You are on page 1of 29

โครงการ การพัฒนาระบบชิ้นส่วนคอนกรีตหล่อสาเร็จต้านทานแผ่นดินไหว

Development of seismically designed precast concrete elements

การออกแบบกำแพงคอนกรีตหล่อสำเร็จ:
พฤติกรรมจุดต่อแนวดิ่ง
รองศาสตราจารย์ ดร.ชยานนท์ หรรษภิญโญ
ผศ.ดร. ปิยะพงษ์ วงค์เมธา, อ.ดร. กิตติคุณ จิตไพโรจน์, อ.ดร.วรากร ตันตระพงศธร
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รัฐพล เกติยศ สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม มทร.ล้านนา
2 พ.ย. 2566
โครงเฟรมเสริมกำแพง

 กำแพงมีสติฟเนสสูง
 แรงส่งไปที่กำแพง
 เหมาะกับอาคารสูง
กำแพง (โครงสร้าง) รับแรงเฉือน

 กำแพงรับแรงเฉือน (shear wall) เป็นชิ้นส่วนโครงสร้าง


แนวดิ่ง ที่ออกแบบให้ต้านแรงกระทำด้านข้างในระนาบ (In-
plane) ของแผ่น
 จัดระนาบกำแพงในสองทิศทางหลัก เพื่อต้านแรงกระทำ
แนวราบที่มาจากสองทางหลัก

 สัดส่วนขนาดของแรงที่จะกระจายไปแต่ละผนังในทิศทาง
หนึ่งๆ ขึน้ กับอัตราส่วนของสติฟเนสการดัดของกาแพง
F = kx

k=
หน่วยแรงในผนัง

24 m 18.2 kN

20 m 36.4 kN ผนังขนาด 400x8000 mm


16 m 36.4 kN

12 m 36.4 kN

8m 36.4 kN

4m 36.4 kN

Mbase
การออกแบบกำแพงคอนกรีตหล่อสำเร็จ:
พฤติกรรมจุดต่อแนวดิ่ง
ระเบียบวิธีการวิจัย/ขั้นตอนการดาเนินงาน

ปีที่ 1 พฤติกรรมจุดต่อแนวดิ่ง ปีที่ 2 พฤติกรรมของกำแพง + จุดต่อแนวดิ่ง


3. ตัวอย่างจุดต่อแนวดิ่งทดสอบทั้งหมด 11 ตัวอย่าง
Wet joint
Dry joint
กลุ่ม Loop bar 3 Samples กลุ่ม Loop bar + shear key: 5 กลุ่ม Steel plate: 3
ตัวอย่างทดสอบ
กลุม่ Loop bar

ตัวอย่าง L-1-R6 ตัวอย่าง L-1-W5

ตัวอย่าง L-2-R6
ตัวอย่างทดสอบ
กลุม่ Loop bar + shear key

ตัวอย่าง LS-1-R6 ตัวอย่าง LS-2-R6 ตัวอย่าง LS-1-W5 ตัวอย่าง LS-N ตัวอย่าง LSM-2-R6
ตัวอย่างทดสอบ
กลุม่ จุดต่อรอยเชื่อม

ตัวอย่าง SC-N-
P6

ตัวอย่าง SC-C-
P6

ตัวอย่าง SC-E-
P6
การหล่อตัวอย่าง

ขนาดตัวอย่าง วางเหล็กในแบบ การติดตัง้ และ การเทปูนเกราท์จดุ ต่อ


สรุปผลการดาเนินงาน
4. การทดสอบ Push-off Test
วิธีการทดสอบ Push-off test เป็นวิธีการทดสอบจุดต่อภายใต้แรงเฉือนกระทำที่เลือกใช้กันอย่างแพร่หลาย
และเป็นสากล
ในการทดสอบได้จำลองพฤติกรรมจริงของจุดต่อแนวดิ่งระหว่างผนังคอนกรีตโดยการโอบรัดจุดต่อเพื่อป้องกัน
การแยกตัวออกจากการ
รูปแบบความเสียหาย
A1: B:
Shear Shear
Slip

A2:
Diagonal
crack
Load-sliding displacement
ผลการทดสอบ Push-off test
กลุ่ม Loop bar กลุ่ม Loop bar+shear key

กลุ่ม Steel plate Steel plate

Shear force
Loop bar+shear key (2-loop bar)
Single loop bar (Wire)

Shear sliding
แบบ Spring model: 1-RB6 loop bar
แบบจาลอง Spring Model ที่เสนอในงานวิจัยนี้

