You are on page 1of 13

รายงานความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท

การประเมินสมรรถนะของเข็มเหล็กในงานวิศวกรรมการทาง
Performance Assessment of Screw Piles in highway
engineering
วันพุธที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567
นายนพดล ชูคง รหัสนักศึกษา 6510120062
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
รศ.ดร.สราวุธ จริตงาม
สาขาวิชา วิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม (วิศวกรรมขนส่ง)
หลักสูตร วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ที่มาของงานวิจัย

ที่มา : https://www.scghome.com/living-ideas/articles

ที่มา : https://consmag.com/th/articles
แผนงานที่ดาเนินการแล้ว แผนงานในอนาคต
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567
1/2566
1/2565
1. สารวจข้อมูลตามพื้นที่ศึกษา
1. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลของเสาเข็มเหล็ก
2. สอบวัดผลภาษาอังกฤษ
2. ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
PSU-TEP

2565 2566 2567


2/2566
1. วิเคราะห์การทดสอบและประเมินเรื่องของประสิทธิภาพของ
2/2565
เสาเข็มเหล็กในด้านต่างๆ
1. สอบโครงร่างวิทยานิพนธ์
2. สรุปผลและจัดทารายงาน
2. นาเสนองานประชุมวิชาการ
3. จัดทาเล่มวิทยานิพนธ์
วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28 4. สอบวิทยานิพนธ์ภายในเดือนและส่งเล่มวิทยานิพนธ์ภายใน
เดือน มีนาคม 2567
แผนงานที่ดาเนินการแล้ว

การติดตั้งฐานเสาไฟฟ้าแบบคอนกรีตบนข้างถนนปุณณกัณฑ์
ตาบล คอหงส์ อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
แผนงานที่ดาเนินการแล้ว

การติดตั้งฐานเสาไฟฟ้าแบบคอนกรีตบนข้างถนนปุณณกัณฑ์
ตาบล คอหงส์ อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
แผนงานที่ดาเนินการแล้ว

การติดตั้งติดตั้งฐานเสาไฟฟ้าแบบเสาเข็มแหล็ก
งานติดตั้งฐานรากเข็มเหล็กรองรับเสาไฟส่องสว่างพลังงานแสงอาทิตย์ โดยใช้เข็มเหล็ก Series FS76
ความยาว 2.5 เมตร มาพร้อมหน้าแปลนสี่เหลี่ยม ขนาด 300 มม. จานวน 127 ต้น
แผนงานที่ดาเนินการแล้ว

การติดตั้งติดตั้งฐานเสาไฟฟ้าแบบเสาเข็มแหล็ก
งานติดตั้งฐานรากเข็มเหล็กรองรับเสาไฟสูง 6 เมตร โดยใช้เข็มเหล็กรุ่น
FS76x2000x300 จานวน 12 ต้น ที่ จ.จันทบุรี
แผนงานที่ดาเนินการแล้ว
ควำมสำมำรถในกำรรับนำหนักเฉลี่ย (กิโลกรัม)
*กำรรับนำหนักอำจมีกำรเปลี่ยนแปลงได้ขึนอยู่กับสภำพดินในแต่ละพืนที่
ลำดับ รุ่น (Model) แรงกด แรงถอน แรงผลัก การประเมินสภาพชั้นดินบริเวณที่ต้องการติดตั้งด้วยวิธีการทดสอบหา
(Compression) (Tension) (Horizontal) กาลังแบบทางของดินในสนามแบบหยั่งเบา (Kunzelstab Penetration Test)
(kg) (kg) (kg) ตามมาตรฐานการทดสอบทางวิศวกรรมปฐพี DIN 4084-3 (Lightweight
Dynamic Penetrometer) และคานวณจากน้าหนักที่โครงสร้างถ่ายเทลงฐาน
1 KEM FS68x1200x220 1,500 1,000 500 รากและผลสารวจชั้นดินในบริเวณนั้นประกอบด้วย แล้วนามาเลือกขนาดฐานราก
2 KEM FS76x1200x220 2,000 1,500 750 เข็มเหล็กสาเร็จรูปจากตารางความสามารถในการรับน้าหนักโดยเฉลี่ยตามตาราง
3 KEM FS76x1600x220 2,900 1,900 1,200
จากนั้นนามาคานวณหากาลังรับน้าหนักบรรทุกของฐานรากสาเร็จรูป
4 KEM FS76x2000x220 3,800 2,500 1,300 ในสภาพชั้นดินดังกล่าว ในระหว่างการติดตั้งจะต้องมีการทดสอบการรับน้าหนัก
5 5,000 3,300 1,400 ตามมาตรฐาน DIN EN 1537 และ DIN EN 4125 ด้วย และสามารถทดสอบ
KEM FS76x2400x220
ความสามารถในการรับน้าหนักได้ด้วยวิธี Static Pile Load Test ตามมาตรฐาน
6 KEM FS90x2000x220 5,500 3,500 1,400 ASTM D1143
7 KEM FS114x2000x220 6,600 3,750 1,500
8 KEM FS140x1700x250 7,000 3,750 1,700
9 KEM FS140x2500x250 8,000 4,000 2,200
10 KEM FS140x3000x250 10,000 5,000 2,500
11 KEM FS180x3000x300 12,000 7,000 3,500
12 KEM FS219x3000x300 18,000 9,000 4,500
แผนงานที่ดาเนินการแล้ว

เข็มเหล็กรุ่น กำรทดสอบ กำรทรุดตัว กำรทรุดตัว กำรทรุดตัวจำก


โดยรวม สุทธิ กำรยืดหยุ่น ผลการทดสอบ Compressive Load Test เข็มเกลียว
(มิลลิเมตร) (มิลลิเมตร) (มิลลิเมตร) ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง220 มิลลิเมตร ยาว17เมตร
D220x1700x300 แรงกดใน 25.84 19.62 6.22 สามารถรับน้าหนักได้มากกว่า น้าหนักบรรทุก
แนวแกน ออกแบบ 200% (น้าหนักบรรทุกออกแบบ 35 ตัน)
แผนงานที่ดาเนินการแล้ว

เปรียบเทียบกระบวนการก่อสร้างด้วยฐาน
รากเสาเข็มเหล็กและฐานรากคอนกรีต
นาเสนอผลงานวิชาการ

การนาเสนองานประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28
เมื่อวันที่ 24-26 พฤษภาคม 2566
ณ โรงแรมภูเก็ต เกรซแลนด์ รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดภูเก็ต
การสอบวัดผลภาษาอังกฤษ PSU-TEP

*หมายเหตุ PSU-TEP ไม่ต่ากว่า50%


Q&A
THANK YOU

You might also like