You are on page 1of 35

กฎหมายระหว่างประเทศ

INTERNATIONAL LAW
หน่วยที่ 11
กฎหมายทะเล

ดร.ศาสดา วิริยานุ พงศ์, Docteur en droit


ประวัติผูบ้ รรยายโดยสังเขป
การศึกษา การทางาน
 ปริญญาเอกทางกฎหมาย (กฎหมายมหาชน) เกียรตินิยมดีมาก ด้วย  อาจารย์ประจาสาขาวิชานิ ติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ความชื่นชมเป็ นเอกฉันท์ของคณะกรรมการสอบ (avec les félicitations du  อนุ กรรมาธิการด้านการเงิน การธนาคาร สถาบันการเงินและตลาดทุน ใน
jury à l’unanimité) มหาวิทยาลัยนิ ติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ คณะกรรมาธิการการเศรษฐกิจ การเงินและการคลัง สภานิ ติบญั ญัติแห่งชาติ
แห่งกรุงปารีส - ปารีส 2 (PANTHÉON-ASSAS) กรุงปารีส ประเทศฝรัง่ เศส
 ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์คณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมืองและการมีส่วนร่วมของ
 ปริญญาชั้นสูง (กฎหมายรัฐธรรมนูญ) มหาวิทยาลัยนิ ติศาสตร์ ประชาชน วุฒิสภา
เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ แห่งกรุงปารีส - ปารีส 2 (PANTHÉON-
 นักวิจยั ด้านกฎหมาย สถาบันนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
ASSAS) กรุงปารีส ประเทศฝรัง่ เศส
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
 นิติศาสตร์บณั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรุงเทพมหานคร  ผูอ้ านวยการวิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ (มศว.
 มัธยมศึกษา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร ภาคใต้) (2556-2560)
 รองคณบดีคณะนิ ติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ (มศว.ภาคใต้)
การอบรมที่สาคัญ
 ข้าราชการสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
 หลักสูตรการปฏิบตั ิการจิตวิทยาฝ่ ายอานวยการ สถาบันจิตวิทยาความ
มัน่ คง สถาบันวิชาการป้ องกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย  ผูช้ ่วยดาเนิ นงานสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (รัฐธรรมนูญ 2540)
 หลักสูตรนักบริหารระดับสูง “ธรรมศาสตร์เพื่อสังคม” สถาบันวิทยาการ  อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ธรรมศาสตร์เพื่อสังคม มูลนิ ธิสถาบันวิทยาการธรรมศาสตร์เพื่อสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ฯลฯ

SARTSADA WIRIYANUPONG
ความรูพ้ ื้ นฐานเกี่ยวกับกฎหมายทะเล

SARTSADA WIRIYANUPONG
กฎหมายทะเล เป็ นสาขาหนึ่ งของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง

มีที่มาจาก จารีตประเพณี
กฎหมายทะเล
อนุ สญ
ั ญาระหว่างประเทศ

SARTSADA WIRIYANUPONG
กฎหมายระหว่างประเทศมีที่มาจากจารีตประเพณี
 หลักเกณฑ์หรือกฎที่มาจากจารีตประเพณีมีอิทธิพลต่อกฎหมายทะเลมานาน
และเด่นชัดมาก เนื่ องจากสังคมนานาชาติไม่นิยมการสร้างกฎเกณฑ์ในรูป
ของอนุ สญ
ั ญา
 หลักเกณฑ์หรือกฎที่มาจากจารีตประเพณีไปได้ดว้ ยดีกบั ข้อพิพาทซึ่งไม่
รุนแรงนัก

SARTSADA WIRIYANUPONG
กฎหมายระหว่างประเทศมีที่มาจากอนุ สญ
ั ญา
 การสร้างกฎเกณฑ์โดยวิธีนี้เริ่มเกิดขึ้ นเมื่อกลางศตวรรษที่ 19
 มีอนุ สญ
ั ญาที่เกี่ยวกับกฎหมายทะเลสองฉบับ ได้แก่ อนุสญ ั ญากรุงเจนีวาว่า
ด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 และอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้วย
กฎหมายทะเลฉบับมองเตโกเบย์ ค.ศ. 1982*

