You are on page 1of 10

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 13 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน วันที่ 8-9 ธันวาคม 2559

การวิเคราะห์ และออกแบบกาแพงกันดินเสริมแรงแบบที่ซ้อนทับกัน
Analysis and Design of Superimposed Mechanical Stabilized Earth Wall

วุฒชิ ัย ชาติพัฒนานันท์ 1 และ ธนาดล คงสมบูรณ์2


Vuttichai Chatpattananan1and Thanadol Kongsomboon2

บทคัดย่ อ
กาแพงกันดินเสริ มแรงประกอบด้ วยวัสดุผิวหน้ า (facing unit) และวัสดุเสริ มกาลัง(reinforcing
element) ซึง่ กาแพงกันดินประเภทนี ้จะมีข้อได้ เปรี ยบกว่ากาแพงกันดินคอนกรี ตเสริ มเหล็กในกรณีที่กาแพงมี
ความสูงมาก ซึง่ ในการออกแบบกาแพงกันดินแบบเสริ มแรงชันเดี ้ ยวนี ้สามารถออกแบบตามมาตรฐาน FHWA ได้
ทันทีแต่มาตรฐาน FHWA ดังกล่าวไม่แสดงตัวอย่างและรายละเอียดในการออกแบบกาแพงกัน
ดินเสริ มกาลังแบบซ้ อนทับกันสองชันซึ ้ ง่ มีความจาเป็ นในการใช้ งานจริ งเนื่องจากปั ญหาเช่นข้ อจากัดด้ านพื ้นที่ ที่
จาเป็ นต้ องลดน ้าหนักจากกาแพงชันบน ้ บทความฉบับนี ้จึงมุง่ ขยายตัวอย่างและรายละเอียดการออกแบบ
คานวณกาแพงกันดินเสริ มกาลังแบบซ้ อนทับกันสองชันที ้ ่ใช้ modular block wall เป็ นวัสดุผิวหน้ าร่ วมตาข่าย
เสริ มกาลังที่เป็ นวัสดุเสริ มกาลังเพื่อเป็ นตัวอย่างและแนวทางสาหรับผู้ออกแบบ
คาสาคัญ:กาแพงกันดินเสริมแรงแบบซ้ อนทับกันสองชัน,FHWA

Abstract
Mechanical stabilized earth (MSE) wall composes of facing unit and reinforcing element in which this
MSE wall gains advantage to reinforced concrete retaining wall if the wall is tall. Designing single MSE
wall is rather straightforward following FHWA code. However, this FHWA code lacks of an illustrative
example in designing superimposed walls which is necessarily used if the load needs to be reduced
due to limited space, in example. This paper aims to illustrate an example and its calculation of a
superimposed wall with modular block wall as a facing unit and geogrid as a reinforcing element. The
work can be a guideline for MSE wall designer.
Keyword:FHWA, mechanical stabilized earth wall, retaining wall
E-mail: vuttich@hotmail.com

1
นักศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า เจ้ าคุณทหารลาดกระบัง10520
2
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า เจ้ าคุณทหารลาดกระบัง10520

394
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 13 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน วันที่ 8-9 ธันวาคม 2559

