You are on page 1of 45

533221 Surveying Introduction to Surveying

การสํารวจ (Surveying):
ศาสตร์ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคนิคในการหาตําแหน่ง หรือการกําหนดตําแหน่ง
ต่างๆ ทีอ่ ยูเ่ หนือ บน และใต้ผวิ โลก ทัง้ ในลักษณะตําแหน่งสัมพัทธ์ (Relative
Introduction positioning) และตําแหน่งสัมบูรณ์ (Absolute positioning) ด้วยการประยุกต์
เทคโนโลยีต่างๆ เข้าด้วยกัน เพือ่ ให้ได้มาซึง่
ƒ ข้อมูลเชิงตําแหน่ง (Spatial data)
ƒ ข้อมูลชนิดไม่มตี าํ แหน่ง (Non-spatial data)
Surames Piriyawat, Ph.D. ƒ ข้อมูลอรรถาธิบาย (Attribute data)
Department of Civil Engineering และบริหารจัดการข้อมูลเหล่านี้ดว้ ย “ระบบภูมสิ ารสนเทศ (Geographic Information
Faculty of Engineering
Burapha University System, GIS)
Dr. Surames Piriyawat 1 Dr. Surames Piriyawat 2

Surveying = Geomatics or Geospatial Engineering ่


การสํารวจหาตําแหนงในพื น้ ที:
การหาค่าพิกดั ซึง่ เป็ นค่าพิกดั 3 มิติ หรืออย่างน้อยเป็ นพิกดั ทาง
Geomatics: ราบแบบ 2 มิติ โดยการคํานวณข้อมูลทีไ่ ด้จากการรังวัด ได้แก่
การวัดสิง่ ต่างๆ ของโลก (Measurement of the earth)
ƒ ทิศทาง
ƒ Photogrammetry
ƒ ระยะระหว่างจุดสองจุด
ƒ Global Navigation Satellite System (GNSS)
ƒ มุมระหว่างทิศทางแต่ละทิศ
ƒ Ground surveys
ƒ Hydrographic surveys etc.
Dr. Surames Piriyawat 3 Dr. Surames Piriyawat 4
The Brief History of Surveying ƒ Dioptra
ƒ 1,400 ปี ก่อนคริสต์ศกั ราช: ชาวอิยปิ ต์ ใช้ในการแบ่งแปลงทีด่ นิ เพือ่
การจัดเก็บภาษี
ƒ ก่อนคริสต์ศกั ราช 120 ปี : ชาวกรีกคิดค้นตรีโกณมิตขิ น้ึ และสร้าง
เครือ่ งมือสํารวจชิน้ แรกขึน้ มาชือ่ Dioptra รวมถึงกําหนดขัน้ ตอนใน
การทํางานสํารวจ
ƒ สมัยโรมัน: Frontinus พัฒนาการสํารวจในยุคนี้ และได้มกี ารผลิต
เครือ่ งมือสํารวจสําหรับการก่อสร้าง เรียกว่า Groma
ƒ ค.ศ. 1800: มีการพัฒนาศาสตร์ของการสํารวจบนพืน้ ระนาบ (Plane
surveying) และการสํารวจขัน้ สูง (Geodetic surveying)
Dr. Surames Piriyawat 5 Dr. Surames Piriyawat 6

ƒ Groma Categories of Surveying

ลักษณะของงานสํารวจ

1. งานสํารวจขัน้ สูง (Geodetic surveys):


เป็ นงานสํารวจทีม่ คี วามละเอียดถูกต้องสูง และคํานึงถึงรูปร่างสัณฐาน
ของโลกหรือความโค้งของผิวโลก (Earth curvature) ด้วย เหมาะกับ
พืน้ ทีข่ นาดใหญ่ การคํานวณต่างๆ จะอ้างอิงกับผิวโค้งวงรี (Ellipsoid) ที่
เหมาะสมแทนสัณฐานของโลกในแต่ละพืน้ ที่

Dr. Surames Piriyawat 7 Dr. Surames Piriyawat 8


2. งานสํารวจบนพืน้ ระนาบ (Plane surveys): ิ
ชนดของงานสํ
ารวจ (1)
เป็ นงานสํารวจทีใ่ ช้สมมติฐานว่าพืน้ ทีท่ ท่ี าํ การสํารวจเป็ นพืน้ ระนาบ การ ƒ งานสํารวจรังวัดควบคุม (Control surveys):
คํานวณสามารถใช้สตู รเรขาคณิตบนพืน้ ระนาบได้ เหมาะกับพืน้ ทีข่ นาด งานสํารวจเพือ่ การจัดสร้างโครงข่ายหมุดหลักฐานทางราบ (Horizontal
เล็ก ความโค้งของผิวโลกไม่มผี ลกระทบต่อการสํารวจลักษณะนี้ control points) และหมุดหลักฐานทางดิง่ (Vertical control point) หรือ
ทัง้ สองอย่าง (Full control points) เพือ่ ใช้เป็ นหมุดอ้างอิงสําหรับงาน
สํารวจอื่นๆ
ƒ งานสํารวจภูมปิ ระเทศ (Topographic surveys)
ƒ งานสํารวจแปลงทีด่ นิ (Cadastral surveys)
ƒ งานสํารวจทางวิศวกรรม (Engineering surveys)

Dr. Surames Piriyawat 9 Dr. Surames Piriyawat 10


ชนดของงานสํ
ารวจ (2) Level of Accuracy
ƒ ความถูกต้องเชงตํ
ิ าแหนง่ (Spatial accuracy)
ƒ งานสํารวจชลศาสตร์ (Hydrographic surveys)
ƒ Federal Geodetic Control Committee (FGCC):
ƒ งานสํารวจเส้นทาง (Route surveys)
แบ่งระดับความถูกต้องออกเป็ น 3 ระดับชัน้ งาน
ƒ งานสํารวจเหมืองแร่ (Mine surveys) 1. First order: การจัดทําหมุดควบคุมทัง้ ทางราบและทางดิง่ ของ
ƒ การสํารวจงานอุตสาหกรรม (Industrial surveys) ประเทศ จังหวัด เมือง และงานวิจยั ต่างๆ ในระดับมาตรฐานสูงสุด
2. Second order: การขยายหมุดควบคุมทัง้ ทางราบและทางดิง่ จาก
หมุดงานชัน้ หนึ่ง เพือ่ ใช้เป็ นหมุดควบคุมสําหรับพืน้ ทีท่ เ่ี ล็กกว่าเมือง
3. Third order: มาตรฐานชัน้ งานตํ่าสุด ใช้สาํ หรับโครงการพืน้ ที่

เล็กๆ งานก่อสร้าง งานสถาปตยกรรม งานวิศวกรรม
Dr. Surames Piriyawat 11 Dr. Surames Piriyawat 12
Earth Shape 3. สัณฐานโลกรูปทรงรี (Ellipsoid):
การใช้รปู ทรงรีซง่ึ มีรปู ทรงใกล้เคียงกับจีออยด์มากทีส่ ดุ เป็ นสัณฐานของโลก
1. สัณฐานโลกทางกายภาพ (Terrestrial surface): ซึง่ เรียกว่า “พืน้ หลักฐาน” (Datum) ทําให้สามารถคํานวณปริมาณต่างๆ ได้
เส้นขอบเขตระหว่างผิวดินหรือผิวนํ้ากับอากาศรอบผิวโลก เป็ นลักษณะ ด้วยสมการคณิตศาสตร์ พืน้ หลักฐานสามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท
ทีป่ รากฏจริงของผิวโลก ไม่สามารถนิยามรูปร่างได้ดว้ ยรูปทรงทาง ƒ รูปทรงรีภมู ิ สัณฐาน (Terrestrial ellipsoid):
เรขาคณิต หรือแบบจําลองคณิตศาสตร์ รูปทรงรีพน้ื หลักฐานทีใ่ ช้อา้ งอิงแทนลูกโลก มีจดุ ศูนย์กาํ เนิดทีจ่ ดุ ใจกลางโลก และ
แกนหมุนสมมาตรขนานกับแกนหมุนเฉลีย่ ของโลก ทุกๆ จุดบนผิวโลกจะอยูใ่ นระบบ
2. สัณฐานโลกจีออยด์ (Geoid): อ้างอิงเดียวกัน
สัณฐานของโลกทีเ่ กิดจากการจินตนาการพืน้ ผิวของนํ้าทะเลให้แผ่กระจา
อย่างต่อเนื่องเข้าไปในแผ่นดินเป็ นพืน้ ผิวเดียวกันทัวโลก
่ โดยทีท่ ุกๆ จุด ƒ รูปทรงรีภมู ิ ภาค (Best-fitting ellipsoid):
รูปทรงรีพน้ื หลักฐานทีใ่ ช้เฉพาะบริเวณหนึ่งในระดับภูมภิ าคหรือระดับประเทศ โดย
บนพืน้ ผิวมีคา่ ศักยภาพแรงโน้มถ่วงเท่ากันซึง่ ยังคงมีลกั ษณะไม่
เป็ นรูปทรงรีทม่ี พี น้ื ผิวใกล้เคียงกับพืน้ ผิวจีออยด์ในบริเวณนัน้
ราบเรียบ แบบจําลองทีไ่ ด้จงึ ไม่สะดวกและยากทีจ่ ะใช้ในการคํานวณ
Dr. Surames Piriyawat 13 Dr. Surames Piriyawat 14

Measurements in Surveying


การวัดปรมาณในงานสํ
ารวจภาคสนามประกอบด้วย
ƒ ระยะเอียง (Slope distance)
ƒ ระยะราบ (Horizontal distance)
ƒ ระยะดิง่ (Vertical distance)
ƒ มุมราบ (Horizontal angle)
ƒ มุมดิง่ (Vertical angle)
ƒ มุมดิง่ บน (Zenith angle)

Dr. Surames Piriyawat 15 Dr. Surames Piriyawat 16


Units of Measurement Significant Figures and Rounding Off Numbers

หน่วยความยาว พืน้ ที่ และปริมาตร


ƒ ระบบเมตริก (Metric system)
จํานวนเลขนัยสําคัญ:
จํานวนหลักตัวเลขทีบ่ อกถึงความละเอียดทีอ่ ่านได้จากการวัดของเครือ่ งมือ
ƒ ระบบอังกฤษ (Imperial system) ประกอบด้วยจํานวนหลักของตัวเลขทีอ่ ่านได้แน่นอนบวกกับจํานวนหลัก
ƒ ระบบไทย (Thai system) ของตัวเลขทีไ่ ด้จากการประมาณอีกหนึ่งหลัก ซึง่ ตัวเลขสุดท้ายนี้เป็ นตัว
หน่วยมุม เลขทีม่ คี วามไม่แน่นอนของการวัด
ƒ ระบบองศา (Degree system): decimal system, hexadecimal system
ƒ ระบบเกรด (Centesimal system)
ƒ ระบบเรเดียน (Radian system)
ƒ ระบบทางทหาร (Military system)
Dr. Surames Piriyawat Dr. Surames Piriyawat
17 18
533221 Surveying Measurements and Standards

การวัด (Measurement):
Theory of Measurements and Errors กระบวนการหาขนาด ปริมาณ ของสิง่ ทีต่ อ้ งการด้วยการเทียบกับมาตรฐาน
อันหนึ่งทีใ่ ช้ในการหาขนาดและปริมาณนัน้ เช่น ความยาว นํ้าหนัก ทิศทาง
เวลา และปริมาตร เป็ นต้น

Surames Piriyawat, Ph.D.

Department of Civil Engineering


Faculty of Engineering
Burapha University

Dr. Surames Piriyawat 1 Dr. Surames Piriyawat 2

Direct and Indirect Measurements Measurements Errors

่ ่ (Reading):
การอานคา
การวัดโดยตรง (Direct measurement): ตัวเลขหลักสุดท้ายทีไ่ ด้จากการอ่านค่าเป็ นตัวเลขทีป่ ระมาณได้จากการ
การวัดปริมาณทีต่ อ้ งการโดยเทียบกับอุปกรณ์ทใ่ี ช้เป็ นมาตรฐานของการ แบ่งขีด
วัดนัน้
การวัดซํา้ (Repeated measurement):
การวัดโดยอ้อม (Indirect measurement): กระบวนการทีท่ าํ ให้ได้คา่ ทีด่ ที ส่ี ดุ จากการวัดปริมาณ ซึง่ ได้แก่คา่ เฉลีย่
การวัดปริมาณอื่นแล้วคํานวณหาปริมาณทีต่ อ้ งการด้วยความสัมพันธ์ทาง (Arithmetic mean) เนื่องจากการวัดแต่ละครัง้ นัน้ ไม่สามารถทราบได้วา่
คณิตศาสตร์ ค่าทีถ่ กู ต้องแท้จริงนัน้ เป็ นเท่าไร

Dr. Surames Piriyawat 3 Dr. Surames Piriyawat 4


่ ่ดีที่สดุ (The best value):
คาที ่
คาความคลาดเคลื ่
่อน (Errors) และคาเศษเหลื อ (Residuals):
คือ ค่าเฉลีย่ ทีไ่ ด้จากการวัดหลายๆ ครัง้

ƒ คาความคลาดเคลื ่อน (ε ):

ความผดพลาด (Mistakes or Blunders): ค่าความแตกต่างระหว่างค่าทีว่ ดั ได้ (x) กับค่าจริง (t)
คือ ผลของการวัดทีผ่ ดิ พลาดอันเนื่องมาจากขาดความระมัดระวังในการวัด ε i = xi − t
ของผูว้ ดั ค่า ทําให้ขอ้ มูลทีไ่ ด้ไม่ใกล้เคียงกับข้อมูลทีว่ ดั ได้โดยส่วนใหญ่

ƒ คาเศษเหลื อ (ν ):
่ ่ (Discrepancy):
คาความแตกตาง ค่าความแตกต่างระหว่างค่าเฉลีย่ ของค่าสังเกต ( x̂) กับค่าสังเกต (x)
ค่าต่างของการวัด 2 ครัง้ หรือมากกว่า ค่าความแตกต่างนี้ชว่ ยบอกถึง
ν i = xˆ − xi
ความระมัดระวังในการวัดแต่ละครัง้ ว่ามีความผิดพลาดเกิดขึน้ หรือไม่
รวมถึงการเกิดความคลาดเคลือ่ นทีม่ ขี นาดใหญ่ (Gross errors)

Dr. Surames Piriyawat 5 Dr. Surames Piriyawat 6

Systematic Errors ิ
1. ความคลาดเคลื่อนที่เกดจากธรรมชาติ (Natural errors):
ค่าความคลาดเคลือ่ นทีเ่ กิดจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติในขณะทีท่ าํ
การวัดนัน้ ไม่ใช่สภาวะเดียวกันกับสภาวะมาตรฐานของการใช้เครือ่ งมือที่
ความคลาดเคลื่อนมีระบบ (Systematic errors): บริษทั ผูผ้ ลิตระบุไว้
ความคลาดเคลือ่ นทีม่ ขี นาดและเครือ่ งหมายคงทีภ่ ายใต้สภาวะหนึ่ง บางครัง้
เรียกว่า “ความคลาดเคลือ่ นคงที”่ (Constant errors) หรือ “ความคลาด ิ
2. ความคลาดเคลื่อนที่เกดจากเครื ่องมือวัด (Instrumental
เคลือ่ นสะสม” (Cumulative errors) แบ่งได้เป็ น 4 ชนิดตามสาเหตุการเกิด
errors):
ค่าความคลาดเคลือ่ นของเครือ่ งมืออันเนื่องมาจากความไม่สมบูรณ์ของ
เครือ่ งมือ ซึง่ เราสามารถแก้ไขได้ดว้ ยการตรวจสอบเครือ่ งมือเทียบกับ
มาตรฐาน เรียกว่า “การวัดสอบ” (Calibration)

