You are on page 1of 32

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 62

สรุปหลักกฎหมาย
สัญญารับขน (Carriage)

บทที่ 1. ความหมายและลักษณะสําคัญของสัญญารับขน

ความหมายของสัญญารับขน (Carriage)
สัญญารับขน (Carriage) คือ สัญญาที่คูสัญญาฝายหนึ่งเรียกวา “ผูขนสง” ตกลงวาจะทําการ
ขนสงของหรือคนโดยสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยเรียกสินจางซึ่งเปนคาระวางพาหนะหรือคา
โดยสาร แลวแตกรณี จากคูสัญญาอีกฝายหนึ่งซึ่งเรียกวา “ผูสง” หรือ “ผูตราสง”1 โดยเปนทางคาปกติ
ของผูขนสง

ลักษณะสําคัญของสัญญารับขน
1. สัญญารับขนเปนสัญญาจางทําของประเภทหนึ่ง
สัญญารับขนมีลักษณะเปนสัญญาจางทําของประเภทหนึ่ง แตเปนการจางทําของเฉพาะ
กิจการที่ตองกระทําในการขนสงเทานั้น กลาวคือ ผูสงของหรือผูตราสงก็เทากับเปนผูวาจางนั่นเองมี
ความมุงหมายอยูที่ความสําเร็จของงาน คือของที่ขนสงไปถึงผูรับตราสง วิธีการที่ผูขนสงจะกระทํา
นั้นอยูในอํานาจหรือดุจพินิจโดยอิสระของผูขนสง ผูสงของหรือผูตราสงไมมีอํานาจควบคุมวิธี
ดําเนินงานหรือการทํางานของผูขนสง ดังนั้น จึงมีลักษณะเชนเดียวกับสัญญาจางทําของคือ

1
ผูขนสง คือ บุคคลผูรับขนสงของหรือคนโดยสารเพื่อบําเหน็จเปนทางคาปกติของตน(มาตรา 608)
มาตรา 608 “อันวาผูขนสงภายในความหมายแหงกฎหมายลักษณะนี้คือบุคคลผูรับขนสงของหรือคน
โดยสารเพื่อบําเหน็จเปนทางคาปกติของตน”
ผูตราสง หมายถึง ผูสงที่ไดออกใบตราสงตามมาตรา 613
มาตรา 613 “ถาผูสงเรียกเอาใบตราสง ผูขนสงก็ตองทําให
ใบตราสงนั้นตองแสดงรายการตอไปนี้ คือ
(1) รายการดังกลาวไวในมาตรา 612 อนุมาตรา 1, 2 และ 3
(2) ชื่อหรือยี่หอของผูสง
(3) จํานวนคาระวางพาหนะ
(4) ตําบลและวันที่ออกใบตราสง
อนึ่งใบตราสงนั้นตองลงลายมือชื่อผูขนสงเปนสําคัญ”
62
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 63

1.1 เปนสัญญาที่มุงเอาความสําเร็จของการขนสงเปนสําคัญ
1.2 เปนสัญญาตางตอบแทน กอหนี้ใหแกคูสัญญาทั้งสองฝาย
1.3 เปนสัญญาที่สมบูรณโดยมีเจตนาตกลงกัน คือเพียงแตคูสัญญาแสดงเจตนา
ตรงกันก็เกิดเปนสัญญาสมบูรณขึ้นแลว โดยไมจําตองมีหลักฐานเปนหนังสือหรือตองทําตามแบบแต
อยางไร หรือตองสงมอบของอะไรใหแกกันเสียกอน

2. เปนการทํางานที่มีวัตถุประสงคในการขนสง คือ การขนสงของหรือคนโดยสารจาก


ที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ถาเปนการงานอยางอื่น เชน การโดยสารรถไฟที่จัดไวบริการในงานกาชาติหรือ
มาหมุนในงานกาชาติและพาวิ่งไปรอบ ๆ ลักษณะเชนนี้เปนสัญญาจางทําของ ไมใชสัญญารับขน

3. เปนสัญญาที่มีคาตอบแทน คือ การงานที่ผูขนสงตกลงทําใหนั้นมิใชทําใหเปลา


หากแตผูขนสงเรียกสินจาง คือ คาระวางพาหนะหรือคาโดยสาร เปนบําเหน็จตอบแทน เปนทางคา
ปกติ ข องผู ข นส ง หรื อ กล า วอี ก นั ย หนึ่ ง ก็ คื อ ผู ข นส ง เรี ย กค า ระวางพาหนะหรื อ ค า โดยสารจาก
ผูใชบริการของตนเปนปกติ มิไดทําใหเปลา และผูขนสงรับขนสงเปนกิจธุระปกติของตน ฉะนั้น หาก
ทําการขนสงเปนทําใหโดยไมคิดราคา หรือเปนการชั่วครั้งชั่วคราวมิใชกระทําเปนทางคาปกติแลว
สัญญานั้นเปนสัญญาจางทําของธรรมดาทั่วไปไมใชสัญญารับขน2

ขอบเขตของการใชบทบัญญัติตามกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยการรับขน

การรับขนของ และคนโดยสารบางประเภทตองบังคับตามกฎหมายหรือกฎขอบังคับ
พิเศษ ซึ่งมีลักษณะเฉพาะ มิไดเปนไปตามบทบัญญัติวาดวยรับขน ตามประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชย
มาตรา 609 “การรับขนของหรือคนโดยสารในหนาที่ของกรมรถไฟหลวงแหงกรุงสยาม
และการขนไปรษณียภัณฑในหนาที่กรมไปรษณียโทรเลขนั้น ทานใหบังคับตามกฎหมายและกฎ
ขอบังคับสําหรับทบวงการนั้น ๆ
รับขนของทางทะเล ทานใหบังคับตามกฎหมายและกฎขอบังคับวาดวยการนั้น”
แตการขนของในลักษณะดังกลาวนั้นมีกฎหมายพิเศษบัญญัติไวเปนการเฉพาะกลาวคือ

2
กมล สนธิเกษตริน. คําอธิบายกฎหมายแพงฯ วาดวยจางแรงงาน จางทําของ รับขน, พิมพครั้ง
ที่ 9. น. 54.
63
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 64

1. การรั บ ขนของหรื อ คนโดยสารในหน า ที่ ข องการรถไฟแห ง ประเทศไทย


(พระราชบัญญัติจัดวางการรถไฟและทางหลวง พ.ศ.2464)3
2. การขนไปรษณียภัณฑในหนาที่ของกรมไปรษณียโทรเลข (พระราชบัญญัติไปรษณีย
พ.ศ.2477)4

3
พระราชบัญญัติจัดวางการรถไฟและทางหลวง พ.ศ. 2464
ขอความเบื้องตน มาตรา 1-7
ภาคที่ 1 วาดวยรถไฟแผนดิน
สวนที่ 1 วาดวยจัดวางการทั่วไป มาตรา 8-17
สวนที่ 2 วาดวยการจัดหาซื้อที่ดิน มาตรา 18-40
สวนที่ 3 วาดวยการกอสราง การบํารุง และลักษณะจัดการงาน มาตรา 41-49
สวนที่ 4 วาดวยการบรรทุกสง มาตรา 50-70
สวนที่ 5 วาดวยความปราศภัย แหงประชาชน มาตรา 71-94
ภาคที่ 2 วาดวยรถไฟราษฎร
สวนที่ 6 วาดวยรถไฟผูรับอนุญาต
หมวด 1 วาดวยการใหอนุญาต มาตรา 95-104
หมวด 2 วาดวยการกํากับตรวจตรา ของรัฐบาล มาตรา 105-119
หมวด 3 วาดวยการจัดหาซื้อที่ดิน การกอสราง การบํารุง
วิธีจัดการ และการบรรทุกสง มาตรา 120-135
หมวด 4 วาดวยความปราศภัยแหงประชาชน มาตรา 136-139
สวนที่ 7 วาดวยรถไฟหัตถกรรม มาตรา 140-145
ภาคที่ 3 วาดวยทางหลวง และทางราษฎร มาตรา 146-162
4
พระราชบัญญัติไปรษณีย พ.ศ. 2477
ขอความเบื้องตน มาตรา 1- 3
หมวด 1 บทวิเคราะหศัพท มาตรา 4
หมวด 2 อํานาจสิทธิ์ขาด มาตรา 5- 9
หมวด 3 ไปรษณียากร มาตรา 10-15
หมวด 4 ตราไปรษณียากร มาตรา 16-17
หมวด 5 การรับและสงไปรษณียภัณฑ มาตรา 18-27
หมวด 6 การลงทะเบียนและการประกัน มาตรา 28-34
หมวด 7 ไปรษณียภัณฑสงไมได มาตรา 35-37
หมวด 8 ถุงไปรษณียสงทางเรือ มาตรา 38-44
หมวด 9 สิทธิพิเศษในการรับสงไปรษณีย มาตรา 45-49
หมวด 10 ธนาณัติ มาตรา 50-55
หมวด 11 การตรวจคน จับกุม ฟองรองและบทลงโทษ
64
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 65

3. การรับขนของทางทะเล
กําหนดไววาใหเปนไปตามกฎหมายและกฎขอบังคับวาดวยการนั้น (มาตรา 609
วรรคสอง) โดยที่การขนสงทางทะเลไมวาจะเปนขนสงของหรือคนโดยสาร มีหลักเกณฑและระเบียบ
ประเพณีแตกตางไปจากการขนสงทางบกมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งการขนสงทางทะเลระหวางประเทศ
มีความตกลงระหวางประเทศ กฎ ระเบียบ และประเพณีในทางปฏิบัติที่ยอมรับนับถือกันอยูมากมาย
ฉะนั้นจึงไมสมควรที่จะนําหลักเกณฑที่ใชกับการขนสงทางบกมาใชกับการขนสงทางทะเลได แมจะ
นํามาใชในฐานะกฎหมายใกลเคียงก็ขัดเขินเพราะสภาพของการขนสง วิธีการ ภัยและการเสี่ยงภัยทาง
ทะเลมีสูงกวา สําหรับประเทศไทยมีพระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534 วาง
หลักเกณฑเกี่ยวกับการขนของทางทะเล สิทธิ หนาที่และความรับผิดของผูที่เกี่ยวของไวโดยเฉพาะ
โดยเดินตามหลักสากลและประเพณีที่ยอมรับกันระหวางประเทศ
อยางไรก็ตาม การขนสงทางทะเลภายในเขตทะเลอาณาเขตของประเทศไทยมีความ
เกี่ยวเนื่องใกลชิดกับการบังคับใชกฎหมายไทย เพราะถือวาเปนการขนสงที่กระทําอยูในประเทศไทย
ผูขนสง ผูสงของ ผูรับของ รวมทั้งสินคาที่ขนสงลวนอยูในราชอาณาจักรและมีสวนตอเนื่องใกลชิด
กับการขนสงทางบก มาตรา 4 วรรคสองของพระราชบัญญัติรับขนของทางทะเล พ.ศ.2534 จึงบัญญัติ
ไววา “ การขนสงของทางทะเลในราชอาณาจักร ถาไดตกลงกันเปนหนังสือวาใหใชพระราชบัญญัตินี้
บังคับก็ใหใชพระราชบัญญัตินี้บังคับโดยอนุโลม ” ดังนั้น หากมิไดมีการตกลงและเขียนไวเปน
หนังสือเปนอยางอื่นแลว การขนสงของทางทะเลภายในราชอาณาจักร (คือในบริเวณทะเลสวนที่
ตอเนื่องติดกับผืนแผนดินซึ่งอยูในอํานาจอธิปไตยของประเทศไทย) ใหปฏิบัติตามบทบัญญัติวาดวย
การรับขนในลักษณะ 8 บรรพ 3 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เวนแตคูสัญญารับขนของจะ
ไดรับตกลงกันเปนหนังสือวาใหนําบทบัญญัติและหลักเกณฑที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติรับขน
ของทางทะเลฯ มาใชบังคับแกการขนสงของทางทะเลในรายนั้น ๆ
ขอพิจารณา การขนสงในลักษณะใดเปนการขนสงทางทะเลในราชอาณาจักรหรือไมนั้น
ตัวอยางเชน การขนสงในแมน้ําเจาพระยา ที่ตอเนื่องกับการขนสงมาจากทะเล เปนการ
ขนสงทางทะเลหรือไม ในเรื่องนี้จะตองพิจารณาวาการขนสงในแมน้ําเจาพระยาเปนสวนหนึ่ง
ตางหากหรือเกี่ยวเนื่องในลักษณะรับชวงตอจากการขนสงทางทะเลเพื่อใหการขนสงตามสัญญารับ
ขนของทางทะเลบรรลุผลสําเร็จหรือไม หากเกี่ยวเนื่องและถือเปนสวนหนึ่งแหงการขนสงของทาง

