You are on page 1of 15

การนาระบบ BIM มาใช้ ในการจัดทาแบบก่ อสร้ างจริง ส่ วนงานระบบอาคาร

(M&E AS BUILT DRAWINGS) กรณีศึกษาโครงการ โรงแรม เวฟพัทยา


THE STUDY OF BIM APPLICATION FOR M&E AS BUILT DRAWING
PRODUCTION: CASE STUDY WAVE HOTEL PATTAYA

ปัญญาพล จันทร์ดอน
หลักสู ตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริ หารงานก่อสร้าง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรี ปทุม

บทคัดย่อ
การศึกษานี้เป็ นการศึกษาเกี่ยวกับ หารทดลองนาระบบ BIM มาใช้ในการจัดทาแบบก่อสร้าง
จริ งส่ วนงานระบบอาคาร (M&E As Built Drawings) กรณี ศึกษาโครงการโรงแรมเวฟพัทยา โดยผู้
ศึกษาเลื อก Software ที่เปิ ดให้ดาวน์โหลดมาใช้งานได้ฟรี จึงเลื อก Software ที่ ชื่อว่า Tekla
BIMsight มาใช้ทาการศึกษาทดลอง โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อนาเทคโนโลยี BIM มาใช้ในการ
จัดทาแบบก่อสร้างจริ ง ส่ วนงานระบบอาคาร เฉพาะงานระบบสุ ขาภิบาลซึ่ งจะทาให้ทราบถึงข้อดี
ข้อเสี ยของการใช้ Tekla BIMsight ในการจัดทาแบบก่อสร้างจริ งซึ่ งพบว่า TeklaBIMsight มีความ
เหมาะสมอยู่ในระดับปานกลางเนื่ องจาก Tekla Structure ซึ งเป็ น Software ที่เป็ นฐานข้อมูลของ
TeklaBIMsight เป็ น Software สาหรับงานโครงสร้างอาคาร โดยเฉพาะโครงสร้างเหล็กเพราะใน
ตัว Software เองมี ขอ้ มูลสาเร็ จรู ปของเหล็กอย่างครบถ้วน ซึ งในส่ วนของระบบสุ ขาภิ บาลตัว
Software ไม่ขอ้ มูลสาเร็ จรู ปรองรับผูใ้ ช้งาน โดยผูใ้ ช้งานต้องสร้างข้อมูลโดยกาหนดค่าต่างๆขึ้นมา
เองในส่ วนงานระบบสุ ข าภิ บ าลท าให้เกิ ดความไม่ ส ะดวกในการใช้ง านในส่ วนนี้ แต่ ข ้อดี คื อ
TeklaBIMsight ใช้งานง่ายไม่สลับซับซ้อน เหมาะกับการ Review เพื่อตรวจสอบส่ วนต่างๆของ
งานสุ ขาภิบาล การแสดงผลของ TeklaBIMsight จะแสดงผลในรู ปแบบ 3 มิติเพื่อประโยชน์ในการ
วัดระยะต่างๆอีกทั้งยังสามารถ Note บันทึกตาแหน่งภาพหรื อจุดต่างๆที่ตอ้ งการใน Models แล้วส่ ง
ข้อมูลที่ Note ไปยังผูร้ ่ วมงานส่ วนอื่นๆที่เกี่ยวข้องได้ ซึ่ งทาเกิดความสะดาวกและเข้าใจได้ง่ายต่อ
ผูใ้ ช้งาน และยังสามารถใช้งานบนแท็บเล็ตภายใต้ Application ที่ชื่อว่า TeklaBIMsight Note ซึ่ ง
จะช่วยเกิดความสะดวก
การศึ กษานี้ ยงั ได้มีการเปรี ยบเที ยบกับ software ในตระกูลของ AutoDesk ที่มีชื่อว่า
Naviswork Freedom ซึ่ งหลักการทางานและวิธีการใช้งานของตัวซอฟต์แวร์ ดงั กล่าวใกล้เคียงกัน
และ เพื่อนาข้อมูลที่ทาการศึกษาไปเป็ นฐานข้อมูลในการบริ หารจัดการอาคารโครงการจริ ง จาก
การศึกษาทดลองพบว่าจากการเปรี ยบเทียบ 4 หัวข้อดังต่อไปนี้ คือ 1. PROJECT VIEWING, 2.
MODEL VIEWING, 3. MODEL SIMULATION AND ANALYSIS, 4. COORDINATION
พบว่า Tekla BIMsight มีประสิ ทธิ ภาพดี กว่า Naviswork Freedom ใน 3 ข้อแรก และในข้อที่ 4
Naviswork Freedom มีประสิ ทธิ ภาพดีกว่า
จาดการทดลองครั้งนี้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการการบริ หารจัดการอาคารโครงการ โรง
แรมเวฟพัท ยา ได้ดัง นี้ แบบจาลองข้อมู ล อาคารที่ ส ร้ างขึ้ นมาซึ่ ง อยู่ใ น TeklaBIMsight สามารถ
นาไปเปิ ดใน Tekla Structure ได้ซ่ ึ งข้อดีของ Tekla Structure นั้นสามารถแก้ไขชิ้นงานได้และ
สามารถ Export ไปยังโปรแกรมอื่นได้ ซึ่ งจากการทดลองพบว่าสามารถ Export ไปยัง AutoCAD
3D ได้ซ่ ึง AutoCAD 3D ก็สามารถแก้ไขชิ้นงานได้เหมือนกับ Tekla Structure โดยที่ AutoCAD 3D
ก็สามารถ Export ไฟล์เปิ ดใน Navisworks Freedom ซึ่ งเป็ นซอฟต์แวร์ ที่นามาศึกษาเปรี ยบเทียบกับ
TeklaBIMsight อีกด้วย และจาก Navisworks Freedom ก็สามารถ Export ชิ้นงานย้อนกลับไปยัง
ขั้นตอนก่อนหน้านี้ได้ ซึ่ งทาให้การนาไปใช้งานเกิดความหลากหลายและมีทางเลือกมากขึ้น ซึ่ งการ
เลือกใช้ตอ้ งคานึงถึงความรู้ความเข้าใจของผูใ้ ช้ดว้ ย

ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
ในการทางานก่ อสร้ า งนอกจากแบบก่ อสร้ า งจริ งที่ ผูร้ ั บ เหมาใช้เพื่อท าการก่ อสร้ างแล้ว
โดยทัว่ ไปผูร้ ับเหมาต้องจัดทาแบบก่อสร้างจริ ง As built drawing เพราะเมื่อแบบที่มีการแก้ไขแล้ว
ภายหลังสุ ด เป็ นการแก้ไขแบบประเภทแบบ shop drawing หรื อ แบบที่ใช้ก่อสร้างจริ งเนื่องจาก
ขณะทาการผลิต หรื อก่อสร้างตามแบบแล้วประสบกับปั ญหา ความไม่ถูกต้อง ระยะผิดพลาดไป ทา
ตามแบบแล้วมีปัญหากับงานระบบ หรื อโครงสร้างอื่นๆ จึงต้องมีการแก้ไขที่หน้างานเลย และทา
การแก้ไขสิ่ งที่ถูกต้องลงไปในแบบด้วย โดยให้ชื่อแบบที่ไขนี้วา่ As built drawing

แบบรู ปการก่อสร้าง (As-built Drawing) เป็ นแบบที่แสดงรายละเอียดของงานที่ได้ทาการ


ก่อสร้างจริ ง เช่นตาแหน่งงานระบบต่างๆ ท่อน้ า ไฟฟ้ า ตรงตามที่ผกู ้ ่อสร้างได้ดาเนินการ เพื่อเป็ น
คู่มือในการบารุ งรักษาอาคาร หรื อเพื่อการต่อเติมอาคารในอนาคต (นที สัมปุรณะพันธ์, 2553, หน้า
2) โดยทัว่ ไปการจัดส่ ง As-built Drawing เขียนด้วยโปรแกรม AutoCAD เขียนลงแผ่น CD-R พร้อม
พิมพ์ลงบนกระดาษพิมพ์เขียวหรื อกระดาษอื่นๆพร้อมขนาดมาตราส่ วนตามที่ระบุในสัญญา ส่ ง
มอบต่อเจ้าของโครงการเมื่อโครงการก่อสร้างแล้วเสร็ จ แต่เมื่อโครงการแล้วเสร็ จมันจะต้องอยูไ่ ป
อีกยาวนาน แบบและข้อมูลอาจจะสู ญหายไป หรื อแม้แต่การ Update ตามสภาพจริ งๆ เมื่อเวลาผ่าน
ไปก็ยากที่จะทาได้ การนาระบบ BIM (Building Information Modeling) มาใช้ในการจัดทาAs-built
Drawing ภายหลังการส่ งมอบงานให้กบั เจ้าของโครงการ จะได้รับโมเดลสามมิ ติที่อดั แน่ นด้วย
ข้อมูลและการจัดการ ข้อมูลเหล่ านี้ จะถู กส่ งต่อไปยังผูจ้ ดั การผูด้ ู แลสิ่ ง ก่ อสร้ างนั้นเพื่อนาไปใช้
ประโยชน์ในรู ปแบบ Facility Management (FM) Owner จะนา BIM ไปใช้ในการบริ หารจัดการ
สิ่ งก่อสร้างตลอดชัว่ อายุขยั ของสิ่ งก่อสร้างนั้นๆ (Building Operation Optimization Model) (วรัญญู
สงกรานต์, 2555, ไม่ปรากฎหน้า)

Building Information Modeling (BIM) เป็ นแนวคิ ดที่ มีม านานและนิ ย มใช้ก ันอย่า ง
แพร่ หลายในต่างประเทศโดยจะนามาใช้กบั งานจัดซื้ อจัดจ้างประเภท Design-Built เป็ นส่ วนใหญ่
แต่ในประเทศไทยคุน้ เคยกับงานออกแบบ (ทรงพล ยมนาค, 2553, หน้า 19) เทคโนโลยี BIM ก็คือ
การทาโมเดลรู ปแบบสามมิติของอาคารโดยตัวอาคารสามมิ ติจะสมารถทางานสอดคล้องกับระบบ
ต่างๆได้เป็ นอย่างดี อาทิเช่ นงานออกแบบทางด้านวิศวกรรม งานสถาปั ตยกรรม งานระบบต่างๆ
รวมถึ งการบริ หารโครงการ (ปวริ ศร์ ศิริพิพฒั กุล , 2555, หน้า 1) BIM มีความสามารถในการ
วิเคราะห์งานออกแบบในด้านต่างๆ เช่นการวิเคราะห์พ้ืนที่ (Area Analysis) การจัดการที่ดินและดิน
ถม (Cut and Fill) การวิเคราะห์ในการประหยัดพลังงาน การตรวจสอบทิศของแสงแดดที่ตกกระทบ
กับอาคาร (Solar and Day Lighting Analysis) การออกแบบการบังแดด (Shading Analysis) การ
วิเคราะห์ดา้ นโครงสร้าง (Structural Analysis) ตลอดจนการวิเคราะห์งานระบบประกอบอาคาร
ต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นระบบปรับอาคาร ระบบไฟฟ้ า และระบบประปา (วิวฒั น์ อุดมปิ ติทรัพย์, 2552,
หน้า 29) BIM ในประเทศไทยยังมีไม่มาก จากการสารวจของกลุ่มตัวอย่าง พบว่าการนาระบบ BIM
มามาใช้ในการจัดทา As-Built Drawing มีความถูกต้องเชื่ อถือได้และลดปั ญหาการเริ่ มต้นทางาน
ใหม่เมื่อเกิดการแก้ไขเปลี่ยนแปลง สามารถเอาข้อมูลมาบริ หารจัดการอาคาร (ธณัชชา สุ ขขี , 2554,
หน้า ง)

การจัดทา As-Built Drawing รู ปแบบเก่าที่ทากันยังพบเจอปั ญหา เมื่อมี การแก้ไขหรื อ


เปลี่ ยนแปลงรู ป แบบของอาคาร โดยเฉพาะงานระบบต่างๆของอาคารที่ ซ่อนอยู่ในอาคารซึ่ งไม่
สามารถมองเห็นจะเกิดปั ญหาเรื่ องความถูกต้องของ As-Built Drawing กับพื้นที่จริ งไม่ตรงกันและ
เมื่อมีการซ่ อมแซมส่ วนใดส่ วนหนึ่ ง แต่ไม่ได้แก้ไขแบบ As-Built Drawing เนื่ องจากความยุง่ ยาก
ในการแก้ไขดังนั้นการศึกษานี้ จะจะมุ่งเน้นการทดลองนาระบบ BIM มาใช้ในการจัดทา As-Built
Drawing ส่ วนงานระบบเฉพาะงานระบบสุ ขาภิบาล