Dr. Surames Piriyawat 7 Dr. Surames Piriyawat 8


เมื่อตรวจสอบพบความคลาดเคลื่อนมีระบบแฝงอยู่ต้อง

3. ความคลาดเคลื่อนที่เกดจากผู
ท้ าํ การวัด (Personal errors): ปรับแก้ก่อนที่จะนําข้อมูลไปใช้ด้วยสมการตอไปนี
่ ้:
ค่าความคลาดเคลือ่ นทีเ่ กิดจากความไม่ระมัดระวัง ความไม่ประณีต รวมถึง
ความไม่ชาํ นาญของผูป้ ฏิบตั ใิ นการทํางาน
xc = xobs + cs


4. ความคลาดเคลื่อนที่เกดจากการคํ
านวณ (Calculation xc = ค่าสังเกตทีแ่ ก้คา่ ความคลาดเคลือ่ นมีระบบ
errors): xobs = ค่าสังเกตทีไ่ ด้จากการวัด
ค่าความคลาดเคลือ่ นทีเ่ กิดจากการใช้เครือ่ งคํานวณทีม่ คี วามละเอียดไม่
ั cs = ค่าแก้ความคลาดเคลือ่ นมีระบบ
เพียงพอ และการปดเศษตั วเลข (Round off errors)

Dr. Surames Piriyawat 9 Dr. Surames Piriyawat 10

Accidental Errors Mean Value

ิ (Accidental errors):
ความคลาดเคลื่อนบังเอญ
ความคลาดเคลือ่ นทีเ่ กิดขึน้ กับการวัดทีม่ ขี นาดเล็กมาก มีลกั ษณะและทิศทาง ่
คาเฉลี ่ย (Mean value):
ของความคลาดเคลือ่ นไม่แน่นอน มีได้ทงั ้ ค่าบวกและลบ ไม่สามารถหา คือ ค่าทีด่ ที ส่ี ดุ ทีเ่ ราใช้เป็ นตัวแทนของค่าทีแ่ ท้จริงของสิง่ ทีเ่ ราต้องการวัด
ความสัมพันธ์ของการเกิดได้ จึงเรียกอีกชือ่ หนึ่งว่า “ความคลาดเคลือ่ นสุม่ ” ข้อควรระวังในการใช้คา่ เฉลีย่ จากข้อมูลการวัดคือ ต้องมันใจว่ ่ าไม่มคี วาม
(Random errors) คลาดเคลือ่ นคงที่ ความผิดพลาด (Mistakes) หรือความคลาดเคลือ่ นขนาด
ใหญ่ (Gross error) แฝงอยู่ ถ้ามีจะต้องทําการตรวจสอบและแก้ไขก่อนนํา
ข้อมูลนัน้ ไปใช้
Note: สิง่ ทีต่ อ้ งคํานึงถึงเสมอทุกครัง้ ในการวัดก็คอื ผูท้ าํ การวัดจะต้อง
กําจัดความผิดพลาด ความคลาดเคลือ่ นขนาดใหญ่ และความคลาดเคลือ่ น
มีระบบออกจากข้อมูล ให้เหลือเพียงความคลาดเคลือ่ นสุม่ เท่านัน้

Dr. Surames Piriyawat 11 Dr. Surames Piriyawat 12


Theory of Measurement Components of Measurement

ƒ การวัดทุกครัง้ ไม่มคี วามแม่นยําทีแ่ น่นอน


ƒ มีการประมาณขนาดของการวัด
ƒ การวัดทุกครัง้ มีความคลาดเคลือ่ นเกิดขึน้ เสมอ
ƒ มีหน่วยทีใ่ ช้ในการวัด
ƒ ค่าทีถ่ กู ต้องของการวัดไม่สามารถทราบได้แน่นอน
ƒ มีการประมาณค่าช่วงของความคลาดเคลือ่ นทีเ่ กิดขึน้ ในการวัด
ƒ ค่าความคลาดเคลื่อนทีแ่ น่นอนไม่สามารถทราบได้
ƒ มีการบอกถึงระดับความเชือ่ มันของช่
่ วงความคลาดเคลื่อนที่
Note: สิง่ ทีต่ อ้ งคํานึงถึงเสมอทุกครัง้ ในการวัดก็คอื การวัดจะต้องไม่มคี วาม
คลาดเคลือ่ นมีระบบ ความผิดพลาด (Mistakes) หรือความคลาดเคลือ่ น
เกิดขึน้ ในการวัด
ขนาดใหญ่ (Gross errors) แฝงอยู่ ซึง่ โดยมากมักจะเกิดจาก Personal
errors
Dr. Surames Piriyawat 13 Dr. Surames Piriyawat 14

Precision and Accuracy


่ า (Precision):
ความแมนยํ Š
ŠŠŠŠŠ
คือ ค่าทีบ่ ง่ บอกถึงความประณีตและความละเอียดในการวัด ตรวจสอบจาก ŠŠŠŠ
Š
ŠŠŠŠŠ
การวัดปริมาณหนึ่งหลายๆ ครัง้ แล้วมีคา่ ความคลาดเคลือ่ นน้อย แสดงว่า
High precision High precision
การวัดนัน้ มีความแม่นยําสูง การกระจายตัวของค่าสังเกตน้อยเมือ่ เทียบกับ
High accuracy Low accuracy
ค่าเฉลีย่
ความถูกต้อง (Accuracy): ŠŠ ŠŠ
Š ŠŠ
Š Š Š ŠŠ
คือ ค่าทีบ่ อกถึงความถูกต้องของค่าทีว่ ดั ได้วา่ ใกล้เคียงค่าจริงเพียงใด Š
Š Š
ŠŠ
Š Š
Š
Note: ค่า Precision และ Accuracy นัน้ ไม่มคี วามสัมพันธ์กนั การวัดทีม่ ี
ความแม่นยําสูงอาจไม่มคี วามถูกต้องเลยก็ได้ และการวัดทีไ่ ม่แม่นยําก็อาจ Low precision Low precision
มีระดับความถูกต้องสูงก็ได้ High accuracy Low accuracy

Dr. Surames Piriyawat 15 Dr. Surames Piriyawat 16


Statistical Characteristics of Random Error ค่าพารามิเตอร์ทเ่ี กีย่ วข้องกับการแจกแจงแบบปกติ คือ
ความคลาดเคลือ่ นสุม่ (ν i = xˆ − xi) จะมีการแจกแจงแบบปกติ ƒ ค่าเฉลีย่ (Mean) xˆ = ∑
n
xi
n
(Normal distribution) และมีคณ ุ ลักษณะดังนี้ i =1

Frequency
ƒ ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard deviation)
n

∑ ( xˆ − x ) i
2

σx = ± i =1
n −1
ƒ ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานของค่าเฉลีย่ (Standard deviation of mean)
Random errors
σx
ƒ การเกิดความคลาดเคลือ่ นขนาดเล็กจะมากกว่าขนาดใหญ่มาก σ xˆ = ±
n

ƒ ไม่มคี วามคลาดเคลือ่ นขนาดใหญ่มากๆ


ƒ ความคลาดเคลือ่ นทีเ่ กิดขึน้ เป็ นไปได้ทงั ้ ทางบวกและลบ
Dr. Surames Piriyawat 17 Dr. Surames Piriyawat 18

ƒ ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานน้อย การกระจายตัวน้อย ความแม่นยําสูง การหาค่าความน่าจะเป็ นของความคลาดเคลื่อนทีจ่ ะเกิดขึน้ กับ


ข้อมูลเกาะกลุม่ กันมาก จํานวนการวัดทีเ่ ปอร์เซ็นต์ต่างๆ สามารถคํานวณได้จากสมการ
E p = C pσ x

E p = ค่าความคลาดเคลือ่ นสุม่ ทีเ่ ป็ นไปได้ทอ่ี ตั ราส่วนร้อยละ p ของ


การวัด 1 ครัง้
ƒ ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานมาก การกระจายตัวมาก ความแม่นยําตํ่า C p = ค่าสัมประสิทธิพน้ื ทีใ่ ต้กราฟของการแจกแจงปกติทอ่ี ตั ราส่วน
ข้อมูลไม่เกาะกลุ่มกัน ร้อยละ p
σ x = ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานของการแจกแจงปกติ

Dr. Surames Piriyawat 19 Dr. Surames Piriyawat 20


ค่าอัตราส่วนร้อยละ p สามารถใช้ในการบอกถึงระดับความเชือ่ มัน่ (Confidence
level) ของการวัดนัน้ ๆ ทีค่ วามคลาดเคลือ่ นทีเ่ กิดขึน้

ƒ ระดับความเชือ่ มัน่ 50%: p (−0.6745σ ≤ ε ≤ +0.6745σ ) = 50%

ƒ ระดับความเชือ่ มัน่ 68%: p (−σ ≤ ε ≤ +σ ) = 68%

ƒ ระดับความเชือ่ มัน่ 90%: p (−1.6449σ ≤ ε ≤ +1.6449σ ) = 90%

ƒ ระดับความเชือ่ มัน่ 95%: p (−1.9599σ ≤ ε ≤ +1.9599σ ) = 95%

ƒ ระดับความเชือ่ มัน่ 99.5%: p(−3σ ≤ ε ≤ +3σ ) = 99.5%


การพิจารณาค่าคลาดเคลือ่ นขนาดใหญ่ (Gross error) ในทางปฏิบตั จิ ะพิจารณาค่า
คลาดเคลือ่ นทีเ่ กินช่วง ± 3σ
Dr. Surames Piriyawat 21
533221 Surveying Accuracy of Distance Measurement

Forward dist ance − Backward dist ance


Accuracy =
Mean dist ance
Distance Measurement
• ค่าความถูกต้องบ่งบอกถึงความน่าเชือ่ ถือในการวัดว่าเป็ นไปตาม
เกณฑ์มาตรฐานทีก่ าํ หนดหรือไม่

Surames Piriyawat, Ph.D.

Department of Civil Engineering


Faculty of Engineering
Burapha University

Dr. Surames Piriyawat 1 Dr. Surames Piriyawat 2

1. การนับก้าว (Pacing)
Distance Measurement Methods o การนับก้าว (Pacing) เป็ นการหาความยาวก้าวหรือความเร็วของผูเ้ ดิน

o การนับก้าว (Pacing) o ให้ความถูกต้องค่อนข้างตํ่า ประมาณ 1:50 ถึง 1:100

o มาตรวัดระยะ Odometer o เหมาะสมกับงานตรวจสอบระยะเบือ้ งต้น หรือการสํารวจสังเขป


(Reconnaissance survey)
o วิธสี เตเดีย (Stadia)

2. มาตรวัดระยะโอโดมเตอร์ (Odometer)
o วิธใี ช้แท่งวัดระยะ (Subtense bar)
o ระยะทีว่ ดั ได้เป็ นระยะตามพืน้ ผิว ไม่ใช่ระยะราบ
o วิธวี ดั ด้วยเทปวัดระยะ (Taping)
o ให้ความถูกต้องอยูใ่ นช่วง 1:100 ถึง 1:200
o วิธวี ดั ด้วยเครือ่ งวัดระยะอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic distance
measurement, EDM) o เหมาะกับพืน้ ทีร่ าบเรียบ ถ้าพืน้ ขรุขระความคลาดเคลือ่ นจะสูง

Dr. Surames Piriyawat 3 Dr. Surames Piriyawat 4


Odometer 3. วธีิ สเตเดีย (Stadia)
o เป็ นการวัดระยะราบและระยะดิง่ ระหว่างจุดสองจุดโดยใช้กล้องวัดมุม
หรือกล้องระดับ และไม้ระดับ (Staff) และหลักการของเรขาคณิต
o วิธี Stadia ให้ความถูกต้องอยูใ่ นเกณฑ์ 1:250 ถึง 1:1,000

Dr. Surames Piriyawat 5 Dr. Surames Piriyawat 6

Stadia 4. วธีิ ใช้แทงวั


่ ดระยะ (Subtense bar)

o Subtense bar คือ แท่งวัดระยะทีท่ ราบความยาวแน่นอน โดยทัวไปมี



ความยาว 2 เมตร
o เป็ นการวัดระยะทางอ้อมด้วยการวัดมุมทีร่ องรับความยาวของแท่งวัด
ระยะ
o ความถูกต้องอยูใ่ นเกณฑ์ 1:1,000 ถึง 1:5,000

Dr. Surames Piriyawat 7 Dr. Surames Piriyawat 8


Subtense bar 5. การวัดระยะด้วยโซ่ (Chain)
o เป็ นอุปกรณ์ทป่ี ระดิษฐ์ขน้ึ ต้นศตวรรษที่ 17 เรียกว่า “Gunter’s chain”
ยาว 66 ฟุต ประกอบด้วยข้อโซ่ 100 ข้อ ความยาวข้อละ 7.92 นิ้ว นิยม
ใช้ในงานรงวัดทีด่ นิ สําหรับประเทศสหรัฐอเมริกา

Dr. Surames Piriyawat 9 Dr. Surames Piriyawat 10

Chain surveying 6. การวัดระยะด้วยเทป (Taping)


o ความถูกต้องของการใช้เทปวัดระยะโดยทัวไปอยู
่ ใ่ นช่วง 1:3,000 ถึง
1:5,000 สําหรับกรณีทต่ี อ้ งการความถูกต้องสูง จะอยูใ่ นช่วง 1:10,000
ถึง 1:30,000

12
Dr. Surames Piriyawat 11 Dr. Surames Piriyawat
ิ กทรอนกส์
7. เครื่องวัดระยะอเล็ ิ (Electronic distance meter, EDM
EDM)
o EDM แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
1. Electro-optical: ใช้คลืน่ แสง (Light waves) ในการวัดระยะทาง
2. Electromagnetic: ใช้คลืน่ Microwave ในการวัดระยะทาง
o ความคลาดเคลือ่ นอยูใ่ นช่วง ± (1 mm + 2 ppm) − ± (5 mm + 5 ppm)

o ppm (Parts per million) จํานวนส่วนต่อล้านส่วน หรือทุกๆ 1 กิโลเมตร


จะคลาดเคลือ่ นเพิม่ ขึน้ เท่ากับตัวเลขของ ppm
o ตัวอย่าง ± (3 mm + 3 ppm) หมายถึง หากวัดระยะ 2 กิโลเมตร จะมีความ
คลาดเคลือ่ นเกิดขึน้ เท่ากับ 3+(3*2) = 9 mm.
Dr. Surames Piriyawat 13 Dr. Surames Piriyawat 14

Types of Tape Distance Measurement by Taping


ƒ Required equipments
o Steel tapes or surveyor’s and engineering tapes: ทําด้วยเหล็กมี
ความกว้าง 1/4 – 3/8 นิ้ว ความยาว 30, 60, 100 และ 150 เมตร o เทปวัดระยะ: โดยทัวไปใช้
่ เทปไฟเบอร์กลาส ขนาดความยาว 30 เมตร โดยมีการ
แบ่งขีดทุกๆ 1 เมตร เทปทีใ่ ช้ในงานสํารวจแบ่งได้ 3 ชนิด
o Invar tapes: ส่วนผสมระหว่างเหล็ก 65% และนิเกิล 35%
1. Fully graduated tape: เทปทีม่ กี ารแบ่งขีดถึงมิลลิเมตรตลอดความยาวเทป
o Lovar tapes
2. Subtracting tape: เทปทีม่ กี ารแบ่งขีดถึงมิลลิเมตรเฉพาะเมตรแรกและเมตร
o Woven tapes: มีความกว้าง 5/8 นิ้ว ทําด้วยลวดทองแดงหุม้ ด้วย สุดท้ายของเทป
ลินินคุณภาพสูง แต่ไม่เหมาะกับงานทีต่ อ้ งการความละเอียดสูง 3. Adding tape: เทปทีม่ ชี ว่ งขยายอีก 1 เมตร จากขีด 0 และมีการแบ่งขีดถึง
ั บนั นิยมใช้ เพราะราคาถูก ดูแลรักษาง่าย มิลลิเมตรส่วนทีข่ ยายออกไป
o Fiberglass tapes: ปจจุ