*มีพิธีลงนามที่กรุงมองเตโกเบย์ ประเทศจาเมกา
SARTSADA WIRIYANUPONG
ความหมายของกฎหมายทะเล
กฎหมายทะเล แปลมาจากภาษาอังกฤษว่า “Law of the Sea” และจากภาษาฝรัง่ เศสว่า
“Droit de la Mer” เดิมรวมอยูก
่ บั วิชา Maritime Law หรือ Droit Maritime หรือกฎหมาย
พาณิชย์นาวี

นับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็ นต้นมา Maritime Law จะครอบคลุมเฉพาะกฎหมายซึ่งมี


วัตถุประสงค์ที่จะบังคับใช้กบั กับการเดินเรือในทะเลเท่านั้น ส่วนวิชากฎหมายทะเลเป็ น
เรื่องราวของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมืองที่เกี่ยวกับการใช้อานาจอธิปไตยและสิทธิ
อธิปไตยของรัฐ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ การใช้และแสวงหาผลประโยชน์จากทะเล
SARTSADA WIRIYANUPONG
วิวฒ
ั นาการของกฎหมายทะเล
 กฎหมายทะเลมีมาตั้งแต่กฎหมายโรมันหรือในศตวรรษที่ 2 โดยเฉพาะหลักแห่ง
เสรีภาพในทะเล (The freedom of the Sea)
 ต่อมาในศตวรรษที่ 16 สเปนอ้างตนเป็ นเจ้าของมหาสมุทรแปซิฟิกและ
แอตแลนติก ในขณะที่โปรตุเกสประกาศสิทธิครอบครองในมหาสมุทรแอตแลนติก
และมหาสมุทรอินเดีย ทาให้เกิดกรณีขอ้ พิพาทขึ้ น พระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์
ที่ 6 ได้เข้ามาแก้ไขข้อพิพาท จากเหตุการณ์ดงั กล่าวส่งผลกระทบต่อกฎหมาย
ทะเล จากการกระทาของสเปนและโปรตุเกสโดยระบบ “ธงเรือถึงไหนอานาจถึง
นั้น” จนกระตุน้ ให้นักกฎหมายของประเทศต่างๆ พากันปฏิเสธความคิดดังกล่าว
SARTSADA WIRIYANUPONG
ยุคทองแห่งเสรีภาพในท้องทะเลจึงได้เกิดขึ้ นในสมัยนี้ เอง โดยมีการเสนอหลักการที่วา่ ด้วย “เสรีภาพในท้องทะเล
หลวง” (Freedom of the High Seas) ใน ค.ศ. 1609

โดย ฮิวโก โกรติอุส (Hugo Grotius) นักกฎหมายชาวเนเธอร์แลนด์ ซึ่งได้รบั การยกย่องว่าเป็ นบิดาแห่งกฎหมาย


ระหว่างประเทศ ได้เขียนหนังสือ Mare Liberum หรือ เสรีภาพในทะเล

โกรติอุส ยืนยันว่า รัฐ ซึ่งมีอานาจอธิปไตยย่อมมีอานาจและสิทธิในการเดินเรือไปทัว่ ทุกแห่งหนในบริเวณพื้ นน้ า


ของโลก และยอมรับว่ารัฐชายฝั ง่ มีอานาจในการกาหนดทะเลอาณาเขต
SARTSADA WIRIYANUPONG
ศตวรรษที่ 18 เกิดแนวคิดเรื่องทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) เพื่อความปลอดภัยของรัฐชายฝั ง่ ในการป้ องกัน
ตนเองและเพื่อความปลอดภัยของรัฐเป็ นกลางในเวลาสงคราม

ศตวรรษที่ 19 ได้มีอนุ สญ ั ญากรุงเจนี วาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ซึ่งประกอบด้วย


1. อนุ สญ ั ญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่ อง
2. อนุ สญ
ั ญาว่าด้วยทะเลหลวง
3. อนุ สญั ญาว่าด้วยการประมงและการอนุ รกั ษ์ทรัพยากรที่มีชีวติ ในทะเลหลวง
4. อนุ สญ ั ญาว่าด้วยไหล่ทวีป

SARTSADA WIRIYANUPONG
ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยกฎหมายทะเลฉบับมองเตโกเบย์ ค.ศ. 1982 ที่เกี่ยวกับการใช้สิทธิครอบครองและ
อนุ สญ
กาหนดหน้าที่ของรัฐในบริเวณต่างๆ ของทะเล

การศึกษากฎหมายทะเลจึงจาเป็ นต้องศึกษาในส่วนของทฤษฎี และอนุ สญ ั ญา


กรุงเจนี วาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 อนุ สญ
ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วย
กฎหมายทะเลฉบับมองเตโกเบย์ ค.ศ. 1982 ไปด้วยกัน