คานา
กาแพงกันดินเสริ มแรง (mechanical stabilized earth wall หรื อ MSE wall) อาศัยน ้าหนักกดทับของมวลดินเพื่อ
ช่วยต้ านทานแรงดันดินด้ านข้ าง และอาศัยวัสดุเสริ มแรงเช่นแถบเหล็ก (metallic strips) หรื อตาข่ายเสริ มกาลังดิน
(geogrid) ช่วยในการรับแรงดึงแทนดินที่มีความต้ านทานในการรับแรงดึงน้ อยมาก นอกจากนี ้กาแพงกันดิน
เสริ มแรงยังใช้ วสั ดุผิวหน้ า (facing unit)ประเภทต่างๆเช่น precast panel wall หรื อ modular block wall หรื อ
geotextile สาหรับการออกแบบกาแพงกันดินเสริ มแรงนัน้ จะอิงมาตรฐาน FHWA (Federal Highway
Administration) มาตรฐาน AASHTO (American Association of State Highway and Transportation
Officials)มาตรฐาน BS (British Standards) หรื อ มาตรฐาน EBGEO
(ErdkörpernmitBewehrungenausGeokunststoffenor German Geotechnical Society) ซึง่ มาตรฐานที่กล่าว
มาสามารถใช้ ได้ ดีในการออกแบบกาแพงกันดินชัน้ เดียว (single tier) ดังแสดงในรู ปที่ 1โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาหรับ
มาตรฐาน FHWA ที่มีตวั อย่างแสดงชัดเจนในมาตรฐาน FHWA-NHI-00-043 และ FHWA/TX-05/0-4485-1 แต่
มาตรฐาน FHWA มีข้อจากัดและไม่ชดั เจนในการออกแบบกาแพงกันดินเสริ มแรงแบบที่ซ้อนทับกัน
(superimposed) ดังแสดงในรู ปที่ 2 โดยเฉพาะในเรื่ องการตรวจสอบเสถียรภาพโดยรวม (global stability
checking) และ การตรวจสอบเสถียรภาพภายนอก (external stability checking)

รู ปที่ 1 กาแพงกันดินชันเดี
้ ยว (single tier) (FHWA-NHI-10-024)

รู ปที่ 2กาแพงกันดินเสริ มแรงแบบที่ซ้อนทับกัน (superimposed) (FHWA-NHI-10-024)

395
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 13 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน วันที่ 8-9 ธันวาคม 2559

ในการออกแบบ superimposed MSE wall ตามมาตรฐาน FHWA-NHI-00-043 นัน้ ของกาแพงสองชัน้ (two-tier


wall) นัน้ กาหนดให้ กาแพงชันบน ้ (upper wall) มีความสูง H1 และ geogridยาว L1และกาแพงชันล่ ้ าง (lower
wall) มีความสูง H2 และ geogridยาว L2 โดย L1> 0.7H1และ L2> 0.6H โดยที่ 𝐻 = 𝐻1 + 𝐻2 ค่าระยะเยื ้อง
(offsets) D คือระยะห่างระหว่างกาแพงชันบนและก
้ าแพงชันล่
้ าง ดังแสดงในรู ปที่ 3
 ถ้ า 𝐷 ≤ (𝐻1 + 𝐻2 )/20กาแพงซ้ อนทับ superimposed wall สามารถคานวณเป็ นกาแพงชันเดี ้ ยว
(single wall) ที่มีความสูง Hและกาหนดให้ คา่ แรงเค้ น (stress) ของ upper wall ถ่ายลงไปสู่ lower wall
 ถ้ า 𝐷 > 𝐻2 𝑡𝑎𝑛(90° − ∅) จะพิจารณาเป็ นกาแพงอิสระ (independent wall) และสามารถคานวณ
แยกกาแพงชันบนออกจากก
้ าแพงชันล่
้ างและไม่ต้องพิจารณาน ้าหนักจากกาแพงชันบนลงก ้ าแพงชันล่้ างโดย
ที่ ∅ คือค่าแรงเสียดทานภายในของดิน (internal soil angle friction)
 ถ้ า (𝐻1 + 𝐻2 )/20 < 𝐷 ≤ 𝐻2 𝑡𝑎𝑛(90° − ∅)กาหนดแรงเค้ นแนวดิ่ง (vertical stress)
จากชันบนลงชั
้ นล่
้ างดังแสดงในรู ปที่ 4ดังนี ้คือ
o กรณีที่ 1: ถ้ า𝐷 ≤ 𝐻2 𝑡𝑎𝑛(45° − ∅/2) , vertical stress 𝜎𝑖 = 𝛾𝐻1
o กรณีที่ 2: ถ้ า (𝐻1 + 𝐻2 )/20 < 𝐷 ≤ 𝐻2 𝑡𝑎𝑛(45° − ∅/2), vertical stress จะ
ประมาณค่า (interpolating) ตามพื ้นที่
o กรณีที่ 3: ถ้ า𝐷 > 𝐻2 𝑡𝑎𝑛(90° − ∅), vertical stress 𝜎𝑖 = 0

รู ปที่ 3ระยะ D สาหรับพิจารณาออกแบบ superimposed wall (FHWA-NHI-00-043)