สวนที่ 1 ความผิดที่เจาพนักงานกรมกระทําขึ้น มาตรา 56-60


สวนที่ 2 ความผิดอยางอื่น มาตรา 61-77
สวนที่ 3 การตรวจคน จับกุม และฟองรอง มาตรา 78-81
หมวด 12 การรักษาการตามพระราชบัญญัติ มาตรา 82
65
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 66

ทะเล โดยเฉพาะการขนของจากทะเลเดินทางเขามายังทาเรือหรือที่หมายปลายทางของสินคาซึ่งอยูใน
เขตแมน้ํา ก็ถือไดวาเปนการขนสงของทางทะเลดวย อยางไรก็ดีคงจะตองดูพฤติการณเปนเรื่อง ๆ ไป
วา การขนสงของในลําแมน้ําที่ติดตอกับทะเลนั้นเปน “การขนสงของทางทะเล” หรือไม
การที่มาตรา 4 วรรคสองของพระราชบัญญัติรับขนของทางทะเลฯ บัญญัติไวดังกลาว
ขางตน อันเปนผลใหนําบทบัญญัติวาดวยการรับขนในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไปใชกับ
การขนสงของทางทะเลในราชอาณาจักรดวย ทั้ง ๆ ที่บทบัญญัติวาดวยการรับขนในประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชยมีหลักเกณฑที่มุงจะใชกับการขนสงภายในประเทศที่เปนการขนสงทางบกเปนสวน
ใหญนั้นคงจะเปนความประสงคของผูบัญญัติกฎหมายที่ไมอยากใหเกิดการสับสนในการใชบังคับ
กฎหมายแกการขนสงทางทะเลในราชอาณาจักรซึ่งตอเนื่องใกลชิด และมีองคประกอบตาง ๆ ที่อยู
ภายใตประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยนับตั้งแตการทําสัญญาซื้อขายสินคา การสงมอบสินคา
กรรมสิทธิ์ในสินคา การขนสงสินคาทางบกมายังทาเรือ การบรรทุกและขนถายสินคา ฯลฯ แตผูเขียน
ใครชี้ใหเห็นวาหลักเกณฑของกฎหมายวาดวยการับขนของทางทะเลนั้นเปนหลักเกณฑที่มีลักษณะ
พิเศษและเหมาะสมกับสภาพการขนสง สภาพของความเสี่ยงภัยทางทะเล มีขอกําหนดยกเวนความรับ
ผิดและขอจํากัดความรับผิดไวโดยชัดแจงในกรณีที่เกิดความเสียหายขึ้นแกของหรือบุคคลที่เกี่ยวของ
เพราะลักษณะของการเสี่ยงภัยทางทะเลนั้นมีโอกาสสูงกวาการขนสงทั่วไป ดังนั้น หากพิจารณาถึง
ความเปนธรรมในการใชกฎหมาย ควรที่จะใชหลักเกณฑที่ใชแกการขนสงของทางทะเลโดยเฉพาะ
แกการขนสงของทางทะเลทั้งหมดทุกกรณี ไมวาจะเปนการขนสงชายฝงหรือการขนสงระหวาง
ประเทศในทะเลลึก อยางไรก็ตามกอนที่ประเทศไทยจะมีพระราชบัญญัติการขนสงของทางทะเล
พ.ศ.2534 ศาลไทยไดนําเอาหลักเกณฑวาดวยรับขนในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไปใชบังคับ
แกกรณีพิพาทเรื่องการรับขนของทางทะเลในฐานะเปนกฎหมายใกลเคียงอยางยิ่ง ซึ่งผลออกมาใน
ลักษณะแปลก ๆ ในสายตาของนักกฎหมายตางประเทศ และเปนผลที่ตางประเทศไมอาจยอมรับได
เพราะไมสอดคลองกับหลักเกณฑสากล

4. กรณีของการขนสงทางอากาศในเชิงพาณิชย (โดยทางเครื่องบินหรืออากาศยาน)
เปนรูปแบบการขนสงที่เกิดขึ้นภายหลังประกาศใชบทบัญญัติวาดวยการรับขน ใน
บรรพ 3 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย กลาวคือเกิดขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง กอน
หน า นั้ น มี แ ต ก ารใช เ ครื่ อ งบิ น เป น ยานพาหนะในทางการทหารและการขนส ง ทางทหารเท า นั้ น
หลั กเกณฑ ที่ใ ชในความสัมพัน ธ ระหวางผู สงของทางอากาศกับผูประกอบการขนสงทางอากาศ
ตลอดจนวิธีการตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการขนสงทางอากาศจึงเปนหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนด และจัด
ใหมีขึ้นในภายหลังประกาศใชบทบัญญัติวาดวยการรับขนในบรรพ 3 ประกอบกับภัยและการเสี่ยงภัย
ในการขนสงทางอากาศก็มีสูงกวาการขนสงทางบก ฉะนั้นการจะนําเอาบทบัญญัติในเรื่องการขนสง
66
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 67

ทางบกมาใชกับการขนสงทางอากาศ โดยถือวาเปนกฎหมายใกลเคียงอยางยิ่งจึงไมนาจะกระทําได
ในขณะที่เขียนนี้ ประเทศไทยยังไมมีกฎหมายวางหลักเกณฑในเรื่องสิทธิและหนาที่ความรับผิดของผู
สงของทางอากาศ ผูขนสงทางอากาศ และผูที่เกี่ยวของตลอดจนวิธีการที่ใชในการขนสงทางอากาศ (
ไมวาจะเปนการขนสงของหรือคนโดยสาร ) พระราชบัญญัติเดินอากาศฯ ก็เปนเพียงบทบัญญัติที่
กําหนดวาใครบางจะสามารถมีกรรมสิทธิ์ในอากาศยานสัญชาติไทย คุณสมบัติของผูซึ่งจะอนุญาตให
เปนผูประกอบการเดินอากาศ การประกอบการสนามบิน เครื่องมือ เครื่องอุปกรณที่ใชในการบิน ฯลฯ
ซึ่งเปนหลักเกณฑระหวางรัฐกับเอกชน ที่ปฏิบัติกันอยูในปจจุบันสายการบินภายในประเทศ และสาย
การบินระหวางประเทศตางใชหลักเกณฑในอนุสัญญากรุงวอรซอร 1929 และ โปรโตโคล กรุงเฮก
1955 และกรุงมอนตริอน 1975 เปนขอกําหนดความสัมพันธ สิทธิ และหนาที่ความรับผิดระหวางผู
สงของ ผูโดยสารกับผูขนสงทางอากาศ เชนนี้ขอกําหนดเกี่ยวกับขอจํากัดความรับผิดและขอยกเวน
ความรับผิดของผูขนสง (บริษัทสายการบิน) ไวเปนพิเศษ แตกตางไปจากบทบัญญัติวาดวยการขนสง
ทางบก โดยนําหลักเกณฑเหลานี้ไปกําหนดไวในดานหลังของตั๋วโดยสารหรือในใบตราสง (Airway
bill) แสดงวาคูสัญญาไดตกลงกําหนดสิทธิ หนาที่และความรับผิดกันไวอยางไร หากเกิดความเสียหาย
หรือสูญหายเกิดขึ้นก็ใหบังคับกันไปตามนั้น แตหากตกลงกันไมไดและนําขอพิพาทสูศาลขอความใด
ที่ขัดหรือแยงกับบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ศาลไทยก็ใชบทบัญญัติของ
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยบังคับแทน5

5
เรื่องเดียวกัน หนา 55 - 59
67
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 68

สัญญารับขนของ
(Carriage of goods)

ลักษณะเฉพาะของสัญญารับขนของ

1. มีบุคคลเขามาเกี่ยวของกับสัญญารับขนของในฐานะคูสัญญาและผูรับประโยชนจาก
สัญญา ไดแกบุคคลตาง ๆ ที่บัญญัติไวในมาตรา 608 และมาตรา 610 ประกอบดวย
1.1 ผูสง (Sender) หรือผูตราสง (Consignor)
คือ บุคคลผูทําความตกลงกับผูขนสงเพื่อใหขนของไปให การที่มีชื่อเปนสอง
ชื่อก็โดยที่สัญญารับขนของนี้ บางทีไมมีการออกใบตราสง (Consignment note) บางทีก็มีการออกใบ
ตราสง ถาไมออกใบตราสงคูสัญญาฝายนี้ก็เรียกวาผูสง แตถามีการออกใบตราสงก็มีชื่อวา ผูตราสง
1.2 ผูขนสง (Carrier)
คือ บุคลคลผูตกลงรับขนสงของใหแกผูสงหรือผูตราสงเพื่อบําเหน็จทางการ
คําตามปกติของตน
1.3 ผูรับตราสง (Consignee)
คือ บุคคลผูที่ไดเขามาเกี่ยวของกับสัญญารับขนของในฐานะผูรับประโยชน
และโดยที่มีผูรับตราสงเขามาเปนผูรับประโยชนเชนนี้ สัญญารับขนของจึงมีลักษณะพิเศษอีกอยาง
หนึ่ง คือเปนสัญญาเพื่อประโยชนของบุคคลภายนอกดวย ซึ่งจะไดพิจารณาตามลําดับตอไป

2. คาตอบแทน
ในสัญญารับขนของนั้น ผูขนสงกระทําไปเพื่อบําเหน็จทางการคาปกติของตน ดังนั้น
จึงตองมีการตอบแทนการขนสงของดังกลาวซึ่งเรียกวา “คาระวางพาหนะ (Freight)”6

3. เอกสารที่เกี่ยวของกับการรับขนของ
3.1 ใบกํากับของ (Way Bill)
ใบกํ ากั บ ของเป น เอกสารที่แ สดงถึ ง สภาพและจํ า นวนสิ่ง ของที่ ส ง วา มี อ ยู
อยางไร เชน ใบกํากับของในการขนสงน้ําตาล อาจระบุวา น้ําตาลทรายขาว ชนิดดีเกรด 1 จํานวน 100
กระสอบ มีน้ําหนักกระสอบละ 30 กิโลกรัม เปนตน

6
คาระวางพาหนะ (Freight) คูสัญญาสามารถตกลงชําระเปนเงินหรือทรัพยสินอื่นก็ได แตโดยทั่วไป
แลวมักตกลงใหชําระเปนเงินตรา
68
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 69

ประโยชนของใบกํากับของ เปนหลักฐานที่ผูขนสงสามารถใชยันตอผูสงวาสภาพ
และจํานวนสิ่งของที่มอบหมายใหผูขนสงนั้นครบถวนถูกตองหรือไม

รายการที่ตองปรากฏในใบกํากับของ คือ
(1) สภาพและน้ําหนัก หรือขนาดแหงของที่สง กับสภาพ จํานวน และ
เครื่องหมายแหงหีบหอ
(2) ตําบลที่กําหนดใหสง
(3) ชื่อหรือยี่หอ และสํานักของผูรับตราสง
(4) ตําบลและวันที่ออกใบกํากับของนั้น และ
(5) ตองลงลายมือชื่อผูสงเปนสําคัญ ”

3.2 ใบตราสง (Consignment Note)


รายการที่ตองปรากฏในใบตราสง(มาตรา 613)
(1) สภาพและน้ําหนัก หรือขนาดแหงของที่สง กับสภาพ จํานวน และ
เครื่องหมายแหงหีบหอ
(2) ตําบลที่กําหนดใหสง
(3) ชื่อหรือยี่หอ และสํานักของผูรับตราสง
(4) ชื่อหรือยี่หอของผูสง
(5) จํานวนคาระวางพาหนะ
(6) ตําบลและวันที่ออกใบตราสง
(7) ลงลายมือชื่อผูขนสงเปนสําคัญ7

7
กรณีเปนการขนสงทางอากาศจะเรียกใบตราสงวา “Air Waybill” หากเปนการขนสงทางรถไฟ
เรียกวา “Rail Waybill”และหากเปนการขนสงทางทะเลจะเรียกวา “Ocean Bill of Lading”
พระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534
มาตรา 3 “ใบตราสง” หมายความวา เอกสารที่ผูขนสงออกใหแกผูสงของเปนหลักฐานแหงสัญญารับ
ขนของทางทะเลแสดงวาผูขนสงไดรับของตามที่ระบุในใบตราสงไวในความดูแลหรือไดบรรทุกของลงเรือแลว
และผูขนสงรับที่จะสงมอบของดังกลาวใหแกผูมีสิทธิรับของนั้นเมื่อไดรับเวนคืนใบตราสง
มาตรา 18 “ใบตราสงพึงแสดงรายการดังตอไปนี้
ลักษณะทั่วไปแหงของ เครื่องหมายที่จําเปนเพื่อบงตัวของขอความที่แจงลักษณะอันตรายแหงของ
หากจะตองมี จํานวนหนวยการขนสงและน้ําหนักของหรือปริมาณอยางอื่น ทั้งนี้ ตามที่ผูสงของแจงหรือจัดให
1. สภาพแหงของเทาที่เห็นไดจากภายนอก
69
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 70