Dr. Surames Piriyawat 1 Dr. Surames Piriyawat 16


5
o Range pole: มีลกั ษณะเป็ นแท่งโลหะนํ้าหนักเบาความยาวประมาณ 1.20 ถึง 1.50
เมตร ทาสีขาวสับแดงหรือเหลืองสลับดํา ใช้เป็ นหลักเล็งแนวหัวท้ายของการวัด o Pump bobs: ใช้สาํ หรับหมายตําแหน่งบนเทปให้ตรงกับจุดบนพืน้ ดินใน
ระยะทีม่ หี ลายช่วงให้อยูใ่ นแนวเส้นตรงเดียวกัน แนวดิง่
o Tensometer: เครือ่ งวัดแรงดึงในการดึงเทปให้มนี ้ําหนักการดึงตาม
มาตรฐานของเทปวัดระยะทีใ่ ช้
o Clinometer: กล้องสําหรับวัดมุมดิง่ จากจุดเริม่ ต้นไปยังจุดปลายของการ
o Taping pins: ทําด้วยโลหะมีลกั ษณะปลายมนแหลมอีกด้านมีรปู ร่างเป็ นห่วง วัดระยะ
สําหรับคล้องเข็มขัดหรือเชือก ความยาวประมาณ 30 ซ.ม. ใช้ในการเล็งแนวของ
การวัดระยะเต็มช่วงเทประหว่างหลักเล็งโพล o Thermometer: ปกติเทปจะถูกออกแบบให้ใช้งานได้ตามปกติทอ่ี ุณหภูม ิ
20 องศาเซลเซียส การวัดอุณหภูมริ ะหว่างการวัดทําให้สามารถคํานวณ
ค่าความคลาดเคลือ่ นจากการยืดหดของเนื้อเทปได้

Dr. Surames Piriyawat 17 Dr. Surames Piriyawat 18

ƒ การวัดระยะด้วยเทปแบงเป็
่ น Clinometer
o การวัดระยะราบ
o การวัดระยะราบบนพืน้ ลาดเอียง
ใช้เทคนิคการวัดแบ่งช่วง (Breaking tape) ซึง่ จะทําการวัดในทิศทางลง
เนิน และใช้กล้องวัดความลาดเอียง (Clinometer) ส่องช่วยประมาณระยะ
ทีจ่ ะแบ่งช่วง ซึง่ สามารถทําการวัดระยะราบได้โดยทําการวัดระยะเป็ น
ช่วงสัน้ ๆ แต่ละช่วง

Dr. Surames Piriyawat 19 Dr. Surames Piriyawat 20


o กรณี ภมู ิ ประเทศมีความลาดชันมาก ความคลาดเคลื่อนในการวัดระยะด้วยเทป
การวัดแบบแบ่งช่วงอาจใช้เวลามาก ให้ทาํ การวัดระยะตามพืน้ เอียงและวัด
มุมเอียงด้วยกล้องวัดความลาดเอียงแทนการวัดแบบแบ่งช่วง จากนัน้ หา ƒ Instrumental errors: เทปยาวไม่ได้มาตรฐาน และความยาว
ระยะราบ (H) จากสูตร เทปไม่ถกู ต้อง เป็ นต้น
ƒ Natural errors: การเปลีย่ นแปลงของอุณหภูมริ ะหว่างการวัด
H = L cos α
L
D และการตกท้องช้าง เป็ นต้น
H = L2 − D 2
D2 α H ƒ Personal errors: วางเทปไม่อยูใ่ นแนวราบ การออกแรงดึง
H = L−
2L ไม่สมํ่าเสมอ การเล็งแนวเทป การดึงเทปไม่ตรง การทิง้ ดิง่
การหมายหมุด และการอ่าน เป็ นต้น

Dr. Surames Piriyawat 21 Dr. Surames Piriyawat 22

การตรวจแก้ความคลาดเคลื่อนมีระบบของการวัดระยะด้วยเทป ƒ อุณหภูมิ ไมได้


่ มาตรฐาน:
ƒ ความยาวเทปไมได้
่ มาตรฐาน: เมือ่ นําเทปไปใช้ทอ่ี ุณหภูมสิ งู กว่าอุณหภูมมิ าตรฐาน (ปกติอยูท่ ่ี 20 องศาเซลเซียส
เป็ นความคลาดเคลือ่ นทีเ่ กิดจากเทปมีความยาวไม่ได้มาตรฐานตามตัวเลขทีร่ ะบุ หรือขึน้ กับชนิดของเทป) เมือ่ นําไปใช้งานทีอ่ ุณหภูมสิ งู กว่า เทปจะยืด หรือหดถ้าใช้
ความยาวไว้ อันเนื่องมาจากการแบ่งขีดไม่ได้ขนาดตามทีก่ าํ หนด งานทีอ่ ณ ุ หภูมติ ่าํ กว่า
LS Ct = k (Tobs − T0 ) Lobs
Cp = = P roportional correction
L Lc = Lobs + Ct
Lc = C p Lobs
ƒ แรงดึงไมได้ ่ มาตรฐาน:
ƒ ความยาวเทปไมถู่ กต้อง: การดึงเทปแรงหรือค่อยเกินไปล้วนมีผลต่อการยืดและหดตัวของเนื้อเทป
เป็ นความคลาดเคลือ่ นทีเ่ กิดจากการชํารุดของเทป เช่น เทปขาดทีป่ ลาย ทัง้ สิน้ การดึงเทปจึงควรดึงให้ได้แรงดึงตามมาตรฐานทีก่ าํ หนดไว้โดยใช้
ไม่มขี ดี 0 (ศูนย์) เป็ นต้น การวัดจึงต้องเทปส่วนทีเ่ หลือเท่านัน้ เครือ่ งช่วยคือ Tensometer
⎛ Lt − L f ⎞
C p = (Pobs − P0 )
Lobs
Ci = ⎜ ⎟ Lobs
⎜ L ⎟ AE
⎝ f ⎠
Lc = Lobs + C p
Lc = Lobs + Ci
Dr. Surames Piriyawat 23 Dr. Surames Piriyawat 24
ƒ การตกท้องช้าง (Sag): Cs = −
w2 L3s
ตารางสรุปประเภทและชนิดของความคลาดเคลือ่ นทีเ่ กิดขึน้ จากการใช้เทปวัดระยะ
2
24 Pobs
W 2 Ls
Cs = − 2
24 Pobs สาเหตุ ประเภท ชนิด
Lc = Lobs + Cs ความยาวเทป I S

ความคลาดเคลื่อนแบบสุ่มในการวัดระยะด้วยเทป อุณหภูม ิ N S or R

ƒ การวัดอุณหภูมไิ ม่ถกู ต้อง แรงดึง P S or R

ตกท้องช้าง N, P S
ƒ ดึงเทปไม่ได้ตามมาตรฐานทีก่ าํ หนด
เล็งแนว P S
ƒ แรงลมพัดทําให้ลกู ดิง่ เคลือ่ น เทปไม่ได้ระดับ P S

ƒ ปกั Pins ไม่ตรงตําแหน่งของการทิง้ ดิง่ การทิง้ ดิง่ P R

การหมายจุด P R
ƒ ผูว้ ดั ถือดิง่ ไม่นิ่ง
การอ่านเทป P R
ƒ การประมาณค่าทีไ่ ด้จากการอ่านเทปหลักสุดท้าย

Dr. Surames Piriyawat


ƒ การเล็งแนวของการวัดระยะ 25 Dr. Surames Piriyawat 26

การใช้เทปในงานรังวัด การรังวัดแผนที่ด้วยเทป
ƒ สร้าง Base line network
ƒ การวัดมุม
ƒ ใช้หลักการของการวัดระยะตัง้ ฉาก (Offsetting) จากเส้นฐาน
ƒ การวางมุมฉาก ด้วยเทคนิคการวัดมุม การวางมุมฉาก และการลากเส้นตัง้
ฉาก หรืออาจใช้อุปกรณ์เล็งมุมฉาก (Optical square)
ƒ การลากเส้นตัง้ ฉาก
ƒ เหมาะสําหรับพืน้ ทีท่ ม่ี ขี นาดไม่ใหญ่มากนัก
ƒ การใช้เทปวางแนวเส้นตรงผ่านสิง่ กีดขวาง

Dr. Surames Piriyawat 27 Dr. Surames Piriyawat 28


533221 Surveying Leveling
การระดับ (Leveling)
กรรมวิธกี ารวัดระยะดิง่ ระหว่างจุดบนพืน้ ผิวทีต่ อ้ งการและพืน้ ผิวอ้างอิงทีเ่ ป็ นพืน้
หลักฐานทางระดับ (Datum) ระยะดิง่ นี้เรียกว่า ค่าระดับ (Elevation) พืน้ หลักฐาน
Leveling อ้างอิงทีใ่ ช้ คือ พืน้ ผิวระดับนํ้าทะเลปานกลาง (Mean sea level, MSL) โดยกําหนดให้
มีคา่ ระดับเท่ากับ 0 เมตร
วัตถุประสงค์ของงานระดับ
การหาค่าระดับให้กบั ตําแหน่งต่างๆ ว่ามีความสูงเท่าใดเทียบกับผิวอ้างอิง (Reference
surface, Datum)
Surames Piriyawat, Ph.D.
่ ่ บ (Elevation difference, Δe)
คาตางระดั
Department of Civil Engineering
Faculty of Engineering
การหาค่าระดับของจุดใดๆ บนผิวโลกจะวัดเทียบกับจุดอ้างอิงทีท่ ราบค่าระดับด้วยการ
Burapha University วัดค่าระยะดิง่ เทียบกับจุดอ้างอิงนัน้
Dr. Surames Piriyawat 1 Dr. Surames Piriyawat 2

The technical terms วธีิ การหาคาระดั


่ บความสูง
o Vertical line: แนวเส้นทีอ่ ยูใ่ นแนวแรงดึงดูดของโลกเทียบได้กบั แนวของสายลูกดิง่
o Level surface: พืน้ ผิวทีม่ คี า่ ระดับเท่ากันและตัง้ ฉากกับแนวดิง่ หรือแรงดึงดูดของโลกทุกจุด การหาค่าระดับของจุดใดๆ ใช้วธิ กี ารหาค่าต่างระดับของจุดนัน้ เทียบกับจุดที่
ซึง่ จะมีลกั ษณะเป็ นลูกทรงกลมโดยประมาณ ทราบค่าระดับอยูแ่ ล้วทีเ่ รียกว่า หมุดระดับ (Bench mark, BM) ด้วยวิธกี าร
o Level line: เส้นทีอ่ ยูบ่ นพืน้ ผิวระดับ ดังนัน้ เส้นระดับจึงเป็ นเส้นโค้งขนานไปตลอดพืน้ ผิว ดังต่อไปนี้:
ระดับ (Level surface)
o การวัดด้วยเทป (Taping)
o Horizontal plane: ระนาบทีต่ งั ้ ฉากกับแนวแรงดึงดูดของโลกหรือแนวดิง่
o การวัดด้วยกล้องวัดระดับ (Differential leveling)
o Horizontal line: แนวเส้นทีอ่ ยูบ่ นระนาบราบและตัง้ ฉากกับแนวดิง่
o Vertical datum: พืน้ ผิวระดับซึง่ ใช้เป็ นพืน้ ผิวอ้างอิงทางความสูงหรือค่าระดับของจุด o การวัดแบบตรีโกณมิติ (Trigonometric leveling)
ต่างๆ โดยทัวไปใช้
่ พน้ื ผิวระดับนํ้าทะเลปานกลาง (Mean sea level, MSL)
o การวัดด้วยเครือ่ งวัดความกดดันของอากาศ (Aneroid barometer)
o Elevation: ค่าระยะดิง่ จากพืน้ ผิวระดับอ้างอิงถึงจุดทีต่ อ้ งการทราบค่าระดับ
o Elevation difference: ค่าระยะดิง่ ระหว่างพืน้ ผิวระดับสองพืน้ ผิว
Dr. Surames Piriyawat 3 Dr. Surames Piriyawat 4
Leveling Instruments The Components of Leveling Telescope

o Telescope:
o Tripod
Important components: eyepiece lens, cross hair,
o Leveling telescope
o Staff
focusing lens, focusing knob, objective lens
o Foot plate o Circular bubble
กล้องระดับ: o Tribach
เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการอ่านค่าความสูงของแนวเล็งกล้องจากไม้ระดับเหนือ
พืน้ ผิวทีไ่ ม้ระดับตัง้ อยู่ เมือ่ กล้องระดับติดตัง้ อยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งาน แกน
ดิง่ กล้องจะอยูใ่ นแนวดิง่ และแนวเล็งจะอยูใ่ นแนวระดับ

Dr. Surames Piriyawat 5 Dr. Surames Piriyawat 6

Telescope ่
การหาคาระดั
บความสูงด้วยกล้องระดับ
Forward direction

FS

BS
HB ΔH AB

H A
msl
o คํานวณค่าความสูงของกล้องเหนือระดับนํ้าทะเลปานกลาง: HI = H A + BS
o คํานวณค่าระดับของจุด B: H B = HI − FS
o ค่าต่างระดับจาก A ไป B: ΔH AB = BS − FS
o ค่าระดับของจุด B: H B = H A + ΔH AB
HA = ค่าระดับของจุด A เหนือระดับนํ้าทะเลปานกลาง (Mean sea level, msl)
BS (Back-sight) = ค่าทีอ่ ่านได้จากไม้ระดับเมือ่ ส่องมาทางด้านหลัง

Dr. Surames Piriyawat Dr. Surames Piriyawat


FS (Fore-sight) = ค่าทีอ่ ่านได้จากไม้ระดับเมือ่ ส่องไปทางด้านหน้า
7 8
การระดับโดยวธีิ หาคาตางระดั
่ ่ บ (Differential Leveling) การระดับโดยวธีิ หาคาตางระดั
่ ่ บ (Differential Leveling)
การระดับโดยวธีิ หาคาตางระดั
่ ่ บ: การระดับโดยวธีิ หาคาตางระดั
่ ่ บ:
การถ่ายค่าระดับจากหมุดระดับทีท่ ราบค่าระดับซึง่ เรียกว่า “Bench mark” (BM) ไปยัง การถ่ายค่าระดับจากหมุดระดับทีท่ ราบค่าระดับซึง่ เรียกว่า “Bench mark” (BM) ไปยัง
หมุดระดับทีต่ อ้ งการทราบค่า ซึง่ จะถูกใช้เป็ นหมุดระดับอ้างอิงในการดําเนินงานต่างๆ หมุดระดับทีต่ อ้ งการทราบค่า ซึง่ จะถูกใช้เป็ นหมุดระดับอ้างอิงในการดําเนินงานต่างๆ
ในบริเวณนัน้ ด้วยการวัดและคํานวณค่าต่างระดับระหว่างหมุดทัง้ สอง ในบริเวณนัน้ ด้วยการวัดและคํานวณค่าต่างระดับระหว่างหมุดทัง้ สอง

Dr. Surames Piriyawat 9 Dr. Surames Piriyawat 10

BS 2
BSn

FSn
BSn + 1
FSn + 1
การตรวจสอบความถูกต้อง
FS 2
BS1 FS1
BM B
การตรวจสอบความถูกต้อง:
การตรวจสอบความถูกต้องงานระดับโดยวิธหี าค่าต่างระดับสามารถทําได้โดยการเดิน
A n +1
BM 101
n TPn B
1 TP1
2
TP 2
TPn −1

HA HB
ระดับย้อนกลับจากหมุด BM B มายังหมุด BM101 อีกครัง้ ซึง่ จะได้วา่
msl ΔH BM B − BM 101 = ∑ BS BM B − BM 101 − ∑ FS BM B − BM 101
o Turning point (TP): จุดพักระดับ หรือจุดถ่ายระดับ
o Vertical control point: หมุดหลักฐานทางดิง่ ทีท่ ราบค่าระดับ ในทีน่ ้ีคอื หมุด BM 101
o หากไม่มคี วามคลาดเคลือ่ นใดๆ ในการเดินระดับไปและกลับจะได้คา่ ความ
o BM B คือ หมุดระดับทีเ่ ราต้องการทราบค่าระดับ แตกต่างของค่าต่างระดับเทีย่ วไปและเทีย่ วกลับควรเท่ากับศูนย์
หลักการคํานวณ:
o ค่าต่างระดับของการตัง้ กล้องแต่ละครัง้ : ΔH i = BSi − FSi ΔH BM 101− BM B − ΔH BM B − BM 101 = 0

o ค่าต่างระดับจาก BM 101 ไปยัง BM B: ΔH BM 101− BM B = ∑ BS BM 101− BM B − ∑ FS BM 101− BM B

o ค่าระดับของหมุด BM B: H BM B = H BM 101 + ΔH BM 101− BM B


Dr. Surames Piriyawat 11 Dr. Surames Piriyawat 12
ข้อกําหนดชัน้ งานสําหรับงานระดับ ่
การอานไม้ ระดับและการจดบันทึกข้อมูลสนาม
Federal Geodetic Control Committee or FGCC (1984):
แบ่งชัน้ งานสําหรับงานระดับออกเป็ น 3 ชัน้ งาน ตามระดับความถูกต้องของการใช้งาน สายใยบน

ประเภทต่างๆ สายใยกลาง

สายใยล่าง
่ : ความคลาดเคลือ่ นทีย่ อมให้เกิดขึน้ ได้สาํ หรับมาตรฐานงานชัน้ 3 เท่ากับ
o ตัวอยาง
± 12 K mm.