396
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 13 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน วันที่ 8-9 ธันวาคม 2559

รู ปที่ 4แรงเค้ น (stress) ที่ถ่ายลง superimposed wall (FHWA-NHI-00-043)

โดยที่
𝜎𝑓 คือค่าแรงเค้ นที่ผิวกาแพง (face) ที่ชนวัั ้ สดุเสริ มกาลัง iจากกาแพงชันบนกระท
้ าต่อกาแพงชันล่
้ าง
𝜎𝑖 คือค่าแรงเค้ นที่ตาแหน่งใดๆจากผิวที่ชนวั ั ้ สดุเสริ มกาลัง iจากกาแพงชันบนกระท
้ าต่อกาแพงชันล่
้ าง
𝜉𝑗 , 𝑧𝑖 คือความลึกที่ชนวั
ั ้ สดุเสริ มกาลัง i

กรณีศึกษาโครงการในประเทศไทย
ตัวอย่างกรณีศกึ ษาจากโครงการหนึง่ ในประเทศไทยซึง่ กาแพงด้ านบนสูง 1.8 เมตร และกาแพงด้ านล่างสูง 3.6
เมตร ระยะ offset D อยู่ที่ 1.5 เมตร โดยมีน ้าหนักบรรทุกที่ 10 kN/m2ที่ผิวดิน ดังที่แสดงในรูปที่ 2 และจะแสดงใน
รู ปที่ 5 และจะใช้ ตาข่ายเสริ มแรง (geogrid)เป็ นวัสดุเสริ มแรงและใช้ modular block wall เป็ น facing unit
ในกรณีนี ้ กาแพงด้ านล่างจะพิจารณาเป็ น superimposed wall เนื่องจากระยะ offset (D) ที่ 1.5 เมตร และ 𝐷 =
1.5 > (𝐻1 + 𝐻2 )/20 = (1.8 + 3.6)/20 = 5.4/20 = 0.27 m ถ้ าจะพิจารณาเป็ น single wall แต่
𝐷 = 1.5 < 𝐻2 𝑡𝑎𝑛(90° − ∅𝑏 ) = 3.6 tan(90 − 28) = 6.77m ถ้ าจะพิจารณาเป็ น
independent wallโดยที่𝐻 = 𝐻1 + 𝐻2 = 1.8 + 3.6 = 5.4สาหรับโครงการนี ้ geogridกาแพงส่วนบนมีความ
𝐿1 2 𝐿2
ยาว 2 เมตรซึง่ = = 1.11 > 0.7 OKและ geogridกาแพงส่วนล่างมีความยาว 5 เมตรซึง่ =
𝐻1 1.8 𝐻
5
= 0.74 > 0.6 OK
5.4
โดยที่
𝛾𝑏 เป็ นหน่วยน ้าหนัก (unit weight) ของดินเสริ มกาลัง (reinforced backfill soil) = 18 kN/m3
∅𝑏 เป็ นมุมเสียดทานภายใน (angle of internal friction) ของ reinforced backfill soil = 30
𝛾𝑟 เป็ นหน่วยน ้าหนัก (unit weight) ของดินเดิมหลังกาแพง (retained soil) = 18 kN/m3
∅𝑟 ของดินเดิมหลังกาแพง (retained soil) = 30

397
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 13 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน วันที่ 8-9 ธันวาคม 2559

𝛾𝑓 เป็ นหน่วยน ้าหนัก (unit weight) ของดินฐานราก (foundation soil) = 18 kN/m3


𝑐𝑓 เป็ นค่าแรงเชื่อมแน่นของดินฐานราก (foundation soil) = 5 kN/m2
∅𝑓 เป็ นมุมเสียดทานภายใน (angle of internal friction) ของดินฐานราก (foundation soil) = 31
ซึง่ ค่า 𝛾, 𝑐,  เหล่านี ้เป็ นค่าที่ได้ มาจากผลเจาะสารวจดิน
qเป็ นน ้าหนักบรรทุก (uniform surcharge load) = 10 kN/m2ซึง่ ค่า qมาจากข้ อกาหนดของโครงการ
𝐾𝑎𝑟 เป็ นค่าสัมประสิทธิ์ของแรงดันดินด้ านข้ างเชิงรุ ก (active earth pressure coefficient) ของดินเดิมหลัง
กาแพง (retained soil)และ 𝐾𝑎𝑟 = 𝑡𝑎𝑛2 (45° − ∅𝑟 /2) = 𝑡𝑎𝑛2 (45° − 28/2) =
0.361