ลักษณะและการใชประโยชนในใบตราสง
(1) เปนหลักฐานที่ใชยันตอผูขนสงวา สภาพและจํานวนของที่สงเปนอยางไร ซึ่ง
เปนประโยชนแกผูตราสง
(2) ใชเปนหลักฐานหรือเปนเครื่องมือซื้อขายหรือโอนของที่รับขนนั้นไปใหคนอื่น
ไดอีก โดยการสลักหลังใบตราสงโอนใหไปและผูทรงใบตราสงก็นําใบตราสงนั้นไปขอรับของจากผู
ขนสง เวนแตในใบตราสงนั้นเองมีขอความหามโอนโดยสลักหลัง (มาตรา 614)
(3) เปนหลักฐานในการไปขอรับของจากผูขนสงคือใบตราสงใชเปนเครื่องมือโอน
ของที่สงใหแกกันได กลาวคือ ผูตราสงเมื่อสงของแลวจะสงหรือมอบใบตราสงใหแกผูรับตราสงซึ่ง
เปนบุคคลภายนอกที่ไดรับประโยชนแหงสัญญารับขนของ ทําใหผูรับตราสงมีสิทธิรับของที่สงนั้น
จากผูขนสงได ทั้งนี้เปนเปนตามมาตรา 615

การโอนใบตราสง
มาตรา 614 “แมวาใบตราสงจะไดออกใหแกบุคคลผูใดโดยนามก็ตาม ทานวายอม
สลักหลังโอนใหกันได เวนแตจะมีขอหามการสลักหลังไว”
แมวาจะมีการบัญญัติรายการตามมาตรา 613 และมาตรา 614 ซึ่งอาจทําใหเขาใจวามี
ใบตราสงชนิดเดียวคือ ใบตราสงที่ออกและระบุชื่อผูรับตราสงเทานั้น แตอยางไรก็ตามการแปลความ
และทางปฏิบัติตามธรรมเนียมการคาและการขนสงตลอดจนในทางตําราเปนที่ยอมรับกันวาสามารถ
อออกใบตราสงไดใน 2 ลักษณะ คือ

2. ชื่อและสํานักงานของผูขนสง
3. ชื่อของผูสงของ
4. ชื่อของผูรับตราสง ถาผูสงของระบุไว
5. คาระวางเทาที่ผูรับตราสงจะตองจาย หรือขอความแสดงวาผูรับตราสงเปนผูจายคาระวางและคา
เรือเสียเวลาในการบรรทุกของลงเรือ ณ ทาตนทาง
6. ทาตนทางที่บรรทุกของลงเรือตามสัญญารับขนของทางทะเลและวันที่ผูขนสงรับของเขามาอยูใน
ความดูแล
7. ทาปลายทางที่ขนถายของขึ้นจากเรือตามสัญญารับขนของทางทะเล
8. ขอความแสดงวาของนั้นใหบรรทุกบนปากระวางหรืออาจบรรทุกบนปากระวางได
9. วันหรือระยะเวลาสงมอบของ ณ ทาปลายทางที่ขนถายของขึ้นจากเรือ ถาคูสัญญาไดตกลงกันไว
10. ขอจํากัดความรับผิดซึ่งมากกวาที่กําหนดไวในมาตรา 58
11. สถานที่และวันที่ออกใบตราสง
12. จํานวนตนฉบับใบตราสงที่ออก
13. ลายมือชื่อผูขนสงหรือตัวแทนผูขนสง”
70
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 71

(2) ใบตราสงที่ออกใหแกผูถือใบตราสง และ


(3) ใบตราสงที่ออกใหโดยระบุชื่อผูรับตราสง
ดังนั้น การโอนใบตราสงจึงขึ้นอยูกับวาเปนใบตราสงชนิดใด กลาวคือ หากเปนใบ
ตราสงที่ออกใหแกผูถือใบตราสง การโอนก็สามารถทําไดงายเพียงการสงมอบใบตราสงเทานั้น แต
หากเปนใบตราสงที่ออกใหโดยระบุชื่อผูรับตราสงไว กรณีเชนนี้ก็สามารถโอนใบตราสงไดตาม
มาตรา 614 โดยการสลักหลังโอนใหกันได เวนแต ใบตราสงนั้นจะมีขอหามการสลักหลังไว

การรับสินคากรณีมีใบตราสง
มาตรา 615 “ถาไดทําใบตราสงใหแกกัน ทานวาของนั้นจะรับมอบเอาไปไดตอเมื่อ
เวนคืนใบตราสงหรือเมื่อผูรับตราสงใหประกันตามควร”
ใบตราสงเปนหลักฐานในการไปขอรับของจากผูขนสง ทั้งนี้เพราะใบตราสงนั้นใช
เปนเครื่องมือโอนของที่สงใหแกกันไดตามมาตรา 614 ดังนั้น ใบตราสงจึงอาจมีการเปลี่ยนมือโดย
การโอนใบตราสงตามวิธีการที่กฎหมายกําหนด ผูขนสงจึงตองระมัดระวังในการสงมอบของตาม
สัญญาขนสง ซึ่งหากเปนกรณีที่สัญญาขนสงนั้นมีการออกใบตราสงไวการจะมาขอรับของตามสัญญา
ขนสงไดก็ตอเมื่อผูรับของไดทําการเวนคืนใบตราสงใหแกผูขนสง หรือในกรณีที่ไมสามารถเวนคืน
ใบตราสงได เชน ใบตราสงกําลังอยูระหวางการจัดสงหรือยังอยูในระหวางขั้นตอนการโอน กรณี
เชนนี้ผูรับตราสงหรือผูรับโอนใบตราสงก็สามารถขอรับขอไปโดยไมตองเวนคืนใบตราสงไดโดยการ
ใหประกันตามควรแกผูขนสงแทนการเวนคืนใบตราสง

ตัวอยาง Air Waybill (Air Consignment Note)

71
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 72

ตัวอยาง ใบตราสง(BILL OF LADING) ของบริษัท Siam International Freight Lines ที่ใช


ประกอบการรับขนสงทางทะเล

72
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 73

หนาที่ความรับผิดของผูขนสง

1. ตองขนสงของไปยังอีกที่หนึ่งตามสัญญา
2. ตองออกใบตราสง หากผูสงเรียกเอาใบตราสง (มาตรา 613)
3. ตองรับผิดในความสูญหายหรือบุบสลายหรือสงมอบชักชา

มาตรา 616 “ผูขนสงจะตองรับผิดในการที่ของอันเขาไดมอบหมายแกตนนั้นสูญหาย


หรือบุบสลายหรือสงมอบชักชา เวนแตจะพิสูจนไดวา การสูญหายหรือบุบสลายหรือชักชานั้นเกิดแต
เหตุสุดวิสัย หรือเกิดแตสภาพแหงของนั้นเอง หรือเกิดเพราะความผิดของผูสงหรือผูรับตราสง”
ผูขนสงตองรับผิดในความสูญหายหรือบุบสลายที่เกิดแกของที่ตนรับขน ซึ่งลักษณะของ
ความรับผิดของผูขนสงในความสูญหายบุบสลายตามสัญญารับขนเปนการรับผิดที่มากกวาความรับ
ผิดของผูรับจางธรรมดาตามสัญญาจางทําของ กลาวคือ ในสัญญาจางทําของ เชน ผูวาจางใหผูรับจาง
ขนของจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยผูรับจางมิไดรับขนของเปนทางคาปกติของตน ถาและของที่
รับจางขนไปนั้นเกิดสูญหายหรือบุบสลาย ผูรับจางไมตองรับผิดเพื่อการสูญหายหรือบุบสลายนั้น
นอกจากผูรับจางจะไดกระทําหรือกอใหเกิดขึ้นโดยความผิดของตนเอง หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ ใน
สัญญาจางทําของผูรับจางมีหนาที่เพียงใชความระมัดระวังที่จะสงวนและรักษาทรัพยนั้นอยางวิญู
ชนเทานั้น (เวนแตจะมีการตกลงไวเปนอยางอื่น) หากการสูญหายหรือบุบสลายมิไดเกิดขึ้นเพราะการ
ขาดความระมัดระวัง ผูรับจางก็ไมตองรับผิด แตถาเปนการขนสงตามสัญญารับขนเมื่อมีการสูญหาย
หรือบุบสลายขึ้นแกของที่ตนรับขน ผูขนสงจะตองรับผิดทั้งสิ้น เวนแต จะพิสูจนไดวา ความสูญหาย
หรือบุบสลายหรือสงมอบของที่สงชักชาเกิดขึ้นจากเหตุใน 3 ประการนี้ คือ
(1) เกิดจากเหตุสุดวิสัย
(2) เกิดจากสภาพแหงของนั้นเอง
(3) เกิดจากความผิดของผูสงหรือผูรับตราสง

ขอสังเกต
ƒ เหตุสุดวิสัย
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 8 คําวา “เหตุสุดวิสัย” หมายถึง “เหตุใด ๆ
อันจะเกิดขึ้นก็ดี จะใหผลพิบัติก็ดี ไมมีใครจะอาจปองกันได แมทั้งบุคคลผูตองประสบหรือใกล
จะตองประสบเหตุนั้นจะไดจัดการระมัดระวังตามสมควรอันพึงคาดหมายจากบุคคลนั้นในฐานะ
เชนนั้น ” สําหรับผลพิบัติที่ไมอาจปองกันไดที่นับวาเปนเหตุสุดวิสัยไดแก เชน อุทกภัย อัคคีภัย ฟาผา

73
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 74

ใตฝุน เปนตน น้ําแหงก็เปนเหตุสุดวิสัยได ภัยอันเกิดจากราชศัตรู หรือจากขบถจลาจลภายในประเทศ


หรือการปลนสะดม8 แยงชิงหรือแมการถูกขโมยไปโดยผูขนสงไดใชความระมัดระวังปองกันอยางสุด
ความสามารถของตนแลว แตก็มิสามารถปองกันไดกรณีเหลานี้ถือวาเปนเหตุสุดวิสัย
ƒ ความเสียหายที่เกิดจากสภาพของของที่ขนสงนั้นเอง
ความเสียหายที่เกิดจากสภาพของของที่ขนสงนั้นเองหมายถึงของที่ขนสงมานั้นโดย
สภาพเปนของซึ่งอาจเสียหายขึ้น เชน เนา เสีย บูด ระเหยกลายเปนไอหรือลดปริมาณลงตามธรรมชาติ
เพราะตัวของทรัพยนั้นเอง ตัวอยางเชน ในกรณีของการขนสัตวซึ่งเปนสัตวที่มีชีวิตการเสียหายอาจ
เกิดขึ้นโดยการที่สัตวนั้นดิ้นหรือทํารายกันเองโดยที่ผูขนสงไดใชความระมัดระวังแลว หรือรับจางขน
น้ําแข็ง แตปรากฏวาวันนั้นอากาศรอนมากกวาผิดปกติ ทําใหน้ําแข็งมีการละลายมากกวาปกติ เปนตน
แตหากเปนกรณีที่มีการตกลงใหขนอาหารโดยใชรถที่มีการควบคุมความเย็น แตปรากฏวาเครื่อง
ควบคุ ม ความเย็ น เกิ ด ชํ า รุ ด เป น เหตุ ใ ห สิ น ค า ที่ ข นส ง เสี ย หาย เช น นี้ ถื อ เป น กรณี ที่ ผู ข นส ง ต อ ง
รับผิดชอบจะอางเปนเหตุยกเวนความรับผิดไมได
ƒ ความเสียหายเกิดจากความผิดของผูสงหรือผูรับตราสง
เชน ผูสงของเปนผูดําเนินการบรรจุหีบหอ (Pack) เอง แตใชหีบหอที่ไมเหมาะสมกับ
ของที่ใหขนสง และมิไดแจงใหผูขนสงทราบถึงสภาพที่แทจริงของของนั้น ทําใหเกิดความเสียหายขึน้
แกของในหีบหอนั้น หรือผูรับตราสงเมื่อไดรับแจงแลววาของถึงที่หมายปลายทางแลว แตไปรับของ
ชาของจึงเนาเสียหรือเสื่อมคุณภาพ เปนตน