SARTSADA WIRIYANUPONG
การขยายอาณาเขตทางทะเลของรัฐ

SARTSADA WIRIYANUPONG
ทะเลอาณาเขต
 อนุ สญ
ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ได้กาหนดความ
กว้างของทะเลอาณาเขตว่าต้องไม่เกิน 12 ไมล์ทะเลโดยวัดจากเส้นฐาน*
(baselines)
 รัฐชายฝั ง่ มีอานาจอธิปไตยเหนื อบริเวณทะเลอาณาเขตของตน

*เส้นฐานปกติ คือ แนวน้ าลดตลอดชายฝั ง่ ที่ได้กาหนดไว้


เส้นฐานตรง คือ การลากเส้นตรงเชื่อมจุดที่เหมาะสมเพื่อวัดความกว้างของทะเลอาณาเขต กรณีแนวฝั ง่ ทะเลเว้าแหว่งละตัดลึก
เข้ามา หรือมีเกาะเป็ นแนวตามชายฝั ง่ ทะเลในบริเวณใกล้เคียงที่ติดต่อกัน

SARTSADA WIRIYANUPONG
เขตทางทะเลตามอนุ สญ
ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982

ภาพจากเว็บไซต์ “ฐานข้อมูลความรูท้ างทะเล” (Marine Knowledge Hub) ภายใต้ โครงการจัดการความรูเ้ พื่อผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล


SARTSADA WIRIYANUPONG
สิทธิในการผ่านโดยสุจริต
 ในทางปฏิบตั ิและจารีตประเพณีที่มีมานาน ย่อมเป็ นที่ยอมรับว่าทะเลเป็ น
เส้นทางคมนาคมที่สาคัญของมนุ ษย์ รัฐชายฝั ง่ มีหน้าที่ตอ้ งผูกผันและรับรูถ้ ึง
เรื่องนี้
 รัฐชายฝั ง่ ต้องยอมรับสิทธิของรัฐอื่นในการใช้พนนื้ ้ าบริเวณทะเลอาณาเขต
ภายใต้เงื่อนไขที่กาหนดไว้ในอนุ สญ ั ญาว่าด้วยกฎหมายทะเล
 สิทธินี้เราเรียกว่า สิทธิในการผ่านโดยสุจริต (Right of Innocent Passage)

SARTSADA WIRIYANUPONG
เขตต่อเนื่ อง
 อนุ สญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยกฎหมายทะเลปี ค.ศ. 1982 กาหนดให้เขต
ต่อเนื่ องมิอาจขยายเกินกว่า 24 ไมล์ทะเลจากเส้นฐาน ซึ่งใช้วดั ความกว้าง
ของทะเลอาณาเขต (อนุ สญ ั ญาฯ ค.ศ. 1982 ข้อ 33 วรรคสอง)
 ในบริเวณเขตต่อเนื่ อง รัฐชายฝั ง่ มีอานาจปฏิบตั ิการที่จาเป็ น เพื่อป้ องกันการ
ละเมิดกฎหมาย และข้อบังคับเกี่ยวกับการศุลกากร การรัษฎากร การเข้า
เมือง และการอนามัย

SARTSADA WIRIYANUPONG
เขตทางทะเลตามอนุ สญ
ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982

ภาพจากเว็บไซต์ “ฐานข้อมูลความรูท้ างทะเล” (Marine Knowledge Hub) ภายใต้ โครงการจัดการความรูเ้ พื่อผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล


SARTSADA WIRIYANUPONG
เขตเศรษฐกิจจาเพาะ
 บริเวณที่ประชิดและอยูเ่ ลยไปจากทะเลอาณาเขต โดยเขตเศรษฐกิจจาเพาะ
จะต้องไม่ขยายออกไปเกิน 200 ไมล์ทะเลจากเส้นฐานซึ่งใช้วดั ความกว้าง
ของทะเลอาณาเขต (อนุ สญ ั ญาฯ ค.ศ. 1982 ข้อ 55 และข้อ 57)
 เขตเศรษฐกิจจาเพาะก่อตั้งขึ้ นเพือ่ ตอบสนองความต้องการของรัฐชายฝั ง่
เป็ นความพยายามที่จะสร้างความสมดุลระหว่างหลักเสรีภาพแห่งการ
เดินเรือกับการขยายอาณาเขตทางทะเลของรัฐชายฝั ง่

