแบบรากฐาน (ใช้ฐานของอาคารเป็ นหลักดิน) รากสายดินแบบแผ่น หรื อแบบตะแกรงเป็ นทางเลือก


หนึ่งของการวางระบบรากสายดิน ซึ่ งหัวข้อสาคัญของระบบรากสายดิน คือ ต้องมีความต้านทานการต่อ
ลงดินต่าที่สุด และมีความยาวน้อยสุ ดของตัวนารากสายดินจะขึ้นอยูก่ บั ระดับป้ องกันที่มีความต้านทาน
จาเพาะของดินต่างๆกัน

2.4 ระบบป้ องกันฟ้ำผ่ ำภำยใน

ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายในนั้นไว้สาหรับป้ องกันกระแสฟ้ าผ่าที่ไหลผ่านเข้ามา ซึ่ งโดยความจริ ง


แล้วจุดประสงค์ของการป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอกอาคารนั้น เพื่อป้ องกันความเสี ยหายทางกลกับอาคารหรื อ
สิ่ งปลูกสร้างจากฟ้ าผ่า แต่ไม่สามารถป้ องกันความเสี ยหายให้กบั อุปกรณ์ที่อยู่ภายในอาคารเนื่ องจาก
เสิ ร์จได้ และอุปกรณ์ ป้องกันต่างๆ ในระบบเช่ น เซอร์ กิตเบรกเกอร์ รี เลย์ต่างๆ ไม่สามารถที่จะทาการ
ป้ องกันได้เช่ นเดี ยวกัน ดังนั้นการป้ องกันการชารุ ดของอุปกรณ์ ดงั กล่าวควรต้องมีระบบป้ องกันฟ้ าผ่า
ภายในอาคาร ซึ่งประกอบด้วย
(1) อุปกรณ์ป้องกันแรงดันไฟฟ้ าเกิน ( Surge Protection Device : SPD )
(2) มีการต่อประสานศักย์ไฟฟ้ าเท่า กับ การกาบัง ( Shielding )
(3) มีการต่อลงดิน ( Earthing )
จึงจะสามารถป้ องกันไม่ให้อุปกรณ์ภายในอาคารชารุ ดเนื่ องจากแรงดันไฟฟ้ าเกินได้

2.4.1 อุปกรณ์ ป้องกันแรงดันไฟฟ้ำเกิน (Surge Protection Device : SPD)


อุปกรณ์ ป้องกันเสิ ร์จในอาคารมีไว้เพื่อลดหรื อขจัดกระแสไฟฟ้ าหรื อแรงดันไฟฟ้ าเกิ นชัว่ ครู่
ตามมาตรฐาน IEC และ IEEE มีการแบ่งประเภทของอุปกรณ์ ป้องกันเสิ ร์จตามลักษณะการทดสอบ
โดยจาลองคลื่นอิมพัลส์ในรู ปกระแส และ แรงดันแตกต่างกันออกไป (ในที่น้ ี จะกล่าวถึงมาตรฐาน IEC
เป็ นส่ วนใหญ่ ) ดังเช่น มาตรฐาน IEC 61312 - 1 - 1995 [ 6 ] ได้กาหนดย่านการป้ องกันแรงดันเกิน
ไฟฟ้ าจากฟ้ าผ่า (Lightning Protection Zone : LPZ) ออกเป็ นส่ วนต่าง ๆ ภายในอาคาร และในแต่ละย่าน
การป้ องกัน จะมี ก ารต่ อ ประสานแต่ ล ะย่ า นการป้ องกัน (ตามภาพที่ 2.1) เพื่ อ การลดทอนของ
สนามแม่เหล็กไฟฟ้ า (Electromagnetic field) และทาให้ศกั ย์ไฟฟ้ าในแต่ละย่านการป้ องกันเท่ากันซึ่ ง
9

การกาหนดย่านการป้ องกันต่าง ๆ จะเป็ นประโยชน์ต่อการออกแบบ และการเลื อกใช้อุปกรณ์ ป้องกัน


เสิ ร์จให้เหมาะสมกับขนาดของเสิ ร์จที่ผา่ นเข้ามา การแบ่งโซนดังกล่าวมีรายละเอียดดังนี้
LPZ 0A คื อ โซนที่ มี โ อกาสที่ จ ะถู ก ฟ้ าผ่า โดยตรงดัง นั้น จึ ง รั บ กระแสฟ้ าผ่า และคลื่ น
แม่เหล็กไฟฟ้ าเต็มที่
LPZ 0B คือ โซนที่ไม่มีโอกาสรับฟ้ าผ่าโดยตรง แต่ยงั ได้รับผลของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าโดยยังไม่
มีการลดทอนจากผลของแม่เหล็กไฟฟ้ าดังกล่าว
LPZ1 คื อ โซนที่ มี ก ารสวิ ต ชิ่ ง ของอุ ป กรณ์ ภ ายใน หรื อ จากการรั บ กระแสเสิ ร์ จ ของการ
เหนี่ ยวนาจากฟ้ าผ่าเข้ามาตามสายตัวนาไฟฟ้ า และสายสัญญาณต่าง ๆ และจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า
เนื่ องจากกระแสฟ้ าผ่าที่ เข้ามาเหนี่ ยวนาวงรอบ ที่อยู่ในอาคาร เช่ น วงรอบระหว่างระบบไฟฟ้ าและ
ระบบสื่ อสารซึ่ งสามารถลดทอนสนามแม่เหล็กดังกล่าว ได้ดว้ ยวิธีการต่อประสาน (Bonding) และการ
กาบัง (Shielding) ภายในอาคาร
LPZ2 คือ โซนที่มีการลดกระแสและสนามแม่เหล็กไฟฟ้ ามากกว่าโซนดังกล่าวข้างต้น

ภาพที่ 2.1 การแบ่งโซนการป้ องกันแรงดันเกินจากฟ้ าผ่า


โดยอุปกรณ์ ป้องกันเสิ ร์จจะแบ่งเป็ น 2 ประเภท ตามลักษณะการใช้งาน คือ อุปกรณ์ ป้องกัน
เสิ ร์จทางด้าน Power และด้าน Communication และแบ่งตามย่านการติดตั้งใช้งานได้เป็ น 2 ชนิด คือ
10

(1) Lightning Current Arrester คุณสมบัติมีความสามารถ Discharge กระแสฟ้ าผ่าบางส่ วนที่


มีขนาดพลังงานมากโดยที่ตวั มันเองหรื ออุปกรณ์ป้องกันเสิ ร์จตัวอื่น ๆ ไม่ได้รับความเสี ยหาย ตาแหน่ง
ติดตั้งอยูร่ ะหว่างย่าน LPZ OB กับ LPZ 1 จะถูกทดสอบด้วยกระแสอิมพัลส์ 10 / 350 µs
(2) Surge Arrester 0020 คุณสมบัติเพื่อจากัดแรงดันไฟฟ้ าเกิน เพื่อไม่ให้เกินค่าที่จะทาความ
เสี ยหายกับอุ ปกรณ์ ในอาคารตาแหน่ งติ ดตั้งจะอยู่หลังย่าน LPZ 1 ลงมาจะถูกทดสอบด้วยกระแส
อิมพัลส์ 8 / 20 µs และแรงดันอิมพัลส์ 1.2 / 50 µs

2.4.2 กำรต่ อประสำน (Bonding)


มาตรฐาน IEC 61024-1 [ 7 ] กล่ า วถึ ง การต่ อประสานเพื่อลดความต่ างศัก ย์ไฟฟ้ าระหว่า ง
ชิ้นส่ วนโลหะและระบบภายในบริ เวณที่จะป้ องกันจากฟ้ าผ่า ในการประสานนั้น ส่ วนที่เป็ นโลหะจะ
ประสาน (Bond) เข้ากับแท่งตัวนาต่อประสาน (Bonding Bar) ส่ วนที่เป็ นสายตัวนาไฟฟ้ าหรื อ
สายสัญญาณสื่ อสารต่าง ๆ จะประสานโดยอุปกรณ์ ป้องกันเสิ ร์จของแต่ละโซนป้ องกัน สาหรั บแท่ง
ตัวนาต่อประสานเหล่านี้จะต้องเชื่อมต่อกับระบบรากสายดิน (Earth termination system ) ภายในอาคาร
และระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอกอาคารด้วย

2.4.3 กำรกำบัง (Shielding)


สนามแม่เหล็กไฟฟ้ าที่ เข้ามาภายในอาคารจากฟ้ าผ่าสามารถลดทอนลงได้ดว้ ยการกาบังห้อง
หรื ออาคาร ด้วยวิธีตาข่าย (Mesh) เป็ นการเชื่ อมต่อส่ วนเหล็กโครงสร้างเข้าด้วยกันทั้งพื้น ผนัง เพดาน
บางครั้ งอาจเพิ่ ม เติ ม ลวดตาข่ า ยบนหลัง คาแล้วต่ อเชื่ อมเข้า กับ ระบบการต่ อลงดิ น ผลการลดทอน
สนามแม่เหล็กไฟฟ้ าดังกล่าวจะมากหรื อน้อยขึ้นอยูก่ บั ขนาดความถี่ ของตาข่าย ถ้าตาข่ายมีความถี่มาก
การลดทอนสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าจะลดเพิ่มขึ้นด้วย
(1) การจัด เดิ น สายตัว น าและสายสั ญ ญาณ การจัดการเดิ น สายที่ เ หมาะสมสามารถลด
ผลกระทบจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าที่เข้ามาภายในอาคารได้ ซึ่ งการเดินสายตัวนาไฟฟ้ ากับสายสัญญาณ
สื่ อสารของคอมพิวเตอร์ ที่ลกั ษณะเป็ น Loop เมื่อมี สนามแม่เหล็กไฟฟ้ า เข้ามาทาให้เกิ ดวงรอบการ
เหนี่ ยวนาขึ้นระหว่างสายตัวนาไฟฟ้ าและสายสัญญาณสื่ อสาร ผลทาให้เกิ ดแรงดันไฟฟ้ าเกิ นเกิ ดขึ้นที่
สายตัวนาไฟฟ้ า และสายสัญญาณสื่ อสาร การแก้ไข ต้องพยายามจัดการเดิ นสายต่าง ๆ ภายในอาคาร
ไม่ให้มีลกั ษณะเป็ น Loop
11

(2) การต่อลงดิ น การต่อลงดิ นของระบบไฟฟ้ า ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอกอาคาร ระบบ


ป้ องกันฟ้ าผ่าภายในอาคาร อุปกรณ์ต่างๆ รวมถึงส่ วนที่เป็ นโลหะที่อยูภ่ ายในอาคาร ระบบการลงต่อดิน
ควรมีการเชื่อมต่อถึงกัน เพื่อทาให้ศกั ย์ไฟฟ้ าในระบบเท่ากันตามหลักการ Equipotentail bonding

2.5 ควำมเสี่ ยง

ความเสี่ ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสี ยหาย สู ญเปล่าหรื อเหตุการณ์ที่ไม่


พึงประสงค์ ซึ่ งอาจเกิดขึ้นในอนาคต สาหรับความเสี่ ยงในที่น้ ี จะกล่าวถึงนี้ คือ เหตุการฟ้ าผ่าลงอาคาร
ซึ่ งเราไม่สามารถรับรู ้ ถึงเหตุการณ์ ความรุ นแรงที่จะเกิ ดขึ้นได้อนาคต จึงต้องมีการประเมินความเสี่ ยง
ของอุปกรณ์ ที่ติดตั้งไว้ท้ งั ภายใน และภายนอกอาคารสารับการป้ องกันฟ้ าผ่า ให้มีความพร้อมในการ
รับมือกับเหตุการณ์ ที่คาดไม่ถึงในอนาคต โดยองค์ประกอบความเสี่ ยงที่จะเอามาใช้ในการพิจารณามี
ทั้งหมด 3 องค์ประกอบด้วยกัน ดังนี้
(1) การประเมินจานวนเหตุการณ์อนั ตราย รายปี N
(2) การประเมินความน่าจะเป็ น PX ที่จะเกิดความเสี ยหายต่อสิ่ งปลูกสร้าง
(3) การประเมินปริ มาณการสู ญเสี ย LX ในสิ่ งปลูกสร้าง
โดยทั้ง 3 องค์ประกอบนี้ มีรายละเอียดที่แต่ต่างกัน และต้องใช้ขอ้ มูลจริ งในการพิจารณาความ
เสี่ ยงที่จะเกิ ดขึ้นกับสิ่ งปลู กสร้ าง และผูใ้ ช้บริ การสิ่ งปลูกสร้ างนั้นๆ โดยมี ข้ นั ตอนการพิจารณาความ
จาเป็ นของการป้ องกันตามภาพที่ 2.2
12

ระบุสิ่งปลูกสร้างที่จะป้ องกัน

ระบุชนิดแบบของการสู ญเสี ยที่สัมพันธ์กบั สิ่ งปลูกสร้างหรื อระบบ


สาธารณูปโภคที่จะป้ องกัน

การสู ญเสี ยแต่ละชนิดแบบ :


- ระบุความเสี่ ยงสู งสุ ดที่ยอมรับได้ RT
- ระบุและคานวณองค์ประกอบความเสี่ ยง RX ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด

คานวณ

สิ่ งปลูกสร้างหรื อระบบ


ไม่ สาธารณูปโภคมีการ
R > RT
ป้ องกันแล้วสาหรับการ
สู ญเสี ยชนิดแบบนี้
ใช่

ติดตั้งมาตรการป้ องกันที่เหมาะสมให้พอเพียง
เพื่อลดความเสี่ ยง R

ภาพที่ 2.2 การพิจารณาความจาเป็ นของการป้ องกัน


13

2.6 ควำมเสี ยหำย

ความเสี ย หายเนื่ องจากแหล่ ง ก าเนิ ด และชนิ ดของความเสี ย หายนั้น สามารถแบ่ ง ได้เ ป็ น 2


