You are on page 1of 7

อนุสัญญาระหวางประเทศที่เกี่ยวกับการขนสงทางทะเล

ความสําคัญและความจําเปนในการเขาเปนภาคีอนุสัญญาระหวางประเทศ
การเขาเปนภาคีและ/หรือรับหลักการของอนุสัญญาระหวางประเทศขางตนมาใชในปจจุบันถือวามี
ความจําเปนอยางยิ่งในการพัฒนา ยกระดับ และเสริมสรางขีดความสามารถในการแขงขันของกิจการ
พาณิชยนาวีไทย เพราะปจจุบันอนุสัญญาระหวางประเทศเหลานี้ไดรับการยอมรับเปนมาตรฐานสากลซึ่ง
ประเทศตางๆทั่วโลกโดยเฉพาะประเทศพัฒนาแลวใหการยอมรับและปฏิบัติตามอยางเครงครัด หากประเทศ
ไทยไมสามารถยอมรับและนํามาปฏิบัติตามไดก็จะไดรับผลกระทบคือ เรือสินคาของไทยไปทําการคาไดใน
ตลาดที่จํากัด ผูประกอบการไทยไมไดรับการยอมรับจากคูคาโดยเฉพาะประเทศพัฒนาแลว สงผลใหกิจการ
พาณิชยนาวีไทยมีระดับการพัฒนาที่จํากัด ตนทุนการขนสงสูง ทําใหไมสามารถแขงขันกับตางชาติได

อนุสัญญาระหวางประเทศที่เกีย่ วของกับการขนสงทางทะเลแบงเปน 2 กลุม คือ


1. อนุสัญญาระหวางประเทศขององคการทางทะเลระหวางประเทศ (International Maritime
Organization: IMO) ซึ่งมีลักษณะเปนการวางกรอบเกี่ยวกับมาตรฐานดานความปลอดภัยทางทะเล การ
รักษาความปลอดภัยทางทะเล การคุมครองสิ่งแวดลอมทางทะเล และการอํานวยความสะดวกในการขนสง
ทางทะเลแกประเทศสมาชิก IMO เนื่องจากอุบัติภัยทางทะเลที่เกิดจากเรือหรือการเดินเรือที่ไมปลอดภัยยอม
ทําใหเกิดความเสียหายตอชีวิตและทรัพยสิน และสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมทางทะเลอยางมาก
2. อนุสัญญาระหวางประเทศในกลุม Private maritime law มีลักษณะเปนการวางกรอบ
เกี่ยวกับพื้นฐานที่จําเปนในการประกอบธุรกิจดานการขนสงทางทะเล โดยเปนการกําหนดสิทธิและหนาที่
ของฝายตางๆที่เกี่ยวของ ปจจุบันประเทศไทยยังมิไดเขาเปนภาคีอนุสัญญาใดๆในกลุมนี้ แตไดมีการรับ
หลักการที่สําคัญของอนุสัญญาในกลุมนี้บางฉบับมาใชในกฎหมายหลายฉบับ เชน พ.ร.บ.การจํานองและ
บุริมสิทธิทางทะเล พ.ศ. 2537 พ.ร.บ.การเฉลี่ยความเสียหายทั่วไปจากภยันตรายในการเดินเรือ พ.ศ. 2547
พ.ร.บ. ความรับผิดทางแพงเพื่อคาเสียหายจากเรือโดนกัน พ.ศ. 2528 พ.ร.บ. การกักเรือ พ.ศ. 2534 เปนตน
การยอมรับหลักการของอนุสัญญาระหวางประเทศในกลุมนี้มาใชในกฎหมายไทยจะชวยใหประเทศไทย
ไดรับความเชื่อถือจากตางประเทศวามีกฎหมายที่ทันสมัย ทําใหประเทศไทยมีความรับผิดในระดับเดียวกับ
ประเทศอื่นที่เปนภาคีอนุสัญญาซึ่งจะชวยใหผูประกอบการไทยสามารถแขงขันบนพื้นฐานที่เทาเทียมกัน
ตลอดจนสามารถใชเปนแนวทางในการกําหนดสิทธิและหนาที่ของฝายตางๆที่เกี่ยวของและเปนแนวทางให
ศาลนํามาปรับใชในการวินิจฉัยเรื่องดังกลาว
2

องคการทางทะเลระหวางประเทศ (International Maritime Organization : IMO)