8
พิจารณาเปรียบเทียบคําพิพากษาฎีกาที่ 1036/2491 ซึ่งในคดีนั้นจําเลยทําสัญญารับจางขนสินคาโดย
การลองแพเมื่อจําเลยละเลยไมจัดการสงใหทันตามกําหนดจนพนกําหนดเวลาตามสัญญาแลวจึงมาถูกปลนกลางทาง
ดังนี้ถือวาจําเลยผิดสัญญา จะยกเอาขอถูกปลนเปนเหตุแกตัวไมได
- คําพิพากษาฎีกาที่ 2378/2523 รถที่บรรทุกของถูกคนรายแยงชิงไปในขณะไปจอดอยูที่ปมน้ํามันที่มี
ไฟเปดสวางตลอดคืนทั้งยังอยูติดกับถนนมิตรภาพ และในรานขายของมีบริเวณใหรถจอดไดประมาณ 10 คัน แสดง
วามีรถมาจอดที่ปมน้ํามันนั้นเปนประจํา เปนเหตุการณที่ไมอาจคาดหมายได แมจะไดใชความระมัดระวังแลวดังนั้น
สินคาที่สูญหายไปเพราะถูกคนรายใชอาวุธปนชิงเอาไปพรอมกับรถจึงเปนเหตุสุดวิสัย
- การกระทําที่ไมประมาทเลินเลอเพราะไดใชความระมัดระวังตามสมควรนั้น เมื่อเกิดเหตุขึ้นยังไม
พอถือวาเหตุนั้นเปนเหตุสุดวิสัย
74
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 75

รับผิดในกรณีเกิดการสูญหาย บุบสลาย หรือสงชักชาในการขนสงชวงและการขนสงหลายทอด

ผูขนสงตองรับผิดในความเสียหายอันเกิดจากผูขนสงชวง
การขนสงชวง หมายถึง การขนสงที่ผูขนสงนํางานที่ตกลงจะขนสงนั้นใหผูขนสงรายอื่น
ดําเนินการแทนตน เชน

ผูขนสง

ผูขนสงชวง
ผูรับของ

โดยทั่วไปธุรกิจการขนสง ผูขนสงซึ่งทําสัญญารับขนโดยตรงกับผูสงสามารถแตงตั้ง
หรือมอบหมายใหบุคคลอื่นรับชวงไปดําเนินงานแทนตนได ดังนั้น ในทางปฏิบัติผูเปนคูสัญญากับผู
สงของอาจไมใชผูดําเนินกิจการขนสงจริง ๆ ก็ได แตถึงอยางไรก็ตาม บุคคลผูเขาเปนคูสัญญารับขนก็
ยังคงตองรับผิดตามสัญญามาตรา 617 “ผูขนสงจะตองรับผิดในการที่ของสูญหาย หรือบุบสลาย หรือ
สงชักชา อันเกิดแตความผิดของผูขนสงคนอื่น หรือบุคคลอื่นซึ่งตนหากไดมอบหมายของนั้นไปอีก
ทอดหนึ่ง”
ผูขนสงตองรับผิดรวมกับผูขนสงอื่นในกรณีที่เปนการขนสงหลายทอด
การขนสงหลายทอด หมายถึ ง การขนส ง ที่ มี ผู ข นส ง หลายรายทํ า การขนส ง โดยมี
ลักษณะการขนสงที่มีการแบงเปนทอด ๆ เชน

ผูขนสงทอดที่ 1

ผูขนสงทอดที่ 2
ผูรับของ

75
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 76

การขนสงหลายทอดตางกับการขนสงชวง กลาวคือ การขนสงชวง เปนเรื่องที่ผูขนสง


มอบหมายงานใหผูอื่นทําแทนตน อาจเปนการขนสงทอดเดียวหรือหลายทอดก็ได สวนการขนสง
หลายทอดเปนเรื่องของการแบงงานกันทําเปนสวน ๆ ตามสภาพและความชํานาญของแตละคน แต
อยางไรก็ตามในการขนสงหลายทอดผูขนสงทั้งหมดจะตองรับผิดรวมกันในการสูญหาย บุบสลาย
หรือสงชักชาไมวาจะเกิดขึ้นในทอดใดทอดหนึ่งก็ตาม
มาตรา 618 “ถาของนั้นไดสงไปโดยมีผูขนสงหลายคนหลายทอด ทานวาผูขนสงทั้งนั้น
จะตองรับผิดรวมกันในการสูญหาย บุบสลาย หรือสงชักชา”

4. หนาที่ในการบอกกลาวใหทราบเมื่อของมาถึงแลว (มาตรา 622)


ผูขนสงตองบอกกลาวแกผูรับตราสง หมายถึง กรณีที่สัญญารับขนไดกําหนดให
ขนสงของไปถึงอีกบุคคลหนึ่งคือผูรับตราสง ฉะนั้นถาในสัญญารับขนใดมิไดระบุตัวผูรับวาเปนใคร
ผูขนสงก็ไมมีหนาที่ที่จะตองบอกกลาวตามนี้ เพราะไมรูจะไปบอกกลาวแกใคร
อยางไรก็ตาม ผูขนสงไมจําตองสงของที่ตนรับขนใหถึงมือผูรับตราสงเสมอไป ทั้งนี้
สุดแตขอสัญญารับขนของที่ผูขนสงไดทําไวกับผูสงหรือผูตราสง หรือตามประเพณีทางปฏิบัติเปน
เรื่อง ๆ ไป แตถาไมมีขอตกลงกันไวเปนอยางอื่นก็เปนหนาที่ของผูขนสงที่ตองบอกกลาวใหผูรับตรา
สงทราบดังกลาวแลวเพื่อใหผูรับตราสงมารับของไป
ดังที่ไดกลาวมาในตอนตนแลววา สัญญารับขนของเพื่อสงใหแกผูรับตราสงนั้นเปน
สัญญาเพื่อประโยชนของบุคคลภายนอกดวย คือ เปนสัญญาที่กอสิทธิใหแกผูรับตราสง สิทธินี้จะมีขึ้น
โดยสมบูรณเมื่อของถึงตําบลที่กําหนดใหสงและผูรับตราสงไดเรียกใหผูขนสงจัดการสงมอบ และนับ
แตเวลานั้นเปนตนไป สิทธิทั้งหลายของผูตราสงตามสัญญารับขนยอมโอนมายังผูรับตราสงทั้งสิ้น
และตอจากนั้นผูสงไมมีสิทธิตามสัญญารับขนเกี่ยวกับของนั้นอยางใดอีก (มาตรา 627)
มาตรา 627 “เมื่อของถึงตําบลที่กําหนดใหสง และผูรับตราสงไดเรียกใหสงมอบแลว
ทานวาแตนั้นไปสิทธิทั้งหลายของผูสงอันเกิดแตสัญญารับขนนั้นยอมตกไปไดแกผูรับตราสง”
คําพิพากษาฎีกาที่ 1556/2509 โจทกฟองจําเลยซึ่งเปนบริษัทอยูตางประเทศแตมี
สํานักงานสาขาอยูในประเทศไทย ดังนี้ ถือวาโจทกฟองบริษัทใหญเปนจําเลย มิใชฟองบริษัทสาขาให
รับผิด และตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 71 ถือวาบริษัทจําเลยมีภูมิลําเนาในประเทศ
ไทยดวย โจทกจึงฟองบริษัทจําเลยในศาลไทยได ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา
4(2) สัญญาขนสงทําระหวางบริษัทในตางประเทศกับบริษัทจําเลย แตโจทกเปนผูรับตราสง เมื่อโจทก
ไดเรียกใหสงมอบของแลว ยอมมีสิทธิฟองบริษัทจําเลยใหรับผิดเกี่ยวกับสัญญาขนสงในฐานะที่
จําเลยเปนผูรับขนสงไดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 627

76
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 77

กรณีตัวอยาง

สัญญาซื้อขาย(ขาวสาร)
บริษัท ก.(ผูส ง) บริษัท ข.
(ผูรับตราสง)

สัญญารับขนของ

บริษัท A (ผูขนสง) ขาสารเสียหายไปทั้งหมดเพราะความผิดของ


ขนจากเชียงใหมไปทาเรือคลองเตยกรุงเทพฯ ผูขนสง เหตุเกิดที่จังหวัดนครสวรรค

ขอสังเกต
กรณีตามตัวอยางดังกลาวหากพิจารณาตามมาตรา 627 จะเห็นไดวา ของที่ขนสงนั้นสูญ
หายไปในระหวางขนสง ซึ่งของที่สงยังไปไมถึงตําบลที่กําหนดใหสง และผูรับตราสงยังไมไดเรียก
ใหสงมอบ กรณีเชนนี้ผูขนสงก็ไมมีหนี้อยางใดที่จะตองชําระแกผูรับตราสง ผูรับตราสงจึงไมใช
ผูเสียหายอันเกิดจากผูขนสงผิดสัญญารับขน ผูรับตราสงไมมีเหตุจะเรียกรองเอาคาเสียหายจากผูขนสง
ได ผูเสียหายจากขอเท็จจริงดังกลาวคือ บริษัท ก.(ผูสง) ผูสง
คําพิพากษาฎีกาที่ 1921/2518 บริษัทโจทกทําสัญญาขายสุนัขพันธุเยอรมันเชฟเพอดรวม
20 ตัวใหกรมตํารวจ และไดตกลงกันวาจางบริษัทจําเลยขนสงสุนัขดังกลาวโดยเครื่องบินจากประเทศ
เยอรมันตะวันตกมายังทาอากาศยานดอนเมือง เพื่อสงใหแกกรมตํารวจ เมื่อจําเลยขนสงสุนัขมาถึงทา
อากาศยานดอนเมืองอันเปนตําบลที่กําหนดใหสง ปรากฏวาสุนัขตายไป 12 ตัว อีก 8 ตัว มีอาการ
ออนเพลียเนื่องจากความผิดของบริษัทจําเลยที่มิไดจัดใหมีอากาศหายใจเพียงพอสําหรับสุนัขเหลานั้น
กรรมการบริษัทโจทกไปรับมอบจึงไดรับสุนัขที่ยังมีชีวิตจากเจาหนาที่ของจําเลยมาเพียง 8 ตัว ดังนี้
เมื่อประปรากฏวากรมตํารวจผูรับตราสงยังมิไดเรียกใหสงมอบสุนัขตามความในตามมาตรา 627 สิทธิ
ทั้งหลายของบริษัทโจทกผูสงสุนัขอันเกิดแตสัญญารับขนนั้นจึงยังมิไดตกไปไดแกกรมตํารวจผูรับ
ตราสง โจทกในฐานะผูสงจึงมีอํานาจฟองเรียกคาเสียหายจากจําเลยได
เมื่อพิจารณาจากคําพิพากษาฎีกาที่ 1921/2518 ดังกลาว ทําใหเขาใจวาสิทธิของผูรับตรา
สงจะมีขึ้นก็ตอเมื่อของที่สงไปถึงตําบลที่กําหนดใหสง และผูรับตราสงไดเรียกใหสงมอบ แลวเทานั้น
ในกรณีที่ของเสียหายหรือสูญหายไประหวางทางยังไมถึงตําบนที่ใหสง กรณีเชนนี้ ผูรับตราสงก็ไม

77
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 78

อาจใชสิทธิเรียกรองได แตอยางไรก็ตามปญหาเกี่ยวกับการเกิดสิทธิของผูรับตราสงนั้น ไดมีแนวคํา