SARTSADA WIRIYANUPONG
เขตทางทะเลตามอนุ สญ
ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982

ภาพจากเว็บไซต์ “ฐานข้อมูลความรูท้ างทะเล” (Marine Knowledge Hub) ภายใต้ โครงการจัดการความรูเ้ พื่อผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล


SARTSADA WIRIYANUPONG
 รัฐชายฝั ง่ มีสิทธิอธิปไตยเพื่อความมุง่ ประสงค์ในการสารวจ (exploration) และ
การแสวงประโยชน์ (exploitation) การอนุ รกั ษ์ (conservation) และการจัดการ
(management) ทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งที่มีชีวต ิ หรือไม่มีชีวติ ในน้ าเหนื อพื้ นดิน
ท้องทะเล (water superjacent to the sea-bed) และในพื้ นดินท้องทะเล (sea-
bed) กับดินใต้ผิวดิน (subsoil) ของพื้ นดินท้องทะเลนั้ น และมีสิทธิอธิปไตยในส่วน
ที่เกี่ยวกับกิจกรรมอื่นๆ เพื่อการแสวงประโยชน์ และการสารวจทางเศรษฐกิจใน
เขต อาทิเช่น การผลิตพลังงานจากน้ า (water) กระแสน้ า (currents) และลม
(winds) [อนุ สญ ั ญาฯ ข้อ 56 วรรคหนึ่ ง(เอ)]
SARTSADA WIRIYANUPONG
 รัฐชายฝั ง่ มีสิทธิแต่ผูเ้ ดียว (exclusive rights) ในการสร้างหรืออนุ ญาตให้สร้าง และ
ควบคุมการสร้างเกาะเทียม (artificial islands) สิ่งติดตั้ง (installations) และ
สิ่งก่อสร้าง (structures) เพื่อทาการสารวจ และแสวงประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวติ ในเขตเศรษฐกิจจาเพาะ หรือควบคุมการใช้สิ่ง
ติดตั้งหรือสิ่งก่อสร้างอันอาจเป็ นอุปสรรคต่อการใช้สิทธิของรัฐชายฝั ง่ ในเขต
เศรษฐกิจจาเพาะ โดยสิทธิและการปฏิบตั ิหน้าที่ของตนภายใต้อนุ สญ ั ญาว่าด้วย
เขตเศรษฐกิจจาเพาะ รัฐชายฝั ง่ จะต้องคานึ งตามควรถึงสิทธิและหน้าที่ของรัฐอื่นๆ
และจะต้องปฏิบตั ิการในลักษณะที่สอดคล้องกับบทบัญญัติของอนุ สญ ั ญาฯ นี้ [อนุ
สัญญาฯ ข้อ 56(2)]
SARTSADA WIRIYANUPONG
ช่องแคบ
ช่องแคบใดจะเป็ นช่องแคบระหว่างประเทศนั้น มีหลักเกณฑ์ดงั นี้
1. ช่องแคบนั้ นจะต้องเชื่อม 2 ทะเลเปิ ด และ 2 ฝั ง่ ของช่องแคบจะเป็ นของรัฐเดียวกัน หรืออาจจะเป็ นของ 2 รัฐ
หรือมากกว่า 2 รัฐก็ได้
2. ช่องแคบที่เป็ นตัวเชื่อมระหว่างทะเลหลวงและทะเลอาณาเขตของรัฐ
และจะต้องใช้เพื่อการเดินเรือระหว่างประเทศและสาหรับทุกชาติ

ั ญาฯ ค.ศ. 1982 จะมีผลใช้บงั คับกับช่องแคบที่ใช้เพื่อการเดินเรือระหว่างประเทศ โดยกาหนดไว้ในข้อที่ 37


อนุ สญ
ว่า จะบังคับใช้กบั ช่องแคบที่ใช้ในการเดินเรือระหว่างประเทศจากส่วนหนึ่ งของทะเลหลวงหรือเขตเศรษฐกิจ
จาเพาะไปยังอีกส่วนหนึ่ งของทะเลหลวงหรือเขตเศรษฐกิจจาเพาะ
SARTSADA WIRIYANUPONG
สิทธิการผ่านชัว่ คราว
การเดินเรือผ่านช่องแคบระหว่างประเทศเป็ นไปตามหลักพื้ นฐานของเสรีภาพแห่งท้องทะเลและหลักการผ่านโดย
สุจริต หากแต่ในปั จจุบนั รัฐชายฝั ง่ ช่องแคบมักจะออกกฎเกณฑ์เพิ่มเติมในการผ่าน ดังนั้น ต่อมาในการบัญญัติ
ั ญาว่าด้วยกฎหมายทะเล จึงได้กาหนดแนวคิดที่เรียกว่า “การผ่านชัว่ คราว” (transit passage)
อนุ สญ