จัดตั้งขึ้นตามอนุสัญญาวาดวยองคการทีป่ รึกษาทางทะเลระหวางรัฐบาล (Convention on the Inter
Governmental Maritime Consultative Organization : IMO ซึ่งลงนามที่กรุงเจนีวา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม
2491 มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2501 และจัดตั้งสําเร็จ วันที่ 6 มกราคม 2502 เมื่อมีการประชุม
สมัชชา (Assembly) สมัยแรก ตอมาชื่อขององคการไดเปลี่ยนเปนองคการทางทะเลระหวางประเทศ เมื่อมี
การแกไขอนุสญ ั ญาและมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2525 ประเทศไทยสมัครเปนสมาชิกของ
องคการเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2516 ปจจุบันมีประเทศสมาชิกรวมทั้งสิน้ 167 ประเทศ สํานักงานใหญตั้งอยู
ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร อนุสัญญาและพิธสี าร คือ ขอปฏิบัติที่มีผลทางกฎหมาย ซึ่งหลังจากที่มี
ผลบังคับใชแลวทุกประเทศที่เปนสมาชิกจะตองปฏิบัติตามเนื้อหาของอนุสัญญาและพิธีสารตางๆ จะ
เกี่ยวของกับความปลอดภัยทางทะเล การปองกันมลพิษทางทะเล การประกันภัย การชดใชคาเสียหายและ
อื่นๆ สถานภาพของประเทศไทยในการเขาเปนภาคีอนุสญ ั ญา

อนุสัญญาระหวางประเทศของ IMO ที่ประเทศไทยไดเขาเปนภาคีแลว


ปจจุบันประเทศไทยในฐานะสมาชิกของ IMO ไดดําเนินการเขาเปนภาคีอนุสัญญาระหวางประเทศ
ของ IMO รวม 13 ฉบับ ดังนี้
1. อนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยองคการทางทะเลระหวางประเทศ ค.ศ.1948
(Convention on International Maritime Organization, 1948: IMO Convention 48) เขาเปน
ภาคีเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2516
วัตถุประสงค เพื่อกําหนดโครงสราง แนวทางและขั้นตอนการดําเนินงานขององคการทางทะเล
ระหวางประเทศ และกติกาการดําเนินการตางๆสําหรับประเทศสมาชิก IMO
2. ขอแกไข ค.ศ.1991 ของอนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยองคการทางทะเลระหวางประเทศ
(Amendments to the Convention on International Maritime Organization, 1991: IMO
amendments 91) เขาเปนภาคีเมื่อป 2537
3. ขอแกไข ค.ศ.1993 ของอนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยองคการทางทะเลระหวางประเทศไทย
(Amendments to the Convention on International Maritime Organization, 1991: IMO
amendments 93)
4. อนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยแหงชีวิตในทะเล ค.ศ.1972 (International
Convention for the Safety of Life at Sea, 1974 as amended: SOLAS 1974)
วัตถุประสงค เพื่อให เกิดความปลอดภัยในการเดิน เรือ โดยกําหนดมาตรฐานขั้น ต่ําในเรื่อง
โครงสรางตัวเรือ อุปกรณความปลอดภัย และวิธีการติดตั้งอุปกรณและการใชงานบนเรือ
3

5. อนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยแนวน้ําบรรทุก ค.ศ.1966 (International Convention on