โดยที่ K คือ ระยะทางเฉลีย่ ของการเดินระดับไปและกลับระหว่างจุดทีต่ อ้ งการหา


D = Ks + C
ความต่างระดับ, km. S

ในการผลิตกล้อง จะปรับให้กล้องมีคา่ K=100 และ C=0 จะได้


D = 100 s

Dr. Surames Piriyawat 13 Dr. Surames Piriyawat 14


ความคลาดเคลื่อนและความผดพลาดในงานระดั
บ ความคลาดเคลื่อนจากธรรมชาติ
ความคลาดเคลื่อนจากเครื่องมือ o ความโค้งของผิวโลก (Curvature of the Earth) และการหักเหของแสง (Reflection)
o แนวเล็งไม่อยูใ่ นแนวราบเมือ่ กล้องได้ระดับ หรือแนวเล็งเอียง เรียกว่า “Collimation o การเปลีย่ นแปลงของอุณหภูม ิ
error” ตรวจแก้ได้ดว้ ยการวัดสอบกล้องด้วยวิธี Two-peg test
o แรงลม
o สายใยราบไม่อยูใ่ นแนวราบหรือเอียง
o การตัง้ กล้องบนพืน้ ดินอ่อน
o ไม้ระดับมีความยาวไม่ถกู ต้องหรือไม่ได้มาตรฐาน
o การขันสกรูยดึ กล้องไม่แน่นพอ

ความผดพลาดที ิ น้ ในงานระดับ
่เกดขึ
ความคลาดเคลื่อนจากบุคคล o การวางไม้ระดับผิดตําแหน่ง
o การเกิดภาพเหลือ่ ม (Parallax) o การอ่านค่าไม้ระดับผิดพลาด การอ่านหลักตัวเลขผิด
o การปรับระดับกล้องไม่ได้ระดับ o การจดบันทึกข้อมูลผิดพลาด
o การอ่านค่าไม้ระดับขณะทีม่ ภี าพเหลือ่ ม หรือเกิดไอแดด หมอกควัน และการ o การจับขากล้องขณะทํางาน
สันสะเทื
่ อน
Dr. Surames Piriyawat 15 Dr. Surames Piriyawat 16

การรังวัดระดับจุดรายละเอียดระหวางสถานี หลัก การประยุกต์ใช้งานระดับ
o การหาค่าระดับของตําแหน่งต่างๆ ทีส่ าํ คัญซึง่ อยูร่ ะหว่างการเดินระดับระหว่างจุด
สองจุด เช่น ค่าระดับของประตูระบายนํ้า หรือตําแหน่งของจุดทีจ่ ะติดตัง้ มาตรวัด o การระดับเพือ่ สร้างหมุดหลักฐานทางดิง่ (Vertical control
นํ้า เป็ นต้น bench mark)
o ค่าระดับของจุดทีแ่ ทรกเข้ามานี้ เรียกว่า Intermediate sights (IS)
o การระดับเพือ่ งานวิศวกรรมโยธา: Cross section and Profile
o โดยทัวไปการวั
่ ดค่าระดับ IS นี้ จะอ่านค่าไม้ระดับสายใยกลางเพียงค่าเดียว และจะ
ไม่ถกู นํามาคํานวณเพือ่ ตรวจสอบความคลาดเคลือ่ นบรรจบ (Miss-closure error)
ของการเดินระดับ

Dr. Surames Piriyawat 17 Dr. Surames Piriyawat 18

การคํานวณปรับแก้ความคลาดเคลื่อนงานระดับ o จากตัวเลขค่าต่างระดับระหว่างจุดต่างๆ ถ้าไม่เกิดความคลาดเคลือ่ นในการวัด ผลรวม


ของค่าต่างระดับจะต้องเท่ากับ ศูนย์
่ : วงรอบระดับวงหนึ่งประกอบด้วยตอนระดับ 4 ตอน ซึง่ ได้รงั วัดค่าต่าง
o ตัวอยาง
o แต่จากข้อมูลพบว่า เกิดค่าความคลาดเคลือ่ นเท่ากับ 3.201+1.634-3.582-1.190 =
ระดับในทิศทางตามเข็มนาฬิกาดังแสดงในรูปด้านล่าง หลังจากได้ตรวจสอบตาม
0.063 ซึง่ ความคลาดเคลื่อนนี้ แปรผันตามระยะทางจากจุด A ดังนัน้ ค่าปรับแก้จะ
เกณฑ์งานชัน้ ที่ 3 (±12 K ) มีขอ้ มูลสรุปของแต่ละช่วงดังนี้
แปรผันตามระยะทางด้วยเช่นกัน
DAB = 1.6 km.; ΔH AB = 3.201 m.
DBC = 1.1 km.; ΔH BC = 1.634 m.
o ระยะทางทัง้ หมดทีใ่ ช้ในการเดินระดับ เท่ากับ 1.6+1.1+1.3+0.8 = 4.8 กิโลเมตร
DCD = 1.3 km.; ΔH CD = −3.582 m. o ดังนัน้ จะได้คา่ ปรับแก้ต่อระยะทาง เท่ากับ -0.063/4.8 = -0.013 เมตรต่อกิโลเมตร
DDA = 0.8 km.; ΔH DA = −1.190 m. Section Distance Diff. Elev. Cumm. dist. Correction value Corrected
(km.) (m.) (km.) for each section distance (km.)
(m.)
B
A-B 1.6 3.201 1.6 -0.021 3.180
B-C 1.1 1.634 2.7 -0.014 1.620
C-D 1.3 -3.582 4.0 -0.017 -3.599
A
D-A 0.8 -1.190 4.8 -0.011 -1.201
Sum 4.8 0.063 -0.063 0.000
Correction value -0.013 Checked Checked
D C (m./km.)

Dr. Surames Piriyawat 19 Dr. Surames Piriyawat 20


Reciprocal Leveling o จากรูปในแผ่นใส อ่านค่าจากกล้องระดับทีต่ งั ้ ใกล้จดุ A จะได้
ΔH AB = x1 − ( x2 − (c − r ))
o การทําระดับบางกรณีไม่สามารถรักษาระยะไม้ระดับหน้าและหลังให้
เท่ากันได้เนื่องจากข้อจํากัดของภูมปิ ระเทศ เช่น การทําระดับข้ามลํานํ้า
เป็ นต้น o ขณะเดียวกัน อ่านค่าจากกล้องระดับทีต่ งั ้ ใกล้จดุ B ได้
o ผลกระทบจากความคลาดเคลือ่ นแนวเล็งเอียง ความโค้งผิวโลก การ ΔH AB = ( y2 − (c − r )) − y1
หักเหของแสงจะทําให้การอ่านค่าไม้ระดับผิดไปได้
o ดังนัน้ สามารถหาค่าต่างระดับระหว่างจุด A และ B ได้ดงั นี้
o Reciprocal leveling คือ การทําระดับด้วยการใช้กล้องระดับ 2 ชุด ทํา
ั่ 2ΔH AB = ( x2 − x1 ) + ( y1 − y2 )
การอ่านค่าไม้ระดับทีอ่ ยูท่ งั ้ ฝงไกลและใกล้
ในเวลาพร้อมกัน
ΔH AB = [( x2 − x1 ) + ( y1 − y2 )]
1
2

Dr. Surames Piriyawat 21 Dr. Surames Piriyawat 22


533221 Surveying การวัดมุม
การวัดมุมที่จดุ ใดจุดหนึ่ ง คือ
การวัดขนาดของมุมโดยมีแขนของมุมด้านหนึ่งเป็ นด้านอ้างอิงและทําการวัดมุมไปยัง
แขนของมุมอีกด้านหนึ่ง
Angle, Bearing, and Azimuth

การระบุตาํ แหนงของจุ
ดใดๆ คือ
การระบุตาํ แหน่งของจุดทีต่ อ้ งการด้วยการบอกมุมเทียบกับทิศทางหนึ่งพร้อมระยะทาง
ทีอ่ ยูห่ า่ งออกไปจากจุดนัน้ N

ทิศทางการวัดมุม
B
Dr. Surames Piriyawat ขนาดของมุม

มมุ
ของ องิ
อา้ ง
Department of Civil Engineering α AB

ดา้ น
DAB
Faculty of Engineering
Burapha University A

Dr. Surames Piriyawat 1 Dr. Surames Piriyawat 2

ประเภทของการวัดมุม การวัดมุมราบ
การวัดมุมในงานสํารวจจะมีการวัดมุมบนระนาบสองระนาบ คือ การวัดมุมราบในงานสํารวจมี 3 ประเภท คือ
ƒ การวัดมุมภายในหรือมุมภายนอก (Interior or exterior angles):
ƒ มุมบนระนาบราบ: มุมราบ (Horizontal angle) ใช้อา้ งอิงถึงตําแหน่ง การวัดมุมภายใน หรือมุมภายนอกของรูปปิ ด (Closed polygon)
ของจุดบนระนาบราบ
ƒ การวัดมุมเวียนขวาหรือเวียนซ้าย (Angle to the right or to the left):
ƒ มุมบนระนาบดงิ่: มุมดิง่ (Vertical angle) ใช้อา้ งถึงตําแหน่งของจุด การวัดมุมตามเข็มนาฬิกา หรือทวนเข็มนาฬิกา ตามลําดับ เมือ่ เทียบกับ ทิศทางการ
ในแนวดิง่ ว่าอยูส่ งู หรือตํ่ากว่าเป็ นมุมเท่าใด กวาดมุมไปข้างหน้า
ƒ การวัดมุมเบีย่ งเบน (Deflection angle):
การวัดขนาดมุมของเส้นข้างหน้าทีเ่ บนออกไปจากแนวเดิมหรือแขนของมุมอ้างอิงทีต่ อ้
ไปข้างหน้า หากเบีย่ งเบนไปทางขวา จะใช้สญ ั ลักษณ์ R หรือ (+) ต่อท้ายค่ามุม ถ้า
เบีย่ งเบนไปทางซ้ายจะใช้สญ
ั ลักษณ์ L หรือ (-) ต่อท้ายค่ามุม

Dr. Surames Piriyawat 3 Dr. Surames Piriyawat 4


การวัดมุมดงิ่ Direction of Line
การวัดมุมดิง่ ในงานสํารวจแบ่งออกเป็ น 2 ชนิดตามการใช้เส้นอ้างอิงใน การแสดงทิศของเส้นบนแผนทีห่ รือทิศทีใ่ ช้ในการนําหน (Navigation) จะมี
การวัด คือ แนวเส้นอ้างอิงทีเ่ ป็ นมาตรฐาน เรียกว่า เส้นเมริเดียน (Meridian) ซึง่ ได้แก่
เส้นวงกลมใหญ่ (Great circle) ทีล่ ากผ่านแนวเหนือใต้ของโลก แบ่งได้ 4
ิ่
ƒ มุมดงบน (Zenith angles):
ชนิด คือ
ค่ามุมบนระนาบดิง่ ทีว่ ดั อ้างอิงกับเส้นดิง่ โดยให้ทศิ 0o อยูเ่ หนือศีรษะ เป็ น
การวัดมุมรอบจุด ดังนัน้ 90o จะอยูใ่ นแนวราบ ิ ยนดาราศาสตร์ (Astronomic meridian):
ƒ เส้นเมรเดี
ƒ มุมดงิ่ (Vertical angle): เส้นเมริเดียนทีไ่ ด้จากรูปร่างและค่าแรงโน้มถ่วงของโลกมีชอ่ื เรียกอีก
อย่างว่า เส้นเมริเดียนจีออเดติก (Geodetic meridian)
ค่ามุมบนระนาบดิง่ ทีว่ ดั เทียบกับแนวราบเป็ นทิศ 0o ถ้าค่ามุมกวาดขึน้ เหนือ
แนวราบ ค่ามุมจะเป็ นบวก เรียกว่า มุมเงย ถ้าค่ามุมกวาดลงตํ่ากว่า ิ ยนแมเหล็
ƒ เส้นเมรเดี ่ ก (Magnetic meridian):
แนวราบค่ามุมเป็ นลบ เรียกว่า มุมก้ม เส้นเมริเดียนทีไ่ ด้จากสนามแม่เหล็กเหนือใต้ของโลก

Dr. Surames Piriyawat 5 Dr. Surames Piriyawat 6


ระบบการบอกทศ
ิ ยนสมมติ (Assumed meridian):
ƒ เส้นเมรเดี
ระบบการบอกทิศของเส้นเทียบกับเมริเดียน สามารถบอกได้ 2 วิธี คือ
การสมมติเส้นแนวเส้นเมริเดียนขึน้ มาใช้ซง่ึ มีขอ้ จํากัดคือข้อมูลต่างๆ ใน
ระบบนี้ไม่สามารถนําไปใช้รว่ มกับข้อมูลในระบบอ้างอิงอื่นได้โดยตรง ƒ ระบบแบรงส์ ิ (Bearings):
การบอกทิศของเส้นจากจุดเริม่ ต้นไปยังจุดปลายด้วยค่ามุมทีว่ ดั เทียบกับ
ƒ เส้นเมริ เดียนกรดิ (Grid meridian): เส้นเมริเดียนทีผ่ า่ นจุดเริม่ ต้นนัน้ ไปทางทิศตะวันออกหรือตะวันตก เมือ่ จุด
เส้นเมริเดียนในระบบพิกดั บนระนาบ เป็ นการฉายเส้นเมริเดียนบนผิว ปลายอยูท่ างทิศเหนือ ค่ามุมจะอ้างอิงกับทิศเหนือ และเมือ่ จุดปลายอยูท่ าง
โลกลงสูร่ ะนาบ ในกรณีน้ีเส้นทีเ่ ป็ นเส้นเมริเดียนกลางจะเป็ นแนว ทิศใต้ ค่ามุมจะอ้างอิงกับทิศใต้ โดยบอกทิศอ้างอิงเหนือหรือใต้ตามด้วยค่า
เดียวกันกับเส้นเมริเดียนจริง (True meridian) นอกนัน้ จะไม่ใช่เส้น มุมและทิศของจุดปลายนัน้ ทางตะวันออกหรือตะวันตก
เดียวกัน
Note: การบอกค่ามุมในระบบแบริงส์คา่ มุมจะมีคา่ ไม่เกิน 90o และมีชอ่ื เรียกชนิดของ
ทิศแบริงส์ตามชนิดของเส้นเมริเดียนทีใ่ ช้อา้ งอิงในการบอกทิศ คือ Geodetic
bearings, Magnetic bearings, Assumed bearings และ Grid bearings

Dr. Surames Piriyawat 7 Dr. Surames Piriyawat 8


ความสัมพันธ์ทิ ศไปและกลับของเส้น
ƒ ระบบแอซมั ิ ท (Azimuths):