Software ที่จะใช้ในการศึกษาทดลองนี้ พิจารณาจากความเหมาะสมและความสะดวกใน


การน า Software ดัง กล่ า วมาใช้ ง านใช้ โดยค านึ ง ถึ ง รู ป แบบและลัก ษณะของชิ้ น งานที่ จ ะ
ทาการศึกษาเพื่อให้สอดคล้องกัน ผูศ้ ึกษาเลือก Software ที่เปิ ดให้ดาวน์โหลดมาใช้งานได้ฟรี และ
สามารถใช้งานตัว Software ได้อย่างเต็มประสิ ทธิ ภาพ จึงเลือก Software ที่ชื่อว่า Tekla BIMsight
มาใช้ทาการศึกษาทดลอง กรณี ศึกษาโครงการโรงแรม เวฟพัทยา

วัตถุประสงค์ ของการศึกษา
1. เพื่อนาเทคโนโลยี BIM มาใช้ในการจัดทาแบบก่อสร้างจริ ง ส่ วนงานระบบอาคาร
2. เพื่อนาข้อมูลที่ทาการศึกษาไปเป็ นฐานข้อมูลในการบริ หารจัดการอาคารโครงการจริ ง
3. เพื่อนาผลการศึกษาที่ได้มาเป็ นแนวทางสาหรับองค์กรที่มีความต้องการที่จะนาแบบจาลอง
ข้อมูลอาคารมาประยุกต์ใช้ในอนาคต

ขอบเขตของการศึกษา
1. การศึกษานี้จะทาการจัดทาแบบก่อสร้างจริ งโดยใช้โปรแกรม Tekla BIMsight
2. การศึกษานี้จะเน้นศึกษาเฉพาะงานระบบสุ ขาภิบาลของ โครงการเวฟ พัทยา

ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ


1. ทาให้ทราบถึงข้อดีขอ้ เสี ยในการนาเทคโนโลยี BIM (Tekla BIMsight) มาใช้ในการจัดทา
แบบก่อสร้างจริ ง ส่ วนงานระบบเฉพาะงานระบบสุ ขาภิบาล
2. สามารถนาข้อมูลที่ทาการศึกษาไปเป็ นฐานข้อมูลในการบริ หารจัดการอาคารให้กบั เจ้าของ
โครงการ
3. สามารถนาผลการศึกษาที่ได้มาเป็ นข้อมูลเบื้องต้น หรื อข้อเสนอแนะเพื่อเตรี ยมความพร้อม
สาหรับองค์กรที่มีความต้องการที่จะนา แบบจาลองข้อมูลอาคารมาประยุกต์ใช้ในอนาคต
แนวคิดและทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง
การศึกษาการนาระบบ BIM มาใช้ในการจัดทาแบบก่อสร้างจริ ง (As-built Drawing) ได้
รวบรวมข้อ มู ล ที่ เ กิ ด ขึ้ น รวมทั้ง ปั จ จัย เบื้ อ งต้น ตลอดจนเกณฑ์ ที่ ใ ช้ใ นการแบ่ ง งานวิ จ ัย ต่ า ง ๆ
บทความ และตาราเรี ยน โดยได้มีการแบ่งการศึกษาออกเป็ นส่ วน ๆ ดังนี้

แบบการก่อสร้ างจริงและปัญหาทีเ่ กิดจากการทาแบบก่อสร้ างจริง (As-built Drawing)


AS-Built Drawing คือแบบที่เขียนขึ้นหลังจากการก่อสร้างเสร็ จไปเรี ยบร้อยแล้ว โดยแบบ
AS-Built Drawing จะแสดงรายละเอียด ของสิ่ งที่ได้ก่อสร้ างไปจริ ง ๆ เช่ นแนวทางเดิ นสายไฟ
แนวทางเดินท่อน้ า ลักษณะประตู หน้าต่าง ฯลฯ แบบ AS-Built Drawing นี้ อาจจะแตกต่างจากแบบ
ก่อสร้ าง (Construction Drawing) และ Shop Drawing ก็ได้ เพราะการเปลี่ ยนแปลง เพื่อความ
เหมาะสม ในงานก่อสร้างหน้างาน เป็ นเรื่ องธรรมดา (เช่นเจ้าของโครงการสั่งเปลี่ยนตาแหน่ งดวง
โคม เป็ นต้น) (ยอดเยีย่ ม เทพธรานนท์, 2535, 210)
ปั ญ หาที่ ม ัก เกิ ด ขึ้ น จากการท าแบบก่ อ สร้ า งในปั จ จุ บ ัน พบว่า เกิ ด จากธรรมชาติ ข อง
กระบวนการจัดซื้ อจัดจ้างในอุตสาหกรรมก่อสร้างที่แยกออกจากกันเป็ นส่ วนๆและการสื่ อสารหลัก
ยังคงต้องพึ่งพาระบบเอกสาร (paper-based) ซึ่ งอาจเกิดการละเลยหรื อความผิดพลาดขึ้นได้ง่ายใน
เอกสานที่เป็ นกระดาษ ส่ งผลให้เกิ ดเป็ นค่าใช้จ่ายที่ไม่คาดคิด ความล้าช้า และคดี ความระหว่าง
ผูเ้ กี่ยวข้องในโครงการ (Eastman, 2008, 2) สาหรับเจ้าของโครงการเมื่อโครงการก่อสร้างแล้วเสร็ จ
เจ้าของโครงการก็จะได้รับแค่แบบพิมพ์เขียวและเอกสารที่เต็มไปด้วยข้อมูลที่ยงุ่ เหยิง สับสนวุน่ วาย
งานก่อสร้างอาจจะยาวนานกว่า 2 ปี แต่เมื่อโครงการก่อสร้างแล้วเสร็ จมันจะต้องอยูย่ าวนานไปอีก
30 ถึง 50 ปี หรื อมากกว่า แบบและข้อมูลอาจจะสู ญหายไป หรื อแม้แต่การ Update ตามสภาพจริ งๆ
เมื่อเวลาผ่านไปก็ยากที่จะทาได้ เช่ นจะต้องเปลี่ยนหลอดไฟ ในตึกปี ไหน หรื อแอร์ ในตึกมีกี่ตวั กี่
ยี่ห้อ ระบบแอร์ ทางานอย่างไร แล้วจะต้องซ่ อมแอร์ ยงั ไง หรื อช่างซ่ อมท่อและระบบ Boiler ถือ
แบบพิมพ์เขียวเข้าไปทางานแล้วกลับพบว่าหน้างานไม่ตรงกับแบบเลย เพราะว่าผ่านการซ่ อมมา
แล้วแต่ไม่ได้มีการ Update แบบ ซึ่ งจะทาให้เกิดความวุน่ วายเมื่อมีการซ่ อมแซม (วรัญญู สงกรานต์,
2555, ไม่ปรากฎหน้า)