วินิจฉัยที่เปลี่ยนแปลงไปกลาวคือ
คําพิพากษาฎีกาที่ 7340/2541 ...ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 627 ซึ่ง
บัญญัติวา “เมื่อของถึงตําบลที่กําหนดใหสงและผูรับตราสงไดเรียกใหสงมอบแลว ทานวาแตนั้นไป
สิทธิทั้งหลายของผูสงอันเกิดแตสัญญารับขนนั้นยอมตกไปไดแกผูรับตราสง” บทบัญญัติมาตรานี้
แสดงใหเห็นวา สัญญารับขนมีลักษณะเปนสัญญาเพื่อประโยชนของบุคคลภายนอก กลาวคือแมผูรับ
ตราสงจะเปนบุคคลภายนอกซึ่งมิใชคูสัญญาตามสัญญารับขน แตหากผูรับตราสงไดเรียกใหสงมอบ
ของเมื่อของถึงตําบลที่กําหนดใหสงอันเปนการแสดงเจตนาที่จะรับเอาประโยชนตามสัญญารับขน
แลว สิทธิทั้งหลายของผูสงอันเกิดแตสัญญารับขนนั้นยอมตกไดแกผูรับตราสง หากผูรับตราสงยัง
มิไดเรียกใหสงมอบของเมื่อของถึงตําบลที่กําหนดใหสงหรือแสดงเจตนาที่จะรับเอาประโยชนตาม
สัญญารับขน ผูรับตราสงยอมไมมีสิทธิตามสัญญารับขนซึ่งรวมถึงไมมีสิทธิเรียกรองเอาคาเสียหาย
เพราะของสูญหายทั้งหมดหรือสูญหายบางสวนหรือบุบสลายในระหวางการขนสงจากผูขนสงดวย
ดังนี้ เงื่อนไขที่จะทําใหสิทธิทั้งหลายตามสัญญารับขนตกไดแกผูรับตราสงจึงมีเพียงประการเดียว คือ
เมื่อผูรับตราสงไดเรียกใหสงมอบของเมื่อของถึงตําบลที่กําหนดใหสงหรือเมื่อผูรับตราสงซึ่งเปน
บุคคลภายนอกไดแสดงเจตนาที่จะรับเอาประโยชนตามสัญญารับขนแลวนั่นเอง ที่มาตรา 627 บัญญัติ
วา “เมื่อของถึงตําบลที่กําหนดใหสง...” จึงมีความหมายเปนเพียงเวลาที่กฎหมายกําหนดวาผูรับตราสง
จะแสดงเจตนารับเอาประโยชนจากสัญญารับขนไดเมื่อใดเทานั้น หาใชเงื่อนไขอีกขอหนึ่งซึ่งหากไมมี
ของถึงตําบลที่กําหนดใหสงแลวจะเปนเหตุใหสิทธิตามสัญญารับขนไมตกไดแกผูรับตราสงไม เมื่อ
ขอเท็จจริงปรากฏวา สินคาพิพาทสูญหายไปทั้งหมดในระหวางการขนสง สินคายอมไมอาจสงถึง
ตําบลที่กําหนดใหสงอยูในตัว กรณีจึงไมอาจนํามาตรา 627 มาใชบังคับได เพราะหากนําบทบัญญัติ
มาตรา 627 มาปรับใชกับกรณีนี้ผลจะกลายเปนวาหากสินคาสูญหายไปเพียงบางสวนในระหวางการ
ขนสงและผูรับตราสงเรียกใหสงมอบสิน คาบางส วนที่สงมาถึงตําบลที่กําหนดใหสงผูรับตราสง
สามารถฟองใหผูขนสงรับผิดในความสูญหายนั้นได แตถาหากสินคาสูญหายไปทั้งหมดในระหวาง
การขนสง ผูรับตราสงไมอาจฟองใหผูขนสงรับผิดในความสูญหายนั้นได การตีความกฎหมายเชนนั้น
นาจะไมตรงกับเจตนารมณของบทกฎหมายมาตราดังกลาว นอกจากนี้ ในกรณีที่ผูสงอันเปนคูสัญญา
รับขนกับผูขนสงเรียกเอาใบตราสง ผูขนสงตองทําใบตราสงใหแกผูสง ตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย มาตรา 613ซึ่งใบตราสงดังกลาวถือไดวาเปนหลักฐานแหงสัญญารับขน และใบตราสงนี้
ยอมโอนใหกันไดตาม มาตรา 614 และในระหวางที่ของยังอยูในมือผูขนสง ผูทรงใบตราสงอาจจะให
ผูขนสงงดการสงของนั้น หรือใหสงกลับคืนหรือจัดการแกของนั้นเปนประการอื่นได ตามมาตรา 626
อันเปนบทบัญญัติที่แสดงใหเห็นวาผูรับโอนใบตราสงหรือผูทรงใบตราสงนั้นมีสิทธิตามสัญญารับ
ขนอยูกอนที่ของจะสงถึงตําบลปลายทางแลว เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวา โจทกเปนผูทรงใบตราสงที่
78
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 79

จําเลยที่ 2 ออกใหแกผูขายและเปนผูมีกรรมสิทธิ์ในสินคาพิพาทตามใบตราสงนั้น แมโจทกไมอาจ


แสดงเจตนารับเอาประโยชนจากสัญญารับขนโดยเรียกใหสงมอบของไดเพราะไมมีกําหนดเวลาที่จะ
เรียกใหสงมอบของไดตามมาตรา 627 ก็ตาม แตก็ถือไดวาโจทกเปนผูเสียหายเพราะเหตุที่สินคาพิพาท
ตองสูญหายเนื่องจากการขนสงนั้นโดยตรง ทั้งนี้เพราะใบตราสงเปนหลักฐานแหงสัญญารับขน เมื่อ
โจทกเปนผูทรงใบตราสงนั้นโดยชอบ และการปลอยสินคาที่ขนสงใหแกผูรับจะกระทําไดก็ตอเมื่อ
ผูรับมีใบตราสงมาแสดงหรือขอแลกเอาใบปลอยสินคาไปเพื่อนําไปขอออกสินคาตอไปเทานั้น โจทก
จึงเปนผูมีสิทธิตามสัญญารับขนสินคาพิพาทยอมมีอํานาจฟองจําเลยที่ 1 และที่ 2 ผูรวมกันขนสง
สินคาพิพาทใหรับผิดตามสัญญารับขนได ที่ศาลอุทธรณนํามาตรา 627 มาปรับแกคดีนี้ แลววินิจฉัยวา
โจทกไมมีอํานาจฟองจําเลยที่ 1 และที่ 2 ใหรับผิดตามสัญญารับขน ศาลฎีกาโดยมติที่ประชุมใหญไม
เห็นพองดวย

5. หนาที่ในการรับผิดตอผูขนสงคนกอน ๆ
มาตรา 629 บัญญัติวา “ถาผูขนสงคนใดสงมอบของเสียแตกอนไดรับคาระวาง
พาหนะและอุปกรณไซร ทานวาผูขนสงคนนั้นยังคงตองรับผิดตอผูขนสงกอน ๆ ตน เพื่อคาระวาง
พาหนะและอุปกรณซึ่งยังคางชําระแกเขา”
กฎหมายมิไดแตเพียงใหสิทธิแกผูขนสงทอดหลังที่สุด มีอํานาจเรียกคาระวาง
พาหนะและอุปกรณเพื่อผูขนสงทุกคนเทานั้น แตยังไดกําหนดใหเปนหนาที่เสียทีเดียววา จะตองเรียก
และรับคาระวางพาหนะและอุปกรณสําหรับจะใชใหกับผูขนสงคนกอน ๆ ตนดวย ถาสงมอบของไป
โดยมิไดเรียกใหครบถวนดังกลาวแลว ก็ตองรับผิดชดใชใหแกผูขนสงคนกอน ๆ ตน

สิทธิยึดหนวงของผูขนสง (บุริมสิทธิของผูขนสง)

มาตรา 630 “ผูขนสงชอบที่จะยึดหนวงเอาของไวกอนไดตามที่จําเปนเพื่อประกันการใช


เงินคาระวางพาหนะและอุปกรณ”
เมื่อของไปถึงตําบลที่กําหนดใหสงและผูขนสงไดแจงใหผูรับตราสงทราบแลว ผูรับตรา
สงมาขอรับของแตไมยอมใชคาระวางพาหนะและอุปกรณใหเสร็จสิ้น กฎหมายใหอํานาจผูขนสงมี
สิทธิยึดหนวงของที่สงนั้นไดเทาที่จําเปน คือ เทาที่จะเปนหลักประกันตามจํานวนคาระวางพาหนะ
และอุปกรณที่คางอยู

79
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 80

มีปญหาวากรณีเชนนี้ผูขนสงจะนําของที่ยึดหนวงไวนั้นออกขายทอดตลาดและหักเอา
จํานวนเงินที่คางชําระไวจะไดหรือไม
ขอใหสังเกตวา กรณีที่ผูขนสงสามารถนําเอาของนั้นขายทอดตลาดไดจะตองเปนกรณี
ตองดวยมาตรา 631 บัญญัติใหอํานาจไว กลาวคือ ตองเปนกรณีที่หาตัวผูรับตราสงไมพบ หรือพบตัว
ผูรับตราสงแลวเขาบอกปดไมยอมรับของเหลานี้ เมื่อผูขนสงปฏิบัติตามขั้นตอนที่กฎหมายกําหนด
แลวจึงจะทําการขายทอดตลาดได
ดังนั้น ถากรณีผูรับตราสงไมไดบอกปดไมยอมรับของ เปนกรณีที่ตองการรับของแตไม
สามารถชําระคาอุปกรณตาง ๆ ไดครบถวนกรณีเชนนี้ ผูขนสงจะนําของออกขายทอดตลาดไมได ตอง
ปฏิบัติตามหลักเกณฑทั่วไปในเรื่องสิทธิยึดหนวง ดังที่บัญญัติไวตั้งแตมาตรา 241 ถึงมาตรา 250 เชน
ผูขนสงตองจัดการดูแลรักษาทรัพยสินที่ยึดหนวงไวตามสมควร และมีสิทธิเรียกรองเอาคาใชจายจาก
ผูรับตราสงไดในภายหลัง หรือผูขนสงจะเก็บดอกผลแหงทรัพยที่ยึดหนวงไวและจัดสรรเอาใชหนี้แก
ตนกอนเจาหนี้อื่นได เปนตน

ขอจํากัดความรับผิดของผูขนสง

1. กรณีของการสงของมีคา
มาตรา 620 “ผูขนสงไมตองรับผิดในเงินทองตรา ธนบัตร ธนาคารบัตร ตั๋วเงิน พันธบัตร
ใบหุน ใบหุนกู ประทวนสินคา อัญมณี และของมีคาอยางอื่น ๆ หากมิไดรับบอกราคาหรือสภาพแหง
ของไวในขณะที่สงมอบแกตน
แตถาของนั้นไดบอกราคาทานวาความรับผิดของผูขนสงก็ยอมจํากัดเพียงไมเกินราคาที่
บอก”
ของมีคาเมื่อเกิดสูญหาย หรือบุบสลายไปดวยเหตุใด ๆ ก็ตามยอมกอใหเกิดความเสียหาย
แกผูเกี่ยวของเปนอยางมากกวาปกติเชนของอื่น อีกทั้งยังอาจระวังรักษายากดวย กฎหมายจึง
กําหนดใหผูสงตองบอกราคาหรือสภาพแหงของนั้นแกผูขนสงเสียในขณะที่สงมอบเพื่อวา ผูขนสง
เมื่อทราบแลวจะไดใชวิธีขนสงและความระมัดระวังไดตามความเหมาะสมแกของนั้น
ขอสังเกต
ถอยคําที่วา “และของมีคาอยางอื่น ๆ” นั้น มีความหมายเพียงใด คําตอบคือวาหมายถึง
ของที่มีคาเปนพิเศษในตัวของมันเองทํานองเดียวกับเงินทองตรา ธนบัตร ตั๋วเงิน ฯลฯ เหลานี้ มิได
หมายถึงของที่มีราคาแพง ๆ เสมอไป

80
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 81

คําพิพากษาฎีกาที่ 537/2502 สินคาผาอันเปนสิ่งของธรรมดาสามัญทั่ว ๆ ไปนั้น เมื่อไม


ปรากฏวาเปนของมีคาพิเศษอยางไรแลว จะถือวาเปนของมีคาตามความหมายแหงประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชยมาตรา 620 ยังไมได

2. กรณีการสิ้นสุดของความรับผิดของผูขนสง
มาตรา 623 บัญญัติวา “ความรับผิดของผูขนสงยอมสิ้นสุดลงในเมื่อผูรับตราสงไดรับเอา
ของไวแลวโดยไมอิดเอื้อน และไดใชคาระวางพาหนะกับทั้งอุปกรณเสร็จสิ้นแลว
แตความที่กลาวนี้ ทานมิใหใชบังคับในกรณีที่ของสูญหายหรือบุบสลาย เห็นไมไดแต
สภาพภายนอกแหงของนั้น หากวาไดบอกกลาวความสูญหาย หรือบุบสลายแกผูขนสงภายในแปดวัน
นับแตวันสงมอบ
อนึ่ง บทบัญญัติทั้งหลายนี้ ทานมิใหใชบังคับในกรณีที่มีการทุจริต หรือประมาทเลินเลอ
อยางรายแรงอันจะปรับเอาเปนความผิดของผูขนสงได”
นับตั้งแตตกลงทําสัญญารับขนแลว ผูขนสงมีหนี้หรือหนาที่ที่จะตองขนของสงไปจนถึง
มือผูรับตราสงโดยเรียบรอย ฉะนั้นความรับผิดของผูขนสงจึงมีอยูตลอดเวลานับตั้งแตเริ่มสัญญาไป
จนถึงเวลาสงมอบของใหผูรับตราสง และผูรับตราสงไดใชคาระวางพาหนะกับทั้งอุปกรณเรียบรอยแลว
ขอสังเกต
กฎหมายใชคําวา “และไดใชคาระวางพาหนะกับทั้งอุปกรณเสร็จสิ้นแลว” แสดงวาลําพัง
แตเพียงผูรับตราสงรับมอบของโดยไมอิดเอื้อนเทานั้น ยังไมอาจถือไดวาเปนการสิ้นสุดหนาที่ของผู
ขนสง จะตองประกอบดวยผูรับตราสงไดใชคาอุปกรณ และคาระวางพาหนะเสร็จสิ้นแลวดวยจึงจะ
ทําใหผูขนสงหมดหนาที่ และความรับผิดชอบสิ้นสุดลง
แตถาของนั้นถาหากมองแตเพียงภายนอกโดยยังไมไดทําการตรวจละเอียดแลว ไม
สามารถเห็นการบุบสลายได กฎหมายยืดเวลาออกไปใหอีกเปน 8 วัน นับแตวันสงมอบ แตตองไมลืม
วา ตองเปนกรณีที่ผูรับตราสงไดชําระคาระวางพาหนะและอุปกรณเสร็จสิ้นแลวดวย ถายังไมชําระอยู
ตราบใด ระยะเวลา 8 วัน ที่กฎหมายกําหนดหนาที่ใหผูรับตราสงแจงใหผูขนสงทราบถึงการบุบสลาย
ก็ยังไมเริ่มนับ
แตถาความสูญหายหรือบุบสลายนั้นเกิดเพราะความทุจริตหรือประมาทเลินเลออยาง
รายแรงของผูขนสงแลว ผูขนสงก็ตองรับผิดตอผูสงหรือผูรับตราสงโดยไมจํากัดเวลาภายในกําหนด
อาจุความ 10 ป ตามหลักทั่วไป (ป.พ.พ มาตรา 193/30)