ประเภทดังต่อไปนี้

2.6.1 แหล่งกำเนิดและชนิดของควำมเสี ยหำยของสิ่ งปลูกสร้ ำง


กระแสฟ้ าผ่าเป็ นแหล่งกาเนิ ดของความเสี ยหายซึ่ งต้องคานึงถึงสถานการณ์ต่างๆที่ข้ ึนอยูก่ บั
ตาแหน่งของจุดฟ้ าผ่าสัมพันธ์กบั สิ่ งปลูกสร้างที่กาลังพิจารณา ใช้สัญลักษณ์อกั ษร ดังนี้
S1 = วาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้าง
S2 = วาบฟ้ าผ่าใกล้สิ่งปลูกสร้าง
S3 = วาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภคที่ต่อกับสิ่ งปลูกสร้าง
S4 = วาบฟ้ าผ่าใกล้ระบบสาธาณูปโภคที่ต่อกับสิ่ งปลูกสร้าง
เมื่อ
วาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้าง (S1) สามารถทาให้เกิดความเสี ยหาย ได้ 4 ประการ คือ
(1) ความเสี ยหายทางกลทันที ไฟไหม้ และ/หรื อ การระเบิด เนื่องจากความร้อนจากอาร์กพลา
สมาฟ้ าผ่าเองเนื่องจากกระแสไหลผ่านความต้านทานของตัวนา (ตัวนาเกิดความร้อน) หรื อ
เนื่องจากประจุทาให้เกิดการสึ กกร่ อนทางอาร์ ก (โลหะหลอมละลาย)
(2) เกิดไฟไหม้ และ/หรื อ เกิดการจุดระเบิด โดยประกายซึ่งเกิดจากแรงดันเกินที่เกิดจากการ
คาบเกี่ยวทางความต้านทานและความเหนี่ยวนาเนื่องจากการไหลผ่านของกระแสฟ้ าผ่า
บางส่ วน
(3) การบาดเจ็บของบุคคลเนื่องจากแรงดันสัมผัสและแรงดันช่วงก้าว ซึ่ งมีผลมาจากการคาบ
เกี่ยวทางความต้านทานและความเหนี่ยวนา
(4) ความล้มเหลวหรื อการทางานผิดพลาดของระบบภายในเนื่องจากอิมพัลส์แม่เหล็กไฟฟ้ า
จากฟ้ าผ่า

วาบฟ้ าผ่าใกล้สิ่งปลูกสร้าง (S2) สามารถทาให้เกิดความเสี ยหายได้ 1 ประการ คือ


14

ความล้ ม เหลวหรื อการท างานผิ ด พลาดของระบบภายในเนื่ อ งจากอิ ม พัล ส์


แม่เหล็กไฟฟ้ าจากฟ้ าผ่า
วาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภคที่ต่อกับสิ่ งปลูกสร้าง (S3) สามารถทาให้เกิดความเสี ยหายได้
3 ประการ คือ
(1) ไฟไหม้ และ/หรื อ การจุดระเบิดโดยประกายที่เกิดจากแรงดันเกินและกระแสฟ้ าผ่าที่
ส่ งผ่านระบบสาธารณูปโภคที่ต่ออยู่
(2) การบาดเจ็บของบุคคลเนื่องจากแรงดันสัมผัสภายในสิ่ งปลูกสร้าง ซึ่ งมีผลมาจากการแส
ฟ้ าผ่าที่ส่งผ่านระบบสาธารณูปโภคที่ต่ออยู่
(3) ความล้มเหลวหรื อการทางานผิดพลาดของระบบภายใน เนื่องจากแรงดันเกินที่ปรากฎบน
สายที่ต่ออยูแ่ ละส่ งผ่านเข้าสู่ สิ่งปลูกสร้าง

วาบฟ้ าผ่าใกล้ระบบสาธารณู ปโภคที่ต่อกับสิ่ งปลูกสร้าง (S4) สามารถทาให้เกิ ดความเสี ยหาย


ได้ 1 ประการ คือ
ความล้ม เหลวหรื อการท างานผิ ด พลาดของระบบภายใน เนื่ อ งจากแรงดัน เกิ น
เหนี่ยวนา บนสายที่ต่ออยูแ่ ละส่ งผ่านเข้าสู่ สิ่งปลูกสร้าง

2.6.2 แหล่ งกำเนิดและชนิดของควำมเสี ยหำยของระบบสำธำรณูปโภค


กระแสฟ้ าผ่าเป็ นแหล่งกาเนิ ดของความเสี ยหาย ซึ่ งต้องคานึ งถึ งสถานการณ์ต่างๆ ที่ข้ ึนอยูก่ บั
ตาแหน่งของจุดฟ้ าผ่าสัมพันธ์กบั ระบบสาธารณูปโภคที่กาลังพิจารณา ดังนี้
- S1 วาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้างที่ต่อกับระบบสาธารณูปโภค
- S3 วาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภคที่ต่อกับสิ่ งปลูกสร้าง
- S4 วาบฟ้ าผ่าใกล้กบั ระบบสาธารณูปโภคที่ต่อกับสิ่ งปลูกสร้าง

วาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้างที่ต่อกับระบบสาธารณูปโภค สามารถทาให้เกิด


- การหลอมละลายของสายโลหะและกาบังของสายเคเบิลเนื่ องจากกระแสฟ้ าผ่าบางส่ วน
ไหลเข้าสู่ ระบบสาธารณูปโภค (เป็ นผลจากความร้อนเชิงความต้านทาน)
- การเบรกดาวน์ของฉนวนของสายและบริ ภณ ั ฑ์ที่ต่ออยูเ่ นื่ องจากการคาบเกี่ยวทางความ
ต้านทาน
15

- การเจาะทะลุของปะเก็นอโลหะที่หน้าแปลนของท่อ รวมทั้งปะเก็นที่ขอ้ ต่อที่เป็ นฉนวน

วาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภคที่ต่อกับสิ่ งปลูกสร้าง สามารถทาให้เกิด


- ความเสี ยหายทางกลอย่างฉับพลันของสายโลหะหรื อท่อโลหะ เนื่ องจากความเครี ยดจากแรง
ทางไฟฟ้ าพลวัต หรื อความร้อนที่เกิดจากกระแสฟ้ าผ่า (สายโลหะ กาบังหรื อท่อเกิดการแตกหัก
และ/หรื อ หลอมละลาย) และเนื่ องจากความร้ อนของอาร์ กพลาสมาฟ้ าผ่าเอง (ทาให้เกิ ดการ
เจาะทะลุของเปลื่อกหุม้ ที่เป็ นพลาสติก)
- ความเสี ยหายทางไฟฟ้ าอย่างฉับพลันของสาย (การเบรกดาวน์ของฉนวน) และบริ ภณั ฑ์ที่ต่ออยู่
- การเจาะทะลุ ผ่านของท่อโลหะบางเหนื อดิ นและปะเก็ นอโลหะที่ หน้าแปลน อาจทาให้เกิ ด
ความเสี ยหายต่อเนื่อง เช่น ไฟไหม้และการระเบิด ขึ้นอยูก่ บั ของไหลที่ขนถ่าย

วาบฟ้ าผ่าใกล้ระบบสาธารณูปโภคที่ต่อกับสิ่ งปลูกสร้าง สามารถทาให้เกิด


- การเบรกดาวน์ ข องฉนวนของสายและบริ ภ ัณฑ์ ที่ ต่อ อยู่ เนื่ องจากการคาบเกี่ ย วทางความ
เหนี่ยวนา (แรงดันเกินเหนี่ยวนา)

โดยสรุ ปฟ้ าผ่าสามารถทาให้เกิดความเสี ยหายพื้นฐานได้ 2 ชนิดแบบ โดยกาหนดสัญลักษณ์อกั ษร คือ


- D2 = ความเสี ยหายทางกายภาพ (ไฟไหม้ การระเบิด ความเสี ยหายทางกล การปล่อยสารเคมี)
เนื่องจากผลของความร้อนที่เกิดจากกระแสฟ้ าผ่า
- D3 = ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์เนื่ องจากแรงดันเกิน

2.7 กำรประเมินองค์ ประกอบควำมเสี่ ยงสำหรับสิ่ งปลูกสร้ ำง

2.7.1 สมกำรพืน้ ฐำนสำหรับกำรประเมินควำมเสี่ ยง


R X = N X × P X × LX

โดยที่
NX คือ จานวนของเหตุการณ์อนั ตรายต่อปี (ดูจากภาคผนวก ก)
16

PX คือ ความน่าจะเป็ นที่จะเกิดความเสี ยหายต่อสิ่ งปลูกสร้าง (ดูภาคผนวก ข)


LX คือ การสู ญเสี ยที่ตามมา (ดูภาคผนวก ค)
หมายหตุ 1 จานวนของเหตุการณ์ อนั ตราย NX ขึ้ นอยู่กบั ความหนาแน่ นวาบฟ้ าผ่าลงดิ น (Ng) และ
คุณลักษณะทางกายภาพของวัตถุที่จะป้ องกัน สิ่ งที่อยูโ่ ดยรอบและดิน
หมายเหตุ 2 ความน่าจะเป็ นที่จะเกิ ดความเสี ยหาย PX ขึ้นอยู่กบั คุณลักษณะของวัตถุที่จะป้ องกัน และ
มาตรการป้ องกันที่จดั ไว้
หมายเหตุ 3 การสู ญเสี ยที่ตามมา LX ขึ้นอยูก่ บั การใช้งานวัตถุน้ นั ๆ จานวนของผูค้ นที่อยู่ ชนิ ดแบบของ
ระบบสาธารณูปโภคที่จดั ไว้ในที่สาธารณะ มูลค่าของสิ นค้าที่ได้รับความเสี ยหาย และมาตรการป้ องกัน
ที่จดั ไว้เพื่อจากัดปริ มาณการสู ญเสี ย

2.7.2 กำรประเมินองค์ ประกอบควำมเสี่ ยงเนื่องจำกวำบฟ้ำผ่ ำลงสิ่ งปลูกสร้ ำง (S1)


การประเมิ นค่ า ขององค์ป ระกอบความเสี่ ย งที่ สั ม พันธ์ ก ับ วาบฟ้ าผ่า ลงสิ่ งปลู ก สร้ าง ให้ใ ช้
ความสัมพันธ์ดงั นี้
- องค์ประกอบที่สัมพันธ์กบั การบาดเจ็บของสิ่ งมีชีวิต (D1)
R A= N D × P A × LA
- องค์ประกอบที่สัมพันธ์กบั ความเสี ยหายทางกายภาพ (D2)
R B = N D × P B × LB
- องค์ประกอบที่สัมพันธ์กบั ความล้มเหลวของระบบภายใน(D3)
R C = N D × P C × LC
พารามิเตอร์ ที่ใช้ประเมินองค์ประกอบความเสี่ ยงเหล่านี้ แสดงไว้ในตารางที่ 2.2

2.7.3 กำรประเมินองค์ ประกอบควำมเสี่ ยงเนื่องจำกวำบฟ้ำผ่ ำใกล้ สิ่งปลูกสร้ ำง (S2)


การประเมินองค์ประกอบความเสี่ ยงเนื่องจากวาบฟ้ าผ่าใกล้สิ่งปลูกสร้างให้ใช้ความสัมพันธ์
ดังนี้
- องค์ประกอบที่สัมพันธ์กบั ความล้มเหลวของระบบภายใน (D3)
R M = N M × P M × LM
17

พารามิเตอร์ที่ใช้ประเมินองค์ประกอบความเสี่ ยงเหล่านี้ แสดงไว้ในตารางที่ 2.2

2.7.4 กำรประเมินองค์ ประกอบควำมเสี่ ยงเนื่องจำกวำบฟ้ำผ่ ำลงสำยทีต่ ่ ออยู่กบั สิ่ งปลูกสร้ ำง(S3)


การประเมินองค์ประกอบความเสี่ ยงเนื่ องจากวาบฟ้ าผ่าลงสายที่ต่ออยูก่ บั สิ่ งปลูกสร้าง ให้ใช้
ความสัมพันธ์ดงั นี้
- องค์ประกอบที่สัมพันธ์กบั การบาดเจ็บของสิ่ งมีชีวิต (D1)
RU = (NL + NDa) × PU × LU
- องค์ประกอบที่สัมพันธ์กบั ความเสี ยหายทางกายภาพ (D2)
RV = (NL + NDa) × PV × LV
- องค์ประกอบที่สัมพันธ์กบั ความล้มเหลวของระบบภายใน (D3)
RW = (NL + NDa) × PW × LW
พารามิเตอร์ที่ใช้ประเมินองค์ประกอบความเสี่ ยงเหล่านี้ แสดงไว้ในตารางที่ 2.2

2.7.5 กำรประเมินองค์ ประกอบควำมเสี่ ยงเนื่องจำกวำบฟ้ำผ่ ำใกล้ สำยทีต่ ่ อเข้ ำกับสิ่ งปลูกสร้ ำง (S4)
การประเมินองค์ประกอบความเสี่ ยงเนื่ องจากวาบฟ้ าผ่าใกล้สายที่ต่อเข้ากับสิ่ งปลูกสร้าง ให้ใช้
ความสัมพันธ์ดงั นี้
- องค์ประกอบที่สัมพันธ์กบั ความล้มเหลวของระบบภายใน (D3)
RZ = (NI – NL) × PZ× LZ
พารามิเตอร์ ที่ใช้ประเมินองค์ประกอบความเสี่ ยงเหล่านี้ แสดงไว้ในตารางที่ 2.2
18