Load Lines, 1966 : LOAD LINES 66)
วัตถุประสงค เพื่อกําหนดหลักเกณฑในการคํานวณความสามารถในการบรรทุกสูงสุดของเรือ
แตละประเภทแตละลํา โดยคํานึงถึงความสามารถในการลอยตัวของเรือเพื่อความปลอดภัยใน
การเดินเรือ
6. อนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการวัดขนาดตันเรือ ค.ศ.1969 (International Convention on
Tonnage Measurement of Ships, 1969: TONNAGE 1969)
วัตถุประสงค เพื่อใหมีหลักเกณฑเกี่ยวกับวิธีการวัดปริมาตรของเรือเพื่อการคํานวณคาภาระ
ตางๆของเรือซึ่งเปนมาตรฐานสากล และเพื่อใชอางอิงเกี่ยวกับขนาดของเรือในอนุสัญญาอื่นๆ
7. กฎขอบังคับระหวางประเทศเพื่อปองกันเรือโดนกันในทะเล ค.ศ.1972 (Convention on the
International Regulations for Preventing Collisions at Sea, 1972, as amended:
COLREG 1972)
วัตถุประสงค เพื่อใหมีกฎขอบังคับเปนแบบอยางสากลวาดวยการเดินเรือในเวลาเรือเขาใกลกัน
หรือในขณะที่ทัศนวิสัยไมดี ตลอดจนวางกฎเกณฑเกี่ยวกับสัญญาณ แสง และเสียง และ
เครื่องหมายสัญญาณรูปทรงตางๆ ทั้งนี้ เพื่อปองกันการโดนกันของเรือ
8. อนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยมาตรฐานการฝกอบรม การออกประกาศนียบัตร และการเขา
ยามของคนประจําเรือ ค.ศ.1978 ตามที่แกไข ค.ศ.1995 (International Convention on
Standards of Training, Certification and Watchkeeping for Seafarers, 1978, as
amended : STCW 1978)
วัตถุประสงค เพื่อใหมีเงื่อนไขและหลักเกณฑในการปฏิบัติหนาที่ในเรือของชาวเรือ ตลอดจน
คุณสมบัติขั้นต่ําของคนประจําเรือ และมาตรฐานในการฝกอบรมและการออกประกาศนียบัตร
ใหเหมาะสมและเกิดความปลอดภัยแกชีวิตและทรัพยสินในการเดินเรือ รวมถึงสภาพแวดลอม
ในทะเล
9. อนุ สั ญ ญาระหว า งประเทศว า ด ว ยองค ก ารดาวเที ย มทางทะเลระหว า งประเทศ ค.ศ.1976
(Convention on International Maritime Satellite Organization, 1976 : INMARSAT 76)
วัตถุประสงค เพื่อจัดตั้งองคการดาวเทียมชวยการเดินเรือระหวางประเทศขึ้น เพื่อเขาทําการ
บริหารและปรับปรุงการสื่อสารโทรคมนาคมโดยผานดาวเทียมสื่อสารสําหรับการเดินเรือ
10. ความตกลงดานการปฏิบัติการเกี่ยวกับอนุสัญญาระหวางประเทศ ค.ส.1976 (International
Maritime Satellite Organization Operating Agreement, 1976 : INMARSAT OA 76)
4

11. อนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการอํานวยความสะดวกในการเดินเรือระหวางประเทศ ค.ศ.


1965 (Convention on Facilitation of International Maritime Traffic, 1965 : FAL 65)
วัตถุประสงค เพื่อปองกันความลาชาที่อาจเกิดขึ้นแกเรือที่เขาออกจากทาเรือสากลโดยไมจําเปน
ดวยสาเหตุจากความยุงยากซับซอนและความแตกตางของแบบฟอรมสอบถามขอมูลเกี่ยวกับ
เรือสินคาและลูกเรือที่แตกตางกันไปในทาเรือแตละทา โดยการยอมรับแบบฟอรมขอมูลที่เปน
รูปแบบมาตรฐานเดียวกัน
12. อนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการเตรียมการปฏิบัติการและความรวมมือในการปองกันและ
ขจัดมลพิษจากน้ํามัน ค.ศ.1990 (International Convention on Oil Pollution Preparedness,
Response and Co-operation, 1990 : OPRC 90)
วัตถุประสงค เพื่อเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศในการเตรียมความพรอมในการขจัด
คราบน้ํามัน
13. อนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการปองกันมลพิษจากเรือ ค.ศ.1973 และพิธีสาร ค.ศ.1978
(International Convention for the Prevention of Pollution from Ships, 1973, as modified
by the Protocol 1978, as amended : MARPOL 73/78)
วัตถุประสงค เพื่อปองกันมลภาวะทางทะเลที่เกิดจากการปฏิบัติการของเรือหรืออุบัติเหตุที่
เกิดขึ้นในทะเล โดยอนุสัญญาครอบคลุมกฎระเบียบที่มุงปองกันและลดมลภาวะจากเรือ มี
ภาคผนวก 6 ดาน คือ ปองกันมลภาวะจากน้ํามัน ควบคุมมลภาวะจากสารเคมีในถังระวางเรือ
ปองกันอันตรายจากการขนสงวัตถุเคมีในรูปแบบหีบหอ ปองกันมลภาวะจากของเสียในเรือ
ป อ งกั น มลภาวะจากขยะบนเรื อ และป อ งกั น มลภาวะทางอากาศจากเครื่ อ งยนต เ รื อ โดย
กระทรวงการตางประเทศไดลงนามในภาคยานุวัติสารเขาเปนภาคีอนุสัญญานี้ตอองคการทาง
ทะเลระหวางประเทศตั้งแตวันที่ 15 ตุลาคม 2550 และมีผลบังคับใชกับประเทศไทยตั้งแตวันที่
2 กุมภาพันธ 2551