การตรวจสอบเสถียรภาพ (Stability Checking)


การออกแบบ MSE wall จะเป็ นการประเมินค่าความปลอดภัยในด้ านเสถียรภาพภายนอก (external stability)
เสถียรภาพภายใน (internal stability) และเสถียรภาพโดยรวม (global stability) เสถียรภาพภายนอกจะ
พิจารณา MSE wall เสมือนเป็ นวัตถุแข็งเกร็ ง (rigid body) เช่นเป็ นกาแพงกันดินคอนกรี ต แล้ วจะหาค่าอัตราส่วน
ความปลอดภัย (factors of safety, FS) ด้ านการลื่นไถล (sliding) การหมุนคว่า (overturning) และการแบกทาน
(bearing capacity) เสถียรภาพภายในจะพิจารณาอัตราส่วนความปลอดภัยด้ านการฉีกขาด (rupture) ของวัสดุ
เสริ มกาลัง (reinforcing elements) และการดึงออก (pullout) ของวัสดุเสริ มกาลังหลุดออกจากดิน เสถียรภาพ
โดยรวม จะเกี่ยวข้ องกับเสถียรภาพเชิงลาด (slope stability) โดยจะเป็ นการหาวง slip surface ที่มีคา่ อัตราส่วน
ความปลอดภัยที่น้อยที่สดุ ซึง่ อาจจะอยู่ภายในหรื อภายนอกหรื อบางส่วนของ MSE wall ซึง่ ในบทความนี ้จะแสดง
ตัวอย่างการคานวณเสถียรภาพเฉพาะส่วนกาแพงชันล่ ้ าง

3.1 การตรวจสอบเสถี ยรภาพภายนอก (External Stability Checking)


3.1.1 น้าหนักกระทา (Loads)
แรงแนวดิ่งจากกาแพงชันล่
้ าง (Vertical lower fill) 𝑉1 = 𝛾𝑏 𝐻2 𝐿2 = (18)(3.6)(4) = 259.2 kN/m
แรงแนวดิ่งจากกาแพงชันบน้ (Vertical upper fill) 𝑉2 = 𝛾𝑏 𝐻1 (𝐿2 − 𝐷 ) = (18)(3.6)(4-1.5) = 162
kN/m
แรงแนวดิ่งจากน ้าหนักบรรทุก (Vertical surcharge) 𝑉3 = 𝑞 (𝐿2 − 𝐷 ) = (10)(4 -1.5) = 25 kN/m
1
แรงแนวราบจากดิน (Horizontal retained soil) 𝐹1 = 𝛾𝑟 𝐻 2 𝐾𝑎𝑟 =0.5(18)(5.42)(0.361) = 94.7 kN/m
2
แรงแนวราบจากน ้าหนักบรรทุก (Horizontal surcharge) 𝐹2 = 𝑞𝐻𝐾𝑎𝑟 = (10)(5.4)(0.361) = 19.5 kN/m
น ้าหนักกระทาและโมเมนต์มาจากมาตรฐาน FHWA-NHI-00-043 แสดงในรูปที่3

398
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 13 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน วันที่ 8-9 ธันวาคม 2559

รู ปที่ 5MSE wall loads (FHWA-NHI-00-043)