ตารางที่ 2.2 พารามิเตอร์ ที่สัมพันธ์กบั การประเมินองค์ประกอบความเสี่ ยงสาหรับสิ่ งปลูกสร้าง


สัญลักษณ์ รายการ ค่าตาม
จำนวนเฉลีย่ รำยปี ของเหตุกำรณ์ อนั ตรำยเนื่องจำกวำบฟ้ำผ่ ำ
- ลงสิ่ งปลูกสร้าง ND ภาคผนวก ก.2
- ใกล้สิ่งปลูกสร้าง NM ภาคผนวก ก.3
- ลงสายที่เข้าสู่ สิ่งปลูกสร้าง NL ภาคผนวก ก.4
- ใกล้สายที่เข้าสู่ สิ่งปลูกสร้าง NI ภาคผนวก ก.5
- ลงสิ่ งปลูกสร้างที่ปลายสาย a ของสาย NDa ภาคผนวก ก.6
ควำมน่ ำจะเป็ นทีว่ ำบฟ้ำผ่ ำลงสิ่ งปลูกสร้ ำงจะทำให้ เกิด
- การบาดเจ็บของสิ่ งมีชีวิต PA ภาคผนวก ข.1
- ความเสี ยหายทางกายภาพ PB ภาคผนวก ข.2
- ความล้มเหลวของระบบภายใน PC ภาคผนวก ข.3
ควำมน่ ำจะเป็ นทีว่ ำบฟ้ำผ่ ำใกล้ สิ่งปลูกสร้ ำงทีจ่ ะทำให้ เกิด
- ความล้มเหลวของระบบภายใน PM ภาคผนวก ข.4
ควำมน่ ำจะเป็ นทีว่ ำบฟ้ำผ่ำลงสำยจะทำให้ เกิด
- การบาดเจ็บของสิ่ งมีชีวิต PU ภาคผนวก ข.5
- ความเสี ยหายทางกายภาพ PV ภาคผนวก ข.6
- ความล้มเหลวของระบบภายใน PW ภาคผนวก ข.7
ควำมน่ ำจะเป็ นของวำบฟ้ำผ่ำลงใกล้สำยจะทำให้ เกิด
- ความล้มเหลวของระบบภายใน PZ ภาคผนวก ข.8
กำรสู ญเสี ยเนื่องจำก
- การบาดเจ็บของสิ่ งมีชีวิต LA =LU=ra × Lt ภาคผนวก ค.2
- ความเสี ยหายทางกายภาพ LB = LV = rp × rf × hZ × ภาคผนวก ค.2, ค.3, ค.4, ค.5
Lf
- ความล้มเหลวของระบบภายใน LC = LM = LW = LZ = LO ภาคผนวก ค.3, ค.4, ค.5
19

2.7.6 สรุ ปองค์ ประกอบควำมเสี่ ยงในสิ่ งปลูกสร้ ำง


สรุ ปแหล่ งกาเนิ ดความเสี ยหายและชนิ ดแบบความเสี ยหายตามจุ ดที่ฟ้าผ่า แสดงใน
ตารางที่ 2.3 ส่ วนองค์ป ระกอบความเสี่ ย งส าหรั บ สิ่ ง ปลู ก สร้ า งที่ มี ช นิ ดแบบของความเสี ย หายที่
แตกต่างกันได้รวมไว้ในตารางที่ 2.4 โดยแบ่งตามชนิ ดแบบต่างๆ ของความเสี ยหาย และแหล่งกาเนิ ด
ต่างๆ ของความเสี ยหาย

ตารางที่ 2.3 แหล่งกาเนิดความเสี ยหาย และชนิดแบบความเสี ยหายตามจุดฟ้ าผ่า


แหล่งกาเนิด สิ่ งปลูกสร้าง ระบบสาธารณูปโภค
จุดฟ้ าผ่า ความเสี ยหาย ชนิดแบบของความเสี ยหาย ชนิดแบบของความเสี ยหาย
S1 D1 D2
D2 D3
D3

S2 D3

S3 D1 D2
D2 D3
D3

S4 D3 D3
20

ตารางที่ 2.4 องค์ประกอบความเสี่ ยงสาหรับสิ่ งปลูกสร้างที่มีชนิดแบบของความเสี ยหายที่แตกต่างกัน


เกิดจากแหล่งกาเนิดที่แตกต่างกัน
แหล่งกาเนิด S1 S2 S3 S4 ผลความเสี่ ยง
ความเสี ยหาย วาบฟ้ าผ่าลง วาบฟ้ าผ่าลง วาบฟ้ าผ่าลง วาบฟ้ าผ่าลง ตามชนิดแบบ
สิ่ ง ใกล้สิ่งปลูก สาธารณูปโภค ใกล้ ของความ
ความเสี ยหาย ปลูกสร้าง สร้าง ที่เข้ามา สาธารณูปโภค เสี ยหาย
D1 RA = ND × RU = (ND + RS = R A + RU
การบาดเจ็บของ PA NDa)× PU × ru
สิ่ งมีชีวติ
× ra × Lt × Lt
D2 RB = ND × RV = (ND + RF = R B + RV
ความเสี ยหายทาง PB NDa)× PV × rp
กายภาพ
rp × hz × rf × × hz × rf ×Lo
Lf
D3 RC = ND × RM = NM × RW = (NL + RZ = (NI - RO = R C + RM
ความล้มเหลวของ PC PM NDa)× PW × Lo NL)× PZ × Lo + RW + RZ
ระบบไฟฟ้ าและ
× Lo × Lo
อิเล็กทรอนิกส์
ผลความเสี่ ยงตาม RD = R A × RI = R M + R U + RV + R W + RZ
แหล่งกาเนิดความ RB
เสี ยหาย
× RC

2.8 กำรคำนวณค่ ำควำมเสี่ ยงของระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำสำหรับอำคำร

การค านวณหาค่ า ความเสี่ ย งของระบบป้ องกัน ฟ้ าผ่า ส าหรั บอาคารจะจาแนกตาม


ลักษณะของเหตุการการเกิดวาบฟ้ าผ่า ดังต่อไปนี้
- ความเสี่ ยงที่เกิดจากวาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้าง (S1)
- ความเสี่ ยงที่เกิดจากวาบฟ้ าผ่าลงใกล้สิ่งปลูกสร้าง (S2)
- ความเสี่ ยงที่เกิดจากวาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภคที่เข้ามา (S3)
21

- ความเสี่ ยงที่เกิดจากวาบฟ้ าผ่าลงใกล้ระบบสาธารณูปโภคที่เข้ามา (S4)

2.8.1 กำรคำนวณหำค่ ำควำมเสี่ ยงทีเ่ กิดจำกวำบฟ้ำผ่ ำลงสิ่ งปลูกสร้ ำง (S1)


2.8.1.1 กำรบำดเจ็บของสิ่ งมีชีวติ ทีเ่ กิดจำกวำบฟ้ำผ่ ำลงสิ่ งปลูกสร้ ำง (RA) หำได้ จำก
สมกำร
RA = ND × PA × ra × Lt
โดยค่าพารามิเตอร์ แต่ละตัวสามารถหาได้ดงั ต่อไปนี้
ND คือ จานวนเฉลี่ยรายปี ของเหตุการณ์อนั ตรายเนื่ องจากวาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูก
สร้าง หาจากสมการ
ND = Ng × Ad/b × Cd/b × 10-6
เมื่อ
Ng = 0.1 × Td
Td คือ วันที่มีพายุฝนฟ้ าคะนองต่อปี สามารถหาได้จาก isokeraunic map หรื อ
กรมอุตุนิยมวิทยา
Ad/b คือ พื้นที่รับฟ้ าของสิ่ งปลูกสร้างหาได้จากสมการ
Ad/b = LbWb+6Hb (Lb+Wb) + π(3Hb)2
Cd/b คือ ตัวประกอบตาแหน่งที่ต้ งั ของสิ่ งปลูกสร้าง (ภาคผนวก ก.2)

PA คือ ความน่าจะเป็ นที่วาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้างจะทาให้เกิดการบาดเจ็บของ


สิ่ งมีชีวติ จากแรงดันสัมผัสและแรงดันช่วงก้าว (ภาคผนวก ข.1)
ra คือ ตัวประกอบลดการสู ญเสี ยของสิ่ งมีชีวติ ขึ้นอยูก่ บั ชนิดของดิน
(ภาคผนวก ค.2)
Lt คือ การสู ญเสี ยเนื่องจากการบาดเจ็บจากแรงดันสัมผัสและแรงดันช่วงก้าว
(ภาคผนวก ค.1)
2.8.1.2 ควำมเสี ยหำยทำงกำยภำพทีเ่ กิดจำกวำบฟ้ำผ่ ำลงสิ่ งปลูกสร้ ำง (RB) หำได้ จำก
สมกำร
RB = ND × PB × rp × hZ × rf × Lf
โดยค่าพารามิเตอร์ แต่ละตัวสามารถหาได้ดงั ต่อไปนี้
22

PB คือ ความน่าจะเป็ นที่วาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้างจะทาให้เกิดความเสี ยหาย


ทางกายภาพ (ภาคผนวก ข.2)
rp คือ ตัวประกอบลดการสู ญเสี ยเนื่องจากความเสี ยหายทางกายภาพ ขึ้นอยูก่ บั
การเตรี ยมการลดผลที่ตามมาจากการเกิดเพลิงไหม้ (ภาคผนวก ค.3)
hz คือ ตัวประกอบเพิ่มการสู ญเสี ยเนื่องจากความเสี ยหายทางกายภาพ เมื่อมี
อันตรายพิเศษ (ภาคผนวก ค.5)
rf คือ ตัวประกอบลดการสู ญเสี ยเนื่องจากความเสี ยหายทางกายภาพ ขึ้นอยูก่ บั
ความเสี่ ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้ของสิ่ งปลูกสร้าง (ภาคผนวก ค.4)
Lf คือ การสู ญเสี ยการบริ การต่อสาธารณะที่ยอมรับได้ (ภาคผนวก ค.6)

2.8.1.3 ควำมล้ มเหลวของระบบไฟฟ้ำ และอิเล็กทรอนิกส์ ที่เกิดจำกวำบฟ้ำผ่ ำลงสิ่ ง


ปลูกสร้ ำง (RC) หำได้ จำกสมกำร
RC = ND × PC × Lo
เมื่อ
PC คือ ความน่าจะเป็ นที่วาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้างจะทาให้เกิดความล้มเหลว
ของระบบภายใน (ภาคผนวก ข.3)
Lo คื อ การสู ญเสี ย ทางเศรษฐศาสตร์ ส ามารถก าหนดในรู ป ของปริ ม าณ
สัมพัทธ์ ของการสู ญเสี ยที่เป็ นไปได้ (ภาคผนวก ค.7)

2.8.2 กำรหำคำนวณหำค่ ำควำมเสี่ ยงทีเ่ กิดจำกวำบฟ้ำผ่ ำใกล้ สิ่งปลูกสร้ ำง (S2)


2.8.2.1 ควำมล้มเหลวของระบบไฟฟ้ำและอิเล็กทรอนิกส์ RM หำได้ จำกสมกำร
RM = NM × PM × Lo
เมื่อ
NM คือ จานวนเฉลี่ยรายปี ของเหตุการณ์อนั ตรายเนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงใกล้สิ่ง
ปลูกสร้าง
PM คือ ความน่าจะเป็ นที่วาบฟ้ าผ่าลงใกล้สิ่งปลูกสร้างจะทาให้เกิดความ
ล้มเหลวของระบบภายใน (ภาคผนวก ข.4)
23

2.8.3 กำรคำนวณหำค่ ำควำมเสี่ ยงทีเ่ กิดจำกวำบฟ้ำผ่ ำลงสำธำรณูปโภคทีเ่ ข้ ำมำ (S3)


2.8.3.1 กำรบำดเจ็บของสิ่ งมีชีวติ หำได้ จำกสมกำร
RU = (NL + NDa)× PU × ru × Lt
เมื่อ
NL คือ จานวนเฉลี่ยรายปี ของเหตุการณ์อนั ตรายเนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงสายที่
เข้าสิ่ งปลูกสร้างสามารถประเมินค่าจากสมการ
NL = Ng × Al × Cd × Ct × 10-6
เมื่อ
Al คือ พื้นที่รับฟ้ าผ่าของวาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภค (m2)
(ภาคผนวก ก.3 และรู ปที่ ก.5)
หาได้จากสมการ
Al = (Lc – 3(Ha + Hb)
Cd คือ ตัวประกอบตาแหน่งที่ต้ งั ของระบบสาธารณูปโภค (ภาคผนวก ก.2)
Ct คื อ ตัว ประกอบการแก้ กรณี มี หม้อ แปลงไฟฟ้ า HV/LV บนระบบ
สาธารณูปโภคที่ต่อกับสิ่ งปลูกสร้าง โดยหม้อแปลงตั้งอยูร่ ะหว่างจุด
ฟ้ าผ่ากับสิ่ งปลูกสร้าง (ภาคผนวก ก.4) ตัวประกอบนี้ ใช้กบั ส่ วนของ
สายที่อยูต่ น้ ทางจากหม้อแปลงไฟฟ้ าเมื่อเทียบกับสิ่ งปลูกสร้าง
NDa คือ จานวนเฉลี่ยรายปี ของเหตุการณ์อนั ตรายเนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูก
สร้างที่อยูป่ ลายสาย “a” ของสาย หาได้จากสมการ
NDa = Ng × Ad/b × Cd/a × Ct × 10-6
เมื่อ
Ad/b คือ พื้นที่รับฟ้ าผ่าของสิ่ งปลูกสร้างแยกอิสระ (m2) (ภาคผนวก ก.1)
Ad/b = LbWb+6Hb (Lb + Wb) + π(3Hb)2
Cd/a คือ ตัวประกอบตาแหน่งที่ต้ งั ของสิ่ งปลูกสร้าง (ภาคผนวก ก.2)
PU คือ ความน่าจะเป็ นที่วาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภคจะทาให้เกิดการ
บาดเจ็บชองสิ่ งมีชีวติ (ภาคผนวก ข.6)
ru คือ ตัวประกอบลดการสู ญเสี ยของชีวติ มนุษย์ ขึ้นอยูก่ บั ชนิดของพื้น
(ภาคผนวก ค.2)
24