แนวคิดและทฤษฎีของ Building Information Modeling (BIM)


กระบวนการทางานของ แบบจาลองข้อมูลอาคาร ถื อเป็ นแนวทางในการท างานที่ มา
พร้ อ มกับ การเจริ ญ เติ บ โตของระบบดิ จิต อลผ่า นการประมวลผลบนคอมพิ ว เตอร์ ส่ ว นตัว เพื่ อ
ตอบสนองความเจริ ญก้าวหน้าทางด้านธุ รกิจ ซึ่ งมีความต้องการข้อมูล (Information) ที่ถูกต้องผ่าน
การบริ หารจัดการมาเป็ นอย่างดี และมีการนาเสนอผลงานในลักษณะเหมือนจริ งที่สามารถรับรู ้มิติ
ผ่านสื่ อเชื่อมโยงทางอิเล็กทรอนิกส์ (ทรงพล ยมนาค, 2553: 25)
แบบจาลองข้อมูลอาคาร (BIM.) เป็ นหลักการทางานที่รวมกันระหว่าง Building Product
Model และ Object-based parametric modeling ซึ่ งมีวตั ถุประสงค์ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง
ซอฟต์แวร์ และสนับสนุนการทางานร่ วมกันบนฐานข้อมูลดิจิตอล ซึ่ งสามารถทาการบริ หารจัดการ
เปลี่ยนแปลงหรื อเพิ่มเติมข้อมูลเหล่านั้นได้ตลอดเวลา นอกจากนั้นข้อมูลขององค์ประกอบต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องในทุกมุมมองจะสามารถปรับเปลี่ยนได้เองโดยอัตโนมัติ
โดยหลักการทางานดังกล่าวเริ่ มต้นด้วยแนวความคิดในการดึงข้อมูล (Capturing) และการ
บริ หารจัดการข้อมูลอาคาร และแสดงข้อมูลเหล่านั้นในแบบอย่างหรื อวิธีการที่ใช้กนั หรื อวิธีการที่
มีความเหมาะสมต่อการสื่ อสาร โดยแบบจาลองข้อมูลอาคารจะเริ่ มเก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่เริ่ ม
สร้ างตัวแบบจาลองรวมถึ งขั้นตอนการจัดเก็ บและบริ หารจัดการไว้ใ นฐานข้อมู ลโครงการและ
อนุญาตให้ทุกคนในโครงการสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ แบบจึงกลายเป็ นการมองเห็นข้อมูลที่อธิ บาย
ถึงตัวโครงการเอง
ข้อมูลของแบบจาลองข้อมูลอาคาร จะถูกจัดเก็บเป็ นฐานข้อมูล (data base) แทนที่จะอยูใ่ น
รู ปแบบที่จะต้องใช้เพื่อการนาเสนอเท่านั้น ตัวสร้ างแบบจาลองจะแสดงข้อมูลที่มีอยู่เพื่อให้ผใู ้ ช้
สามารถเข้าไปหรื อดูและจัดการข้อมูลเพื่อที่จะนาข้อมูลออกมานาเสนอเพื่อให้ผดู้ ูเข้าใจแบบได้มาก
ที่สุด (Autodesk, 2002: 2-3)

ปัจจัยทีส่ ่ งผลให้ เกิดการใช้ Building Information Modeling (BIM)


ปั จ จัย ที่ จะส่ ง ผลต่ อ การประยุก ต์ใ ช้แ บบจ าลองข้อ มู ล อาคารนั้นล้ว นเกิ ดขึ้ น จากความ
ต้องการที่จะปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพด้านการขจัดข้อผิดพลาด การลดค่าใช้จ่าย และความถูกต้อง
โดยอย่า งยิ่ง การปรั บ ปรุ ง เอกสารงานก่ อสร้ า งให้มี ค วามถู ก ต้องมากขึ้ นซึ่ ง ถื อเป็ นศัก ยภาพที่ มี
ความส าคัญ สู ง สุ ดส าหรั บ BIM. และท าให้ ทุ ก ๆ ฝ่ ายที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ร่ วมกั น
นอกจากนั้นยังส่ งผลให้เกิดปั ญหาซึ่ งเกิดจากการประสานงานภาคสนามมีจานวนลดลงด้วย
นอกจากปัจจัยด้านการใช้งานและประโยชน์ที่ได้รับจาก BIM. แล้ว ปั จจัยด้านการผลิตก็มี
ส่ วนสาคัญที่ทาให้เกิ ดการเลื อกใช้ เช่ น การสื่ อสารระหว่างผูท้ ี่เกี่ ยวข้องในขั้นตอนออกแบบและ
ก่อสร้าง การเขียนแบบก่อสร้างใช้เวลาน้อยลงซึ่ งทาให้มีเวลาในการออกแบบเพิ่มมากขึ้น และความ
ต้องการในการร้องข้อมูล (Information requests) มีจานวนลดลง เป็ นต้น
ด้า นเวลาและงบประมาณ การประหยัดเวลาและค่า ใช้จ่า ยถื อเป็ นเป้ าหมายหลักของผู ้
ดาเนิ นโครงการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเจ้าของโครงการและผูร้ ับเหมาก่อสร้างซึ่ งมีความต้องการที่จะ
ลดค่าใช้จ่ายในการก่ อสร้ าง เพราะฉะนั้นทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายจึ งถื อเป็ นประโยชน์ที่ทีอิทธิ พล
สาคัญต่อการตัดสิ นใจประยุกต์ใช้ BIM.
นอกจากนั้นยังมีปัจจัยอื่นๆ ซึ่ งผูใ้ ช้จานวนน้อยกว่าครึ่ งหนึ่ งได้กล่าวถึงประโยชน์ที่อิทธิ พล
ต่อการตัดสิ นใจประยุกต์ใช้ BIM.
- ตารางเวลาการก่อสร้างที่ลดลง เพิ่มความสามารถในการใช้ Lean Construction
- การตรวจสอบรหั ส การตรวจสอบ (code checking) และการปฏิ บ ัติ ต าม
(compliance)
- ลดการดาเนินคดี (litigation) และการร้องเรี ยนเอาประกัน (insurance claims)
- ความสามารถในการปรับปรุ งการดาเนินการออกแบบที่ยงั่ ยืนและการก่อสร้าง
- การปรับเปลี่ยนตัวแปรของการออกแบบ
- ปรับปรุ งด้านการดาเนินงาน การบารุ งรักษา และการจัดการสิ่ งอานวยความสะดวก
- ความสามารถในการปรับปรุ งการผลิตชิ้นส่ วนระบบดิจิตอล (MCRA, 2009: 42)