ผลการเปรียบเทียบแบบจาลองและพฤติกรรมจริงของจุดต่อ L-1-R6
การนาไปใช้กับ Design software
แบบจำลองพฤติกรรมของจุดต่อแนวดิ่งโดยใช้แบบจำลองสปริงเป็นแบบจำลองที่ง่ายต่อการนำไปใช้ประกอบการ
วิเคราะห์พฤติกรรมของโครงสร้างอาคาร เนื่องจากเป็นรูปแบบการวิเคราะห์ท ี่ไม่ซับซ้อน และสามารถใช้ร่วมกันโปรแกรม
วิเคราะห์โครงสร้างในปัจจุบันได้
ผลของจุดต่อแนวดิ่งในการวิเคราะห์ผนังสำเร็จรูปรับแรงด้านข้าง

 ผนังสูง 2 ชั้น 3 รูปแบบ


 ผนังหล่อเป็นเนื้อเดียวกัน
 ผนัง 2 แผ่นมีช่องว่างแนวดิ่งระหว่างแผ่น 10 ซม
 ผนัง 2 แผ่นมีการจำลองจุดต่อแนวดิ่งโดยสปริง
Three finite element models were analyzed.

𝑤𝑗 = 0.1 m

7.1 m 3.5 m 3.5 m 3.5 m 3.5 m

3.5 m 3.5 m 3.5 m

3.5 m 3.5 m 3.5 m

Monolithic Model Spring Model Gap Model

150

Reinforcement Details
Analysis Detail:
Analysis Type : Nonlinear Push-over Analysis
Displacement control : Top Lateral Displacement = 200 mm
Number of Steps : 500

𝑤𝑗 = 0.1 m
3.5 m 3.5 m
1.0𝑃 1.0𝑃

3.5 m

0.5𝑃 0.5𝑃

3.5 m
150

Diaphragm Constrain
1.0𝑃

Layered-Element 500x500 mm
Spring @ 500 mm

Diaphragm Constrain
0.5𝑃

Hinged Support
Layered Element Material Behavior:
Concrete : Non-linear in all directions
Reinforcement : Non-linear in longitudinal direction & shear
150 : No properties in transverse direction

Equivalent thickness to rebar


size and spacing
Material Properties

Concrete: Reinforcement:
• Elastic Modulus = 21 GPa • Elastic Modulus = 200 GPa
• Compressive strength (cube) = 32 MPa • Tensile strength = 500 MPa
• Tensile strength = 2 MPa
• Concrete: M40

5 600

0
400
-0.006 -0.004 -0.002 0 0.002 0.004
-5
200
-10
Stress [MPa]

Stress [MPa]
-15 0
-0.2 -0.1 0 0.1 0.2
-20
-200
-25
-400
-30

-35 -600
Strain Strain
แบบจำลองสปริง
แบบจำลองสปริงแต่ละตำแหน่งประกอบด้วย

1. Axial Spring

2. Shear Spring

Node i

Node j
3. Pure Bending
2
Spring: (ไม่ได้ใช้ใน
การศึกษานี้)
1
แบบจำลองสปริง
1. Axial Spring กำหนดให้มีพฤติกรรมแบบ Linear Elastic โดยมีค่า stiffness คือ:

Node i

Node j
𝐴𝐸𝑔
𝐾=
𝑤𝑗

2. Shear Spring กำหนดให้มีพฤติกรรมแบบ Multi-Linear Elastic


𝐴

Node i
Initial Stiffness 𝐾0 = 380 𝑓cmg N/mm

Node j
𝑤𝑗
Nominal Ultimate Capacity 𝑉𝑐𝑟 = 0.004𝐴𝑓cmg + 0.86𝐴𝑠 𝑓𝑠 N
Limit Slip 𝑆𝑙𝑖𝑚 = 650𝑆𝑐𝑟 mm
Fracture Slip 𝑆𝑓 = 900𝑆𝑐𝑟 mm

โดยที่
𝐸𝑔 คือ Elastic Modulus of grout MPa Normalized Load vs Normalized slip
𝑓cmg คือ กำลังอัดของคอนกรีตบริเวณจุดต่อ (cube) MPa 1.5

𝑓𝑦 คือ กำลังรับแรงดึงของเหล็กเสริมต้านทานการเฉือน MPa 1.0

V / Vcr
𝐴 คือ พื้นที่แนวดิ่งของจุดต่อ mm2
𝐴𝑠 คือ พื้นที่เหล็กเสริมต้านทานการเฉือน mm2 0.5
𝑆𝑙𝑖𝑚 𝑆𝑓
𝑤𝑗 คือ ความกว้างจุดต่อ mm 𝑆𝑐𝑟 𝑆𝑐𝑟
0.0
𝑆𝑐𝑟 คือ ระยะเคลื่อนตัวของจุดต่อเมื่อเริ่มเกิดการแตกร้าว =0.016 mm 0 200 400 600 800 1000
𝑆𝑢 คือ ระยะเคลื่อนตัวของจุดต่อที่น้ำหนักบรรทุกสูงสุด mm S / Scr
𝑆𝑓 คือ ระยะเคลื่อนตัวของจุดต่อเมื่อเกิดการแตกหัก mm
Experiment Shear Spring
ผลการวิเคราะห์ Push Over Analysis Results
2500
Base Shear [kN]