2.8.3.2 ควำมเสี ยหำยทำงกำยภำพ หำได้ จำกสมกำร


RV = (NL + NDa)× PV × rp × hz × rf ×Lo
เมื่อ
PV คือ ความน่าจะเป็ นที่วาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภคจะทาให้เกิดความ
เสี ยหายทางกายภาพ (ภาคผนวก ข.6)
rp คือ ตัวประกอบลดการสู ญเสี ยเนื่องจากความเสี ยหายทางกายภาพ ขึ้นอยูก่ บั
การเตรี ยมการลดผลที่ตามมาจากการเกิดเพลิงไหม้ (ภาคผนวก ค.3)

2.8.3.3 ควำมล้มเหลวของระบบไฟฟ้ำ และอิเล็กทรอนิกส์ หำได้ จำกสมกำร


RW = (NL + NDa)× PW × Lo
เมื่อ
PW คือ ความน่าจะเป็ นที่จะเกิดความล้มเหลวของระบบภายในเนื่องจากวาบ
ฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภคที่เข้าสู่ สิ่งปลูกสร้าง (ภาคผนวก ข.6)

2.8.4 กำรคำนวณหำค่ ำควำมเสี่ ยงทีเ่ กิดจำกวำบฟ้ำผ่ ำลงใกล้ สำธำรณูปโภค (S4)


ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ า และอิเล็กทรอนิกส์ หาได้จากสมการ
RZ = (NI - NL) × PZ × Lo
เมื่อ
NI คือ จานวนเฉลี่ยรายปี ของหตุการณ์อนั ตรายเนื่องจากวาบฟ้ าผ่าใกล้ระบบ
สาธารณูปโภคจากสมการ
NI = Ng × Ai × Ce × Ct × 10-6
เมื่อ
Ai คือ พื้นที่รับฟ้ าผ่ากรณี วาบฟ้ าผ่าลงดินใกล้ระบบสาธารณูปโภค (m2)
หาได้จากสมการ
Ai = 25Lc √ρ
ρ คือ ค่าความต้านทานจาเพาะของดิน
Ce คือ ตัวประกอบสภาพสิ่ งแวดล้อม (ภาคผนวก ก.5)
25

NL คือจานวนเฉลี่ยรายปี ของเหตุการณ์อนั ตรายเนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงระบบ


สาธารณูปโภคระบบสาธารณูปโภคที่มีส่วนเดียวอาจประเมินค่าจากสมการ
NL = Ng × Al × Cd × Ct × 10-6
เมื่อ
Al คือ พื้นที่รับฟ้ าผ่าของวาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภค (m2)
(ภาคผนวก ก.3 และรู ปที่ ก.5) หาได้จากสมการ
Al = (Lc – 3(Ha + Hb) √ρ
PZ คือ ความน่าจะเป็ นที่จะเกิดความล้มเหลวของระบบภายในเนื่องจากวาบ
ฟ้ าผ่าใกล้ระบบสาธารณูปโภคที่เข้าสู่ สิ่งปลูกสร้าง (ภาคผนวก ข.7)
26

บทที่ 3

กำรประเมินควำมเสี่ยงของระบบป้ องกันฟ้ ำผ่ำอำคำร

ในบทนี้ จะกล่าวถึ ง การประเมินความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าฝ่ าอาคาร โดยใช้กรณี ศึกษา


อาคารเรี ยนและอาคารสานักงานของมหาวิทยาลัยศรี ปทุม วิทยาเขต บางเขน ซึ่ งมีจานวนทั้งหมด 4
อาคาร ได้แก่ อาคาร 1 อาคาร ดร.สุ ข พุคยาภรณ์ , อาคาร 5 อาคารสยามบรมราชกุมารี , อาคาร 9
อาคาร 30 ปี ศรี ปทุม และ อาคาร 11 อาคาร 40 ปี ศรี ปทุม มีรายละเอียดของการเก็บข้อมูล การคานวณ
เพื่อประเมินความเสี่ ยง ดังต่อไปนี้

3.1 กำรคำนวณค่ ำควำมเสี่ ยงของระบบป้องกันฟ้ำผ่ำ ของอำคำร 1

ลักษณะของอาคาร 1 เป็ นอาคารเรี ยน กว้าง 14 เมตร ยาว 59 เมตร สู ง 56 เมตรภายในเป็ นพื้น


หิ นอ่อน ตั้งอยู่บนพื้นราบ ในเมื องที่ มีอาคารสู งและมี ตน้ ไม้ใหญ่อยู่บริ เวณใกล้เคี ยง มีระบบป้ องกัน
ฟ้ าผ่า อยู่ในระดับ 2 โดยใช้แบบแท่งตัวนา (Rods) ซึ่ งบริ เวณดังกล่าวมีอาคาร 11 ที่มีขนาด กว้าง 29
เมตร ยาว 115.70 เมตร สู ง 58 เมตร อยูใ่ กล้เคียง แสดงแผนผังชั้นดาดฟ้ า ดังภาพที่ 3.1
27

ภาพที่ 3.1 แบบพื้นที่ช้ นั ดาดฟ้ ารับฟ้ าผ่าของอาคาร 1


ระบบสาธารณูปโภคที่เข้าสู่ อาคาร ประกอบด้วย ระบบไฟฟ้ าที่เดินแบบฝังดินโดยมีหม้อแปลง
ขนาด 1250 kVA 3 เฟส ชนิด Oil Type จานวน 1 ชุด ติดตั้งอยูภ่ ายนอกอาคาร และระบบโทรคมนาคมที่
เดินใน ช่องชาร์ ป (Shaft) สายไฟฟ้ าแรงสู ง ขนาด 50 Sq.mm. โดยมีค่า Rs =0.822 Ohm/km
ความหนาแน่นของวาบฟ้ าผ่าในบริ เวณดังกล่าวมีค่า 99 ครั้ง ต่อตารางกิโลเมตรต่อปี (ข้อมูล
จากกรมอุตุนิยมวิทยา ดูจากภาคผนวก ง) และดินบริ เวณนั้นมีค่าความต้านทานจาเพาะของดินเท่ากับ 38
Ω/m และค่าความต้านทานของสายดินของระบบไฟฟ้ าเท่ากับ 37.70 Ω และค่าความต้านทานสายดิน
ของระบบป้ องกันฟ้ าผ่าเท่ากับ 62.57 Ω แสดงการเก็บข้อมูล ดังภาพที่ 3.2
28

ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอกอาคาร ความต้านทานของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า

ห้องไฟฟ้ าของอาคาร หม้อแปลงไฟฟ้ าของอาคาร

รากสายดินหม้อแปลงไฟฟ้ า ความต้านทานรากสายดินหม้อแปลงไฟฟ้ า

ภาพที่ 3.2 การเก็บข้อมูลระบบการป้ องกันฟ้ าผ่าอาคาร 1 และการต่อลงดิน


29

3.1.1 กำรหำคำนวณหำค่ ำควำมเสี่ ยงทีเ่ กิดจำกวำบฟ้ำผ่ ำลงสิ่ งปลูกสร้ ำง (S1)


3.1.1.1 กำรบำดเจ็บของสิ่ งมีชีวติ ทีเ่ กิดจำกวำบฟ้ำผ่ำลงสิ่ งปลูกสร้ ำง (RA)
หาได้จากสมการ
RA = ND × PA × ra × Lt
เมื่อ
ND คือ จานวนเฉลี่ยรายปี ของเหตุการณ์อนั ตรายเนื่องจากวาบฟ้ าผ่า
ลงสิ่ งปลูกสร้าง
หาได้จากสมการ
ND = Ng × Ad/b × Cd/b × 10-6
Ng = 0.1 × Td
Td คือ วันที่มีพายุฝนฟ้ าคะนองต่อปี สามารถหาได้จาก isokeraunic
map หรื อกรมอุตุนิยมวิทยา Td= 99 ครั้งต่อปี (ภาคผนวก ง)
Ng = 99 × 0.1
Ng = 9.9 flash/km2/year
Ad/b = พื้นที่รับฟ้ าของสิ่ งปลูกสร้างหาได้จากสมการ
Ad/b = LbWb+6Hb (Lb+Wb) + π(3Hb)2
Ad/b = 59 × 14 + (6 × 56) (59 + 14)+ π(3 × 56) 2
Ad/b = 114,022 ตารางเมตร
Cd/b = ตัวประกอบตาแหน่งที่ต้ งั ของสิ่ งปลูกสร้าง (ดูจากตาราง ก.2)
ดังนั้นจานวนเฉลี่ยรายปี ของเหตุการณ์อนั ตรายเนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงสิ่ ง
ปลูกสร้างเท่ากับ
ND = 9.9 × 114,022 × 0.5 × 10-6 = 0.56 ครั้งต่อปี
PA คือ ความน่าจะเป็ นที่วาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้างจะทาให้เกิดการบาดเจ็บของ
สิ่ ง มี ชี วิ ต จากแรงดั น สั ม ผัส และแรงดั น ช่ ว งก้ า ว มี ค่ า เท่ า กั บ 10-2
(ภาคผนวก ข.1)
ra คือ ตัวประกอบลดการสู ญเสี ยของสิ่ งมีชีวิต ขึ้นอยู่กบั ชนิ ดของดิ น มี ค่า
เท่ากับ 1×10-2 (ภาคผนวก ค.2)
30

Lt คือ การสู ญเสี ยเนื่องจากการบาดเจ็บจากแรงดันสัมผัสและแรงดันช่วงก้าว


มีค่า เท่ากับ 1×10-4 (ภาคผนวก ค.1)
ดังนั้น ค่าความเสี่ ยงที่เกิดต่อ การบาดเจ็บของสิ่ งมีชีวติ ที่เกิดจากวาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูก
สร้าง RA จะได้สมการ
RA = ND × PA × ra × Lt
RA = 0.56 × 10-2 × 10-2 × 10-4
RA = 0.00056 × 10-5

3.1.1.2 ควำมเสี ยหำยทำงกำยภำพทีเ่ กิดจำกวำบฟ้ำผ่ ำลงสิ่ งปลูกสร้ ำง (RB)


หาได้จากสมการ
RB = ND × PB × rp × hZ × rf × Lf
เมื่อ
PB คื อ ความน่ าจะเป็ นที่วาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้ างจะทาให้เกิ ดความ
เสี ยหายทางกายภาพ มีค่าเท่ากับ 0.05 (ภาคผนวก ข.2)
rp คือ ตัวประกอบลดการสู ญเสี ยเนื่ องจากความเสี ยหายทางกายภาพ
ขึ้นอยูก่ บั การเตรี ยมการลดผลที่ตามมาจากการเกิดเพลิงไหม้ มีค่า
เท่ากับ 0.5 (ภาคผนวก ค.3)
hz คื อ ตัวประกอบเพิ่ม การสู ญเสี ย เนื่ องจากความเสี ยหายทาง
กายภาพ เมื่อมีอนั ตราย พิเศษ มีค่าเท่ากับ 5 (ภาคผนวก ค.5)
rf คือ ตัวประกอบลดการสู ญเสี ยเนื่องจากความเสี ยหายทางกายภาพ ขึ้นอยูก่ บั
ความ เสี่ ยงต่ อการเกิ ดเพลิ งไหม้ของสิ่ งปลู กสร้ าง ค่า เท่ากับ 1×10-3
(ภาคผนวก ค.4)
Lf คื อ การสู ญ เสี ย การบริ ก ารต่ อ สาธารณะที่ ย อมรั บ ได้มี ค่ า เท่ า กับ 0.05
(ภาคผนวก ค.6)

ดังนั้นค่าความเสี่ ยงที่เกิดความเสี ยหายทางกายภาพ ที่เกิดจากวาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูก


สร้าง RB จะได้
RB = ND × PB × rp × hZ × rf × Lf
RB = 0.56 × 0.05 × 0.5 ×5 × 10-3 × 0.05
31

RB = 0.35 × 10-5
3.1.1.3 ค่ ำควำมเสี่ ยงทีท่ ำให้ เกิด ควำมล้มเหลวของระบบไฟฟ้ำ และอิเล็กทรอนิกส์ ที่
เกิดจำกวำบฟ้ำผ่ ำลงสิ่ งปลูกสร้ ำง (RC)
หาได้จากสมการ
RC = ND × PC × Lo
เมื่อ
PC คือ ความน่าจะเป็ นที่วาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้างจะทาให้เกิดความล้มเหลว
ของระบบภายใน ค่าเท่ากับ 1 (ภาคผนวก ข.3)
Lo คือ การสู ญเสี ยทางเศรษฐศาสตร์ สามารถกาหนดในรู ปของปริ มาณ
สัมพัทธ์ ของการ สู ญเสี ยที่เป็ นไปได้ ค่าเท่ากับ 1×10-3 (ภาคผนวก ค.
7)

ดังนั้น ค่าความเสี่ ยงที่ก่อให้เกิดความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ า และ อิเล็กทรอนิกส์ ที่


เกิดจากวาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้าง (RC) จะได้
RC = ND × PC × Lo
RC = 0.56 × 1 × 10-3
RC = 56 × 10-5