ซอฟต์ แวร์ ต่างๆทีเ่ กีย่ วข้ องกับเทคโนโลยี BIM


Autodesk Revit เป็ นโปรแกรมออกแบบสถาปั ตยกรรม ด้วยเทคโนโลยีการโมเดล
รายละเอี ย ดอาคาร BIM (Building Information Modeling) ท าให้ ส ถาปนิ ก วิศ วกร
ผูร้ ั บ เหมาก่ อสร้ า งหรื อผูเ้ กี่ ย วข้องอื่ นๆ สามารถนาข้อมู ล รายละเอี ย ดอาคารไปใช้ง านได้อย่า ง
ต่อเนื่ อง ลดการทางานซ้ าซ้อน ลดการทางานขัดแย้งกัน ลดต้นทุ นในการท างานทั้งระบบ และ
ขณะเดี ยวกันได้คุณภาพงานออกแบบที่ ดีข้ ึ น โมเดลรายละเอียดอาคาร (BIM) นั้น โดยงาน
สถาปั ตยกรรมนั้นเปรี ยบเสมือนงานต้นน้ า ที่สถาปนิกเป็ นผูส้ ร้างข้อมูลให้เลื่อนไหลให้ผทู ้ ี่เกี่ยวข้อง
กับการออกแบบ และก่อสร้างได้ใช้งานได้อย่างราบรื่ น ไม่ตอ้ งเสี ยเวลาในการสร้างข้อมูลใหม่ซ้ าๆ
กัน ทาให้เสี ยเวลา เปลื องต้นทุนการทางาน และมี โอกาสผิดพลาดได้มาก ซึ่ ง Autodesk Revit
Architecture เป็ นหนึ่ งในตระกู ล Autodesk ที่ ท างาน BIM ได้ ค รบวงจร
(http://yimpaen.com/w_view.php?w=lame1&p_id=151)
Allplan Precast 2012 โซลูชนั่ ระบบ Precast elements สาหรับงานก่อสร้าง ซึ่ งโปรแกรม
ออกแบบมาเพื่อรองรับการทางานระบบ Precast ทั้งระบบ ตั้งแต่การเขียนแบบ และส่ งข้อมูลไปยัง
Robot เพื่อผลิ ตชิ้ นงานแผ่น Precast โดยทั้งหมดเป็ นการทางานในแบบ 3มิติ เชื่ อมโยงข้อมูล
ระหว่างกันโดยอัตโนมัติดว้ ยระบบ Building Information Technology (BIM) สามารถสรุ ปปริ มาณ
วัส ดุ ต่างๆ ได้ท นั ที ท าให้ก ารท างานเป็ นไปด้วยความถู กต้อง สะดวก รวดเร็ ว และที่ สาคัญลด
ข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นได้หากเป็ นการทางานในระบบที่ไม่มีการเชื่ อมโยงข้อมูลกัน Allplan
Precast ออกแบบมาให้รองรับมาตรฐาน Files ต่างๆได้มากกว่า 50 ชนิ ด เช่ น IFC, DWG, DXF,
PDF, UNITECHNIK (for production plants), BVBS (for cutting and bending machines) เป็ นต้น
แ ล ะ ยั ง ส า ม า ร ถ เ ชื่ อ ม โ ย ง กั บ โ ป ร แ ก ร ม ร ะ บ บ ERPไ ด้ เ ช่ น เ ดี ย ว กั น
(http://www.applicadthai.com/business/allplan-engineering#sthash.8iDkeqP5.dpuf )
ArchiCAD ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาบนพื้นฐาน ของ เทคโนโลยี BIM (Building Information
Modeling) เพื่อเพิม่ ศักยภาพในทุกๆด้านของการออกแบบให้กบั สถาปนิ ก โดยสามารถสร้าง อาคาร
3 มิติ ในหลากหลายรู ปฟอร์ มได้โดยง่าย และครบถ้วนทุกองค์ประกอบในอาคาร และสามารถสร้าง
Drawing ให้โดยอัตโนมัติ ทั้ง แปลน รู ปด้าน รู ปตัด และทุกมุ มที่ ตอ้ งการ โดยหากมีการแก้ไข
โปรแกรมจะทาการ อัพเดทข้อมูลให้โดยอัตโนมัติ และครบถ้วน ซึ่ งทาให้ลดเวลาในการเขียนแบบ
ไปได้มาก และทางานที่ลดลงกว่าเดิ มหลายเท่าตัว ยังสามารถสร้างภาพเสมือนจริ ง (Rendering)
เพื่อนาเสนอผลงานในแบบมืออาชีพ ที่สาคัญงานออกแบบทั้งหมด จะมีขอ้ มูลของอาคาร ที่สามารถ
เรี ยกดู หรื อสร้างรายงานสรุ ปปริ มาณ หรื อ BOQ ได้ ทั้งนี้เพื่อควบคุมมาตรฐาน รวมถึงเวลาที่ใช้ใน
การทางานที่ลดลงกว่าเดิ มหลายเท่าตัว ArchiCAD ได้รับความนิ ยมจากสถาปนิ กทัว่ โลก ทั้งใน
ยุโรป อเมริ กา และ ออสเตรเลีย รวมถึงประเทศไทย ทั้งบริ ษทั ออกแบบ, รับเหมาก่อสร้าง, ตกแต่ง
ภายใน, บริ ษัท รั บ สร้ า งบ้า น รวมถึ ง หน่ ว ยงานราชการส าคัญ ต่ า งๆ ครอบคลุ ม ถึ ง ส่ ว น
สถาบันการศึกษา ArchiCAD ได้เป็ นหลักสู ตรสาหรับการเรี ยนการสอนทั้งในระดับปริ ญญาตรี และ
ป ริ ญ ญ า โ ท เ พื่ อ อ น า ค ต ข อ ง ว ง ก า ร อ อ ก แ บ บ ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
(http://www.applicadthai.com/business/archicad#sthash.LcjzBjT6.dpuf)
Tekla Structure เป็ นเครื่ องมือระดับมืออาชี พสาหรับการทางานร่ วมกันในโครงการการ
ก่อสร้าง เป็ นโปรแกรมออกแบบทางานในระบบ 3มิติ ทาให้เห็นงานทุกๆส่ วนจาก Model เป็ นการ
จาลองการทางานจริ ง วัสดุและเครื่ องมือที่ใช้ทางานมีคุณสมบัติเทียบเท่าของจริ ง โปรแกรมสามารถ
สร้าง Drawing เหมือน AutoCAD ให้อตั โนมัติไม่ตอ้ งเสี ยเวลาในการเขียน เป็ นซอฟต์แวร์ ที่จะช่วย
ให้ผรู ้ ับเหมาทัว่ ไปที่จะจัดการลดความเสี่ ยงของค่าใช้จ่ายที่ไม่คาดคิดและสู ญเสี ยเวลาโดยเฉพาะ
อย่า งยิ่ง ขั้น ตอนการส่ ง มอบโครงการ ตั้ง แต่ ก ารออกแบบไปจนถึ ง การจัดหาและติ ดตั้ง ข้อมู ล
ทั้งหมดที่สาคัญที่ จาเป็ นสาหรับการส่ งมอบโครงการสามารถฝั งรู ปแบบ Tekla นี้ จะช่ วยในการ
ตอบสนองในเชิงรุ กเพื่อเบี่ยงเบนและการจัดการโครงการในระบบอัจฉริ ยะภาพ อินเตอร์ เฟซ Tekla
กับการจัดการก่อสร้างชั้นนาและซอฟต์แวร์ การออกแบบเพื่อให้ขอ้ มูลแพลตฟอร์ มที่คลอบคลุมการ
จัดการ ซอฟต์แวร์ Tekla BIM (แบบจาลองข้อมูลอาคาร) ที่มีประสิ ทธิ ภาพมากที่สุดเพื่อส่ งมอบทุก
ชนิดขององค์ประกอบคอนกรี ตสาเร็ จรู ปในเวลาที่เหมาะสมไปยังสถานที่ที่เหมาะสมโดยการบูรณ
การ ตั้งแต่ข้ นั ตอนการออกแบบและรายละเอียดเกี่ยวกับการผลิตและจัดการโครงการ (ปวริ ศร์ ศิริ
พิพฒั กุล และ พฤฒิธรรม แก้ววิชิต, 2555, 2)
Tekla BIMsight เป็ นซอฟต์แวร์ ฟรี เปิ ดตัวครั้ งแรกในเดื อนกุมภาพันธ์ ปี 2011 เป็ น
โปรแกรมซอฟต์แวร์ สาหรับการสร้างข้อมูลแบบจาลองการทางานร่ วมกันในการก่อสร้างโครงการ
มันสามารถนารู ปแบบจากการใช้งาน BIM อื่น ๆ ที่ใช้ระดับชั้นมูลฐานอุตสาหกรรม (ไอเอฟซี )
รู ปแบบยัง DWG และ DGN ด้วย Tekla BIMsight ผูใ้ ช้สามารถดาเนิ นการเชิ งพื้นที่ประสานงาน
(ปะทะกันหรื อการตรวจสอบความขัดแย้ง) เพื่อหลีกเลี่ยงการออกแบบและปั ญหา constructability
และสื่ อสารกับผูอ้ ื่นในโครงการก่อสร้ างของพวกเขาโดยรุ่ นที่ ใช้ร่วมกันและบันทึก มีวิดีโอการ
เรี ยนการสอนที่จะช่วยให้ผูใ้ ช้ที่ไม่มีพ้ืนฐานทางด้านเทคนิคสามารถเข้าใจได้ง่ายขึ้น ซอฟต์แวร์
สามารถแบ่งเป็ นกลุ่ม – เช่นสถาปั ตยกรรม โครงสร้างและ MEP – ทาให้ง่ายต่อการแยกแต่ละส่ วน
ของโครงการเมื่อจาเป็ น ผูใ้ ช้สามารถควบคุ มการทางานของหน้าจอได้ท้ งั หมดและรู ปแบบใด
รู ปแบบหนึ่งหรื อกลุ่มรู ปแบบ สามารถสลับเปิ ด / ปิ ด การควบคุมการแสดงผลยังสามารถลงไปถึง
ระดับวัตถุและผูใ้ ช้สามารถซูมในคานแต่ละผนังหรื อคอลัมน์โดยการเลือกวัตถุุ จากรายการ Tekla
BIMsight เป็ นเครื่ องมือที่มีการทางานร่ วมกันการก่อสร้างที่สามารถใช้ในสานักงานหรื อในสถานที่
ก่ อ สร้ า ง รุ่ น เต็ ม รู ป แบบที่ ท างานบนเครื่ อ งพี ซี แ ละ Windows (http://aecmag.com/software-
mainmenu-32/439-tekla-bimsight-12)