3.1.2 Sliding stability


แรงต้ านแนวราบ (Horizontal resisting force) 𝑃𝑅 = (𝑉1 + 𝑉2 ) tan(min{∅𝑏 , ∅𝑟 })=
259.2+162)tan(min{28,28}) = 224 kN/m
แรงดันแนวราบ (Horizontal driving force) 𝑃𝑑 = 𝐹1 + 𝐹2 = 94.7+19.5 = 114.2 kN/m
FS sliding = 𝑃𝑅 /𝑃𝐷 =224/114.2= 1.96 > 1.5 OK
3.1.3 Eccentricity (การเยื อ้ งศูนย์ ) stability
โมเมนต์รอบจุด O ของกาแพงด้ านล่างแสดงในรู ปที่ 5
Overturning moment, 𝑀𝑂 = 𝐹1 𝐻/3 + 𝐹2 𝐻/2=(94.7)(5.4/3)+(19.5)(5.4/2) = 223 kN-m/m
𝐿 −𝐷
Resisting moment, 𝑀𝑅𝑂 = 𝑉1 𝐿2 /2 + 𝑉2 ( 2 + 𝐷) = (259.2)(4/2) + (162)[(4-1.5)/2+1.5]
2
= 802
Overturning FS =𝑀𝑅𝑂 /𝑀𝑂 =802/223 = 3.59 > 2 OK
แรงลัพธ์แนวดิ่ง (Resultant of vertical forces) 𝑅 = 𝑉1 + 𝑉2 + 𝑉3 = 259.2 + 162 + 25 = 446.2 kN/m
โมเมนต์ต้านในการแบกทาน (Resisting moment in bearing pressure)
𝐿2 𝐿2 −𝐷 𝐿
𝑀𝑅𝐵𝑃 = 𝑉1 + 𝑉2 ( + 𝐷) + 𝑉3 2= (259.2)(4/2)+(162)[(4-1.5)/2+1.5]+(25)(4/2) =
2 2 2
846
𝐿 𝑀 −𝑀 4 846−223 𝐿2 4
ระยะเยื ้องศูนย์ (Eccentricity), 𝑒 = 2 − 𝑅𝐵𝑃 𝑂 = − = 060 < = =
2 𝑅 2 446.2 6 6
0.67 OK
3.1.4 Bearing capacity at base (ความสามารถในการแบกทานที ฐ่ าน)
𝑅 446.2
Maximum bearing pressure), 𝜎𝑉 = = = 160 kN/m2จากAASHTO
𝐿2 −2𝑒 4−2(0.6)
ความสามารถในการแบกทานประลัยของดินฐานราก (Ultimate bearing capacity of foundation soil),
𝑞𝑢𝑙𝑡 = 𝑐𝑓 𝑁𝑐 + 0.5(𝐿2 − 2𝑒)𝛾𝑓 𝑁𝛾 = 5(25.8) + 0.5[4-2(0.6)](18)(11.2) = 410 kN/m2

399
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 13 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน วันที่ 8-9 ธันวาคม 2559

Bearing FS 𝑞𝑢𝑙𝑡 /𝜎𝑉 = 410/160 = 2.6 > 2.5 OK


Where the bearing capacity factor from Das
∅𝑓
𝑁𝑞 = 𝑒 𝜋tan(∅𝑓) 𝑡𝑎𝑛2 (45 + ) = 14.7 Reissner (1924)
2
𝑁𝑐 = (𝑁𝑞 − 1)cot(∅𝑓 ) = 25.8 Pradtl (1921)
𝑁𝛾 = (𝑁𝑞 − 1)tan(1.4∅𝑓 ) = 11.2 Meyerholf (1976)
3.2 การตรวจสอบเสถี ยรภาพภายใน (Internal Stability Checking)
ผลการตรวจสอบแสดงดังตารางที่ 1 ตามมาตรฐาน FHWA-NHI-00-043.

ตารางที่ 1 Internal stability calculation


Spacing Ht. from top Grid Area Superimpose Superimpose Lower Total Total Tensile Active Total Tensile Tensile
2
S (m) di (m) Vi (m ) f (kN/m2) i (kN/m2) v (kN/m2) v (kN/m2) h (kN/m2) T MAX (kN/m) La (m) LT (m) Ta FS
0.45 0.45 0.56 0.00 51.07 8.10 59.17 21.36 12.02 1.23 3.85 40 4.99
0.45 0.90 0.45 2.56 40.00 16.20 56.20 20.29 9.13 0.96 1.95 40 6.57
0.45 1.35 0.45 13.79 33.10 24.30 57.40 20.72 9.32 0.69 1.37 40 6.43
0.45 1.80 0.45 25.02 32.14 32.40 64.54 23.30 10.49 0.42 0.99 40 5.72
0.45 2.25 0.45 36.25 37.14 40.50 77.64 28.03 12.61 0.15 0.70 40 4.76
0.45 2.70 0.45 47.48 47.48 48.60 96.08 34.69 15.61 0.00 0.57 40 3.84
0.45 3.15 0.45 58.71 58.71 56.70 115.41 41.67 18.75 0.00 0.58 40 3.20
0.45 3.60 0.23 69.94 69.94 64.80 134.74 48.65 10.95 0.00 0.30 40 5.48
0.15 3.75