3.1.2 กำรหำคำนวณหำค่ ำควำมเสี่ ยงทีเ่ กิดจำกวำบฟ้ำผ่ำลงใกล้ สิ่งปลูกสร้ ำง (S2)


3.1.2.1 ควำมล้มเหลวของระบบไฟฟ้ำและอิเล็กทรอนิกส์ RM
หาได้จากสมการ
RM = NM × PM × Lo
เมื่อ
NM คือ จานวนเฉลี่ยรายปี ของเหตุการณ์อนั ตรายเนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงใกล้สิ่ง
ปลูกสร้างหาได้จากสมการ
Ng × (AM – Ad/a Cd/a × 10-6)
เมื่อ
Ng = 0.1 × Td
32

Td คือ วันที่มีพายุฝนฟ้ าคะนองต่อปี สามารถหาได้จาก isokeraunic map หรื อ


กรมอุตุนิยมวิทยา Td= 99 ครั้งต่อปี (ภาคผนวก จ)
Ng = 99 × 0.1
Ng = 9.9 flash/km2/year
AM = พื้นที่รับฟ้ าผ่าของวาบฟ้ าผ่าใกล้สิ่งปลูกสร้างหาได้จากสมการ
AM = LbWb + 2 × 250 (Lb + Wb) + π (250)2
AM = (59 × 14) + 2 × 250 (59 + 14 + π (250)2
AM = 233,675 ตารางเมตร
Ad/a = พื้นที่รับฟ้ าของสิ่ งปลูกสร้างใกล้เคียง
Ad/a = 115.70 × 29 + (6 × 58)(115.70 + 29)+ π(3 × 58)2
Ad/a = 148,825 ตารางเมตร
Cd/b = ตัวประกอบตาแหน่งที่ต้ งั ของสิ่ งปลูกสร้าง (ภาคผนวก ก.2)
ดังนั้น
NM = Ng × (AM – Ad/b Cd/a × 10-6)
NM = 9.9 × (233,675 - 148,825 × 0.5 × 10-6)
NM = 0.42
PM คือ ความน่าจะเป็ นที่วาบฟ้ าผ่าลงใกล้สิ่งปลูกสร้างจะทาให้เกิดความ
ล้มเหลวของระบบภายใน มีค่าเท่ากับ 1 (ภาคผนวก ข.3)
Lo คือ การสู ญเสี ยทางเศรษฐศาสตร์ สามารถกาหนดในรู ปของปริ มาณสัมพัทธ์
ของการสู ญเสี ยที่เป็ นไปได้ มีค่าเท่ากับ 1×10-3 (ภาคผนวก ค.7)
ดังนั้นค่าความเสี่ ยงที่ก่อให้เกิดความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ ที่เกิด
จากวาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้าง (RC) จะได้
RM = NM × PM × Lo
RM = 0.42 × 1 × 10-3
RM = 42
33

3.1.3 กำรหำคำนวณหำค่ ำควำมเสี่ ยงทีเ่ กิดจำกวำบฟ้ำผ่ำลงสำธำรณูปโภคทีเ่ ข้ ำมำ (S3)


3.1.3.1 ค่ ำ ควำมเสี่ ย งที่ ก่ อ ให้ เกิ ด กำรบำดเจ็ บ ของสิ่ ง มี ชี วิ ต จำกวำบฟ้ ำผ่ ำ ลง
สำธำรณูปโภคทีเ่ ข้ ำมำ
หาได้จากสมการ
RU = (NL + NDa) × PU × ru × Lt
เมื่อ
NL คือ จานวนเฉลี่ยรายปี ของเหตุการณ์อนั ตรายเนื่ องจากวาบฟ้ าผ่าลงายที่เข้า
สิ่ งปลูกสร้างหาได้จากสมการ
NL = Ng × Al × Cd × Ct × 10-6
เมื่อ
Al คือ พื้นที่รับฟ้ าผ่าของวาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภค (m2) (ตารางที่ ก.3
และรู ปที่ ก.5)
Al = √ρ × (Lc – 3(Ha + Hb))
Al = √38 × (300 – 3 × (12 + 58))
Al = 128,158 ตารางเมตร
Cd คือ ตัวประกอบตาแหน่งที่ต้ งั ของระบบสาธารณูปโภค มีค่าเท่ากับ 0.5
ภาคผนวก ก.2)
Ct คือ ตัวประกอบการแก้ กรณี มีหม้อแปลงไฟฟ้ า HV/LV บนระบบ
สาธารณูปโภคที่ต่อกับสิ่ งปลูกสร้าง โดยหม้อแปลงตั้งอยูร่ ะหว่างจุด
ฟ้ าผ่ากับสิ่ งปลูกสร้าง (ภาคผนวก ก.4) ตัวประกอบนี้ใช้กบั ส่ วนของ
สายที่อยูต่ น้ ทางจากหม้อแปลงไฟฟ้ าเมื่อเทียบกับสิ่ งปลูกสร้าง มีค่า
เท่ากับ 1
ดังนั้นจานวนเฉลี่ยรายปี ของเหตุการณ์อนั ตรายเนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลง สายที่เข้าสิ่ งปลูก
สร้าง มีค่าเท่ากับ
NL = Ng × Al × Cd × Ct × 10-6
NL = 9.9 × 128,158 × 0.5 ×1 × 10-6
NL = 0.634
34

NDa คือ จานวนเฉลี่ยรายปี ของเหตุการณ์อนั ตราย เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้างที่


อยูป่ ลาย “a” ของสาย อาจประเมินค่าจากสมการ
NDa = Ng × Ad/a × Cd/a × Ct × 10-6

เมื่อ
Ad/a คือ พื้นที่รับฟ้ าผ่าของสิ่ งปลูกสร้าง (m2) (ดูรูปที่ ก.1)
Ad/b = 59 × 14 + (6 × 56) (59 + 14)+ π(3 × 56)2
Ad/b = 114,022 ตารางเมตร
Cd/a คือ ตัวประกอบตาแหน่งที่ต้ งั ของสิ่ งปลูกสร้างมีค่าเท่ากับ 0.5
(ภาคผนวก ก.2)
Ct คือ ตัวประกอบการแก้ กรณี มีหม้อแปลงไฟฟ้ า HV/LV บนระบบ
สาธารณูปโภคที่ต่อกับสิ่ งปลูกสร้าง โดยหม้อแปลงตั้งอยูร่ ะหว่างจุด
ฟ้ าผ่ากับสิ่ งปลูกสร้าง (ภาคผนวก ก.4) ตัวประกอบนี้ใช้กบั ส่ วนของ
สายที่อยูต่ น้ ทางจากหม้อแปลงไฟฟ้ าเมื่อเทียบกับสิ่ งปลูกสร้าง มีค่า
เท่ากับ 1
ดังนั้นจานวนเฉลี่ยรายปี ของเหตุการณ์อนั ตราย เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลง สิ่ งปลูก ส ร้ า ง ที่
อยูป่ ลาย “a” ของสายมีค่าเท่ากับ
NDa = Ng × Ad/a × Cd/a × Ct × 10-6
NDa = 9.9 ×114,022 ×0.5 × 1 × 10-6
NDa = 0.564
PU คือ ความน่าจะเป็ นที่วาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภคจะทาให้เกิดการ
บาดเจ็บของสิ่ งมีชีวติ มีค่าเท่ากับ 0.2 (ภาคผนวก ข.6)
ru คือ ตัวประกอบลดการสู ญเสี ยของชีวติ มนุษย์ ขึ้นอยูก่ บั ชนิดของพื้น มีค่า
เท่ากับ 1×10-2 (ภาคผนวก ค.2)
Lt คือ การสู ญเสี ยของชีวติ มนุษย์ อาจกาหนดในรู ปของจานวนสัมพัทธ์ของ
ผูเ้ คราะห์ร้าย มีค่าเท่ากับ 1×10-4 (ภาคผนวก ค.1)
35

ดั ง นั้ น ค่ า ความเสี่ ยงที่ ก่ อ ให่ เ กิ ด การบาดเจ็ บ ของสิ่ งมี ชี วิ ต จากวาบฟ้ าผ่ า ลง


สาธารณูปโภคที่เข้ามา มีค่าเท่ากับ
RU = (NL + NDa) × PU × ru × Lt
RU = (0.634 + 0.564) × 0.2 × 10-2 × 10-4
RU = 0.0239 × 10-5
3.1.3.2 ค่ ำควำมเสี่ ยงทีก่ ่อให้ เกิดควำมเสี ยหำยทำงกำยภำพจำกวำบฟ้ำผ่ำลง
สำธำรณูปโภคทีเ่ ข้ ำมำ
หาได้จากสมการ
RV = (NL + NDa)× PV × rp × hz × rf ×Lo
เมื่อ
PV คือ ความน่าจะเป็ นที่วาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภคจะทาให้เกิดความ
เสี ยหายทางกายภาพ มีค่าเท่ากับ 0.2 (ภาคผนวก ข.6)
rp คือ ตัวประกอบลดการสู ญเสี ยเนื่ องจากความเสี ยหายทางกายภาพ ขึ้นอยูก่ บั
การเตรี ยมการลดผลที่ตามมาจากการเกิดเพลิงไหม้ มีค่าเท่ากับ 0.5
(ภาคผนวก ค.3)
hz คือ ตัวประกอบเพิ่มการสู ญเสี ยเนื่องจากความเสี ยหายทางกายภาพ เมื่อมี
อันตรายพิเศษ มีค่าเท่ากับ 5 (ภาคผนวก ค.5)
rf คือ ตัวประกอบลดการสู ญเสี ยเนื่องจากความเสี ยหายทางกายภาพ ขึ้นอยูก่ บั
ความเสี่ ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้ของสิ่ งปลูกสร้าง มีค่าเท่ากับ 1×10-3
(ภาคผนวก ค.4)
L0 คือ การสู ญเสี ยการบริ การต่อสาธารณะที่ยอมรับได้ มีค่าเท่ากับ 1×10-3
(ภาคผนวก ค.6)
ดัง นั้ น ค่ า ความเสี่ ย งที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ยหายทางกายภาพ จากวาบฟ้ าผ่ า ลง
สาธารณูปโภคที่เข้ามีค่าเท่ากับ
RV = (NL + NDa) × PV × rp × hz × rf ×Lo
RV= (0.634 + 0.564) × 0.2 × 0.5 × 5 ×10-3 ×10-3
RV = 0.0582 × 10-5
36

3.1.3.3 ค่ ำควำมเสี่ ยงที่ก่อให้ เกิด ควำมล้ มเหลวของระบบไฟฟ้ำและอิเล็กทรอนิกส์ จำกวำบ


ฟ้ำผ่ำลงระบบสำธำรณูปโภคทีเ่ ข้ ำมำ
หาได้จากสมการ
RW = (NL + NDa)× PW × Lo
เมื่อ
PW คือ ความน่าจะเป็ นที่จะเกิดความล้มเหลวของระบบภายในนื่องจากวาบ
ฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภคที่เข้าสู่ สิ่งปลูกสร้าง มีค่าเท่ากับ 0.2
(ภาคผนวก ข.6)
L0 คือ การสู ญเสี ยการบริ การต่อสาธารณะที่ยอมรับได้ มีค่าเท่ากับ 1×10-3
(ภาคผนวก ค.6)
ดังนั้นค่าความเสี่ ยงที่ก่อให้เกิด ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ า และอิเล็กทรอนิกส์จาก
วาบฟ้ าผ่าลงสาธารณูปโภคที่เข้าเท่ากับ
RW = (NL + NDa) × PW × Lo
RW = (1.03+0.564) × 0.008 ×10-3
RW = 0.94 × 10-5

3.1.4 กำรคำนวณหำค่ ำควำมเสี่ ยงทีเ่ กิดจำกวำบฟ้ำผ่ ำลงใกล้ สำธำรณูปโภค (S4)


3.1.4.1 ควำมล้มเหลวของระบบไฟฟ้ำ และอิเล็กทรอนิกส์
หาได้จากสมการ
RZ = (NI - NL) × PZ × Lo

เมื่อ
NI คือ จานวนเฉลี่ยรายปี ของหตุการณ์อนั ตรายเนื่องจากวาบฟ้ าผ่าใกล้ระบบ
สาธารณูปโภคจากสมการ
NI = Ng × Ai × Ce × Ct × 10-6
Ai คือ พื้นที่รับฟ้ าผ่ากรณี วาบฟ้ าผ่าลงดินใกล้ระบบสาธารณูปโภค
Ai = 25 × Lc × √ρ
37