2000
Monolithic Model (Biswal et al. 2018)
1500
Gap Model (Biswal et al. 2018)
1000
Spring Model (Biswal et al. 2018)
500 Proposed Spring Model
0
0 0.5 1 1.5 2 2.5
Story Drift [%]

Shear Force in Springs from Proposed Spring Model


40 Link2 Link3
Shear Force, S22 [kN]

30 Link4 Link5
Link6 Link7
20
Link9 Link10
10
Link11 Link12
0
0 0.5 1 1.5 2 2.5 Link13 Link14
Story Drift [%]
เปรียบเทียบผลของจำนวนสปริงต่อพฤติกรรมของกำแพง
(คุณสมบัติของสปริงในทุกแบบจำลองมีค่าเท่ากัน)
7s 6s 5s 4s 3s 2s 1s 0s

Vertical 1400
Unit All models
Spring 7s
1200
K0 kN/mm 1,858.73
Base Shear [kN]

6s
Vu kN 30.31 1000 ่ ้นของ
Stiffness เริมต
Vres kN 10.76 800 5s
กำแพงมีคำ่ ใกล ้เคียง
Scr mm 0.02 600 4s กันแต่ base shear
Slim mm 10.60
Sfracture mm 14.68
400 3s สูงสุดมีคำ่ ลดลงตำม
200 2s ่
จำนวนสปริงทีลดลง
Horizontal 0 1s
Unit 7s
Spring 0 0.5 1 1.5 2 0s
K kN/mm 15,312.50 Story Drift [%]
เปรียบเทียบผลของการวางตำแหน่งสปริงต่อพฤติกรรมของกำแพง 5s 5s-2 4s 4s-2 4s-3
(คุณสมบัติของสปริงในทุกแบบจำลองมีค่าเท่ากัน) 1400 1400
5s 4s 3s 2s 1200 1200

Base Shear [kN]

Base Shear [kN]


1000 1000
800 800
600 600
400 400
200 200
0 0
0 0.5 1 0 0.5 1
5s-2 4s-2 3s-2 2s-2 Story Drift [%] Story Drift [%]
3s 3s-2 3s-3 2s 2s-2 2s-3
1200 1200
1000 1000

Base Shear [kN]

Base Shear [kN]


800 800
600 600
4s-3 3s-3 2s-3 400 400
200 200
0 0
0 0.5 1 0 0.5 1
Story Drift [%] Story Drift [%]

ตำแหน่ งกำรวำงสปริงไม่มผ
ี ลต่อพฤติกรรมของกำแพงโดยรวมอย่ำงมีนัยสำคัญ
พฤติกรรมของกำแพงเมื่อใช้สปริงเทียบเท่า
เช่น
7s 7s_equivalent
1400
7s
Lump 7 springs 1200 6s
to 1 equivalent spring 5s
1000

Base Shear [kN]


4s
800 3s
2s
600 7s_equivalent
6s_equivalent
400
Vertical Spring Unit 7s 7s_equivalent 5s_equivalent
K0 kN/mm 1,858.73 13,011.12 200 4s_equivalent
Vu kN 30.31 212.20 3s_equivalent
Vres kN 10.76 75.30 0
2s_equivalent
Scr mm 0.02 0.02 0 0.5 1 1.5 2
Slim mm 10.60 10.60 Story Drift [%]
Sfracture mm 14.68 14.68

Horizontal Spring Unit 7s 7s_equivalent ้ ้โดยกำรใช ้สปรรงิ เทียบเท่ำ


กำรสร ้ำงแบบจำลองสำมำรถทำให ้ง่ำยขึนได
K kN/mm 15,312.50 107,187.50 พฤติกรรมของกำแพงโดยรวมจำกกำรใช ้สปริงเทียบเท่ำไม่ต่ำงจำก
กำรกระจำยสปริงตลอดควำมยำวรอบต่ออย่ำงมีนัยสำคัญ
K and V of 7s_equivalent spring = 7 * K and V of 7s spring
สรุปการบรรยาย

 การจำลองรอยต่อแนวดิ่งระหว่างกำแพงคอนกรีตสำเร็จรูป มีพฤติกรรมระหว่าง
การจำลองที่ไม่พิจารณารอยต่อแนวดิ่ง และ การจำลองรอยต่อแนวดิ่งโดยมี
ช่องว่าง
 การศึกษาต่อไป: การทดสอบพฤติกรรมของกำแพงคอนกรีตหล่อสำเร็จที่มีจุด
ต่อแนวดิ่ง เพื่อให้การออกแบบโครงสร้างกำแพงคอนกรีตหล่อสำเร็จมีความ
สมจริงมากขึ้น

You might also like