เรือทุกรัฐมีสิทธิในการผ่านชัว่ คราวและไม่อาจถูกขัดขวางโดยรัฐชายฝั ง่ ช่องแคบ ทั้งนี้ อนุ สญ


ั ญาฯ ได้กาหนด
หน้าที่ของรัฐ ไม่วา่ จะเป็ นรัฐเจ้าของช่องแคบหรือรัฐผูใ้ ช่สิทธิผ่าน ให้เกิดความเป็ นธรรมและเกิดประโยชน์สูงสุด
ทั้งสองฝ่ าย

SARTSADA WIRIYANUPONG
รัฐหมูเ่ กาะ
 เป็ นแนวคิดที่ได้รบั การรับรองไว้อนุ สญั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยกฎหมาย
ทะเล ค.ศ. 1982
 มี่ที่มาจากข้อเสนอของกลุ่มประเทศ ซึ่งเรียกว่า กลุ่มรัฐหมู่เกาะ ได้แก่ ฟิ จิ
อินโดนี เซีย มอริเชียส และฟิ ลิปปิ นส์
 โดยขอให้มีระบอบพิเศษสาหรับประเทศที่มีลกั ษณะของรัฐที่เป็ นหมูเ่ กาะ

SARTSADA WIRIYANUPONG
ทะเลหลวง

SARTSADA WIRIYANUPONG
 ทุกส่วนของทะเลซึ่งไม่ได้รวมอยูใ่ นเขตเศรษฐกิจจาเพาะ (exclusive economic
zone) ในทะเลอาณาเขต (territotial sea) หรือในน่ านน้ าภายใน (internal
water) ของรัฐ หรือในน่ านน้ าหมูเ่ กาะ (archipelagic waters) ของรัฐหมูเ่ กาะ
(อนุ สญ
ั ญาฯ ข้อ 86)

SARTSADA WIRIYANUPONG
เขตทางทะเลตามอนุ สญ
ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982

ภาพจากเว็บไซต์ “ฐานข้อมูลความรูท้ างทะเล” (Marine Knowledge Hub) ภายใต้ โครงการจัดการความรูเ้ พื่อผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล


SARTSADA WIRIYANUPONG
หลักเสรีภาพในทะเลหลวง
 ทะเลหลวงเปิ ดให้แก่ชาติท้งั ปวง ไม่มีชาติใดอาจอ้างสิทธิที่จะทาให้ส่วนหนึ่ งส่วน
ใดของทะเลหลวงตกอยูใ่ นอธิปไตยของตนได้
 เสรีภาพแห่งทะเลหลวงใช้ได้ภายใต้ที่กาหนดไว้โดยอนุ สญ ั ญาฯ ค.ศ. 1982 และ
หลักเกณฑ์อื่นๆ ของกฎหมายระหว่างประเทศ ได้แก่ เสรีภาพในการเดินเรือ
เสรีภาพในการบินผ่าน เสรีภาพในการทาประมง เสรีภาพในการวางสายและ
เคเบิลใต้ทะเล เสรีภาพในการก่อสร้างประภาคารและสิ่งก่อสร้างอื่นๆ เสรีภาพใน
การค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์
 โดยหน้าที่ประการสาคัญของรัฐต่างๆที่ทาการประมงในทะเลหลวงคือ ต้องร่วมมือ
กันเพื่อกาหนดมาตรการในการอนุ รกั ษ์และจัดการทรัพยากรที่มีชีวติ ในท้องทะเล
SARTSADA WIRIYANUPONG
สิทธิและหน้าที่ของรัฐทั้งปวง
 เรือของทุกรัฐมีสิทธิที่จะเดินเรือซึ่งชักธงของตนในทะเลหลวง (อนุ สญั ญาฯ
ค.ศ. 1982 ข้อ 90)
 สิทธิในการเยีย่ มตรวจเรือ – เรือรบจะได้สิทธิพิเศษในการตรวจเรือสินค้า
กรณีมีเหตุอนั ควรสงสัยว่า เรือนั้นทาการโจรสลัด กระทาการค้าทาส มิ
ยินยอมที่จะแสดงธงของตน
 การไล่ตดิ ตามอย่างกระชั้นชิด - สิทธิของรัฐชายฝั ง่ ที่จะไล่ติดตามเรือ
ต่างชาติซึ่งได้กระทาความผิดหรือมีเหตุอนั ควรเชื่อได้วา่ ได้กระทาความผิด
SARTSADA WIRIYANUPONG
เขตไหล่ทวีป