Ai = 25 × 300 × √38
Ai = 46,233 ตารางเมตร
Ce คือ ตัวประกอบสภาพสิ่ งแวดล้อม มีค่าเท่ากับ 0 (ภาคผนวก ก.5)
Ct คือ ตัวประกอบการแก้ กรณี มีหม้อแปลงไฟฟ้ า HV/LV บนระบบ
สาธารณูปโภคที่ต่อกับสิ่ งปลูกสร้าง โดยหม้อแปลงตั้งอยูร่ ะหว่างจุด
ฟ้ าผ่ากับสิ่ งปลูกสร้าง (ภาคผนวก ก.4) ตัวประกอบนี้ใช้กบั ส่ วนของ
สายที่อยูต่ น้ ทางจากหม้อแปลงไฟฟ้ าเมื่อเทียบกับสิ่ งปลูกสร้าง มีค่า
เท่ากับ 1
ดัง นั้ น จ านวนเฉลี่ ย รายปี ของเหตุ ก ารณ์ อ ัน ตรายเนื่ อ งจากวาบฟ้ าผ่ า ใกล้ร ะบบ
สาธารณูปโภคเท่ากับ
NI = Ng × Ai × Ce × Ct × 10-6
NI = 9.9 × 46,233 × 0 × 1 × 10-6
NI = 0
NL คือ จานวนเฉลี่ยรายปี ของเหตุการณ์อนั ตรายเนื่ องจากวาบฟ้ าผ่าลงระบบ
สาธารณูปโภคระบบสาธารณูปโภคที่มีส่วนเดียวอาจประเมินค่าจาก
สมการ
NL = Ng × Al × Cd × Ct × 10-6
เมื่อ
Al คือ พื้นที่รับฟ้ าผ่าของวาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภค (m2)
(ภาคผนวก ก.3 และรู ปที่ ก.5)
Al =√ρ × (Lc – 3(Ha + Hb))
Al = √38 × (300 – 3 × (12 + 56))
Al = 128,158 ตารางเมตร
Cd คือ ตัวประกอบตาแหน่งที่ต้ งั ของระบบสาธารณูปโภค มีค่าเท่ากับ 0.5
(ภาคผนวก ก.2)
Ct คือ ตัวประกอบการแก้ กรณี มีหม้อแปลงไฟฟ้ า HV/LV บนระบบ
สาธารณูปโภคที่ต่อกับสิ่ งปลูกสร้าง โดยหม้อแปลงตั้งอยูร่ ะหว่างจุด
ฟ้ าผ่ากับสิ่ งปลูกสร้าง (ภาคผนวก ก.4) ตัวประกอบนี้ใช้กบั ส่ วนของ
38

สายที่อยูต่ น้ ทางจากหม้อแปลงไฟฟ้ าเมื่อเทียบกับสิ่ งปลูกสร้าง มีค่า


เท่ากับ 1
ดั ง นั้ นจ านวนเฉลี่ ย รายปี ของเหตุ ก ารณ์ อ ัน ตรายเนื่ อ งจากวาบฟ้ าผ่ า ลงระบบ
สาธารณูปโภคระบบสาธารณูปโภคที่มีส่วนเดียวมีค่าเท่ากับ
NL = Ng × Al × Cd × Ct × 10-6
NL = 9.9 × 128,158 × 0.5 ×1 × 10-6
NL = 0.6
PZ คือ ความน่าจะเป็ นที่จะเกิดความล้มเหลวของระบบภายในเนื่องจากวาบ
ฟ้ าผ่าใกล้ระบบสาธารณูปโภคที่เข้าสู่ สิ่งปลูกสร้าง มีค่าเท่ากับ 0.008
(ภาคผนวก ข.7)
L0 คือ การสู ญเสี ยการบริ การต่อสาธารณะที่ยอมรับได้ มีค่าเท่ากับ 1x10-3
(ภาคผนวก ค.6)
ดังนั้นค่าความเสี่ ยงที่เกิดจากวาบฟ้ าผ่าลงใกล้สาธารณูปโภคมีค่าเท่ากับ
RZ = (NI - NL) × PZ × Lo
RZ = (0 – 0.6) ×0.008 × 10-3
RZ = 0.4928 × 10-5

3.2 กำรคำนวณค่ ำควำมเสี่ ยงของระบบป้องกันฟ้ำผ่ำ ของอำคำร

ลักษณะของอาคาร เป็ น อาคารเรี ยน กว้าง 32.75 เมตร ยาว 47 เมตร สู ง 58 เมตรภายในเป็ นพื้น
หิ นอ่อน ตั้งอยู่บนพื้นราบ ในเมื องที่ มีอาคารสู งและมี ตน้ ไม้ใหญ่อยู่บริ เวณใกล้เคี ยง มีระบบป้ องกัน
ฟ้ าผ่า อยูใ่ นระดับ 2 โดยใช้แบบแท่งตัวนา (Rods) ซึ่ งบริ เวณดังกล่าวมีอาคาร 9 ที่มีขนาด กว้าง 48 เมตร
ยาว 46.5 เมตร สู ง 55 เมตร อยูใ่ กล้เคียง แสดงแผนผังชั้นดาดฟ้ า ดังรู ปที่ 3.3
ระบบสาธารณูปโภคที่เข้าสู่ อาคาร ประกอบด้วย ระบบไฟฟ้ าที่เดินแบบฝังดินโดยมีหม้อแปลง
ขนาด 1600 kVA 3 เฟส ชนิด Dry Type จานวน 2 ชุด ติดตั้งอยูภ่ ายในอาคาร และระบบโทรคมนาคมที่
เดินใน ช่องชาร์ ป (Shaft) สายไฟฟ้ าแรงสู ง ขนาด 50 Sq.mm. โดยมีค่า Rs =0.822 Ohm/km
ความหนาแน่นของวาบฟ้ าผ่าในบริ เวณดังกล่าวมีค่า 99 ครั้ง ต่อตารางกิโลเมตรต่อปี (ข้อมูล
จากกรมอุตุนิยมวิทยา ดูจากภาคผนวก ง) และดินบริ เวณนั้นมีค่าความต้านทานจาเพาะของดินเท่ากับ 38
39

Ω/m และค่าทานของสายดิ นของระบบไฟฟ้ าเท่ากับ 0.2 Ω และค่าความต้านทานสายดิ นของระบบ


ป้ องกันฟ้ าผ่าเท่ากับ 3.8 Ω แสดงการเก็บข้อมูล ดังภาพที่ 3.4

ÃÙ»´ éÒ¹ ˹ éÒ

ภาพที่ 3.3 (ต่อ) แบบพื้นที่ช้ นั ดาดฟ้ ารับฟ้ าผ่าของอาคาร 5


40

ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอกอาคาร จุดทดสอบระบบป้ องกันฟ้ าผ่า

ห้องไฟฟ้ าของอาคาร หม้อแปลงไฟฟ้ าของอาคาร

ภาพที่ 3.4 การเก็บข้อมูลระบบการป้ องกันฟ้ าผ่าอาคาร 5 และการต่อลงดิน

การประเมินค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า สาหรับอาคาร 5 มีการหาค่าพารามิเตอร์ และ


การคานวณ ในทานองเดียวกันกับอาคาร 1 ได้ผลลัพธ์แสดงในตารางที่ 3.1 ถึง ตารางที่ 3.4

ตารางที่ 3.1 ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้าง


ความเสี ยหาย ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้าง
การบาดเจ็บของสิ่ งมีชีวติ ND= 0.615 ครั้งต่อปี PA=10-2 ra=10-2 Lt=10-4
RA RA= 0.000615 × 10-5 (ไม่เกินมาตรฐาน)
ความเสี ยหายทางกายภาพ ND= 0.615 ครั้งต่อปี PB= 0.02 rp= 0.5 hZ= 5
RB rf= 10-2 Lt=0.05 RB= 0.615 × 10-5 (ไม่เกินมาตรฐาน)
ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ า ND= 0.615 ครั้งต่อปี PC= 1 Lo= 10-3
และอิเล็กทรอนิกส์ RC Rc= 61.50 × 10-5 (เกินมาตรฐาน)
41

ตารางที่ 3.2 ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงใกล้สิ่งปลูกสร้าง


ความเสี ยหาย ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่าเนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงใกล้สิ่งปลูกสร้าง
ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ า NM= 0.581 ครั้งต่อ PM=1 Lo=10-3
และอิเล็กทรอนิกส์ RM ปี
RM= 58.1 × 10-5 (เกินมาตรฐาน)

ตารางที่ 3.3 ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภค


ความเสี ยหาย ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภค
การบาดเจ็บของสิ่ งมีชีวติ NL = 0.634 ครั้งต่อปี NDa =0.615 ครั้งต่อปี PU = 0.4 ru = 10-2
RU Lt=10-4 RU= 0.0499 × 10-5 (ไม่เกินมาตรฐาน)
ความเสี ยหายทางกายภาพ NL= 0.634 ครั้งต่อปี NDa =0.615 ครั้งต่อปี PV = 0.4 rp= 0.5
RV hZ= 5 rf= 10-3 LO=10-3
RV = 0.1249 (ไม่เกินมาตรฐาน)
ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ า NL= 0.634 ครั้งต่อปี NDa =0.615 ครั้งต่อปี PW = 0.4 LO=10-3
และอิเล็กทรอนิกส์ RW Rc= 49.96 × 10-5 (เกินมาตรฐาน)

ตารางที่ 3.4 ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงใกล้ระบบสาธารณูปโภค


ความเสี ยหาย ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงใกล้ระบบ
สาธารณูปโภค
ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ า NI= 0ครั้งต่อปี NL= 0.630 ครั้งต่อปี PZ = 0.02 Lo=10-3
และอิเล็กทรอนิกส์ RZ RZ= 1.268 × 10-5 (เกินมาตรฐาน)

3.3 กำรคำนวณค่ ำควำมเสี่ ยงของระบบป้องกันฟ้ำผ่ำ ของอำคำร 9


ลักษณะของอาคาร เป็ น อาคารเรี ยน กว้าง 46.5 เมตร ยาว 48 เมตร สู ง 55 เมตรภายในเป็ นพื้น
หิ นอ่อน ตั้งอยู่บนพื้นราบ ในเมื องที่ มีอาคารสู งและมี ตน้ ไม้ใหญ่อยู่บริ เวณใกล้เคี ยง มีระบบป้ องกัน
ฟ้ าผ่า อยูใ่ นระดับ 2 โดยใช้แบบแท่งตัวนา (Rods) ซึ่ งบริ เวณดังกล่าวมีอาคาร 5 ที่มีขนาด กว้าง 47 เมตร
ยาว 32.75 เมตร สู ง 58 เมตร อยูใ่ กล้เคียง แสดงแผนผังชั้นดาดฟ้ า ดังภาพที่ 3.5
42

ภาพที่ 3.5 แบบพื้นที่ช้ นั ดาดฟ้ ารับฟ้ าผ่าของอาคาร 9


ระบบสาธารณูปโภคที่เข้าสู่ อาคาร ประกอบด้วย ระบบไฟฟ้ าที่เดินแบบฝังดินโดยมีหม้อแปลง
ขนาด 1250 kVA 3 เฟส ชนิด Dry Type จานวน 2 ชุด ติดตั้งอยูภ่ ายในอาคาร และระบบโทรคมนาคมที่
เดินใน ช่องชาร์ ป (Shaft) สายไฟฟ้ าแรงสู ง ขนาด 50 Sq.mm. โดยมีค่า Rs =0.822 Ohm/km
ความหนาแน่นของวาบฟ้ าผ่าในบริ เวณดังกล่าวมีค่า 99 ครั้ง ต่อตารางกิโลเมตรต่อปี (ข้อมูล
จากกรมอุตุนิยมวิทยา ดูจากภาคผนวก ง) และดินบริ เวณนั้นมีค่าความต้านทานจาเพาะของดินเท่ากับ 38
Ω/m และค่าทานของสายดิ นของระบบไฟฟ้ าเท่ากับ 0.088 Ω โดยอาคารดังกล่าวไม่ได้ติดตั้งระบบ
ป้ องกันฟ้ าผ่า แสดงการเก็บข้อมูล ดังภาพที่ 3.6
43

ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอกอาคาร ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอกอาคาร

ห้องไฟฟ้ าของอาคาร หม้อแปลงไฟฟ้ าของอาคาร

ภาพที่ 3.6 การเก็บข้อมูลระบบการป้ องกันฟ้ าผ่าอาคาร 9 และการต่อลงดิน

การประเมินค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า สาหรับอาคาร 9 มีการหาค่าพารามิเตอร์ และ


การคานวณ ในทานองเดียวกันกับอาคาร 1 ได้ผลลัพธ์แสดงในตารางที่ 3.5 ถึง ตารางที่ 3.8

ตารางที่ 3.5 ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้าง


ความเสี ยหาย ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้าง
การบาดเจ็บของสิ่ งมีชีวติ ND= 0.58 ครั้งต่อปี PA=10-2 ra=10-2 Lt=10-4
RA RA= 0.00058 × 10-5 (ไม่เกินมาตรฐาน)
ความเสี ยหายทางกายภาพ ND= 0.568 ครั้งต่อปี PB= 1 rp= 0.5 hZ= 5
RB rf= 10-3
Lt=0.05 -5
RB= 7.1 × 10 (เกินมาตรฐาน)
ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ า ND= 0.58 ครั้งต่อปี PC= 1 Lo= 10-3
และอิเล็กทรอนิกส์ RC Rc= 58 × 10-5 (เกินมาตรฐาน)
44

ตารางที่ 3.6 ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงใกล้สิ่งปลูกสร้าง


ความเสี ยหาย ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงใกล้สิ่งปลูกสร้าง
ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ า NM= 0.60 ครั้งต่อปี PM=1 Lo=10-3
และอิเล็กทรอนิกส์ RM RM=60 × 10-5 (เกินมาตรฐาน)

ตารางที่ 3.7 ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภค


ความเสี ยหาย ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภค
การบาดเจ็บของสิ่ งมีชีวติ NL = 0.607 ครั้งต่อปี NDa =0.588 ครั้งต่อปี PU = 0.4 ru = 10-2
RU Lt=10-4 RU= 0.0478 × 10-5 (ไม่เกินมาตรฐาน)
ความเสี ยหายทางกายภาพ NL = 1.195 ครั้งต่อปี NDa =0.588 ครั้งต่อปี PV = 0.4 rp= 0.5
RV hZ= 5 rf= 10-3 LO=10-3
RV = 0.1195 (ไม่เกินมาตรฐาน)
ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ า NL = 0.607 ครั้งต่อปี NDa =0.588 ครั้งต่อปี PW = 0.4 LO=10-3
และอิเล็กทรอนิกส์ RW Rc= 47.8 × 10-5 (เกินมาตรฐาน)

ตารางที่ 3.8 ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงใกล้ระบบสาธารณูปโภค