81
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 82

3. กรณีผูขนสงเขียนขอความยกเวนหรือจํากัดความรับผิดของตนเอง
มาตรา 625 บัญญัติวา “ใบรับ ใบตราสง หรือเอกสารอื่น ๆ ทํานองนั้นก็ดี ซึ่งผูขนสง
ออกใหแกผูสงนั้น ถามีขอความยกเวนหรือจํากัดความรับผิดของผูขนสงประการใด ทานวาความนั้น
เปนโมฆะ เวนแตผูสงจะไดแสดงความตกลงดวยชัดแจงในการยกเวน หรือจํากัดความรับผิดเชนวา
นั้น”
โดยปกติเมื่อทําสัญญารับขนเรียบรอยแลว หากผูสงตองการอาจเรียกใหผูขนสง ออกใบ
รับ ใบตราสง หรือเอกสารอื่น ๆ อันเกี่ยวกับการขนสงของนั้นได แตในทางปฏิบัติเมื่อผูขนสงรับมอบ
ของเรียบรอยแลว จะออกใบรับของใหทันที นอกจากใบรับแลวถาของที่สงมีจํานวนมากหรือเปน
สินคาพิเศษ ผูขนสงจะออกเอกสารอื่น ๆ มอบใหกับผูสงไวดวย เอกสารเหลานี้เปนเอกสารซึ่งออก
โดยฝายผูขนสง ผูสงไมมีโอกาสแกไขหรือทําความตกลงเปนอยางอื่น ฉะนั้นถาหากผูขนสงสามารถ
กําหนดขอความยกเวน หรือจํากัดความรับผิดของตนไดตามใจชอบแลว จะเห็นไดวาฝายผูสงจะถูก
เอาเปรียบและไมไดรับความยุติธรรมไดอยางงายดาย กฎหมายจึงหาทางปองกันไวเสีย โดยบัญญัติให
ขอความดังกลาวเปนโมฆะ เวนแตวาผูสงจะตกลงดวยชัดแจง
การตกลงโดยชัดแจงนั้น กฎหมายมิไดกําหนดไววาจะตองทําอยางไรฉะนั้นจึงตอง
พิจารณาอาศัยขอเท็จจริงและพฤติการณแตละกรณีประกอบไปดวย เชน ผูสงลงลายมือชื่อรับรอง
เอกสารนั้น ๆ หรือทําเปนหนังสือรับรองเอกสารนั้น ๆ ใหปรากฏไวจึงจะถือไดวามีการตกลงชัดแจง
ลําพังเพียงแตผูสงยอมรับเอกสารเหลานั้นโดยมิไดอิดเอื้อนยังถือไมไดวามีการตกลงชัดแจงแลว

หนาที่ความรับผิดของผูสง

หนาที่ของผูสงสามารถแยกพิจารณาได 3 ประการ คือ


1. หนาที่ตองชําระคาระวางพาหนะและอุปกรณ
ผูสงมีหนาที่ตองชําระคาระวางพาหนะตามสัญญา สวนอุปกรณแหงคาระวาง
พาหนะอันไดแกคาใชจายใด ๆ ตามจารีตประเพณีที่ผูขนสงไดเสียไปโดยควรในระหวางขนสง เชน
คาภาษี คาผานทาง เปนเรื่องที่ผูขนสงจายแทนผูสงไปลวงหนากอน ผูสงมีหนาที่ตองชําระคืนใหแกผู
ขนสง คาระวางพาหนะจะชําระกันเมื่อใดกอนหรือหลังจากขนของไปถึงปลายทาง และสงมอบของ
ใหแกผูสงแลว ก็สุดแตจะไดตกลงกันระหวางผูขนสงและผูสงหรือผูรับตราสง
ขอสังเกต
ในกรณี มาตรา 628 ไดบัญญัติไววาถาของที่รับขนนั้นสูญหายไปในระหวางขนสงเพราะ
เหตุสุดวิสัย ผูขนสงไมมีสิทธิจะไดรับคาระวางพาหนะ ถาหากไดรับคาระวางพาหนะไปแลวเทาใด ผู
ขนสงจะตองคืนใหแกผูสงทั้งสิ้นขอที่พึงสังเกตสําหรับ มาตรา 628 นี้ก็คือ กฎหมายกลาวแตเรื่องคา
82
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 83

ระวางพาหนะเทานั้นไมไดพูดถึงอุปกรณแหงคาระวางพาหนะ ฉะนั้น แมจะเปนกรณีของที่รับขนสูญ


หายเพราะเหตุสุดวิสัย ผูขนสงก็นาจะยังคงมีสิทธิเรียกเอาอุปกรณแหงคาระวางพาหนะที่ไดจายไป
จากผูสงได
2. หนาที่ตองแสดงสภาพของของที่ใหขน
หนี้ในขอนี้มีเฉพาะเมื่อของที่จะสงเปนของอันตรายอยูโดยสภาพ เชนสัตวรายหรือ
นากลัวจะกอใหเกิดอันตรายแกบุคคลหรือทรัพยสินอื่นได เชนวัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง หรือเปนของ
แตกหักงาย เปนตน เชนนี้ มาตรา 619 ไดกําหนดใหผูสงตองแจงใหผูขนสงทราบถึงสภาพของของ
นั้นกอนทําสัญญาขนสง เพื่อผูขนสงจะไดใชความระมัดระวังหรือจัดวางไวในที่ปลอดภัย ถาผูสงไม
แจงใหผูขนสงทราบหากเกิดมีความเสียหายใด ๆ ขึ้นแกผูขนสงเนื่องจากของนั้น ผูขนสงมีสิทธิ
ฟองรองเรียกคาสินไหมทดแทนความเสียหายเอาจากผูสงได
3. หนาที่ในการออกใบกํากับของ (Way Bill)
(ดูรายละเอียดในเรื่องเอกสารที่เกี่ยวของกับการับขน)

อายุความในการฟองรองบังคับคดี

มาตรา 624 “ในขอความรับผิดของผูขนสงในการที่ของสูญหายหรือบุบสลาย หรือสง


ชักชานั้น ทานหามมิใหฟองเมื่อพนกําหนดปหนึ่งนับแตสงมอบ หรือปหนึ่งนับแตวันที่ควรจะไดสง
มอบ เวนแตในกรณีที่มีการทุจริต”
อายุความฟองรองตามมาตรานี้ เปนเรื่องผูสง หรือผูรับตราสงฟองผูขนสง ซึ่งตองฟอง
ภายในปหนึ่งนับแตวันสงมอบ หรือวันที่ควรจะไดสงมอบ
มีปญหาวา วันที่ควรจะไดสงมอบนั้นหมายถึงวันใด เห็นวานาจะหมายถึงวันหลังจากที่
ขอมาถึงตําบลที่กําหนดใหสง และผูขนสงไดบอกกลาวใหผูรับตราสงทราบแลว ซึ่งกฎหมายบังคับให
เปนหนาที่ของผูขนสงตองบอกกลาวฉะนั้นถาผูขนสงไมยอมบอกกลาวจึงถือไดวา กระทําผิดหนาที่
ผูรับตราสงยอมไมอาจทราบถึงกําหนดวันสงมอบได อายุความซึ่งใหโทษแกผูรับตราสงจึงยังไมควร
เริ่มนับ

83
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 84

สัญญารับขน (Carriage)

ลักษณะสําคัญ ประเภทของสัญญา

1.1 เปนสัญญาตางตอบแทน
1.มีลักษณะเปนสัญญาจาง
1.2 สมบูรณโดยมีเจตนา 1. สัญญารับขนของ 2. สัญญารับขนคนโดยสาร
ทําของประเภทหนึ่ง
1.3 มุงเอาความสําเร็จของการ
2.เพื่อการขนสงเปนสําคัญ
ขนสงเปนสําคัญ
3.เปนสัญญาที่มีคาตอบแทน
บุคคลที่เกี่ยวของ คาตอบแทน เอกสารที่เกี่ยวของ

คาระวาง 3.1 ใบกํากับของ (Way Bill)


ผูสง (Sender) หรือผูตราสง (Consignor) พาหนะ
(Freight) 3.2 ใบตราสง (Consignment Note)
ผูขนสง (Carrier)

ผูรับตราสง (Consignee)

84
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 85

สัญญาจางขนสง

ทําที่…………………………..
วันที…
่ ……….เดือน……………………พ.ศ. ……………..

สัญญาฉบับนี้ทําขึ้นระหวาง ….……………………………….………………..……………
โดย………………………………………………...…………….ผูมีอํานาจกระทําการแทน สํานักงาน
ตั้งอยู ณ ….……..………………ตรอก/ซอย……………ถนน………ตําบล/แขวง……………….
อําเภอ/เขต….…………………จังหวัด….……………ซึ่งตอไปในสัญญานี้เรียกวา “ผูวาจาง” กับ
………….……………………โดย……………………….………ผูมีอํานาจกระทําการแทน
สํานักงานตั้งอยู ณ ….………………ตรอก/ซอย…….………….………ถนน….…………………
ตําบล/แขวง……………………………….อํา เภอ/เขต….……………จั ง หวั ด ….………………..…
ซึ่งตอไปในสัญญานี้เรียกวา “ผูรับขน”
คูสัญญาทั้งสองฝายตกลงทําสัญญาดังตอไปนี้
ขอ 1. ผูวาจางตกลงจางและผูรับขนตกลงรับจางขนสง……………………………….……
ซึ่งตอไปในสัญญานี้เรียกวา “ทรัพยสิน” อันเปนกรรมสิทธิ์หรืออยูในครอบครองของผูวาจางใหจัด
ขนสงทรัพยสินในวันที่…………………………ไปสง ณ เลขที่……..ตรอก/ซอย…………………..
ถนน…………..………ตําบล/แขวง……...………อําเภอ/เขต. ………………จังหวัด………………
โดยผูรับขนตองสงถึง ณ สถานที่ดังกลาว ภายในวันที่……...………………….เวลา…....……………
ขอ 2. ผูวาจางตกลงจางผูรับขนโดยการเหมาจายคาขนสงเปนคราวเดียวเปนจํานวน
เงิน……………………บาท (……………………………….) ทั้งนี้ ในวันทําสัญญาผูวาจางจะทําการ
วางมัดจํา เปนเงินจํานวนทั้งสิ้นในอัตรารอยละ ……………ของราคาเหมาจายทั้งสิ้นนั้น
ขอ 3. ผูรับขนสัญญาวาจะไมเอางานที่รับขนตามสัญญานี้ไปใหผูอื่นรับจางขนสงชวงอีกทอด
หนึ่งเวนแตจะไดรับความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจากผูวาจาง ทั้งนี้ผูรับขนยังคงตองรับผิดชอบ
ตอผูวาจางในการกระทําหรือความผิดอยางใด ๆ ของผูรับจางชวง
ขอ 4. ผูรับขนไมสามารถทําการจัดสงทรัพยสินใหทันตามกําหนดนัดในสัญญานี้ ผูวาจางมี
สิทธิบอกเลิกสัญญาได นอกจากนี้ ในระหวางการเดินทางหากทรัพยสินเกิดความชํารุดบกพรองหรือ
เสียหายจนผูวาจางหรือผูรับทรัพยสินเห็นวาไมสามารถใชประโยชนในทรัพยสินได ผูวาจางจะบอก
เลิกสัญญาและเรียกใหผูรับขนชดใชคาสินไหมทดแทนและคาเสียหายไดอีกสวนหนึ่งดวย
ขอ 5. ผูวาจางรับวาจะเปนผูแจงลักษณะเกี่ยวกับทรัพยสินใหผูรับขนทราบ เชน ทรัพยสิน
อันตราย ทรัพยสินที่จะมีผลใหทรัพยสินของผูอื่นเสียหาย ทรัพยสินมีคา ทรัพยสินที่เปนของสดเสีย
85
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 86

งาย เปนตน หากผูวาจางไมทําการแจงแลวเกิดความเสียหายขึ้นจากการปดบังหรือประมาทเลินเลอ ใน


การดังกลาวแลว ผูวาจางจะตองเปนผูรับผิดชอบในความเสียหายนั้น

สัญญานี้ไดทําขึ้นเปนสองฉบับมีขอความถูกตองตรงกัน คูสัญญาทั้งสองฝายไดอานและ
เขาใจดีแลวจึงไดลงลายมือชื่อและประทับตรา (ถามี) ไวตอหนาพยานเปนสําคัญ และเก็บรักษาไวฝาย
ละฉบับ

ลงชื่อ………………………………….ผูวาจาง ลงชื่อ………………………………………..ผูรับ
ขน
(………………………………….) (………………………………………..)