ƒ การเรียกทศไปข้ างหน้ า:
การบอกทิศของเส้นจากจุดเริม่ ต้นไปยังจุดปลายของเส้นโดยอ้างอิงกับเส้น
เมริเดียนด้วยค่ามุมทีว่ ดั ตามเข็มนาฬิกา (Clockwise) รอบจุดเริม่ ต้น ปกติ Forward bearings, Forward azimuths
ค่ามุมแอซิมทั จะวัดเทียบกับทิศเหนือของเส้นเมริเดียน ชนิดของแอซิมทั จะ ิ
ƒ การเรียกทศทางย้ อนกลับ:
เรียกตามชนิดของเส้นเมริเดียนทีใ่ ช้ คือ Geodetic azimuths, Magnetic Backward bearings, Backward azimuths
azimuths, Assumed azimuths และ Grid azimuths
ความสัมพันธ์ระหว่างทิศไปและกลับของเส้นในแต่ละระบบ แบ่งเป็ น

1. ทศไปและกลั ิ
บระบบแบรงส์

2. ทศไปและกลั ิ ท
บระบบแอซมั

Dr. Surames Piriyawat 9 Dr. Surames Piriyawat 10

่ ิ รงส์
ความสัมพันธ์ระหวางทศแบ ิ และแอซมั
ิ ท ิ
การคํานวณทศของเส้ ่ ม
นจากคามุ
Bearings quadrant Bearings Relation Azimuth Azimuth quadrant ƒ การคํานวณทิศแบริงส์
NE N 49 E o
= 49o 0 − 90
o o

SE o
S 35 E 180 − 35
o o
145 o
90o − 180o ƒ การคํานวณทิศแอซิมทั

NW
SW S 50o W
N 20o W
180o + 50o
360 − 20o o
230o
340 o
180o − 270o
270o − 360o
ิ ดระนาบและการคํานวณคาพกั
ระบบพกั ่ ิ ด
North
ΔE AB = HDAB sin Az AB
N
Azimuth quadrant Azimuth Relation Bearings Bearings quadrant ΔN AB = HDAB cos Az AB
B ( EB , N B )
0 − 90
o o
49 o
N 49 E o o
N 49 E NE
S (180o − 145o ) E SE
E B = E A + ΔE AB
90 − 180
o o o o Az AB
145 S 35 E
ΔN AB
180o − 270o 230o S (230o − 180o )W S 50o W SW HDAB
N B = N A + ΔN AB
270 − 360
o o
340 o
N (360 − 340 )W
o o o
N 20 W NW A (EA , N A ) ΔE AB
HDAB = ( X B − X A ) 2 + (YB − YA ) 2
East
(0,0) (X B − X A)
Az AB = tan −1
(YB − YA )
Dr. Surames Piriyawat 11 Dr. Surames Piriyawat 12
533221 Surveying การวัดมุมราบ
การวัดมุมราบทําได้ 2 วิธี คือ
ƒ การวัดมุมราบโดยวธีิ วดั แบบสองหน้ า (Double Sighting):
การวัดมุมแบบวัดทิศทาง (Direction measurement) 2 ครัง ด้วยตําแหน่งกล้องทังหน้าซ้าย
Theodolite และหน้าขวา โดยครังแรกให้วดั ทิศทางแขนของมุมโดยกล้องอยูใ่ นตําแหน่งหน้าซ้าย
จากนันวัดทิศทางแขนมุมย้อนกลับด้วยตําแหน่งกล้องหน้าขวาอีกครังหนึง่ การวัดครบหนึง่
รอบทังหน้าซ้ายและหน้าขวา เรียกว่า การวัดมุม 1 ชุด

STA POS OBJ HOR RDG HOR ANG MEAN HOR ANG
O L A 0o 00′00′′
Dr. Surames Piriyawat L B 139o58′11′′ 139o58′11′′ 139o58′12′′
R B 319o58′11′′ 139o58′14′′
Department of Civil Engineering
R A 179o59′57′′
Faculty of Engineering
Burapha University

Dr. Surames Piriyawat 1 Dr. Surames Piriyawat 2

ƒ การวัดมุมราบโดยวธีิ วดั แบบทบ (Repetition Method): ƒ การวัดมุมราบรอบจุด:


เป็ นการวัดเพือ่ ให้ได้คา่ ความละเอียดสูงกว่าค่าทีอ่ ่านได้จากจานองศาราบของกล้อง มีขนตอนดั
ั งนี การวัดทิศทางแขนของมุมเป็ นวงกลมจากสถานีเริม่ ต้นไปยังสถานีต่างๆ และบรรจบสถานีเริม่ ต้น
o ส่องไปยังสถานีหลังหรือสถานีเริม่ ต้นด้วยกล้องหน้าซ้าย ตัง้ ค่าจานองศาราบเท่ากับศูนย์ อีกครัง โดยทําการวัดทังสองหน้าของกล้อง
o ส่องไปยังสถานีหน้า อ่านค่าจานองศาราบ นับเป็ นทบที่ 1 STA POS OBJ HOR RDG MEAN RDG ADJ RDG HOR ANG REDUCED

174o 29′00′′ 174o 28′46′′ 174o 28′46′′ 00o 00′00′′


o ล็อคจานองศาราบให้หมุนตามการหมุนของกล้อง ด้วยการเปิดปุม่ล็อคล่าง หมุนกล้องกลับไปส่องสถานีหลัง O L RP

L A 259o58′26′′ 259o58′06′′ 259o58′06′′ 85o 29′20′′ 85o 29′20′′


ซึง่ จะทําให้คา่ จานองศาราบอยูท่ เ่ี ดิม 275o39′25′′ 275o39′25′′
L B 275o39′41′′ 15o 41′ 19′′ 101o10′39′′
o ปล่อยจานองศาอิสระ ด้วยการปลอดล็อคล่าง ส่องไปยังสถานีหน้า ค่าจานองศาจะอ่านได้เป็ นสองเท่าของ L C 86o19′33′′ 86o19′15′′ 86o19′15′′ 170o39′50′′ 271o50′29′′
L RP 174o 28′45′′ 174o 28′45′′ 174o 28′46′′ 38o 09′31′′
ค่าแรก นับเป็ นทบที่ 2 แต่ไม่ตอ้ งจดบันทึกข้อมูล 354o 28′26′′ 360o 00′00′′
R RP SUM 360o 00′00′′
o ให้ทาํ ตามขัน้ ตอนที่ 3 และ 4 จนครบ 6 ทบ แล้วจึงทําการบันทึกข้อมูล (ดังแสดงตัวอย่างในตาราง) R C 266o18′57′′
R B 15o39′09′′
o เปลีย่ นเป็ นกล้องหน้าขวา ทําการวัดย้อนกลับ จากสถานีหน้าไปยังสถานีหลัง และทําการบันทึกข้อมูลครัง้ R A 79o57′46′′
R RP 354o 28′33′′
เดียวเมือ่ ครบ 6 ทบ ดังแสดงตัวอย่างในตาราง
STA POS OBJ No HOR RDG ARC PASS HOR ANG MEAN HOR ANG
O L A 0 0o 00′00′′
L B 1 30o57′05′′
L B 6 185o 43′35′′ 185o 43′30′′ 30o57′15′′ 30o57′13.3′′
R A 6 0o 00′25′′ 185o 43′10′′ 30o57′11.7′′
Dr. Surames Piriyawat 3 Dr. Surames Piriyawat 4
การวัดมุมดงิ่ การตรวจสอบสภาวะของกล้องวัดมุม
ƒ การวัดมุมดงิ่ (Vertical angle measurement, V): ƒ แกนหลอดระดับจานองศาราบต้องวางตัวอยูใ่ นระนาบราบทีต่ งั ้ ฉากกับแกนดิง่ ดังนัน้
การวัดมุมบนระนาบดิง่ โดยวัดค่ามุมเทียบกับแนวราบ หากแขนของมุมอยูเ่ หนือแนวราบ เมือ่ ปรับระดับแล้ว แกนดิง่ ของกล้องจะอยูใ่ นแนวดิง่
ค่ามุมจะเป็ นบวก เรียกว่า มุมเงย ถ้าแขนของมุมอยูใ่ ต้แนวราบ ค่ามุมจะเป็ นลบ เรียกว่า
มุมก้ม ƒ สายใยดิง่ ต้องอยูใ่ นแนวดิง่
0o
Zenith
Zenith angle, Z ƒ แกนแนวเล็งต้องตัง้ ฉากกับแกนราบ ดังนัน้ เมือ่ มีการหมุนกล้องโทรทัศน์รอบแกนราบ
A
แนวเล็งจะกวาดเป็ นระนาบผ่านแกนดิง่ ของกล้อง
ƒ แกนราบต้องตัง้ ฉากกับแกนดิง่ จะทําให้ระนาบการกวาดของกล้องอยูใ่ นแนวดิง่ หรือ
V เป็ นระนาบดิง่
ƒ จานองศาดิง่ อ่านได้เท่ากับศูนย์ หรือ 90o เมือ่ แกนแนวเล็งกล้องอยูใ่ นแนวราบ
ƒ กล้องหน้าซ้าย: V = 90o − Z

ƒ กล้องหน้าขวา V = Z − 270o

Dr. Surames Piriyawat 5 Dr. Surames Piriyawat 6

การวัดสอบสภาวะของกล้องวัดมุม ่ ิ ดและความสูงด้วยวธีิ การวัดมุม


การรังวัดหาตําแหนงพกั
ƒ การทดสอบหลอดระดับจานองศา (Plate level test):
1. การเล็งสกัดจาก 2 จุด:
เพือ่ ตรวจสอบว่าแกนหลอดระดับจานองศาราบตัง้ ฉากกับแกนดิง่ หรือไม่
o การเล็งสกัด (Intersection) คือ การรังวัดเพือ่ หาตําแหน่งพิกดั ของวัตถุทไ่ี ม่สามารถ
ƒ การทดสอบสายใย (Cross hair test):
เข้าถึงและอยูไ่ กลด้วยวิธกี ารวัดมุมทีส่ ถานีทท่ี ราบค่าพิกดั อย่างน้อย 2 สถานี
เพือ่ ตรวจสอบสายใยดิง่ ของกล้องว่าอยูใ่ นแนวดิง่ หรือสายใยราบอยูใ่ นแนวราบหรือไม่
่ กใช้ในการหาตําแหน่งของจุดทีเ่ ห็นเด่นชัดและเห็นได้ไกลเพือ่ ใช้
o โดยทัวไปมั
ƒ การทดสอบแนวเล็ง (Horizontal collimation test):
ประโยชน์ในการตรวจสอบรายละเอียดของแผนที่ และสามารถใช้เป็ นจุดอ้างอิงสําหรับ
เพือ่ ตรวจสอบแกนแนวเล็งกล้องว่าตัง้ ฉากกับแกนราบของกล้องหรือไม่
การเล็งสกัดย้อน (Resection)
ƒ การทดสอบแกนราบ (Transit axis test):
o การเล็งสกัดสามารถทําได้ตอ่ เมือ่ มีจดุ ทีท่ ราบค่าพิกดั สําหรับการตัง้ กล้องวัดมุมไป
เพือ่ ตรวจสอบว่าแกนราบตัง้ ฉากกับแกนดิง่ หรือแกนราบอยูใ่ นแนวราบเมือ่ กล้องได้
ยังจุดทีต่ อ้ งการรังวัดอย่างน้อย 2 จุด โดยทีจ่ ดุ ทัง้ สองต้องมองเห็นซึง่ กันและกัน
ระดับหรือไม่
ƒ การทดสอบความคลาดเคลื่อนดัชนี (Index error test):
เพือ่ ตรวจสอบว่าค่าจานองศาดิง่ อ่านได้ศนู ย์ หรือ 90o หรือไม่ เมือ่ แนวเล็งอยูใ่ นแนวราบ
Dr. Surames Piriyawat 7 Dr. Surames Piriyawat 8
C ( X C , YC ) = ? 2. การเล็งสกัดย้อนจาก 3 จุด:
γ o การเล็งสกัดย้อน (Resection) คือ การรังวัดหาตําแหน่งพิกดั ของจุดตัง้ กล้องจากจุดทีท่ ราบค่า
d b พิกดั อย่างน้อย 3 จุด ด้วยการวัดมุมเพียงอย่างเดียว โดยการวัดมุมไปยังจุดทีท่ ราบค่าพิกดั นัน้
α β A a C a C
B c
D
c φ b
B
γ
B
γ
( X D , YD ) θ θ φ
การคํานวณมีขนั ้ ตอนดังนี้
( X B , YB )
B θ γ O c b
a C
α β b
A
1. คํานวณความยาวเส้นฐาน BD: c = ( X D − X B ) 2 + (YD − YB ) 2 c
α β φ αβ
⎛ X − XB ⎞
2. คํานวณแอซิมทั ของ BD: Az BD = tan −1 ⎜⎜ D ⎟⎟
⎝ YD − YB ⎠ O A
O
3. คํานวณค่ามุม γ = 180o − α − β 1 2 3
c sin β c sin α
4. คํานวณระยะ BC หรือ d และระยะ DC หรือ b จากสูตร sine law: d= and b=
sin γ sin γ วธีิ การ คือ หาค่ามุม θ และ γ เพือ่ ใช้ในการคํานวณหาระยะทางและทิศทางของ AO และ BO
5. คํานวณค่าแอซิมทั ของเส้น BC และ DC จากเส้นฐาน BD สมมติได้ AzBC และ AzDC ตามลําดับ: หรือจะเป็ น CO เพือ่ ใช้ในการคํานวณตรวจสอบค่าพิกดั O อีกทางหนึ่ง
X C = X B + d sin Az BC
6. คํานวณค่าพิกดั ของจุด C โดยใช้ AzBC จากสูตร:
YC = YB + d cos Az BC

7. คํานวณตรวจสอบค่าพิกดั ของจุด C โดยใช้ AzDC จากสูตร: X C = X D + b sin Az DC


YC = YD + b cos Az DC
Dr. Surames Piriyawat 9 Dr. Surames Piriyawat 10

ทราบพกัิ ดของจุด A B และ C: ( X A , YA ) ( X B , YB ) ( X C , YC )


ต้องการทราบพกัิ ดของจุด O: ( X O , YO ) 6. คํานวณค่ามุม CAO = 180 − (γ + β )
การคํานวณมีขนั ้ ตอนดังนี้ และตรวจค่าทีไ่ ด้จากสมการ CAO + BAO = φ

1. รูปหลายเหลีย่ ม OBAC: จากรูปที่ 1 R = θ + γ = 360o − (φ + α + β ) 7. คํานวณค่าระยะ OC และหรือ OB โดยใช้ Law of sine


จากรูปที่ 2 R = φ −α − β
2. รูปสามเหลีย่ ม OAC จาก Law of sine จะได้: 8. คํานวณค่าแอซิมทั ของเส้น AO ต่อเนื่องไป OC และ CA เพือ่ ตรวจสอบกับค่าแอซิมทั CA ทีไ่ ด้จากการ
b sin γ c sin θ b sin γ sin α
คํานวณจากพิกดั จุด C และ A
AO = = sin θ =
sin β sin α c sin β 9. คํานวณค่าพิกดั O จากจุด A และคํานวณค่าพิกดั C จากจุด A เพือ่ ตรวจสอบการบรรจบค่าพิกดั ของจุด
3. จากข้อ 1: θ = R − γ C ซึง่ ต้องเท่ากัน
b sin γ sin α
แทนค่าในข้อ 2 ได้ sin( R − γ ) = = sin R cos γ − cos R sin γ
c sin β
หารด้วย sin R sin γ
b sin α
∴ cot γ = cot R +
c sin β sin R
⎛ b sin α ⎞
γ = cot −1 ⎜⎜ cot R + ⎟
⎝ c sin β sin R ⎟⎠
4. คํานวณค่า θ = R − γ
5. คํานวณระยะ AO จากสมการในข้อ 2 โดยแทนค่า b, γ และ β และตรวจสอบค่าโดยการแทนค่าด้วย c, θ
และ α
Dr. Surames Piriyawat Dr. Surames Piriyawat 12
11
533221 Surveying ประเภทของวงรอบ
วงรอบ (Traverse) แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ
ƒ วงรอบปิด (Closed traverse)
Traverse ƒ วงรอบเปิด (Open traverse)