ความเสี ยหาย ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่าเนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงใกล้ระบบ
สาธารณูปโภค
ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ า NI= 0 ครั้งต่อปี NL= 1.03 ครั้งต่อปี PZ = 0.02 Lo=10-3
และอิเล็กทรอนิกส์ RZ RZ= 2.06 × 10-5 (เกินมาตรฐาน)

3.4 กำรคำนวณค่ ำควำมเสี่ ยงของระบบป้องกันฟ้ำผ่ำ ของอำคำร 11

ลักษณะของอาคาร เป็ น อาคารเรี ยน กว้าง 29 เมตร ยาว 115.70 เมตร สู ง 58 เมตรภายในเป็ น


พื้น หิ นอ่อน ตั้งอยูบ่ นพื้นราบ ในเมืองที่มีอาคารสู งและมีตน้ ไม้ใหญ่อยูบ่ ริ เวณใกล้เคียง มีระบบป้ องกัน
ฟ้ าผ่า อยูใ่ นระดับ 2 โดยใช้แบบแท่งตัวนา (Rods) ซึ่ งบริ เวณดังกล่าวมีอาคาร 1 ที่มีขนาด กว้าง 14 เมตร
ยาว 59 เมตร สู ง 58 เมตร อยูใ่ กล้เคียง แสดงแผนผังชั้นดาดฟ้ า ดังภาพที่ 3.7
45

ภาพที่ 3.7 แบบพื้นที่ช้ นั ดาดฟ้ ารับฟ้ าผ่าของอาคาร 11


ระบบสาธารณูปโภคที่เข้าสู่ อาคาร ประกอบด้วย ระบบไฟฟ้ าที่เดินแบบฝังดินโดยมีหม้อแปลง
ขนาด 2400 kVA 3 เฟส ชนิด Dry Type จานวน 3 ชุด ติดตั้งอยูภ่ ายในอาคาร และระบบโทรคมนาคมที่
เดินใน ช่องชาร์ ป (Shaft) สายไฟฟ้ าแรงสู ง ขนาด 50 Sq.mm. โดยมีค่า Rs =0.822 Ohm/km
ความหนาแน่นของวาบฟ้ าผ่าในบริ เวณดังกล่าวมีค่า 99 ครั้ง ต่อตารางกิโลเมตรต่อปี (ข้อมูล
จากกรมอุตุนิยมวิทยา ดูจากภาคผนวก ง) และดินบริ เวณนั้นมีค่าความต้านทานจาเพาะของดินเท่ากับ 38
Ω/m และค่าทานของสายดินของระบบไฟฟ้ าเท่ากับ 1.196 Ω ค่าความต้านทานของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า
เท่ากับ 21.45 แสดงการเก็บข้อมูล ดังภาพที่ 3.8
46

ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอกอาคาร ความต้านทานของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า

ห้องไฟฟ้ าของอาคาร หม้อแปลงไฟฟ้ าของอาคาร

ภาพที่ 3.8 การเก็บข้อมูลระบบการป้ องกันฟ้ าผ่าอาคาร 11 และการต่อลงดิน

การประเมินค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า สาหรับอาคาร 11 มีการหาค่าพารามิเตอร์


และการคานวณ ในทานองเดียวกันกับอาคาร 1 ได้ผลลัพธ์แสดงในตารางที่ 3.9 ถึง ตารางที่ 3.12

ตารางที่ 3.9 ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้าง


ความเสี ยหาย ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงสิ่ งปลูกสร้าง
การบาดเจ็บของสิ่ งมีชีวติ ND= 0.73 ครั้งต่อปี PA=10-2 ra=10-2 Lt=10-4
RA RA= 0.00073 × 10-5 (ไม่เกินมาตรฐาน)
ความเสี ยหายทางกายภาพ ND= 0.73 ครั้งต่อปี PB= 0.05 rp= 0.5 hZ= 5
RB rf= 10-3
Lt=0.05 -5
RB= 0.456 × 10 (ไม่เกินมาตรฐาน)
ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ า ND= 0.73 ครั้งต่อปี PC= 1 Lo= 10-3
และอิเล็กทรอนิกส์ RC Rc= 73 × 10-5 (เกินมาตรฐาน)
47

ตารางที่ 3.10 ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงใกล้สิ่งปลูกสร้าง


ความเสี ยหาย ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงใกล้สิ่งปลูกสร้าง
ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ า NM= 0.74 ครั้งต่อปี PM=1 Lo=10-3
และอิเล็กทรอนิกส์ RM RM= 74 × 10-5 (เกินมาตรฐาน)

ตารางที่ 3.11 ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภค


ความเสี ยหาย ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงระบบสาธารณูปโภค
การบาดเจ็บของสิ่ งมีชีวติ NL = 0.634 ครั้งต่อปี NDa =0.736ครั้งต่อปี PU = 0.4 ru = 10-2
RU Lt=10-4 RU= 0.054 × 10-5 (ไม่เกินมาตรฐาน)
ความเสี ยหายทางกายภาพ NL = 0.634 ครั้งต่อปี NDa =0.736ครั้งต่อปี PV = 0.4 rp= 0.5
RV hZ= 5 rf= 10-3 LO=10-3
RV = 0.137 (ไม่เกินมาตรฐาน)
ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ า NL = 0.634 ครั้งต่อปี NDa =0.736ครั้งต่อปี PW = 0.4 LO=10-3
และอิเล็กทรอนิกส์ RW Rc= 54.8 × 10-5 (เกินมาตรฐาน)

ตารางที่ 3.12 ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงใกล้ระบบสาธารณูปโภค


ความเสี ยหาย ค่าความเสี่ ยงของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เนื่องจากวาบฟ้ าผ่าลงใกล้ระบบ
สาธารณูปโภค
ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ า NI= 0ครั้งต่อปี NL= 0.634 ครั้งต่อปี PZ = 0.02 Lo=10-3
และอิเล็กทรอนิกส์ RZ RZ= 1.268 × 10-5 (เกินมาตรฐาน)
48

บทที่ 4

กำรออกแบบและสร้ ำงซอฟต์ แวร์ สำหรับกำรประเมินควำมเสี่ ยงของสิ่ งปลูกสร้ ำง

ในบทนี้จะกล่าวถึงพัฒนาซอฟต์แวร์ สาหรับคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยในการคานวณ วิเคราะห์และ


ประเมินความเสี่ ยงของสิ่ งปลูกสร้ าง เพื่อลดขึ้นตอนในการคานวณ ซึ่ งต้องใช้ค่าพารามิเตอร์ จานวน
มาก และใช้เวลานาน ซึ่ งจะทาให้ไม่เกิ ดความผิดพลาดในการคานวณ โดยแบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ
ส่ วนที่ แ สดงค่ า พารามิ เตอร์ ต่า งๆ และส่ วนที่ แ สดงผลการค านวณ ซอฟต์แวร์ ดัง กล่ า ว ได้ท ดลอง
นาไปใช้ในการประเมินความเสี่ ยงของอาคาร 1, 5, 9 และ 11 ของมหาวิทยาลัยศรี ปทุม บางเขน ได้
ผลลัพธ์ ดังต่อไปนี้

4.1 กำรใช้ ซอฟต์ แวร์ สำหรับวิเครำะห์ และประเมินควำมเสี่ ยงของอำคำร 1

การกาหนดค่าพารามิเตอร์ ต่างๆ ในการคานวณ แสดงในภาพที่ 4.1 ส่ วนผลการคานวณแสดง


ในภาพที่ 4.2

ภาพที่ 4.1 ข้อมูลที่ใช้ในการคานวณค่าความเสี่ ยงของ อาคาร 1


49

ภาพที่ 4.1 (ต่อ) ข้อมูลที่ใช้ในการคานวณค่าความเสี่ ยงของ อาคาร 1


50

ภาพที่ 4.2 ผลลัพธ์ที่ได้จากการใช้ซอฟต์แวร์ในการคานวณ ความเสี่ ยงของ อาคาร 1


51

4.2 กำรใช้ ซอฟต์ แวร์ สำหรับวิเครำะห์ และประเมินควำมเสี่ ยงของสิ่ งปลูกสร้ ำงของอำคำร 5

การกาหนดค่าพารามิเตอร์ ต่างๆ ในการคานวณ แสดงในภาพที่ 4.3 ส่ วนผลการคานวณแสดง


ในภาพที่ 4.4

ภาพที่ 4.3 ข้อมูลที่ใช้ในการคานวณค่าความเสี่ ยงของ อาคาร 5


52

ภาพที่ 4.3 (ต่อ) ข้อมูลที่ใช้ในการคานวณค่าความเสี่ ยงของ อาคาร 5


53

ภาพที่ 4.4 ผลลัพธ์ที่ได้จากการใช้ซอฟต์แวร์ในการคานวณ ความเสี่ ยงของ อาคาร 5


54

4.3 กำรใช้ ซอฟต์ แวร์ สำหรับวิเครำะห์ และประเมินควำมเสี่ ยงของอำคำร 9

การกาหนดค่าพารามิเตอร์ ต่างๆ ในการคานวณ แสดงในภาพที่ 4.5 ส่ วนผลการคานวณแสดง


ในภาพที่ 4.6

ภาพที่ 4.5 ข้อมูลที่ใช้ในการคานวณค่าความเสี่ ยงของ อาคาร 9


55

ภาพที่ 4.5 (ต่อ) ข้อมูลที่ใช้ในการคานวณค่าความเสี่ ยงของ อาคาร 9


56

ภาพที่ 4.6 ผลลัพธ์ที่ได้จากการใช้ซอฟต์แวร์ในการคานวณ ความเสี่ ยงของ อาคาร 9


57

4.4 กำรใช้ ซอฟต์ แวร์ สำหรับวิเครำะห์ และประเมินควำมเสี่ ยงของอำคำร 11

การกาหนดค่าพารามิเตอร์ ต่างๆ ในการคานวณ แสดงในภาพที่ 4.7 ส่ วนผลการคานวณแสดง


ในภาพที่ 4.8

ภาพที่ 4.7 ข้อมูลที่ใช้ในการคานวณค่าความเสี่ ยงของ อาคาร 11


58

ภาพที่ 4.7 (ต่อ) ข้อมูลที่ใช้ในการคานวณค่าความเสี่ ยงของ อาคาร 11


59

ภาพที่ 4.8 ผลลัพธ์ที่ได้จากการใช้ซอฟต์แวร์ในการคานวณ ความเสี่ ยงของ อาคาร 11


60

บทที่ 5

สรุปผลของโครงงำนและข้ อเสนอแนะ

ในบทนี้ จะกล่ า วถึ ง การสรุ ป การประเมิ น ความเสี่ ย งของระบบป้ องกัน ฟ้ าผ่ า อาคารของ
มหาวิทยาลัยศรี ปทุม จากผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณค่าความเสี่ ยงของแต่ละอาคาร ซึ่ งจะแบ่งออกตาม
ผลความเสี่ ยงตามชนิดแบบของความเสี ยหาย และแนวทางการแก้ไขของสาเหตุที่ได้ค่าความเสี่ ยงเกิ น
กว่า มาตรฐานตามที่ วสท. ซึ่งได้กาหนดไว้ ดังต่อไปนี้

5.1 ผลกำรประเมินควำมเสี่ ยงของอำคำร 1

ผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณค่าความเสี่ ยง ของอาคาร 1 แสดงตามตารางที่ 5.1 โดยสรุ ปผลและ


แนวทางการแก้ไข ดังนี้

ตารางที่ 5.1 ค่าความเสี่ ยงของอาคาร 1


แหล่งกาเนิ ด S1 S2 S3 S4 ผลความเสี่ ยง
ความเสี ยหาย วาบฟ้ าผ่าลงสิ่ ง วาบฟ้ าผ่าลงใกล้ วาบฟ้ าผ่าลง วาบฟ้ าผ่าลงใกล้ ตามชนิดแบบ
ปลูกสร้าง สิ่ งปลูกสร้าง สาธารณูปโภคที่เข้า สาธารณูปโภค ของความ
ความเสี ยหาย (×10-5) (×10-5) มา (×10-5) (×10-5) เสี ยหาย (×10-5)
D1 RA = 0.00056 RU = 0.023 RS = 0.0241
การบาดเจ็บของ
สิ่ งมีชีวิต
D2 RB = 0.352 RV = 0.059 RF = 0.411
ความเสี ยหายทาง
กายภาพ
D3 RC = 56.45 RM = 42.02 RW = 0.944 RZ = 0.493 RO = 98.93
ความล้มเหลวของ
ระบบไฟฟ้ าและ
อิเล็กทรอนิกส์
61

5.1.1 สรุ ปผล


ค่าความเสี่ ยงของ ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ าและอิ เล็กทรอนิ กส์ มีค่า เกิ นกว่า มาตรฐาน
เนื่ องจากระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายในอาคารดัง กล่ าว ไม่มี ระบบป้ องกันเสิ ร์จ และค่ าความต้า นทาน
จาเพาะของระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอกอาคารมีค่าสู งกว่ามาตรฐาน

5.1.2 แนวทำงกำรแก้ไข
(1) ควรติดตั้งระบบป้ องกันเสิ ร์จของระบบป้ องฟ้ าผ่าภายในอาคารให้ได้ตามมาตรฐาน
(2) ควรตรวจสอบระบบป้ องกันไฟฟ้ าภายนอกอาคารว่ายังใช้งานได้หรื อไม่และมีค่าความ
ต้านทานจาเพาะของระบบได้ตามมาตรฐาน
(3) ควรมีการตรวจสอบระบบป้ องกันฟ้ าผ่าทั้งภายใน และภายนอกอาคารอย่างน้อยปี ละครั้ง
เพื่อความปลอดภัยของบุคคลที่ใช้อาคารและระบบภายในอาคารให้มีความปลอดภัยมาก
ยิง่ ขึ้น
62