SARTSADA WIRIYANUPONG
ความรูท้ วั ่ ไปเกี่ยวกับไหล่ทวีป
 พื้ นดินท้องทะเล (sea bed) และดินผิวใต้ดิน (subsoil) ของบริเวณใต้ทะเลซึ่ง
ขยายเลยทะเลอาณาเขตของรัฐตลอดส่วนต่อออกไปตามธรรมชาติ (natural
prolongation) ของดินแดนทางบกของตนจนถึงริมนอกของขอบทวีป
(continental margin) มีระยะทางไม่เกิน 350 ไมล์ทะเล จากเส้นฐาน
(baseline) หรือ เลยออกไปไม่เกิน 100 ไมล์ทะเล จากเส้นชันความลึก
(contouring) 2,500 เมตร

SARTSADA WIRIYANUPONG
เขตทางทะเลตามอนุ สญ
ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982

ภาพจากเว็บไซต์ “ฐานข้อมูลความรูท้ างทะเล” (Marine Knowledge Hub) ภายใต้ โครงการจัดการความรูเ้ พื่อผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล


SARTSADA WIRIYANUPONG
ข้อจากัดสิทธิและพันธะของรัฐชายฝั ่ง
 รัฐชายฝั ง่ มีสิทธิอธิปไตยเหนื อไหล่ทวีป
 การใช้สิทธิของรัฐชายฝั ง่ เหนื อไหล่ทวีปจะต้องไม่กระทบกระเทือนต่อสถานภาพ
ทางกฎหมายของน่ านน้ าที่อยูเ่ หนื อในฐานะที่เป็ นทะเลหลวง
 รัฐชายฝั ง่ ต้องรักษาไว้ซึ่งเสรีภาพในการวางสายหรือท่อใต้น้ าบนไหล่ทวีป
 รัฐชายฝั ง่ ต้องรักษาไว้ซึ่งเสรีภาพในการเดินเรือ การประมง หรือการอนุ รกั ษ์
ทรัพยากรที่มีชีวติ ในทะเล
 รัฐชายฝั ง่ จะต้องไม่ติดตั้งสิ่งซึ่งอาจรบกวนต่อการใช้ช่องทางเดินเรือในทะเลที่ได้
เป็ นที่ยอมรับกันว่าจาเป็ นแก่การเดินเรือระหว่างประเทศ
SARTSADA WIRIYANUPONG
มลพิษในทะเล

SARTSADA WIRIYANUPONG
ความหมายและที่มาของมลพิษในทะเล
มลพิษในทะเล คือ การเปลี่ยนแปลงสภาวะของทะเลในด้านคุณภาพจากที่เคยเป็ นอยูต่ ามปกติไปอยูใ่ นสภาพที่มี
ผลเสียต่อความเป็ นอยูข่ องระบบนิ เวศวิทยา

มลพิษในทะเลมีที่มาจาก 3 สาเหตุใหญ่
1. มลพิษที่เกิดจากการเจือปนของสารมีพิษซึ่งถูกย่อยสลายได้
2. มลพิษที่เกิดจากการเจือปนของเสียที่เป็ นอินทรียส์ ารซึ่งถูกย่อยสลายได้
3. มลพิษที่เกิดจากต้นเหตุทางกายภาพและน้ ามัน

มีการจัดตั้งองค์การระหว่างประเทศ คือ IMO (Intergovernmental Maritime Organization) มีหน้าที่รบั ผิดชอบกฎข้อบังคับและวิธี


ปฏิบตั ิของรัฐบาลต่างๆ ที่เกี่ยวกับพาณิชย์นาวี รวมถึงถูกระบุโดยข้อบังคับของอนุ สญ
ั ญาอื่นให้มีหน้าที่ควบคุมและป้ องกัน
มลพิษในทะเล
SARTSADA WIRIYANUPONG

You might also like