โดยที่ในตารางที่ 1 ความลึก (di) และพื ้นที่รับแรงของ geogrid (grid area, Vi) คานวณตาม FHWA-NHI-00-043
โดยที่ตวั อย่างการคานวณเช่นในชันที
้ ่ 3 ที่ความลึก (di) 1.35 เมตร จะได้ คา่ grid area (Vi) ดังนี ้
1 1 1.35 − 0.9 1.8 − 1.35
𝑉3 = (𝑑3 − 𝑑2 ) + (𝑑4 − 𝑑3 ) = + = 0.45
2 2 2 2
𝑧1 = 𝐷𝑡𝑎𝑛𝜙𝑟 = 1.5tan(28) = 0.80 m
𝑧2 = 𝐷𝑡𝑎𝑛(45 + 𝜙𝑟 /2) = 1.5tan(45 + 28/2) = 2.50 m
𝑧𝑗 −𝑧1 1.35−0.8 0.55
Wall face 𝜎𝑓 = (𝛾𝑏 𝐻1 + 𝑞) = [(18)(1.8) + 10] = 42.4 =
𝑧2 −𝑧1 2.5−0.8 1.7
13.79 kN/m2
พื ้นที่ประมาณในการรับแรงจากรู ปที่ 2 แสดงในรู ปที่ 4
(𝛾𝑏𝐻1 +𝑞 ) − 𝜎𝑓 𝜎𝑖 − 𝜎𝑓
=
(𝑧2 − 𝑧1 )𝑡𝑎𝑛(45 − ∅𝑏 /2) 𝐿𝑎
ที่ชนั ้ 3ค่า 𝜎𝑖 ในตารางที่ 1 มาจาก
(𝛾𝑏𝐻1 +𝑞 )−𝜎𝑓 (18)(1.8)+10
𝜎𝑖 = (𝑧 𝐿𝑎 + 𝜎𝑓 = 28 0.69 +
2 −𝑧1 )𝑡𝑎𝑛(45−∅𝑏 /2) (2.5−0.8)tan(45− )
2
2
13.79 = 33.10kN/m
28
โดยที่𝐿𝑎 = (𝐻2 − 𝑧𝑧 )𝑡𝑎𝑛(45 − ∅𝑏 /2) = (3.6 − 0.8) tan (45 − ) = 0.69
2
ซึง่ เป็ นความยาว active length𝐿𝑎 แสดงดังรู ปที่ 5

400
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 13 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน วันที่ 8-9 ธันวาคม 2559

รู ปที่ 4การประมาณค่าพื ้นที่รับแรงเค้ นแนวดิ่ง (vertical stress)

รู ปที่ 5ความยาวยึดรัง้ (anchorage length) (FHWA-NHI-00-043)

แรงเค้ นแนวดิ่งของกาแพงด้ านล่าง (Lower wall vertical stress) 𝛾𝑏 𝑑𝑖 = (18)(1.35) =


24.30kN/m2
2
แรงเค้ นแนวดิ่งทังหมด𝜎
้ 𝑣 = 33.10 + 24.30 = 57.40kN/m
แรงเค้ นแนวราบ𝜎𝐻 = 𝐾𝑎𝑟 𝜎𝑣 = (0.361)(57.40) = 20.72kN/m2
𝑇𝑚𝑎𝑥 = 𝜎𝐻 𝑉𝑖 = (20.72)(0.45) = 9.32 kN/m2
โดยสมมุติให้ Ta = 40 kN/m2สาหรับ geogrid
ดังนัน้ FS –rupture = Ta/Tmax = 40/9.32 = 6.43 > 1 OK
สาหรับ pullout จะต้ องการ FS > 1.5 และต้ องการระยะยึดรัง้ ตามมาตรฐานFHWA-NHI-00-043
1.5𝑇𝑚𝑎𝑥
𝐿𝑒 > = 1.5(9.32)/[{1)tan(28)(18)(1)(1) = 0.98 m
𝐶𝑡𝑎𝑛(∅𝑏 )𝛾𝑏𝑅𝑐 𝛼