อนุ สั ญ ญาของ IMO ที่ ป ระเทศไทยโดยกรมการขนส ง ทางน้ํ า และพาณิ ช ยนาวี อ ยู ร ะหว า งการ
ดําเนินการเพื่อ เขาเปนภาคีมีดังนี้
1. International Convention on Civil Liability for Oil Pollution Damage, 1969 (CLC)
วัตถุประสงค เพื่อกําหนดคาชดเชยใหกับบุคคลซึ่งไดรับผลกระทบจากมลภาวะน้ํามันรั่วไหลที่
เกิดจากอุบัติเหตุทางทะเลของเรือขนสงน้ํามัน โดยกําหนดความรับผิดทางแพงกับเจาของเรือที่
ทํา ใหเกิดมลภาวะจากน้ํามันรั่วไหลลงทะเล
5

2. International Convention on the Establishment of an International Fund for


Compensation for Oil Pollution Damage, 1971(FUND)
วัตถุประสงค เพื่อกําหนดคาชดเชยจากความเสียหายที่เกิดจากมลภาวะจากน้ํามัน เปนกองทุน
เพื่อ บรรเทาภาระที่เจาของเรือตองชดใชใหกับบุ คคลที่ไดรับผลกระทบจากมลภาวะน้ํามัน
รั่วไหลตาม อนุสัญญา CLC

อนุสัญญาระหวางประเทศที่ประเทศไทยมีแผนการที่จะเขาเปนภาคีตอไป
1. Convention for the Suppression of Unlawful Acts Against the Safety of Maritime
Navigation, 1988 (SUA 88)
วัตถุประสงค เพื่อเปนกําหนดมาตรการปองกันสําหรับภัยคุกคามที่เกิดกับความปลอดภัยในการ
เดินเรือ และความมั่นคงปลอดภัยของลูกเรือและผูโดยสารในเรือ
2. Protocol of 1978 relating to the International Convention for the Safety of Life at Sea,
1974 (SOLAS PROT 1978)
วัตถุประสงค เพื่อให เกิดความปลอดภัยในการเดิน เรือ โดยกําหนดมาตรฐานขั้น ต่ําในเรื่อง
โครงสรางและวิธีการติดตั้งอุปกรณสําหรับเรือขนสงน้ํามันโดยเฉพาะเรือขนสงน้ํามันดิบ
3. Protocol of 1988 relating to the International Convention for the Safety of Life at Sea,
1974 (SOLAS PROT 1988)
วัตถุประสงค เพื่อเปนการกําหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการตรวจสอบและการออกใบรับรอง
ความปลอดภัยของเรือตามอนุสัญญา SOLAS Load Lines และ MARPOL ใหเปนระบบ
เดียวกัน โดยมุงใหลดคาใชจายใหกับเจาของเรือและหนวยงานภาครัฐ
4. Protocol of 1988 relating to the International Convention Load Lines, 1966 (LL PROT
1988)
วัตถุประสงค เพื่อเปนการกําหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการตรวจสอบและการออกใบรับรอง
ความปลอดภัยของเรือตามอนุสัญญา SOLAS และ MARPOL ใหเปนระบบเดียวกัน โดยมุงให
ลดคาใชจายใหกับเจาของเรือและหนวยงานภาครัฐ
5. International Convention for Safe Containers 1972: CSC 72 อนุสัญญาระหวางประเทศวา
ดวยคอนเทนเนอรที่ปลอดภัย ค.ศ. 1972
6. International Convention on Maritime Search and Rescue (SAR), 1979 อนุสัญญา
ระหวางประเทศวาดวยการคนหาและชวยเหลือผูประสบภัยทางทะเล ค.ศ.1979
6