รู ปแบบของการศึกษา
การศึกษานี้ จะทาการทดลองนาระบบ BIM มาใช้ในการจัดทา As-Built Drawing ส่ วนงาน
ระบบ เฉพาะงานระบบสุ ขาภิบาลโดยการเลือกซอฟต์แวร์ ที่เหมาะสม มาดาเนิ นการศึกษา สร้าง
แบบจาลองข้อมูลอาคารขึ้นมาใหม่ โดยอาศัยฐานข้อมูลที่ มีอยู่เดิ มจากโครงการที่จะนามาศึ กษา
เพื่อนาผลที่ได้มาวิเคราะห์ขอ้ ดีขอ้ เสี ยในการนาเทคโนโลยี BIM (TeklaBIMsight) มาใช้ในการ
จัดทาแบบ As-Built Drawing และนาข้อมูลที่ได้จากการศึกษาไปเป็ นฐานข้อมูลในการบริ หาร
จัดการอาคารให้กบั เจ้าของโครงการ
ภาพ ไดอะแกรมแสดภาพรวมของวิธีการศึกษา

การศึกษานี้ ใช้ระยะเวลาในการศึกษาประมาณ 6 เดื อน โดยเริ่ มหาข้อมูลเพื่อที่ จะสรุ ป


หัวข้อตั้งแต่เดือนพฤษภาคม โดยแผนงานที่แสดงในตารางข้างล่างนี้ แสดงให้เห็นถึ งระยะเวลาใน
การศึกษาแต่ละขั้นตอน
ตาราง แสดงระยะเวลาในการศึกษาแต่ละขั้นตอน