5.2 ผลกำรประเมินควำมเสี่ ยงของอำคำร 5

ผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณค่าความเสี่ ยง ของอาคาร 5 แสดงตามตารางที่ 5.2 โดยสรุ ปผล


และแนวทางการแก้ไข ดังนี้

ตารางที่ 5.2 ค่าความเสี่ ยงของอาคาร 5


แหล่งกาเนิ ด S1 S2 S3 S4 ผลความเสี่ ยง
ความเสี ยหาย วาบฟ้ าผ่าลงสิ่ ง วาบฟ้ าผ่าลง วาบฟ้ าผ่าลง วาบฟ้ าผ่าลงใกล้ ตามชนิดแบบ
ปลูกสร้าง ใกล้สิ่งปลูก สาธารณูปโภคที่ สาธารณูปโภค ของความ
ความเสี ยหาย (×10-5) สร้าง (×10-5) เข้ามา (×10-5) (×10-5) เสี ยหาย (×10-5)
D1 RA = 0.00061 RU = 0.050 RS = 0.0506
การบาดเจ็บของ
สิ่ งมีชีวิต
D2 RB = 0.385 RV = 0.125 RF = 0.51
ความเสี ยหายทาง
กายภาพ
D3 RC = 61.60 RM = 44.04 RW = 0.25 RZ = 0.126 RO = 105.76
ความล้มเหลวของ
ระบบไฟฟ้ าและ
อิเล็กทรอนิกส์

5.2.1 สรุ ปผล


ค่าความเสี่ ยงของ ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ าและอิ เล็กทรอนิ กส์ มีค่า เกิ นกว่า มาตรฐาน
เนื่องจากระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายในอาคารดังกล่าวไม่มีระบบป้ องกันเสิ ร์จ และค่าความต้านทานจาเพาะ
ของระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอกอาคารมีค่าสู งกว่ามาตรฐาน

5.2.2 แนวทำงกำรแก้ไข
(1) ควรติดตั้งระบบป้ องกันเสิ ร์จของระบบป้ องฟ้ าผ่าภายในอาคารให้ได้ตามมาตรฐาน
(2) ควรตรวจสอบระบบป้ องกันไฟฟ้ าภายนอกอาคารว่ายังใช้งานได้หรื อไม่ และมีค่าความ
ต้านทานจาเพาะของระบบได้ตามมาตรฐาน
(3) ความมีการตรวจสอบระบบป้ องกันฟ้ าผ่าทั้งภายในและภายนอกอาคารอย่างปี ละครั้ง เพื่อ
ความปลอดภัยของบุคคลที่ใช้อาคารและระบบภายในอาคารให้มีความปลอดภัยมากยิง่ ขึ้น
63

5.3 ผลกำรประเมินควำมเสี่ ยงของอำคำร 9

ผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณค่าความเสี่ ยง ของอาคาร 9 แสดงตามตารางที่ 5.3 โดยมีบทสรุ ป


และแนวทางการแก้ไข ดังนี้

ตารางที่ 5.3 ค่าความเสี่ ยงของอาคาร 9


แหล่งกาเนิ ด S1 S2 S3 S4 ผลความเสี่ ยง
ความเสี ยหาย วาบฟ้ าผ่าลงสิ่ ง วาบฟ้ าผ่าลงใกล้ วาบฟ้ าผ่าลง วาบฟ้ าผ่าลงใกล้ ตามชนิดแบบ
ปลูกสร้าง สิ่ งปลูกสร้าง สาธารณูปโภคที่ สาธารณูปโภค ของความ
ความเสี ยหาย (×10-5) (×10-5) เข้ามา (×10-5) (×10-5) เสี ยหาย (×10-5)
D1 RA = 0.00058 RU = 0.047 RS = 0.048
การบาดเจ็บของ
สิ่ งมีชีวิต
D2 RB = 7.362 RV = 0.119 RF = 7.481
ความเสี ยหายทาง
กายภาพ
D3 RC = 58.89 RM = 62.829 RW = 0.239 RZ = 0.121 RO = 121.93
ความล้มเหลวของ
ระบบไฟฟ้ าและ
อิเล็กทรอนิกส์

5.3.1 สรุ ปผล


ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์มีค่าเกินกว่ามาตรฐานเนื่องจากระบบ
ป้ องกันฟ้ าผ่าภายในอาคารดังกล่ าวไม่มีระบบป้ องกันเสิ ร์จ และระบบป้ องกันภายนอกอาคารไม่มี
เนื่องจากสู ญหาย จึงมีค่าสู งกว่ามาตรฐาน

5.3.2 แนวทำงกำรแก้ไข
(1) ควรติดตั้งระบบป้ องกันเสิ ร์จของระบบป้ องฟ้ าผ่าภายในอาคารให้ได้ตามมาตรฐาน
(2) ควรดาเนินการติดตั้งระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอกอาคารอย่างเร่ งด่วน เนื่องจากอาจทาให้
เกิดอันตรายขึ้นกับผูใ้ ช้อาคารได้
64

(3) ควรตรวจสอบระบบป้ องกันไฟฟ้ าภายนอกอาคารว่ายังใช้งานได้หรื อไม่ และมีค่าความ


ต้านทานจาเพาะของระบบได้ตามมาตรฐาน
(4) ความมีการตรวจสอบระบบป้ องกันฟ้ าผ่าทั้งภายในและภายนอกอาคารอย่างปี ละครั้ง เพื่อ
ความปลอดภัยของบุคคลที่ใช้อาคารและระบบภายในอาคารให้มีความปลอดภัยมากยิง่ ขึ้น

5.4 ผลกำรประเมินควำมเสี่ ยงของอำคำร 11

ผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณค่าความเสี่ ยง ของอาคาร 11 แสดงตามตารางที่ 5.4 โดยมีบทสรุ ป


และแนวทางการแก้ไข ดังนี้

ตารางที่ 5.4 ค่าความเสี่ ยงของอาคาร 11


แหล่งกาเนิ ด S1 S2 S3 S4 ผลความเสี่ ยง
ความเสี ยหาย วาบฟ้ าผ่าลงสิ่ ง วาบฟ้ าผ่าลงใกล้ วาบฟ้ าผ่าลง วาบฟ้ าผ่าลงใกล้ ตามชนิดแบบ
ปลูกสร้าง สิ่ งปลูกสร้าง สาธารณูปโภคที่ สาธารณูปโภค ของความ
ความเสี ยหาย (×10-5) (×10-5) เข้ามา (×10-5) (×10-5) เสี ยหาย (×10-5)
D1 RA = 0.00073 RU = 0.054 RS = 0.055
การบาดเจ็บของ
สิ่ งมีชีวิต
D2 RB = 0.465 RV = 0.137 RF = 0.597
ความเสี ยหายทาง
กายภาพ
D3 RC = 74.148 RM = 73.105 RW = 2.74 RZ = 1.268 RO = 148.26
ความล้มเหลวของ
ระบบไฟฟ้ าและ
อิเล็กทรอนิกส์

5.4.1 สรุ ปผล


ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์มีค่าเกินกว่ามาตรฐานเนื่ องจากระบบป้ องกัน
ฟ้ าผ่าภายในอาคารดังกล่าวไม่มีระบบป้ องกันเสิ ร์จ และระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอกอาคารมีค่าสู งกว่า
มาตรฐานเนื่องจากมีการปลดตัวนาออกจากระบบบางส่ วน
65

5.4.2 แนวทำงกำรแก้ไข
(1) ควรติดตั้งระบบป้ องกันเสิ ร์จของระบบป้ องฟ้ าผ่าภายในอาคารให้ได้ตามมาตรฐาน
(2) ควรตรวจสอบระบบป้ องกันไฟฟ้ าภายนอกอาคารว่ายังใช้งานได้หรื อไม่ และมีค่าความ
ต้านทานจาเพาะของระบบได้ตามมาตรฐาน
(3) ความมีการตรวจสอบระบบป้ องกันฟ้ าผ่าทั้งภายในและภายนอกอาคารอย่างปี ละครั้ง เพื่อ
ความปลอดภัยของบุคคลที่ใช้อาคารและระบบภายในอาคารให้มีความปลอดภัยมากยิง่ ขึ้น

5.5 ผลกำรประเมินควำมเสี่ ยงของอำคำรภำยหลังจำกกำรแก้ไขตำมทีไ่ ด้ เสนอแนะ

ผลการประเมินความเสี่ ยงของอาคาร ภายหลังจากที่มีการทดลองแก้ไขตามข้อเสนอแนะ ใน


อาคาร 1 , 5 , 9 และ 11 ได้ผลลัพธ์แสดงในตารางที่ 5.5 – 5.8 ตามลาดับ พบว่าความเสี่ ยงของระบบ
ป้ องกันฟ้ าผ่าอาคาร อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน

ตารางที่ 5.5 ค่าความเสี่ ยงของอาคาร 1 หลังการแก้ไขตามที่ได้เสนอแนะ


แหล่งกาเนิ ด S1 S2 S3 S4 ผลความเสี่ ยง
ความเสี ยหาย วาบฟ้ าผ่าลงสิ่ ง วาบฟ้ าผ่าลง วาบฟ้ าผ่าลง วาบฟ้ าผ่าลงใกล้ ตามชนิดแบบ
ปลูกสร้าง ใกล้สิ่งปลูก สาธารณูปโภคที่เข้า สาธารณูปโภค ของความ
ความเสี ยหาย (×10-5) สร้าง (×10-5) มา (×10-5) (×10-5) เสี ยหาย (×10-5)
D1 RA = 0.00056 RU = 0.023 RS = 0.0241
การบาดเจ็บของ
สิ่ งมีชีวิต
D2 RB = 0.352 RV = 0.059 RF = 0.411
ความเสี ยหายทาง
กายภาพ
D3 RC = 0.141 RM = 0.105 RW = 0.944 RZ = 0.493 RO = 0.69
ความล้มเหลวของ
ระบบไฟฟ้ าและ
อิเล็กทรอนิกส์
66

ตารางที่ 5.6 ค่าความเสี่ ยงของอาคาร 5 หลังการแก้ไขตามที่ได้เสนอแนะ


แหล่งกาเนิ ด S1 S2 S3 S4 ผลความเสี่ ยง
ความเสี ยหาย วาบฟ้ าผ่าลงสิ่ ง วาบฟ้ าผ่าลง วาบฟ้ าผ่าลง วาบฟ้ าผ่าลงใกล้ ตามชนิดแบบ
ปลูกสร้าง ใกล้สิ่งปลูก สาธารณูปโภคที่เข้า สาธารณูปโภค ของความ
ความเสี ยหาย (×10-5) สร้าง (×10-5) มา (×10-5) (×10-5) เสี ยหาย (×10-5)
D1 RA = 0.00061 RU = 0.050 RS = 0.050
การบาดเจ็บของ
สิ่ งมีชีวิต
D2 RB = 0.385 RV = 0.125 RF = 0.510
ความเสี ยหายทาง
กายภาพ
D3 RC = 0.154 RM = 0.88 RW = 0.25 RZ = 0.126 RO = 1.15
ความล้มเหลวของ
ระบบไฟฟ้ าและ
อิเล็กทรอนิกส์

ตารางที่ 5.7 ค่าความเสี่ ยงของอาคาร 9 หลังการแก้ไขตามที่ได้เสนอแนะ


แหล่งกาเนิด S1 S2 S3 S4 ผลความเสี่ ยง
ความเสี ยหาย วาบฟ้ าผ่าลงสิ่ ง วาบฟ้ าผ่าลง วาบฟ้ าผ่าลง วาบฟ้ าผ่าลงใกล้ ตามชนิดแบบ
ปลูกสร้าง ใกล้สิ่งปลูก สาธารณูปโภคที่เข้า สาธารณูปโภค ของความ
ความเสี ยหาย (×10-5) สร้าง (×10-5) มา (×10-5) (×10-5) เสี ยหาย (×10-5)
D1 RA = 0.00058 RU = 0.0478 RS = 0.048
การบาดเจ็บของ
สิ่ งมีชีวิต
D2 RB = 0.736 RV = 0.119 RF = 0.855
ความเสี ยหายทาง
กายภาพ
D3 RC = 0.147 RM = 0.157 RW = 0.239 RZ = 0.121 RO = 0.422
ความล้มเหลวของ
ระบบไฟฟ้ าและ
อิเล็กทรอนิกส์
67

ตารางที่ 5.8 ค่าความเสี่ ยงของอาคาร 11 หลังการแก้ไขตามที่ได้เสนอแนะ


แหล่งกาเนิด S1 S2 S3 S4 ผลความเสี่ ยง
ความเสี ยหาย วาบฟ้ าผ่าลงสิ่ ง วาบฟ้ าผ่าลง วาบฟ้ าผ่าลง วาบฟ้ าผ่าลงใกล้ ตามชนิดแบบ
ปลูกสร้าง ใกล้ส่ิ งปลูก สาธารณูปโภคที่ สาธารณูปโภค ของความ
ความเสี ยหาย (×10 )-5
สร้าง (×10-5) เข้ามา (×10-5) (×10 )-5
เสี ยหาย (×10-5)
D1 RA = 0.00073 RU = 0.054 RS = 0.055
การบาดเจ็บของ
สิ่ งมีชีวติ
D2 RB = 0.460 RV = 0.137 RF = 0.597
ความเสี ยหายทาง
กายภาพ
D3 RC = 0.184 RM = 0.186 RW = 2.74 RZ = 1.268 RO = 1.844
ความล้มเหลวของ
ระบบไฟฟ้ าและ
อิเล็กทรอนิกส์

You might also like