ลงชื่อ………………………………….พยาน ลงชื่อ………………………………………..พยาน
(………………………………….) (………………………………………..)

86
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 87

สัญญารับขนคนโดยสาร
(Carriage of passengers)

สัญญารับขนคนโดยสารมีลักษณะเปนสัญญารับขนประเภทหนึ่งเชนเดียวกับสัญญารับ
ขนของ แตมีความแตกตางกันบางในสวนของวัตถุแหงการขนสง กลาวคือ สิ่งที่ผูขนสงรับขนนั้น
แทนที่จะเปนของกลับเปนคนโดยสารและเครื่องเดินทางของคนโดยสารที่ผูโดยสารนําติดตัวไปดวย
ในการเดินทาง

หนาที่และความรับผิดชอบของผูขนสง

1. ตองรับผิดในความเสียหายหรือลาชาในการขนสงคนโดยสาร
ผูขนสงจะตองรับผิดตอคนโดยสารในความเสียหายที่เกิดแกคนโดยสารนั้น หรือใน
ความเสียหายอยางใด ๆ อันเปนผลโดยตรงจากการที่ตองลาชาในการขนสง เวนแตความเสยหายหรือ
ลาชานั้นเกิดเพราะเหตุสุดวิสัย หรือเกิดแตความผิดของคนโดยสารนั้นเอง (มาตรา 634)9
คําพิพากษาฎีกาที่ 1250/2517 โจทกจําเลยแถลงรับกันวา เหตุที่รถพลิกคว่ําเพราะ
ลูกหมากคันสงหลุด โดยคนขับไมไดขับรถเร็วเกินกวาอัตราที่กฎหมายกําหนดไว แลวทากันขอให
ศาลวินิจฉัยขอกฎหมายเพียงขอเดียววา จําเลยจะตองรับผิดตามฟองหรือไมปรากฏฟองของโจทก
บรรยายวานายอิ้วจือไดขับรถยนตของจําเลยจากตลาดหญาคาไปตลาดดงเค็งเพื่อรับสงสินคาและคน
โดยสารตามทางการที่จําเลยจาง โดยความประมาทปราศจากความระมัดระวัง ขับรถเร็วสูงกวาที่
กฎหมายกําหนดไว ทําใหรถยนตที่ขับพลิกคว่ํา โจทกซึ่งเปนผูโดยสารตกลงจากรถไดรับบาดเจ็บ จึง
ขอใหจําเลยชดใชคาเสียหายแกโจทก ดังนี้ เห็นไดวาฟองของโจทกประสงคใหจําเลยรับผิดฐานเปน
ผูรับขนสงคนโดยสารตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 608 จําเลยมิไดปฏิเสธวาจําเลย
มิใชผูรับขนสงคนโดยสารดังโจทกฟอง ฉะนั้น จําเลยจึงตองรับผิดตอความเสียหายอันเกิดแกโจทกซงึ่
เปนคนโดยสาร เวนแตการเสียหายเกิดแตเหตุสุดวิสัยหรือเกิดแตความผิดของโจทกตามประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 634 แมคูความจะแถลงรับกันวารถพลิกคว่ําเพราะลูกหมากคันสง
หลุดอันไมใชเพราะขับรถเร็วเกินอัตราที่กฎหมายกําหนด ก็ไมทําใหจําเลยพนจากความรับผิดในฐาน
เปนผูรับขนสงคนโดยสารไปได จําเลยจะอางวาทางพิจารณาตางกับฟองโดยขอใหศาลยกฟองหาได

9
มาตรา 634 “ผูขนสงจะตองรับผิดตอคนโดยสารในความเสียหายอันเกิดแกตัวเขา หรือในความ
เสื่อมเสียอยางใด ๆ อันเปนผลโดยตรงแตการที่ตองชักชาในการขนสง เวนแตการเสียหายหรือชักชานั้นเกิดแตเหตุ
สุดวิสัยหรือเกิดแตความผิดของคนโดยสารนั้นเอง”
87
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 88

ไม การที่รถพลิกคว่ําเพราะลูกหมากคันสงหลุด ไมใชเหตุสุดวิสัยตามประมวลกฎหมายแพงและ


พาณิชย มาตรา 8 เพราะยังอยูในวิสัยที่ผูขับจะสามารถปองกันได หากใชความระมัดระวังตามสมควร
ตรวจดูสภาพรถใหเรียบรอยดีกอนนําออกขับ
จะเห็นไดวา หนาที่และความรับผิดของผูขนสงที่มีตอคนโดยสารในสัญญารับขนคน
โดยสารนี้มีลักษณะเชนเดียวกับความรับผิดของผูขนสงในสัญญารับขนของตามมาตรา 616 กลาวคือ
ถาในระหวางขนสงนั้น คนโดยสารไดรับความเสียหาย เชน คนโดยสารไดรับบาดเจ็บเพราะรถ
โดยสารนั้นชนกับรถอื่นโดยความประมาทของผูขับขี่ หรือความเสียหายหรือเสื่อมเสียที่คนโดยสาร
ไดรับนั้นเปนผลโดยตรงจากการลาชาในการขนสงเชนนี้ผูขนสงตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทน
ความเสียหายหรือเสื่อมเสียใหแกคนโดยสารเวนแตจะพิสูจนไดวาความเสียหายที่คนโดยสารไดรับ
หรือความลาชานั้นเกิดขึ้นเพราะเหตุสุดวิสัย หรือเกิดจากความผิดของคนโดยสารนั้นเองแลว ผูขนสง
ก็ไมตองรับผิดอนึ่งความเสียหายที่เกิดขึ้นแกคนโดยสารนั้น แมจะเกิดจากรถโดยสารและจากผูขับขี่
ซึ่งมิใชของผูขนสงหรือลูกจางของผูขนสงโดยตรง แตอยูในความควบคุมของผูขนสง และรถนั้น
รับสงคนโดยสารในปกติธุระของผูขนสง ผูขนสงก็ยังตองรับผิด (คําพิพากษาฎีกาที่ 431/2509)10

2. หนาที่ในการขนสงเครื่องเดินทาง
นอกจากหนาที่ในการขนคนโดยสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งแลว ผูขนสงมีหนาที่
ตองรับขนเครื่องเดินทางที่คนโดยสารนําติดตัวไปเพื่อใชสอยในการเดินทางโดยเหมาะสมและตาม
สมควรแกฐานะของตนอีกดวย เชน เครื่องนุงหม หีบและกระเปาบรรจุของเหลานี้ เปนตน ซึ่งเปน
เครื่องเดินทางที่ผูโดยสารนํามามอบใหแกผูขนสงทันเวลา คือ กอนการขนคนโดยสารนั้นจะขนสงฯ
ผูขนสงก็มีหนาที่ตองขนไปให โดยคนโดยสารไมตองเสียคาระวางพาหนะสําหรับเครื่องเดินทางนั้น
เพิ่มขึ้นจากคาโดยสาร แตถาของที่คนโดยสารนําติดตัวไปดวยนั้น โดยสภาพไมใชของที่ใชเพื่อการ
เดินทาง เชน สินคาที่ซื้อไปขาย หรือเปนของที่มีปริมาณมากเกินน้ําหนักที่ผูขนสงไดกําหนดเปน
ขอจํากัดไวในสัญญารับขน ผูขนสงไมมีหนาที่ตองขนสงหรือรับผิดสําหรับของที่มิใชของใชเพื่อการ
เดินทาง หรือของที่เกินน้ําหนักที่อนุญาตเวนแตจะเสียคาระวางพาหนะตางหากจากคาโดยสาร และ
หากคนโดยสารเอาของนั้นไปโดยไมเสียคาระวางพาหนะถือไดวาผูขนสงไมไดรับมอบหมายของนั้น

10
บริษัทขนสงจํากัดตองรับผิดตอความเสียหายอันเกิดแกคนโดยสาร แมรถคันที่เกิดเหตุจะไมใชรถที่
บริษัทขนสงจํากัดเปนเจาของ (เปนรถของคนอื่นเขามาเดินรวม) และคนขับไมใชลูกจางของบริษัท
88
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 89

ผูขนสงก็ไมตองรับผิดในความเสียหายสําหรับของนั้น เวนแต ความสูญหายหรือบุบสลายเกิดแกของ


นั้นโดยเปนความผิดของผูขนสงหรือลูกจางของผูคนสง (มาตรา 638)11

การสงมอบเครื่องเดินทางคืน
เครื่องเดินทางที่ผูขนสงตองขนสงไปนี้ ตองสงมอบใหแกคนโดยสาร เมื่อคนโดยสาร
เดินทางไปถึงปลายทาง (มาตรา 635)12
ถาคนโดยสารไมรับมอบเครื่องเดินทางของตนภายในเวลาหนึ่งเดือน นับแตวันที่เครื่อง
เดินทางนั้นไปถึงปลายทางของคนโดยสาร ผูขนสงอาจเอาของนั้นออกขายทอดตลาดได แตถาเครื่อง
เดินทางนั้นมีสภาพเปนของสดของเสียได ผูขนสงอาจเอาของนั้นออกขายทอดตลาดไดเมื่อรออยูเกิน
24 ชั่วโมงแลว ไดเงินสุทธิจากการขายทอดตลาดเทาใดใหผูขนสงหักเอาไวเปนคาระวางและคาใชจาย
ในการขายทอดตลาด ถายังมีเงินเหลือใหสงมอบใหแกผูควรไดรับเงินนั้นโดยพลัน (มาตรา 636 และ
มาตรา 632)13
หนาที่และความรับผิดของผูขนสงในเครื่องเดินทางอันไดรับมอบหมายมานั้น แมผู
ขนสงจะมิไดคิดคาระวางพาหนะตางหากจากคาโดยสารปกติ ผูขนสงก็ตองรับผิดในความสูญหาย
หรือบุบสลาย หรือในการสงของลาชาเชนเดียวกับที่ผูขนสงตองรับผิดในสัญญารับขนของ (มาตรา
637)14

11
มาตรา 638 “ผูขนสงไมตองรับผิดในเครื่องเดินทางซึ่งตนมิไดรับมอบหมาย เวนแตเมื่อเครื่อง
เดินทางนั้นสูญหายหรือบุบสลายไปเพราะความผิดของผูขนสงหรือลูกจางของผูขนสง”
12
มาตรา 635 “เครื่องเดินทางหากไดมอบหมายแกผูขนสงทันเวลาทานวาตองสงมอบในขณะคน
โดยสารถึง”
13
มาตรา 636 “ถาคนโดยสารไมรับมอบเครื่องเดินทางของตนภายในเวลาเดือนหนึ่งนับแตวันเครื่อง
เดินทางนั้นถึงไซร ผูขนสงอาจเอาออกขายทอดตลาดเสียได
ถาเครื่องเดินทางนั้นมีสภาพเปนของสดของเสียได ผูขนสงอาจเอาออกขายทอดตลาดได เมื่อของนั้น
ถึงแลวรออยูลวงเวลากวายี่สิบสี่ชั่วโมง
บทบัญญัติในมาตรา 632 นั้น ทานใหใชบังคับแกคดีดังวานี้ดวยอนุโลมตามควร”
มาตรา 632 “เมื่อเอาของออกขายทอดตลาดแลวไดเงินจํานวนสุทธิเทาใด ใหผูขนสงหักเอาไวเปนเงิน
คาระวางพาหนะและคาอุปกรณ ถาและยังมีเงินเหลืออยูอีกเทาใดตองสงมอบใหแกบุคคลผูควรที่จะไดเงินนั้นโดย
พลัน
14
มาตรา 637 “สิทธิและความรับผิดของผูขนสงเพื่อเครื่องเดินทางอันไดมอบหมายแกผูขนสงนั้น แม
ผูขนสงจะมิไดคิดเอาคาขนสงตางหากก็ตาม ทานใหบังคับตามความในหมวด 1”
89
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 90