เครื่องมือการศึกษา
สาหรับใช้ในการศึกษาเปรี ยบเทียบ พิจารณาจากความเหมาะสมและความสะดวกในการนา
software ดังกล่าวมาใช้งาน โดยคานึ งถึงลักษณะคุณสมบัติและรู ปแบบการใช้งานที่เหมือนกันเพื่อ
ง่ายต่อการวิเคราะห์ ในการศึกษาวิจยั ครั้งนี้ ได้เลือกใช้ software ในตระกูลของ AutoDesk ที่มีชื่อ
ว่า Naviswork Freedom เนื่ องจากเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับความนิ ยมแพร่ หลาย โดยเป็ น software ที่
ใช้สาหรับ ทีมงาน ประสานงานของสถาปนิก วิศวกรผูอ้ อกแบบ และผูเ้ กี่ยวข้องกับโครงการ เช่น ผู ้
ควบคุ มงาน เจ้าของโครงการ ที่ตอ้ งการตรวจสอบโครงการด้วยการเข้าไปตรวจงานที่สร้ างด้วย
โปรแกรมตระกูล Autodesk Navisworks ซึ่ งหลักการทางานและวิธีการใช้งานของตัวซอฟต์แวร์
ดังกล่าวใกล้เคียงกับกับ TeklaBIMsight จึงเลือกที่จะนา Autodesk Naviswork Freedom ใช้ใน
การศึกษาเปรี ยบเทียบ
รายละเอียดโครงการที่ศึกษา
- เจ้าของโครงการ บริ ษทั สยามรี สอทโฮเต็ล จากัด
- ที่ต้ งั พัทยา1 อ.เมืองพัทยา จ. ชลบุรี 20150
- รู ปแบบโรงแรม บูติก โฮเต็ล สไตล์คลาสสิ ก
- จานวนห้องพัก 21 ห้อง
- พื้นที่อาคาร 2,476 ตร.ม.
- โครงสร้าง Post Tension
- สิ่ งอานวยความสะดวก คอฟฟี่ ช็อป, บาร์ ริมสระน้ า, ร้านอาหาร,
- สถาปนิก บริ ษทั เบนท์เซเวอริ น แอนด์ แอสโซซิ เอทส์ จากัด
- วิศวกรโครงสร้าง บริ ษทั วิศวกรที่ปรึ กษา 535 จากัด
- วิศวกรงานระบบ บริ ษทั วิศวกรที่ปรึ กษา 535 จากัด
- มัณฑนากร บริ ษทั เบนท์เซเวอริ น แอนด์ แอสโซซิ เอทส์ จากัด
- ผูร้ ับเหมา บริ ษทั พระราม 2 การโยธา จากัด
- ที่ปรึ กษา บริ ษทั โปรเจคแมน จากัด
- ปี ที่สร้างเสร็ จ 2012
- สภาพงานโครงการ งานก่อสร้างโครงการแบ่งออกเป็ น 4 ขั้นตอน
1. งานเตรี ยมงานก่อสร้างและงานเสาเข็ม
2. การก่อสร้างอาคารห้องพักทั้งหมด
3. งานตกแต่งภายใน
4. งาน Landscape

ภาพ โรงแรม เวฟ พัทยา


ภาพ ไดอะแกรมแสดงวิธีการศึกษา

การแสดงผลจะแสดงในรู ปแบบแนวทางการวิเคราะห์ ของการนาระบบ BIM โดยใช้


ซอฟต์แวร์ TeklaBIMsight มาใช้ในการจัดทาแบบก่อสร้างจริ ง (As-Built Drawing) เฉพาะส่ วนงาน
ระบบสุ ข าภิ บ าล กรณี ศึ ก ษาโครงการเวฟพัท ยา และเปรี ย บเที ย บกับ ซอฟต์แ วร์ Autodesk
Naviswork Freedom พร้อมข้อเสนอแนะและแนวทางการนาผลการศึกษาที่ได้ไปประยุกต์ใช้งาน
จริ งในการบริ หารการใช้งานอาคาร

ภาพ แสดงความสัมพันธ์ของซอฟต์แวร์ที่ทาการศึกษาทดลง
จากภาพสามารถอธิ บายได้ ว่ า แบบจ าลองข้ อ มู ล อาคารที่ ส ร้ า งขึ้ นมาซึ่ งอยู่ ใ น
TeklaBIMsight สามารถนาไปเปิ ดใน Tekla Structure ได้ซ่ ึ งข้อดีของ Tekla Structure นั้นสามารถ
แก้ไขชิ้นงานได้และสามารถ Export ไปยังโปรแกรมอื่นได้ ซึ่ งจากการทดลองพบว่าสามารถ Export
ไปยัง AutoCAD 3D ได้ซ่ ึ ง AutoCAD 3D ก็สามารถแก้ไขชิ้นงานได้เหมือนกับ Tekla Structure
โดยที่ AutoCAD 3D ก็สามารถ Export ไฟล์เปิ ดใน Navisworks Freedom ซึ่ งเป็ นซอฟต์แวร์ ที่นามา
ศึ กษาเปรี ยบเที ยบกับ TeklaBIMsight อีกด้วย และจาก Navisworks Freedom ก็สามารถ Export
ชิ้นงานย้อนกลับไปยังโปรแกรมก่อนหน้าได้ ตามความสัมพันธ์ที่แสดงในรู ปภาพ
จากผลการวิเคราะห์ในหัวข้อที่มี Function เหมือนกันแต่ใช้งานดีกว่า โดยสามารถอธิ บาย
ได้ดงั ต่อไปนี้
1. whole-team project review >>> Naviswork Freedom ดีกว่าเพราะว่า มีการรวมงาน
ทั้งหมดเพื่อเข้ามาร่ วมกัน review ได้หลากหลาย ซึ่ ง TeklaBIMsight รวมงานฝ่ ายอื่นได้แต่ไม่
หลากหลาย เท่า Naviswork Freedom
2. rendering >>> TeklaBIMsight ดีกว่า เพราะว่า สามารถปรับ render ตามความต้องการ
ได้หลากหลายเพื่อในการ peview Model
3. preview toolkit >>> TeklaBIMsight ดีกว่า เพราะว่า เครื่ องมือที่ใช้ สามารถใช้งานได้
ง่าย และ และมีรูปแบบการตัด Model เพื่อดูในส่ วนที่เราต้องการตัด Section
4. collaboartion toolkit >>> TeklaBIMsight ดีกว่า เพราะว่า ตัวช่วยเหลือเครื่ องมือที่ใช้
สามารให้สายงานอื่นๆ เช่น QC เข้ามา Comment ได้ ซึ่ งจะมีความสัมพันธ์ กับข้อ 6.
5. measurment tools >>> Naviswork Freedom ดีกว่าเพราะว่า มีการวัดค่าได้ละเอียดกว่า
มี Snap ช่วยในการจับ Point จึงมีความแม่นยากว่า
6. photorealistic model simulation >>> TeklaBIMsight ดีกว่า เพราะว่า การถ่ายรู ปเพื่อ
เก็บข้อมูล ในส่ วนที่ตอ้ งการแก้ไขปรับปรุ ง หรื อเพื่อการ Preview for recorde มีการจัดเก็บใน
รู ปแบบของ Note.