หลักเกณฑ์ในการพิจารณาวงรอบว่าเป็ นวงรอบปิดหรือวงรอบเปิด สามารถ


พิจารณาได้ 2 กรณี
Dr. Surames Piriyawat ƒ หลักเกณฑ์ทางเรขาคณิต (Geometrical properties)
Department of Civil Engineering
Faculty of Engineering ƒ หลักเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ (Mathematical properties)
Burapha University

Dr. Surames Piriyawat 1 Dr. Surames Piriyawat 2

ิ (Geometrical properties)
1. หลักเกณฑ์ทางเรขาคณต ิ
2. หลักเกณฑ์ทางคณตศาสตร์ (Mathematical properties)

ƒ วงรอบปดทางเรขาคณต ิ (Geometrical closed traverse):
วงรอบทีม่ ลี กั ษณะบรรจบเป็ นรูปปิ ด ƒ เงื่อนไขสภาวะทางมุม:
o วงรอบปิ ด: ผลรวมของมุมภายในวงรอบต้องเท่ากับ (n − 2)180o

o วงรอบเปิ ด: ทิศแอซิมทั ทีไ่ ด้จากการรังวัดของเส้นบรรจบต้องเท่ากับทิศแอซิมทั


ทีท่ ราบค่าของเส้นบรรจบนัน้

ิ ิ (Geometrical open traverse):


ƒ วงรอบเปดทางเรขาคณต ƒ เงื่อนไขสภาวะทางระยะทาง:
วงรอบทีม่ ลี กั ษณะไม่บรรจบเป็ นรูปปิด o วงรอบปิด: ∑ ΔX obs =0 and ∑ ΔY obs =0

o วงรอบเปิด: ∑ ΔX obs = X n − X1 and ∑ ΔY obs = Yn − Y1

Dr. Surames Piriyawat 3 Dr. Surames Piriyawat 4


การวัดมุมวงรอบ
ิ ิ
ƒ วงรอบปดทางคณตศาสตร์ (Mathematical closed traverse): ƒ ปกติคา่ จานองศาจะเพิม่ ขึน้ ในทิศทางตามเข็มนาฬิกา (Angle to the right)
วงรอบทีบ่ รรจบเข้ากับหมุดทีท่ ราบค่าพิกดั ทัง้ จุดเริม่ ต้นและจุดปลายของวงรอบ
สามารถคํานวณตรวจสอบและปรับแก้สภาวะเงือ่ นไขได้ทงั ้ ทางมุมและระยะ ƒ การวัดมุมภายในวงรอบปิดต้องมีทศิ ทางการเดินวงรอบทวนเข็มนาฬิกา
การเลือกสถานี วงรอบ
ิ ิ
ƒ วงรอบเปดทางคณตศาสตร์ (Mathematical open traverse): ƒ ต้องคํานึงถึงวัตถุประสงค์การใช้งานสถานีวงรอบนัน้
วงรอบทีไ่ ม่บรรจบเข้ากับหมุดทีท่ ราบค่าพิกดั ทัง้ จุดเริม่ ต้นและจุดปลายของวงรอบ ƒ ต้องจัดทําเอกสารอ้างอิงตําแหน่งหมุดทุกหมุด เพือ่ ประโยชน์ในการ
รวมทัง้ ทิศอาซิมทั หรือบรรจบกับจุดทีไ่ ม่สามารถคํานวณตรวจสอบและปรับแก้สภาวะ
สืบค้นภายหลัง
เงือ่ นไขทางมุมและระยะได้ครบ
ข้อกําหนดงานรังวัดวงรอบ
ƒ มาตรฐาน Federal Geodetic Control Committee (FGCC, 1984)

Dr. Surames Piriyawat 5 Dr. Surames Piriyawat 6

การคํานวณปรับแก้สภาวะทางมุมของวงรอบ ิ
ƒ กรณี วงรอบเปด

ƒ กรณี วงรอบปด o การรังวัดจะเริม่ จากหมุดบังคับ (Control point) ทีท่ ราบค่าพิกดั 2 หมุด หรือเรียกว่า
1. ผลรวมมุมภายในรูปปิด: (n − 2)180 o
หมุดคู่
2. ผลรวมมุมภายนอกรูปปิด: (n + 2)180 o
o คํานวณค่าแอซิมทั เริม่ ต้นจากหมุดคู่
ƒ หลักการ o คํานวณค่าแอซิมทั ของเส้นวงรอบต่อเนื่องจากหมุดคูไ่ ปบรรจบกับหมุดบังคับ
o ทําการตรวจสอบผลรวมของมุมภายในทีไ่ ด้จากการรังวัดเทียบกับค่าทีไ่ ด้จากการ ปลายทางทีท่ ราบค่าพิกดั 2 หมุด ซึง่ สามารถคํานวณค่าแอซิมทั ทีถ่ กู ต้องได้
คํานวณ เช่นเดียวกัน
o หาผลต่างของค่าทัง้ สอง (ค่าคลาดเคลือ่ น) และตรวจสอบว่าผลต่างของค่าทัง้ สอง o ทําการตรวจสอบค่าแอซิมทั บรรจบ (แอซิมทั ทีไ่ ด้จากการคํานวณหมุดคูป่ ลายทาง
เกินเกณฑ์ทก่ี าํ หนดหรือไม่ กับแอซิมทั ทีไ่ ด้จากการคํานวณต่อเนื่อง) ว่ามีคา่ ผลต่างอยูใ่ นเกณฑ์ชนั ้ งานที่
o ถ้าอยูใ่ นเกณฑ์ชนั ้ งาน จากนัน้ เฉลีย่ ค่าคลาดเคลือ่ นนี้กระจายไปตามมุมต่างๆ ยอมรับได้หรือไม่

o ค่าปรับแก้คา่ มุมต้องไม่ละเอียดไปกว่าค่าความละเอียดของกล้องทีอ่ า่ นได้ o ถ้าอยูใ่ นเกณฑ์ จากนัน้ ทําการเฉลีย่ ค่าคลาดเคลือ่ นดังกล่าวไปยังทุกเส้นของวงรอบ

Dr. Surames Piriyawat 7 Dr. Surames Piriyawat 8


ระยะเหนื อและระยะตะวันออก (Latitude and Departure) การคํานวณตรวจสอบสภาวะทางระยะทางของวงรอบ
ƒ ระยะเหนือ (Latitude, Lat.) ิ
ƒ กรณี วงรอบปด
ƒ ระยะตะวันออก (Departure, Dep.) ∑ Lat = 0
จากรูปประกอบ ∑ Dep = 0
ƒ ระยะเหนือของเส้น AB: Lat AB = HDAB cos Az AB ิ
ƒ กรณี วงรอบเปด
ƒ ระยะตะวันออกของเส้น AB: Dep AB = HDAB sin Az AB ผลรวมระยะเหนือ = ผลต่างพิกดั ทางเหนือของสถานีบรรจบกับสถานีเริม่ ต้น
ผลรวมระยะตะวันออก = ค่าต่างพิกดั ทางตะวันออกของสถานีบรรจบกับสถานีเริม่ ต้น
จะสามารถหาพิกดั ของจุด B ได้
EB = E A + Dep AB ∑ Lat = N − N n 1

N B = N A + Lat AB ∑ Dep = E − E n 1

Dr. Surames Piriyawat 9 Dr. Surames Piriyawat 10

ความถูกต้องของงานวงรอบ (Traverse Accuracy) การคํานวณปรับแก้ความคลาดเคลื่อนบรรจบของวงรอบ


การคํานวณค่าความถูกต้องของงานวงรอบสามารถคํานวณได้จากความคลาดเคลือ่ น ƒ เมือ่ ตรวจสอบความคลาดเคลือ่ นทางมุมและความคลาดเคลือ่ นของการบรรจบว่าอยู่
บรรจบเชิงเส้น (Linear misclosure) ทีเ่ กิดขึน้ จากการทํางานวงรอบ ในเกณฑ์ชนั ้ งานทีก่ าํ หนดหรือไม่แล้ว ถ้าอยูใ่ นชัน้ งาน ลําดับต่อไปคือการปรับแก้
ความคลาดเคลือ่ นบรรจบของวงรอบ
El
Accuracy = ƒ การคํานวณปรับแก้วงรอบ ขึน้ อยูก่ บั เงือ่ นไขของความละเอียดในการรังวัดมุมและ
∑L ระยะทางซึง่ สามารถแบ่งออกได้ 3 กรณี คือ

Where : El = (ΔDep) 2 + (ΔLat ) 2 o เมือ่ ความละเอียดในการวัดมุมและระยะเท่ากัน ใช้ Compass rule

∑ L = Total length of traverse o เมือ่ ความละเอียดในการวัดมุมมากกว่าการวัดระยะ ใช้ Transit rule


o เมือ่ ความละเอียดในการวัดมุมน้อยกว่าการวัดระยะ ใช้ Crandall rule

Dr. Surames Piriyawat 11 Dr. Surames Piriyawat 12


Compass Rule ิ นวงรอบ
การคํานวณระยะและทศเส้
ƒ การปรับแก้ Latitude และ Departure ƒ หลังจากคํานวณปรับแก้วงรอบแล้ว ค่าระยะตะวันออกและระยะเหนือได้ถกู
− (ΔDep)( Lij ) ปรับเปลีย่ นไปตามค่าแก้ ดังนัน้ ระยะและทิศแอซิมทั เส้นวงรอบจึงเปลีย่ นไปด้วย จึง
C Depij = ต้องมีการคํานวณค่าระยะและทิศแอซิมทั ของเส้นวงรอบใหม่
∑L
− (ΔLat )( Lij ) ƒ การคํานวณระยะ
C Latij =
∑L o คํานวณจากค่าระยะตะวันออกและระยะเหนือทีป่ รับแก้แล้ว
Transit Rule
HDij = ( Depij ) 2 + ( Latij ) 2
ƒ การปรับแก้ Latitude และ Departure
o คํานวณจากค่าพิกดั ทีป่ รับแก้แล้ว
− (ΔDep) Depij
C Depij =
∑ Dep HDij = ( X j − X i ) 2 + (Y j − Yi ) 2
− (ΔLat ) Latij
C Latij =
∑ Lat 13 14
Dr. Surames Piriyawat Dr. Surames Piriyawat

ƒ การคํานวณแอซมัิ ท สรุปขัน้ ตอนการคํานวณงานวงรอบ


o คํานวณจากค่าระยะตะวันออกและระยะเหนือทีป่ รับแก้แล้ว
ƒ คํานวณมุมและปรับแก้มมุ หรือทิศทางเข้ากับเงือ่ นไขทางเรขาคณิต
Depij
Azij = tan −1 ƒ คํานวณค่าแอซิมทั เบือ้ งต้น และค่าระยะตะวันออกและระยะเหนือให้กบั เส้นวงรอบ
Latij
ทุกเส้น
o คํานวณจากค่าพิกดั ทีป่ รับแก้แล้ว ƒ คํานวณและปรับแก้คา่ คลาดเคลือ่ นบรรจบด้วย Compass rule หรือ Transit rule
(X j − Xi) ƒ คํานวณค่าพิกดั ฉากของสถานีวงรอบจากผลการปรับแก้ในข้อ 3
Azij = tan −1
(Y j − Yi )
ƒ คํานวณค่าระยะและแอซิมทั ของเส้นวงรอบหลังการปรับแก้

Dr. Surames Piriyawat 15 Dr. Surames Piriyawat 16



การคํานวณพืน้ ที่วงรอบปด
ƒ การคํานวณจากค่าพิกดั
X1 X2 X 3 ....... X n X1
− − −
2 Area ABCDE =
+ + +
Y1 Y2 Y3 .........Yn Y1

ƒ Double meridian distance method (DMD)


DMD เส้นใด = DMD เส้นก่อนหน้า + ระยะตะวันออกของเส้นก่อนหน้า + ระยะตะวันออกของเส้นนัน้
2 Area ABCDE = DMDAB Lat AB + DMDBC Lat BC + DMDCD LatCD +
DMDDE Lat DE + DMDEA Lat EA

ƒ Double parallel distance method (DPD)


DPD เส้นใด = DPD เส้นก่อนหน้า + ระยะเหนือของเส้นก่อนหน้า + ระยะเหนือของเส้นนัน้
2 Area ABCDE = DPDAB Dep AB + DPDBC DepBC + DPDCD DepCD +
DPDDE DepDE + DPDEA DepEA
Dr. Surames Piriyawat 17
533221 Surveying เส้นชัน้ ความสูง (Contour line)
การแสดงรายละเอียดทางดิง่ ได้แก่ ข้อมูลทีแ่ สดงถึงลักษณะความสูงตํ่าของภูมปิ ระเทศ
ซึง่ สามารถแสดงได้สองลักษณะ ได้แก่
ƒ เส้นชัน้ ความสูง (Contour line)
Contour Line ƒ จุดความสูง (Spot height)
o เส้นชัน้ ความสูง (Contour line):
เส้นต่อจุดทีม่ คี า่ ระดับความสูงเท่ากัน หรือคือเส้นทีเ่ กิดจากการตัดกันของผิวระดับที่
ความสูงนัน้ กับผิวดิน

Dr. Surames Piriyawat


o จุดความสูง (Spot height):
จุดทีบ่ อกค่าความสูงทีต่ าํ แหน่งนัน้ ๆ
Department of Civil Engineering
Faculty of Engineering
Burapha University
่ นชัน้ ความสูง (Contour interval):
o ชวงเส้
ระยะดิง่ ระหว่างคูเ่ ส้นชัน้ ความสูง ซึง่ จะมีคา่ คงทีส่ าํ หรับแผนทีห่ นึ่ง
Dr. Surames Piriyawat 1 Dr. Surames Piriyawat 2

คุณลักษณะเส้นชัน้ ความสูง (1) คุณลักษณะเส้นชัน้ ความสูง (2)