7. International Convention for the Prevention of Pollution from Ships, 1973, as modified
by the Protocol 1978, as amended (MARPOL 73/78) Annex 3-6 อนุสัญญาระหวาง
ประเทศวาดวยการปองกันมลภาวะจากเรือ ค.ศ.1973
8. International Convention for the Control and Management of Ships' Ballast Water and
Sediments, 2004 อนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการควบคุมและบริหารจัดการน้าํ อับเฉา
และตะกอนในเรือ ค.ศ.2004

แนวทางการปฏิบัติตามอนุสัญญาระหวางประเทศ
ในการอนุวัติการอนุสัญญาระหวางประเทศที่ไทยเขาเปนภาคีซึ่งเปนอนุสัญญาของ IMO ทั้งหมดนั้น
กรมการขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวีมีแนวทางการดําเนินการใน 3 ลักษณะ ดังนี้
1. การดําเนินการในฐานะรัฐเจาของธง (Flag State) เปนการกํากับดูแลเพื่อใหเรือที่จด
ทะเบียนและชักธงไทยปฏิบัติตามมาตรฐานที่กําหนดไวในอนุสัญญาของ IMO โดยกรมการขนสงทางน้ําฯ
จะออกกฎหมาย กฎระเบียบตางๆซึ่งกําหนดใหผูประกอบการเรือ (หรือทาเรือในบางกรณี) ตองปฏิบัติตาม
โดยมีการตรวจสอบตามแนวทางที่ไดกําหนดไวในอนุสัญญาแตละฉบับ โดยกรมฯจะไมออกใบอนุญาตหรือ
ใบสําคัญรับรองใหแกผูประกอบการที่ไมปฏิบัติตามหรือปฏิบัติตามแตไมไดมาตรฐานที่กําหนด แลวแตกรณี
2. การดําเนินการในฐานะรัฐเมืองทา (Port State ) เปนการกํากับดูแลเพื่อตรวจสอบวาเรือที่
ชัก ธงของชาติ อื่น ที่ ม าเข า เที ย บทา เรื อไทยได ปฏิบั ติต ามมาตรฐานของ IMO หรื อ ไม โดยดํา เนิน การใน
ลัก ษณะความร ว มมือกับประเทศอื่ น หากเจา หนา ที่ ของกรมฯตรวจพบเรื อ ของชาติอื่น ที่ไมปฏิบัติต าม
มาตรฐานของ IMO ก็จะมีวิธีดําเนินการตางๆ เชน แจงใหดําเนินการแกไขขอบกพรองที่ตรวจพบภายในเวลา
ที่กําหนด หรือกักเรือจนกวาจะดําเนินการแกไขขอบกพรองที่ตรวจพบแลวเสร็จ เปนตน การดําเนินการใน
ฐานะรัฐเมืองทานี้จะใชกับอนุสัญญาของ IMO จํานวน 5 ฉบับ ไดแก SOLAS, STCW, LOAD LINES,
MARPOL, COLREG
3. การดําเนินการในฐานะรัฐชายฝง (Coastal State) เปนการยืนยันสิทธิและอํานาจอธิปไตย
ในนานน้ําของตน ใหความรวมมือ อํานวยความสะดวก และความชวยเหลือแกเรือที่แลนผานนานน้ําโดย
สุจริต (innocent passage) เชน การสํารวจดานอุทกศาสตรทางทะเลในการจัดทําแผนที่เดินเรือ การติดตั้ง
ทุนเครื่องหมายและอุปกรณชวยในการเดินเรือ การออกประกาศเตือนชาวเรือ การใหบริการพยากรณอากาศ
ในการเดินเรือ การควบคุมการจราจรทางทะเล การจัดใหมีสถานีฝงในการสื่อสารทางทะเล การคนหาและ
ชวยเหลือเรือประสบภัย เปนตน
7

ในสวนของกฎหมายไทยที่รับหลักการของอนุสัญญาระหวางประเทศในกลุม Private maritime law


มานั้น เนื่องจากมีลักษณะเปนการวางกรอบแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับสิทธิและหนาที่ของฝายตางๆ จึงมิไดมี
บทบัญญัติที่เกี่ยวกับการกํากับดูแล ควบคุม และบทลงโทษอยางชัดเจน

---------------------------------
รวบรวมโดย
ฝายองคการทางทะเลระหวางประเทศ กองกิจการระหวางประเทศ
กรมการขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวี
เมษายน 2551
โทร. 02-6394769 E-mail: international@md.go.th

You might also like