สรุ ปผลการศึกษา
จากการทดลองการนา TeklaBIMsight มาใช้ในการจัดทาแบบก่อสร้ างจริ ง (AS-Built
Drawing) ส่ ว นงานระบบอาคารเฉพาะงานระบบสุ ข าภิ บ าลของ โครงการเวฟ พัท ยา พบว่ า
TeklaBIMsight มีความเหมาะสมอยูใ่ นระดับปานกลางเนื่องจาก Tekla Structure ซึ งเป็ น Software
ที่เป็ นฐานข้อมูลของ TeklaBIMsight เป็ น Software สาหรับงานโครงสร้ างอาคาร โดยเฉพาะ
โครงสร้างเหล็กเพราะในตัว Software เองมีขอ้ มูลสาเร็ จรู ปของเหล็กอย่างครบถ้วน ซึ งในส่ วนของ
ระบบสุ ขาภิบาลตัว Software ไม่ขอ้ มูลสาเร็ จรู ปรองรับผูใ้ ช้งาน โดยผูใ้ ช้งานต้องสร้างข้อมูลโดย
กาหนดค่าต่างๆขึ้ นมาเองในส่ วนงานระบบสุ ขาภิบาลทาให้เกิ ดความไม่สะดวกในการใช้งานใน
ส่ วนนี้ แต่ข ้อดี คือ TeklaBIMsight ใช้งานง่ ายไม่ส ลับซับ ซ้อน ฃเหมาะกับการ Review เพื่ อ
ตรวจสอบส่ วนต่างๆของงานสุ ขาภิบาล การแสดงผลของ TeklaBIMsight จะแสดงผลในรู ปแบบ 3
มิติเพื่อประโยชน์ในการวัดระยะต่างๆอีกทั้งยังสามารถ Note บันทึกตาแหน่งภาพหรื อจุดต่างๆที่
ต้องการใน Models แล้วส่ งข้อมูลที่ Note ไปยังผูร้ ่ วมงานส่ วนอื่นๆที่เกี่ยวข้องได้ ซึ่ งทาเกิดความสะ
ดาวกและเข้าใจได้ง่ายต่อผูใ้ ช้งาน และยังสามารถใช้งานบนแท็บเล็ตภายใต้ Application ที่ชื่อว่า
TeklaBIMsight Note ซึ่ งจะช่ วยเกิ ดความสะดวก และเหมาะกับการนาไปเป็ นฐานข้อมูลบริ หาร
อาคารต่อไปได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ผลการเปรี ยบเทียบข้อดีขอ้ เสี ย ของ TeklaBIMsight กับ Naviswork Freedom โดยใช้
เกณฑ์การ Review เพื่อตรวจสอบส่ วนต่างๆของงานสุ ขาภิบาล ของแบบก่อสร้างจริ ง (AS-Built
Drawing) โครงการเวฟ พัทยา พบว่า TeklaBIMsight มีความเหมาสมกว่า Naviswork Freedom

บรรณานุกรม
ปวริ ศร์ ศิริพิพฒั กุล และ พฤฒิธรรม แก้ววิชยั . (2555). คู่มือการใช้ โประแกรมเทคกล้ าสตรัคเจอร์
อย่างละเอียดเบือ้ งต้ น. เข้าถึงได้จาก: http://www.tumcivil.com/ FLB-Tekla_v1/
Mobile/index.html.
ธณัชชา สุ ขขี. (2554). การศึกษาการเลือกใช้ แบบจาลองข้ อมูลอาคาร สาหรับอุตสาหกรรม
ก่อสร้ างในประเทศไทย. การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการ
จัดการโครงการก่อสร้าง, บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร.
ทรงพล ยมนาค. (2553). “Building Information Modeling สาหรับงานออกแบบ ก่อสร้าง ”.
บทความวิช าการในโครงการประชุ ม วิ ช าการระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาคณะสถาปั ต ยกรรม-
ศาสตร์ , (,มีนาคม): 14-26
ประภาส ตั้งอดุลย์รัตร์ . (2552). “ BIM เติมเต็มดีไซน์สามมิติเพื่อทุกการออกแบบที่เหนือกว่า”
Construction and Property, 18 (พฤศจิกายน-ธันวาคม): 22-25
วิวฒั น์ อุดมปิ ติทรัพย์. (2552). “ การประยุกต์ใช้ BIM ในการออกแบบอย่างมีประโยชน์สูงสุ ด ”
Construction and Property, 18 (พฤศจิกายน-ธันวาคม) : 27-30
ประวัติความเป็ นมาของการเขียนแบบ. (2555). เข้าถึงได้จาก : http://www.suraphin.ac.th/
webpage%20a3/47%20chanchai.pdf
ประเวศ มณี กุล. (2541). ความรู ้เบื้องต้นการเขียนแบบ. เข้าถึงได้จาก :http//www.bspwit.ac.th/
LINK%20PAGE/Art%Group/Drawing%20Tech/D-TECH%2020UNIT-01.php

American Instute of Architects (AIA). (2006). Technology in architectural practice 2005-2006


BIM awards. The American Instiute of Architects. Washinton D.C.
American Institute of Architects (AIA). (2012). Laiserin’s explanation of why ‘BIM’ should
Be an industry standard-term. Available from http://www.laiserin.com/features/
issue15/feature01.php
American Society of Heating, Refrigerating and Air Conditioning Engineers (ASHIRAE).
(2009). An Introduction To Building Information Modelling (BIM). Available from
http://www.cadlore.com/
Autoddesl Inc. (2002). Building Information Modeling. Autodesk building industry solution,
USA,
CAD software – history of CAD CAM. (2011). Accessed November 24. Available from http://
www.cadazz.com/cad-software-history.htm
Charles Thomsen. (2010). BIM: Building Information Modeling. Accessed July 20. Available
Eastman, C.E. (2008). BIM Handbook A Guide to Building Information Modeling for
Owner Manager. Designers. Engineers and Contractors. New Jersey. John and Sons.
Georgia Institute of technology. (2009). Steps toward Realizing Building Information
Modeling. Accessed March 9.Available from dcom.arch.gatech.edu/class/…/
Presentation1.pdf
Hardin, B. (2009). BIM and construction management proven tools, methods and
workflows. Canada. Wiley Publishing.
Harris, F. and McCaffer. R., (2001). Modern Construction Management. 5th Edition Black
well Science Ltd, Malden USA.
McGraw-Hill Construction Research and Analytics (MCRA). (2009). The business value of
BIM Getting building information modeling to the bottom line. USA: McGraw-Hill
Construction
Mendati, P. (2008). “BIM extension into later stages of project life cycle.” Ph.D. Thesis.
Southem State University, Georgia

You might also like