ƒ เส้นชัน้ ความสูงทีอ่ ยูใ่ กล้กนั แสดงว่าพืน้ ทีม่ คี วามลาดเอียงมาก หรือชันมาก และ ƒ เส้นชัน้ ความสูงเส้นหนึ่งจะไม่แยกออกเป็ นสองเส้น
เส้นชัน้ ความสูงทีอ่ ยูห่ า่ งกันแสดงว่าพืน้ ทีม่ คี วามลาดชันน้อย
ƒ เส้นชัน้ ความสูงเส้นหนึ่งจะไม่อยูร่ ะหว่างเส้นชัน้ ความสูง 2 เส้น ทีม่ คี า่ ระดับสูงกว่า
ƒ บริเวณพืน้ ทีข่ รุขระและไม่สมํ่าเสมอเส้นชัน้ ความสูงจะไม่เป็ นเส้นเรียบ และบริเวณ หรือตํ่ากว่า แต่จะมีลกั ษณะเป็ นคูก่ นั ได้
พืน้ ทีร่ าบเรียบสมํ่าเสมอเส้นชัน้ ความสูงจะมีระยะห่างสมํ่าเสมอและขนานกัน
ƒ เส้นชัน้ ความสูงทีล่ ากผ่านแนวเส้นร่องนํ้าทีเ่ รียกว่า “Stream line” จะมีลกั ษณะเป็ น
ƒ ทิศทางของเส้นชัน้ ความสูงจะตัง้ ฉากกับแนวลาดเอียงสูงสุด รูปตัววี (V-shape) หรือหักมุมกลับ โดยหันมุมชีข้ น้ึ ไปทางด้านทีส่ งู กว่า หรือต้นนํ้า
ƒ เส้นชัน้ ความสูงจะลากตัดกับแนวสันเขาหรือร่องนํ้าเป็ นมุมฉาก ƒ เส้นชัน้ ความสูงทีล่ ากผ่านแนวสันเขาทีเ่ รียกว่า “Ridge line” จะมีลกั ษณะเป็ นรูป
ƒ เส้นชัน้ ความสูงทีแ่ สดงลักษณะของพืน้ ทีเ่ นินหรือแอ่งจะมีลกั ษณะเป็ นวงรอบปิด โค้งวกกลับคล้ายตัวยู (U-shape) หันด้านมนไปทางทีม่ คี า่ ระดับทีต่ ่าํ กว่า
และอาจทําการแรเงาส่วนทีเ่ ป็ นแอ่ง
ƒ เส้นชัน้ ความสูงแต่ละเส้นจะไม่รวมเป็ นเส้นเดียวกันหรือตัดกัน นอกจากกรณีทเ่ี ป็ น
หน้าผาสูงชันหรือเป็ นชะโงกเขาและถํ้า
Dr. Surames Piriyawat 3 Dr. Surames Piriyawat 4
ลักษณะเส้นชัน้ ความสูงตามภูมิ ประเทศตางๆ
่ ประเภทเส้นชัน้ ความสูง (2)
ƒ ดูภาพประกอบในแผ่นใส
ƒ เส้นชัน้ ความสูงระหวางกลาง ่ (Intermediate contour line):
เส้นชัน้ ความสูงทีอ่ ยูร่ ะหว่างเส้นชัน้ ความสูงดัชนี ซึง่ จะมีจาํ นวน 4 เส้น โดยจะแสดง
ประเภทเส้นชัน้ ความสูง (1) ด้วยนํ้าหนักเส้นธรรมดา หรือบางกว่า และไม่ระบุคา่
ƒ เส้นชัน้ ความสูงดัชนี (Index contour line):
เส้นชัน้ ความสูงทีน่ บั เริม่ ต้นจากค่าระดับเท่ากับ 0 จากระดับนํ้าทะเลปานกลาง (Mean ƒ เส้นชัน้ ความสูงเสรม ิ (Supplementary contour line):
sea level, msl.) และนับไปทุกๆ เส้นทีข่ องเส้นชัน้ ความสูง มักเป็ นเส้นทีม่ รี ะดับลงท้าย เส้นชัน้ ความสูงทีเ่ ขียนแทรกเสริมระหว่างเส้นชัน้ ความสูง ในกรณีทร่ี ะยะห่างระหว่าง
ด้วย 0 หรือ 5 ขึน้ อยูก่ บั การกําหนดช่วงเส้นชัน้ ความสูง โดยทัวไปจะแสดงด้
่ วยการ เส้นมากเกินไป หรือลักษณะเส้นชัน้ ความสูงระหว่างเส้นชนิดที่ 1 และ 2 มีคา่ ความลาด
เขียนให้น้ําหนักเส้นแตกต่างจากเส้นอืน่ ให้เห็นชัดเจน (มีความหนาเพิม่ ขึน้ หรือใช้สที ่ี ชันไม่สมํ่าเสมอและมีระยะห่างมาก ซึง่ มักจะแสดงด้วยเส้นประ (Dashed line)
เด่นชัดขึน้ ) และจะมีตวั เลขค่าระดับกํากับบอกไว้บนเส้น

Dr. Surames Piriyawat 5 Dr. Surames Piriyawat 6

่ นชัน้ ความสูง (Contour interval)


การกําหนดชวงเส้
การกําหนดมาตราส่วนและช่วงชัน้ ความสูง
ั ยพิจารณา 2 ปจจั
การเลือกเส้นชัน้ ความสูงมีปจจั ั ย:
ƒ มาตราส่วนของแผนที่ มาตราส่วนแผนที่ ช่วงชัน้ ความสูง (เมตร)
1 : 500 0.50
ƒ ลักษณะภูมปิ ระเทศ
1 : 1,000 1
แผนทีม่ าตราส่วนเล็ก จะมีชว่ งเส้นชัน้ ความสูงใหญ่ และแผนทีม่ าตราส่วนใหญ่จะมีชว่ ง 1 : 2,000 2
เส้นชัน้ ความสูงเล็ก โดยที:่
1 : 5,000 5
ƒ แผนทีม่ าตราส่วนใหญ่ ใช้ชว่ งเส้นชัน้ ความสูง 0.1 - 2 เมตร 1 : 10,000 10
ƒ แผนทีม่ าตราส่วนกลาง ใช้ชว่ งชัน้ ความสูง 2 - 5 เมตร 1 : 50,000 20
ƒ แผนทีม่ าตราส่วนเล็ก ใช้ชว่ งชัน้ ความสูง 5 - 20 เมตร

Dr. Surames Piriyawat 7 Dr. Surames Piriyawat 8


การหาจุดความสูง (Spot Height)
ƒ Tacheometry:
การวัดระยะราบและระยะดิง่ โดยใช้วธิ กี ารวัดค่าช่วง Stadia บนไม้ระดับร่วมกับการวัด
มุมดิง่ ด้วยกล้องวัดมุม การวัดระยะโดยวิธนี ้ีเป็ นการวัดโดยอ้อมทีใ่ ห้ความถูกต้องของ
ค่าระยะดิง่ น้อยกว่าการใช้กล้องระดับ ซึง่ ถือว่าเป็ นการวัดระยะดิง่ โดยตรง
ค่า K และ C คือ ค่าคงทีข่ องกล้องวัดมุม
ั บนั ผูผ้ ลิตจะผลิตให้คา่ K = 100
ซึง่ ปจจุ
และ ค่า C = 0 สมการจึงลดรูปเป็ น
H = 100 s cos 2 α H = 100 s cos 2 α
V = 50 s sin 2α V = 50 s sin 2α

Dr. Surames Piriyawat 9 Dr. Surames Piriyawat 10

ƒ การคํานวณคาระดั
่ บจากการรังวัด Stadia: ิ ิ ่อหาความสูงของจุดที่เข้าไมถึ่ ง
การวัดระดับตรีโกณมตเพื
จากรูป ตัง้ กล้องที่ Station a รังวัดด้วยวิธี Stadia ไปยังไม้ระดับทีจ่ ดุ b คํานวณระยะ ƒ จุดตัง้ กล้องสองจุดและจุดที่ต้องการวัดอยู่ในระนาบดงเดี ิ่ ยวกัน:
ดิง่ ได้ V และอ่านค่าไม้สายใยกลางได้ทต่ี าํ แหน่ง E (ระยะ bE) ทําการวัดความสูงของ แบ่งได้ 2 วิธี
กล้องจากหมุดสถานี a ถึงแกนราบกล้องคือ ระยะ h1 เมือ่ ค่าระดับสถานี a เท่ากับ Ha 1. เมือ่ จุดตัง้ กล้องมีระดับเดียวกัน (ดูภาพประกอบในแผ่นใส)
d tan β
D=
ดังนัน้ ค่าระดับจุด b คํานวณได้ดงั นี้ tan α − tan β
d tan β . tan α
h=
tan α − tan β
E
2. เมือ่ จุดตัง้ กล้องมีระดับต่างกัน (ดูภาพประกอบในแผ่นใส)
V H b = H a + h1 + V − bE d tan β − h2
D=
tan α − tan β
(d tan β − h2 ). tan α
h = D tan α =
tan α − tan β

ƒ จุดตัง้ กล้องอยู่คนระนาบดงิ่ (ดูภาพประกอบในแผนใส


่ ):
Hb
d sin θ
BC =
sin(180o − φ − θ )
Ha
d sin φ
Datum B′D =
sin(180o − φ − θ )
AB = BC tan α
Dr. Surames Piriyawat 11 Dr. Surames Piriyawat AB′ = B′D tan β 12
การเขียนเส้นชัน้ ความสูง การใช้ประโยชน์ จากเส้นชัน้ ความสูง
ƒ การเขียนเส้นชัน้ ความสูงจะอาศัยข้อมูลจุดความสูงในพืน้ ทีท่ ไ่ี ด้จากการ
ƒ เขียนรูปตัดตามแนวต่างๆ:
สํารวจ ซึง่ อาจจะมีลกั ษณะเป็ นแบบสุม่ (Random points) หรือเป็ น การใช้ประโยชน์ในการหารูปตัดตามแนว และตามขวางจากแผนทีเ่ ส้นชัน้ ความสูงตาม
ตารางกริด (Grid points) แนวถนนหรือคลองส่งนํ้า ไม่วา่ จะเป็ นรูปตัดตามแนวยาวหรือตัดขวาง เพือ่ ใช้
ประกอบการพิจารณาดูสภาพพืน้ ทีแ่ ละทําการออกแบบเชิงเรขาคณิตของถนนหรือ
ƒ ทําการคํานวณหาตําแหน่งจุดทีม่ คี า่ ระดับตามเส้นชัน้ ความสูงทีต่ อ้ งการ
คลองนัน้ ๆ
จากจุดเหล่านี้ แล้วลากเส้นเชือ่ มจุดเป็ นเส้นชัน้ ความสูงนัน้ ๆ

่ ดเพื่อเขียนเส้นชัน้ ความสูง
การหาตําแหนงจุ ƒ ออกแบบการพัฒนาปรับสภาพพืน้ ที:่
ใช้ในการพัฒนาพืน้ ทีโ่ ดยรวมขึน้ ใหม่ดว้ ยการปรับสภาพภูมทิ ศั น์ (Landscape design)
ƒ วิธกี ราฟิก (Graphical method) ซึง่ จะได้แผนทีเ่ ส้นชัน้ ความสูงของพืน้ ทีท่ อ่ี อกแบบใหม่

ƒ วิธกี ารคํานวณ (Calculation method)

Dr. Surames Piriyawat 1 Dr. Surames Piriyawat 14


3

ƒ ออกแบบโครงสร้างเพือ่ ก่อสร้างเขือ่ นหรือฝาย: ิ


การคํานวณปรมาตรจากเส้ นชัน้ ความสูง
ใช้ในการพิจารณาเลือกตําแหน่งทีเ่ หมาะสมในการสร้างเขือ่ น ฝาย สําหรับการเก็บกัก
นํ้า ซึง่ จะช่วยให้สามารถคํานวณหาปริมาณการกักเก็บนํ้าได้จากแผนทีเ่ ส้นชัน้ ความสูง ƒ การคํานวณปริมาตรจากเส้นชัน้ ความสูงทําได้โดยการหาพืน้ ทีท่ ล่ี อ้ มรอบของแต่ละ
เส้นชัน้ ความสูง ซึง่ อาจหาโดยใช้เครือ่ งวัดพืน้ ที่ (Planimeter) หรือวิธกี ระดาษกราฟ
ƒ การคํานวณปริมาณงานดิน: ก็ได้
1. คํานวณจากรูปตัด ซึง่ มักใช้กบั โครงการงานทาง คลองส่งนํ้า ด้วยการสร้างรูป ƒ จากนัน้ จึงใช้วธิ กี ารคํานวณโดยใช้สตู รทางคณิตศาสตร์ ไม่วา่ จะเป็ นสูตรหน้าตัดหัว
จากเส้นชัน้ ความสูงตามแนวทีก่ าํ หนด และคํานวณปริมาณงานดินจากหน้าตัด ท้ายเฉลีย่ หรือ Prismoidal formula
2. คํานวณจากเส้นชัน้ ความสูง โดยการหาพืน้ ทีห่ น้าตัดของเส้นชัน้ ความสูงที่ ƒ แต่เมือ่ พิจารณาลักษณะของพืน้ ทีเ่ ส้นชัน้ ความสูงแล้ว จะพบว่ามีความเหมาะสมกับ
ระดับต่างๆ และใช้ชว่ งเส้นชัน้ ความสูงในการคํานวณไม่วา่ จะเป็ นสูตรหน้าตัด วิธคี าํ นวณแบบเฉลีย่ หน้าตัดหัวท้ายซึง่ การคํานวณจะง่ายและสะดวกกว่าการใช้
หัวท้ายเฉลีย่ (End areas) หรือ Prismoidal formula Prismoidal formula

Dr. Surames Piriyawat 15 Dr. Surames Piriyawat 16


วธีิ เฉลี่ยหน้ าตัดหัวท้าย (End areas)
ƒ กรณีทม่ี ี 2 หน้าตัดอยูต่ ดิ กันห่างกัน D เมตร
Planimeter ⎡ A + A2 ⎤
V =⎢ 1
⎣ 2 ⎦
⎥D

ƒ กรณีทม่ี ี n หน้าตัด แต่ละหน้าตัดอยูห่ า่ งกันเป็ นระยะ D เมตร


⎡ A + An n −1 ⎤
V =⎢ 1 + ∑ Ai ⎥ D
⎣ 2 i =2 ⎦
วธีิ ใช้ Prismoidal formula
ƒ กรณีทม่ี ี 3 หน้าตัดอยูต่ ดิ กัน และหน้าตัดที่ 1 และ 3 ห่างกัน D เมตร
D
V = ( A1 + 4 A2 + A3 )
6
ƒ กรณีทม่ี ี 2n-1 หน้าตัด และทุก 3 หน้าตัดทีอ่ ยูต่ ดิ กันมีหน้าตัดที่ 1 และ 3
ห่างกันเป็ นระยะ D เมตร
V =
D
6
[
A1 + A2 n −1 + 4∑ Aeven + 2∑ Aodd ]
Dr. Surames Piriyawat 17 Dr. Surames Piriyawat 18
533221 Surveying แผนที่ภมู ิ ประเทศ (Topographic map)
การแสดงภาพของสิง่ ต่างๆ ทีป่ รากฏบนพืน้ ผิวโลกลงบนระนาบสองมิตดิ ว้ ยขนาด
ย่อส่วนหรือมาตราส่วน (Scale) ทีเ่ หมาะสม โดยแทนสิง่ ต่างๆ ด้วยสัญลักษณ์ทงั ้ ชนิด
เส้น (Line types) และเครือ่ งหมาย (Symbols) ต่างๆ โดยอ้างอิงกับระบบพิกดั ทีใ่ ช้ใน
การรังวัด
Topographic Map Surveying ƒ รายละเอียดทางตําแหน่ง เช่น ถนน อาคาร เสาไฟฟา้ ต้นไม้ และสิง่ ปลูกสร้าง
ต่างๆ ฯลฯ เรียกว่า รายละเอียดทางราบ (Horizontal details)
ƒ การแสดงความสูงตํ่าของพืน้ ทีด่ ว้ ยเส้นชัน้ ความสูง (Contour line) และจุดระดับ
ความสูง (Spot height) เรียกว่า รายละเอียดทางดิง่ (Vertical details)
Dr. Surames Piriyawat
แผนที่ภมู ิ ประเทศแบงออกเป็
่ น 2 ประเภท:
Department of Civil Engineering
Faculty of Engineering ƒ Paper map
Burapha University
ƒ Digital map
Dr. Surames Piriyawat 1 Dr. Surames Piriyawat 2


มาตราสวนแผนที ่ (Map scale) ความถูกต้องของแผนที่ (Map accuracy)
สิง่ ต่างๆ ทีป่ รากฏบนแผนทีจ่ ะมีขนาดย่อส่วนจากขนาดจริงด้วยอัตราส่วนระยะบนแผน ิ
ความถูกต้องของแผนที่สามารถพจารณาได้ 2 ประเภท:
ทีต่ อ่ ระยะเดียวกันบนพืน้ ผิวโลกโดยเทียบเศษเป็ น 1
ƒ ความครบถ้วนของข้อมูลแผนที่ (Completeness):
ƒ มาตราส่วนแผนที่ = ระยะบนแผนที/่ ระยะเดียวกันบนพืน้ ดิน
การตรวจสอบเชิงปริมาณ (Quantitative assessment) ของรายละเอียดทีป่ รากฏ
o ตัวอยาง ่ : แผนทีม่ าตราส่วน 1:1,000 หมายถึง วัดระยะบนแผนทีไ่ ด้ 1 มิลลิเมตร จะ บนแผนทีว่ า่ ครบถ้วนตามวัตถุประสงค์การใช้งานของมาตราส่วนแผนทีท่ ก่ี าํ หนด
มีคา่ เท่ากับระยะบนพืน้ ดิน 1,000 มิลลิเมตร หรือ 1 เมตร ไว้หรือไม่