401
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 13 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน วันที่ 8-9 ธันวาคม 2559

ดังตัวอย่างของชันที
้ ่ 3 ค่าความยาวสูงสุดมีคา่ เป็ น 𝐿𝑇 = 𝐿𝑎 + 𝐿𝑒 = 0.69 + 0.68 = 1.37 m ซึง่ จาก
ตารางที่ 1 ค่าความยาวสูงสุดของ 𝐿𝑇 คือ 3.85 เมตรซึง่ น้ อยกว่าค่าความยาว geogridที่ใช้ คือ 4 เมตร
3.3 การตรวจสอบเสถี ยรภาพโดยรวม (Global Stability Checking)
ค่าเสถียรภาพโดยรวมแสดงดังรู ปที่6ซึง่ มีคา่ global stability FS อยู่ที่ 1.397 ซึง่ มากกว่า 1.3 ตามFHWA-NHI-
00-043

รู ปที่ 6 Global stability checking

สรุปผลและข้ อเสนอแนะ
กาแพงกันดินเสริ มกาลังแบบซ้ อนทับกัน มีความจาเป็ นในการใช้ งานจริ งเนื่องจากปั ญหาเช่นข้ อจากัด
ด้ านพื ้นที่ ที่จาเป็ นต้ องลดน ้าหนักจากกาแพงชันบน
้ ซึง่ มาตรฐานการออกแบบที่มีอยู่ทวั่ ไปจะแสดงรายละเอียด
การออกแบบเฉพาะการออกแบบกาแพงชันเดี ้ ยว ขณะที่รายละเอียดการคานวณกาแพงสองชันมี ้ ไม่ชดั เจนซึง่ อาจ
ก่อให้ เกิดอันตรายในการออกแบบแบบซ้ อนทับกัน บทความฉบับนี ้จึงมุง่ ขยายขยายรายละเอียดการออกแบบ
คานวณเพื่อเป็ นตัวอย่างและแนวทางสาหรับผู้ออกแบบซึง่ การวิเคราะห์ในบทความนี ้เป็ นการวิเคราะห์แบบ limit
equilibrium method (LEM) ซึง่ สามารถนาผลที่ได้ ไปเปรี ยบเทียบกับการวิเคราะห์แบบ finite element method
(FEM) ต่อไป

รายการอ้ างอิง
AASHTO 1997. Standard Specifications for Highway Bridges, Calculation of
Vertical Stress for Bearing Capacity Calculations (for Horizontal Backslope Condition).
Anderson, P., Gladstone, R., and Sankey, J. (2012) State of the Practice of MSE Wall Design for
Highway Structures. Geotechnical Engineering State of the Art and Practice.
Das,Braja M. Principles of Geotechnical Engineering.
Publication No. FHWA-NHI-00-043. (2001). Mechanically Stabilized Earth Walls and Reinforced
Soil Slopes Design and Construction Guidelines.U.S. Department of Transportation –
Federal Highway Administration.
402
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 13 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน วันที่ 8-9 ธันวาคม 2559

Publication No. FHWA-NHI-10-024. (2009). Design and Construction ofMechanically Stabilized


Earth Wallsand Reinforced Soil Slopes – Volume I. U.S. Department of Transportation - Federal Highway
Administration.
Publication No. FHWA-NHI-10-025. (2009). Design and Construction ofMechanically Stabilized
Earth Wallsand Reinforced Soil Slopes – Volume II. U.S. Department of Transportation - Federal
Highway Administration.
Report No. FHWA/TX-05/0-4485-1. (2004). An Examination of Design Procedures for Single- and
Multi-Tier Mechanically Stabilized Earth Walls, Texas Department of Transportation and
the Federal HighwayAdministration.

403

You might also like