มาตราสวนแผนที ่
่แบงออกได้ เป็ น 3 ประเภท:
ƒ แผนทีม่ าตราส่วนใหญ่ (Large scale map): คือ แผนทีม่ าตราส่วน 1:250, 1:500, ƒ ความถูกต้องเชงตํ ิ าแหนง่ (Positional accuracy):
1:2,500, 1:4000, 1:5,000 การตรวจสอบความถูกต้องทางตําแหน่งของรายละเอียดต่างๆ ทีป่ รากฏบนแผนที่
เป็ นการตรวจสอบเชิงคุณภาพ (Qualitative assessment) ทีเ่ กีย่ วกับการวัด
ƒ แผนทีม่ าตราส่วนกลาง (Medium scale map): คือ แผนทีม่ าตราส่วน 1:10,000,
ปริมาณต่างๆ บนแผนที่ แบ่งได้เป็ น 2 ส่วน คือ ความถูกต้องเชิงตําแหน่งทางราบ
1:20,000, 1:25,000
(Horizontal positional accuracy) และความถูกต้องเชิงตําแหน่งทางดิง่ (Vertical
ƒ แผนทีม่ าตราส่วนเล็ก (Small scale map): คือ แผนทีม่ าตราส่วน 1:50,000, positional accuracy)
1:100,000, 1:250,000, 1:500,000, 1:1,000,000
Dr. Surames Piriyawat 3 Dr. Surames Piriyawat 4
ิ าแหนงสามารถแบงการพจารณาออกได้
ความถูกต้องเชงตํ ่ ่ ิ เป็ น 2 ประเภท ตาม

ƒ ความถูกต้องของแผนที่เชงเลข (Digital map)

ชนดของแผนที ่:
ƒ ความถูกต้องของแผนที่กระดาษ ิ
o แผนที่เชงเลข (Digital map) คือ แผนทีท่ จ่ี ดั เก็บในรูปไฟล์คอมพิวเตอร์เป็ นตัวเลข
และสามารถเรียกแสดงผลในรูปแบบต่างๆ เช่น หน้าจอคอมพิวเตอร์ หรือพิมพ์ออก
ิ าแหนงทางราบ
o ความถูกต้องเชงตํ ่ (Horizontal positional accuracy): ทางเครือ่ งพิมพ์ตามมาตราส่วนทีต่ อ้ งการก็ได้
ขนาดของจุดทีเ่ ล็กทีส่ ดุ บนแผนทีท่ ส่ี ามารถวัดได้ เท่ากับ 0.2 มิลลิเมตร ค่าพิกดั ตําแหน่งทีอ่ ่านได้ควร
จะมีความถูกต้องในเกณฑ์เท่ากับขนาด 0.2 มิลลิเมตรคูณด้วยมาตรส่วนของแผนทีก่ ระดาษนัน้ เช่น o ข้อมูลของ Digital map มักจะเก็บในรูปของค่าพิกดั โดยมีความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
แผนทีม่ าตราส่วน 1:1,000 ความถูกต้องของตําแหน่งจุดทีอ่ ่านได้จะอยูใ่ นเกณฑ์ 0.2 x 1,000 = 200 พิกดั และสัญลักษณ์การแสดงผล เพือ่ ให้สามารถแสดงรายละเอียดรูปร่างต่างๆ ทัง้
มิลลิเมตร หรือ 0.20 เมตร ซึง่ หมายถึง เมือ่ นําค่าพิกดั จากแผนทีก่ ระดาษไปเปรียบเทียบกับค่าพิกดั จุด รายละเอียดทางราบและทางดิง่ ได้
ดังกล่าวทีว่ ดั ได้ในสนามจะผิดพลาดได้ในเกณฑ์ไม่เกิน ±0.20 เมตร
o ดังนัน้ ข้อมูลแผนทีเ่ ชิงเลขจะสามารถคงความถูกต้องไว้ได้ตามความถูกต้องของ
ิ าแหนงทางดง
o ความถูกต้องเชงตํ ่ ิ่ (Vertical positional accuracy): กรรมวิธที ใ่ี ช้ในการรังวัดเพือ่ ให้ได้มาซึง่ ข้อมูลนัน้ และเมือ่ พิมพ์ลงในกระดาษ ความ
ทําได้โดยการอ่านค่าระดับความสูง ณ ตําแหน่งทีต่ อ้ งการ และทําการเปรียบเทียบกับค่าทีร่ งั วัดได้จริง ถูกต้องแผนทีจ่ ะพิจารณาตามหลักเกณฑ์ของมาตราส่วนดังเช่นแผนทีก่ ระดาษ
ในสนามทีต่ าํ แหน่งนัน้ โดยจะยอมให้ผดิ พลาดได้ไม่เกินครึง่ หนึ่งของช่วงเส้นชัน้ ความสูง เช่น แผนทีท่ ม่ี ี
ช่วงเส้นชัน้ ความสูง 1 เมตร จะยอมให้ผดิ พลาดได้ไม่เกิน 0.50 เมตร เป็ นต้น

Dr. Surames Piriyawat 5 Dr. Surames Piriyawat 6

ขัน้ ตอนการรังวัดแผนที่ภมู ิ ประเทศ การสํารวจสังเขป (Reconnaissance Surveys)


การเดินสํารวจดูสภาพพืน้ ทีโ่ ดยรวม พร้อมทัง้ สเกตแผนผังรวม บันทึกภาพ และจด
บันทึกข้อสังเกตต่างๆ ทีอ่ าจเป็ นอุปสรรคต่อการทํางานในพืน้ ที่ เพือ่ ใช้ในการวางแผน
ƒ การสํารวจสังเขป (Reconnaissance surveys)
งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มักวัดระยะทางโดยประมาณด้วยการเดินนับก้าว
ƒ การสํารวจรังวัดหมุดควบคุม (Control surveys) ิ่ ่
การสํารวจสังเขปสามารถทําให้ทราบสงตอไปนี ้
ƒ การสํารวจรังวัดเก็บรายละเอียด (Detail surveys) ƒ ตําแหน่งทีเ่ หมาะสมในการสร้างหมุดหลักฐานทัง้ ทางราบและทางดิง่
ƒ การเลือกตําแหน่งหมุดสถานีวงรอบเพือ่ ใช้ในการจัดเก็บรายละเอียด
ƒ การเขียนแผนทีภ่ มู ปิ ระเทศ (Plotting)
ƒ การกําหนดมาตรฐานการรังวัดหมุดหลักฐาน
ƒ การตรวจสอบความถูกต้องข้อมูลแผนทีภ่ มู ปิ ระเทศ (Field check)
ƒ การวิเคราะห์ความถูกต้องเชิงตําแหน่งทีต่ อ้ งการตามขนาดมาตราส่วนแผนที่
เพือ่ เลือกใช้เครือ่ งมือสํารวจได้อย่างเหมาะสม
ƒ การจัดหาหมุดหลักฐานทีใ่ ช้ในการโยงยึดทัง้ ทางราบและทางดิง่ ในบริเวณ
ใกล้เคียงพืน้ ทีโ่ ครงการมากทีส่ ดุ เพือ่ ใช้อา้ งอิงเข้าระบบพิกดั ของประเทศ
Dr. Surames Piriyawat 7 Dr. Surames Piriyawat 8
การสํารวจรังวัดหมุดควบคุม (Control Surveys) 2. การรังวัดหมุดหลักฐานทางดงิ่ (Vertical control surveys)
การสร้างหมุดหลักฐานทีต่ อ้ งการทราบค่าพิกดั ทางราบและ/หรือทางดิง่ ให้ครอบคลุม o การทํางานระดับชนิดรังวัดค่าต่างระดับ (Differential leveling) ด้วยการถ่ายค่า
พืน้ ทีโ่ ครงการอย่างเพียงพอ เริม่ ต้นด้วยการเลือกตําแหน่งทีเ่ หมาะสมและจัดสร้างให้ ระดับจากหมุดระดับภายนอกโครงการมายังหมุดระดับ (Bench mark) ทีต่ ดิ ตัง้
มันคงปลอดภั
่ ยใช้งานได้ตลอดระยะโครงการ ซึงต้องจัดทําบัญชีสเกตตําแหน่งหมุด และ อย่างถาวรภายในโครงการ
วัดระยะโยงยึดกับตําแหน่งทีมันคงชัดเจนอย่างน้อย 3 ตําแหน่ง
ƒ การรังวัดหมุดหลักฐานแบงได้
่ 2 ประเภท คือ สรุปขัน้ ตอนในการรังวัดหมุดควบคุม
1. การรังวัดหมุดหลักฐานทางราบ (Horizontal control surveys) o การรังวัดโยงยึดหมุดหลักฐานทางราบและทางดิง่ จากหมุดหลักฐานหลักมายังหมุด
o การสร้างหมุดคูท่ ท่ี ราบค่าพิกดั อาจเป็ นหมุดคูห่ ลักถาวร ระยะห่างกันไม่น้อยกว่า หลักฐานภายในพืน้ ทีโ่ ครงการ
100 เมตร o การรังวัดหมุดควบคุมทีใ่ ช้ในพืน้ ทีโ่ ครงการจากหมุดหลักฐานทีก่ าํ หนดขึน้ นัน้
o การรังวัดถ่ายค่าพิกดั จากหมุดหลักฐานทีท่ าบค่าพิกดั จากนอกโครงการมายังหมุด o เมือ่ ถ่ายทิศทางและระดับจากหมุดควบคุมมายังสถานีวงรอบ จะได้หมุดสถานี
หลักฐานหรือหมุดสถานีวงรอบภายในโครงการ วงรอบทีท่ ราบค่าพิกดั ทัง้ ทางราบและทางดิง่ (Full control point) สําหรับการวังวัด
o วิธกี ารรังวัดพืน้ ฐานทีใ่ ช้ คือ การทําวงรอบ การใช้อุปกรณ์ GPS เพือ่ เก็บรายละเอียด
Dr. Surames Piriyawat 9 Dr. Surames Piriyawat 10

การสํารวจรังวัดเก็บรายละเอียด (Detail Surveys) การเขียนแผนที่ภมู ิ ประเทศ (Plotting)


การรังวัดเพือ่ เก็บรายละเอียดสามารถดําเนินการได้หลายวิธี การเขียนแผนทีส่ ามารถทําได้ 3 วิธี
1. วธีิ การวัดระยะฉาก (Offset surveying) 1. เขียนจากข้อมูลการวัดมุมและระยะทาง
o เป็ นวิธกี ารวัดตําแหน่งวัตถุอา้ งอิงกับเส้นฐานทีท่ ราบการวางตัว
o เริม่ ด้วยการกําหนดตําแหน่งสถานีวงรอบทัง้ หมด
o วิธนี ้ีไม่สามารถหาค่าระดับของจุดทีว่ ดั ได้
o Plot ตําแหน่งของรายละเอียดต่างๆ จากมุมและระยะทางทีร่ งั วัดได้
o เหมาะสําหรับการรังวัดแผนทีแ่ สดงตําแหน่งวัตถุเท่านัน้ เช่น แผนทีโ่ รงงาน
แผนทีเ่ มือง เป็ นต้น ในแต่ละสถานีตามมาตรส่วนทีต่ อ้ งการ

2. วธีิ การวัด Stadia o สําหรับรายละเอียดทางดิง่ ให้แสดงด้วยเส้นชัน้ ความสูง และจุดความ


สูงในบริเวณทีไ่ ม่มเี ส้นชัน้ ความสูง หรือมีแต่อยูห่ า่ งกันค่อนข้างมาก
3. วธีิ รงั วัดอเล็
ิ กทรอนกส์
ิ Tacheometry

Dr. Surames Piriyawat 11 Dr. Surames Piriyawat 12


ิ ดที่คาํ นวณได้
2. เขียนจากข้อมูลพกั ิ่ ่ ลงในแผนที่ สามารถแทนได้ด้วย
การเขียนรายละเอียดของสงตางๆ
รายละเอียด 4 ประเภท
o วิธนี ้ีตอ้ งใช้กระดาษกราฟช่วยในการกําหนดตําแหน่งตามค่าพิกดั ที่ 1. รายละเอียดประเภทจุด (Point features):
คํานวณได้ รายละเอียดทีม่ ขี นาดไม่สามารถแสดงเป็ นรูปร่างทีแ่ ท้จริงด้วยมาตรส่วนแผนทีน่ นั ้ ๆ เช่น
หมุดหลักฐาน เสาไฟฟา้ ต้นไม้ ตูโ้ ทรศัพท์ ตูไ้ ปรษณีย์ เป็ นต้น

3. การประมวลผลด้วยโปรแกรมคอมพวเตอร์
2. รายละเอียดประเภทเส้น (Line features):
o การรังวัดด้วยกล้อง Total station และบันทึกข้อมูลลงในหน่วยความจํา แนวกึง่ กลางถนน ขอบถนน ขอบทางเท้า ทางนํ้า เป็ นต้น
จากนัน้ นําเข้าไปประมวลผลในคอมพิวเตอร์ ิ (Polygon features):
3. รายละเอียดประเภทรูปปด
อาคาร สระนํ้า บ่อนํ้า แปลงทีด่ นิ เป็ นต้น
4. รายละเอียดประเภทตัวอักษร (Annotation features):
ข้อความและตัวเลข เป็ นต้น

Dr. Surames Piriyawat 13 Dr. Surames Piriyawat 14

องค์ประกอบการออกแบบสัญลักษณ์ ทงั ้ 4 ประเภท ได้แก่ ิ่ าคัญที่ต้องแสดงบนแผนที่ภมู ิ ประเทศ


สงสํ
1. รายละเอียดประเภทจุด (Point features):
ได้แก่ รูปลักษณ์ (Shape) ขนาด (Size) สี (Color) 1. ตารางกริดค่าพิกดั : มักจะมีชว่ งห่างเท่ากับ 10 เซนติเมตร หรือตามความเหมาะสมใน
การใช้งาน ไม่จาํ เป็ นต้องวางในทิศทางเดียวกับกระดาษ และต้องมีตวั เลขค่าพิกดั กํากับ
2. รายละเอียดประเภทเส้น (Line features): ไว้ทข่ี อบระวางแผนที่
ได้แก่ ชนิดเส้น (Line type) นํ้าหนักเส้น (Line weight) สี (Color)
3. รายละเอียดประเภทรูปปด ิ (Polygon features): 2. เครือ่ งหมายแสดงทิศเหนือ
ได้แก่ ชนิดเส้น (Line type) นํ้าหนักเส้น (Line weight) สี (Color) การระบายสีภายใน 3. การบอกมาตราส่วนของแผนที่ ต้องบอกในลักษณะทีเ่ ป็ นทัง้ ตัวเลข และแถบมาตรา
(Hatching or shading) ส่วน (Graphical scale bar)
4. รายละเอียดประเภทตัวอักษร (Annotation features): 4. คําอธิบายสัญลักษณ์ต่างๆ ทีใ่ ช้ในแผนที่ (Legend)
ได้แก่ ชนิดตัวอักษร (Text type) ขนาด (Text height) รูปแบบการเขียน (Text style)
สี (Color) 5. รายละเอียดต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับแผนทีน่ นั ้ เช่น พืน้ ที่ วันเดือนปี ทท่ี าํ การผลิต ชือ่
o สัญลักษณ์ทแ่ี สดงบนแผนทีท่ งั ้ หมดจะแสดงประกอบคําอธิบายไว้บนแผนทีใ่ นส่วนที่ โครงการ ผูผ้ ลิต เป็ นต้น
เรียกว่า Legend
Dr. Surames Piriyawat 15 Dr. Surames Piriyawat 16
การตรวจสอบความถูกต้อง (Field Check)
o ความครบถ้วนของรายละเอียดและความถูกต้องทางตําแหน่ง
o ความครบถ้วนของรายละเอียด:
ทําได้โดยนําแผนทีอ่ อกตรวจภาคสนามในพืน้ ทีจ่ ริงโดยการสุม่ ตรวจบริเวณทีส่ าํ คัญ
ในการใช้งาน

o ความถูกต้องทางตําแหน่ง:
การวัดสอบในพืน้ ทีโ่ ดยการสุม่ วัดทัง้ ขนาด ทิศทาง ค่าระดับจุดความสูง รวมทัง้
การรังวัดรูปตัดตรวจสอบกับรูปตัดแนวเดียวกันทีไ่ ด้จากการอ่านเส้นชัน้ ความสูงของ
แผนที่

o แผนทีจ่ ะต้องมีความถูกต้องไม่น้อยกว่า 90% ถึงจะผ่านเกณฑ์ในการ


ยอมรับ
Dr. Surames Piriyawat 17

You might also like