3. ขอยกเวนหรือจํากัดความรับผิด
ถามีขอความยกเวนหรือจํากัดความรับผิดของผูขนสงอยูในตั๋ว ใบรับหรือเอกสารอื่น
ทํานองเชนวานี้ ซึ่งผูขนสงออกใหแกคนโดยสาร ขอความนั้นเปนโมฆะ

ตัวอยางเชน ในการโดยสารรถประจําทางของนายเอก
นายเอกไดสงมอบเครื่องเดินทางใหแกพนักงานของ
บริษัทรถคิดเปนจํานวนเงิน 1,000 บาท แตมีขอความ
บริษัทไมประกันจํากัด
เขียนไวที่ทางขึ้นวา “โปรดดูแลตัวทานและทรัพยสิน
ของทาน หากเกิดความเสียหายใด ๆ จะไมรับผิดชอบ”
และยังปรากฏขอความวา “ผูขนสงจะรับผิดในเครื่องเดินทางในวงเงินไมเกิน 200 บาท” ไวในตั๋วรถ
ดวย ปรากฏวา คนขับรถประมาททําใหเกิดอุบัติเหตุและทําใหเครื่องเดินทางและนายเอกไมสามารถ
เดินทางไปถึงที่หมายไดตามกําหนด เชนนี้ บริษัทจะปฏิเสธความรับผิดตามสัญญารับขนคนโดยสาร
โดยอางวาไดจํากัดความรับผิดไวไมได ตามมาตรา 639 15

แตอยางไรก็ตามกฎหมายไมหามผูขนสงจะทําขอตกลงยกเวนหรือจํากัดความรับผิดของ
ตนกับคนโดยสารเสียทีเดียว กลาวคือ ผูขนสงสามารถทําความตกลงเชนวานั้นได แตความตกลง
ดังกลาว คนโดยสารตองตกลงดวยโดยชัดแจง เชน ทําบันทึกขอตกลงยกเวนความรับผิดไวเปนกรณี
พิเศษ หรือใหผูโดยสารลงลายมือชื่อยอมรับขอจํากัดความรับผิดนั้นไวใหชัดเจน เปนตน ทั้งนี้ทํานอง
เดียวกับขอตกลงยกเวนหรือจํากัดความรับผิดของผูขนสงในสัญญารับขนของ (มาตรา 639)

หนี้หรือความรับผิดของคนโดยสารในสัญญารับขนคนโดยสาร

คนโดยสารมี ห นี้ ที่ ต อ งชํ า ระค า โดยสารแก ผู ข นส ง ตามที่ ไ ด ต กลงไว กั บ ผู ข นส ง คน
โดยสาร หรือตามอัตราคาโดยสารที่ผูขนสงคนโดยสารกําหนดขึ้นไว สวนการชําระคาโดยสารจะ
ชําระกันเมื่อใด เชนจะชําระเมื่อทําสัญญารับขนคนโดยสาร หรือชําระเมื่อขนสงคนโดยสารไปถึง
จุดหมายปลายทางแลว ก็สุดแตจะไดตกลงกันระหวางผูขนสงและผูโดยสาร หรือตามประเพณีที่
ปฏิบัติกันในการขนสงเชนนั้น

15
มาตรา 639 “ตั๋ว ใบรับ หรือเอกสารอื่นทํานองเชนวานี้อันผูขนสงไดสงมอบแกคนโดยสารนั้น
หากมีขอความยกเวนหรือจํากัดความรับผิดของผูขนสงอยางใด ๆ ทานวาขอความนั้นเปนโมฆะ เวนแตคนโดยสาร
จะไดตกลงดวยชัดแจงในการยกเวนหรือจํากัดความรับผิดเชนนั้น”
90
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 91

ความระงับของสัญญารับขน(ทั้งรับขนของและรับขนคนโดยสาร)

1. เมื่อผูขนสงไปปฏิบัติตามสัญญารับขนเรียบรอยแลว คือขนของหรือคนโดยสาร
ตามที่ตกลงกันเรียบรอยแลว
2. สัญญารับขนของอาจเลิกไปกอนที่ผูขนสงปฏิบัติเสร็จสิ้นตามสัญญาโดยคูสัญญา
ฝายใดฝายหนึ่งใชสิทธิบอกเลิกสัญญาในกรณีดังตอไปนี้
2.1 เมื่อคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งไมปฏิบัติตามสัญญา อีกฝายหนึ่งก็ยอมมีสิทธิบอก
เลิกสัญญาได หลังจากที่ไดบอกกลาวใหเวลาพอสมควรใหฝายที่ไมปฏิบัติตาม
สัญญาจัดการปฏิบัติตามสัญญาแลว ทั้งนี้เปนไปตามหลักทั่วไปในเรื่องการเลิก
สัญญาตามมาตรา 387
2.2 เมื่อของที่รับขนเกิดวินาศภัยเพราะเหตุสุดวิสัย สัญญารับขนก็สิ้นสุดลง ทั้งนี้
เพราะการชําระหนี้ของผูขนสงกลายเปนพนวิสัยผูขนสงจึงหลุดพนจากการ
ชําระหนี้ตามมาตรา 219
2.3 เมื่อผูสงหรือผูทรงใบตราสงในกรณีที่มีการออกใบตราสงได สั่งใหผูขนสงงด
การสงของนั้น หรือใหสงของนั้นกลับคืน หรือใหจัดการแกของนั้นเปนอยางอืน่
และผูขนสงไดปฏิบัติตามคําสั่งของผูสงหรือผูทรงใบตราสงนั้นแลว (มาตรา
626) สําหรับกรณีนี้จะเกิดขึ้นไดก็โดยที่ของนั้นยังอยูในมือของผูขนสง และผู
ขนสงชอบที่จะไดรับเงินคาระวางพาหนะตามสวนแหงระยะทางที่ไดจัดการขน
สงไปแลวกับคาใชจายอื่น ๆ ที่ไดเสียไปเพราะเหตุที่บอกงดหรือเพราะสงของ
กลับคืนหรือเพราะจัดการเปนประการอื่นนั้น ขอใหพึงสังเกตวา สิทธิของผูสง
ในอั น ที่ จ ะเลิ ก สัญญารั บขนของดัง กลา วนี้มีลัก ษณะเชน เดีย วกับสิทธิของผู
วาจางในสัญญาจางทําของ ในอันที่จะเลิกสัญญาจางทําของกลางคันได
2.4 ในกรณีที่หาตัวผูรับตราสงไมพบหรือผูรับตราสงปฏิเสธไมยอมรับของถาผู
ขนสงไดดําเนินการตามวิธีการดังบัญญัติไวในมาตรา 631 โดยเอาของนั้นไป
ฝากไวยังสํานักงานฝากทรัพยหรือขายทอดตลาดแลวสัญญารับขนของก็เปนอัน
ระงับไป
3. เมื่อมีการแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญาของคูสัญญารับขน กลาวคือ คูสัญญาตกลงเลิก
สัญญากันเองโดยความยินยอมของทั้งสองฝายตามหลักของนิติกรรมสัญญาทั่วไป)

............................................................................
91
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 92

สัญญาจางขนสงคนโดยสาร

สัญญาฉบับนี้ทําขึ้น ณ ….…………………..ตําบล/แขวง….……………...……………
อํ า เ ภ อ/เ ข ต….………………………จั งห วั ด ….………………….เ มื่ อ วั น ที่ ….…….…………..
ระหวาง………………………………..……………………… ซึ่งตอไปในสัญญานี้เรียกวา “ผูวาจาง”
ฝายหนึ่งกับ ………………………………………………………………… อยูบานเลขที่….………
ถนน………………………ตําบล/แขวง….……………………อําเภอ/เขต …………….……………
จังหวัด…………………โทรศัพท….………………………ซึ่งตอไปนี้ในสัญญานี้เรียกวา “ผูขนสง”
อีกฝายหนึ่ง โดยมีขอตกลงกันดังตอไปนี้
ขอ 1. ผูวาจางตกลงจางและผูขนสงตกลงรับจางทําการขนสงนักศึกษาและบุคลากรของผู
วาจางดวยยานพาหนะ ……………………………………….…………เพื่อไปศึกษานอกสถานที่ ณ
……………………….…………ระหวางวันที่………………..………ถึงวันที่…….…………………
โดยเริ่มออกเดินทางจาก….…………………….……ในวันที่………….……………เวลา….……น.
และกลับถึง………………………….…ในวันที่……………….เวลา……………น. ตามตารางแสดง
รายละเอียดกําหนดวันเวลาการเดินทางแนบทายสัญญาซึ่งถือเปนสวนหนึ่งของสัญญานี้
ขอ 2. ผูขนสงตกลงรับทําการขนสงตามขอ 1. โดยคิดคาจางเปนเงินจํานวน…………บาท
ผูวาจางจะชําระเงินคาจางใหแกผูขนสงเมือผูขนสงไดปฏิบัติตามสัญญาจางถูกตองครบถวนแลว
ขอ 3. ผูขนสงจะตองจัดหายานพาหนะซึ่งมีที่นั่งจํานวน…………………ที่นั่ง มีสิ่งอํานวย
ความสะดวกภายใน คือ .………..……………………..………………จํานวน………………….……
ลํา/คัน ซึ่งมีประกันภัยชั้นหนึ่งครอบคลุมความเสียหายใด ๆ ทั้งสิ้นทั้งยังตองอยูในสภาพมั่นคง
แข็งแรงปลอดภัยมีเครื่องอุปกรณ สวนควบและเครื่องใชประจํายานพาหนะถูกตองครบถวนตาม
กฎหมาย ใชการไดดีในการขนสงและมีความสะอาดถูกสุขลักษณะพรอมพนักงานควบคุม ขับขี่
ยานพาหนะ ตองไดรับประกาศนียบัตรรับรองความรูความสามารถและมีใบอนุญาตใหขับขี่
ยานพาหนะประเภทนั้น และเปนผูมีความประพฤติดี มีความชํานาญ สุขุมรอบคอบในการควบคุมขับ
ขี่ยานพาหนะ เพื่อปฏิบัติหนาที่ตามสัญญานี้
ผูขนสงจะตองแจงชื่อพนักงานควบคุม ขับขี่ยานพาหนะ และชื่อพนักงานประจํายานพาหนะ
พรอมสําเนาประกาศนียบัตร ใบอนุญาต ขับขี่ยานพาหนะของผูควบคุม ขับขี่ยานพาหนะตามวรรค
หนึ่งใหผูวาจางทราบกอนออกเดินทาง
ขอ 4. ในระหวางปฏิบัติหนาที่ตามสัญญา ผูขนสงหรือตัวแทนหรือพนักงานของผูขนสง
จะตองปฏิบัติตามคําสั่งของผูวาจาง หรือตัวแทนของผูวาจาง หากไมปฏิบัติตามผูวาจางหรือตัวแทน
ของผูวาจาง มีสิทธิบอกเลิกสัญญานี้ไดทันที
92
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 93

ขอ 5. ผูขนสงสัญญาวาจะไมเอางานที่รับจางตามสัญญานี้ไปใหผูอื่นรับจางขนสงชวงอีก
ทอดหนึ่งเวนแตจะไดรับความยินยอมเปนหนังสือจากผูวาจาง แตทั้งนี้ผูขนสงยังคงตองรับผิดชอบตอ
ผูวาจางในการกระทําหรือความผิดอยางใด ๆ ของผูรับจางชวง
ขอ 6. ถาผูขนสงไมจัดยานพาหนะทําการขนสงใหทันตามกําหนดวันเวลาและสถานที่ที่
กําหนดไวในสัญญา หรือจัดยานพาหนะที่มีสภาพไมเหมาะสมแกการเดินทางไดโดยปลอดภัย ผูวา
จางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได
ขอ 7. ในระหวางการเดินทาง หากยานพาหนะของผูขนสงเกิดชํารุดบกพรองหรือเสียหาย
จนผูวาจางหรือตัวแทนของผูวาจาง เห็นวา ไมเหมาะสมที่จะเดินทางตอไปไดโดยปลอดภัย ผูวาจางมี
สิทธิบอกเลิกสัญญาและวาจางยานพาหนะอื่นตามที่ผูวาจางเห็นสมควรใชเดินทางตอไปได
ขอ 8. ผูขนสงจะตองรับผิดชดใชคาเสียหายตอคนโดยสารและผูวาจางเพื่อความเสียหาย
อยาง ใด ๆ ที่เกิดขึ้นอันเนื่องจากการขนสงลาชาหรือความชํารุดบกพรองหรือสภาพของยานพาหนะ
ตามสัญญานี้ รวมทั้งความเสียหายที่เกิดจากความจงใจหรือประมาทเลินเลอของผูขนสงหรือตัวแทน
หรือพนักงานของผูขนสงดวย
ขอ 9. หากผูขนสงผิดสัญญาขอใดขอหนึ่ง ผูวาจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันที และเมื่อผู
วาจางบอกเลิกสัญญาแลว ผูขอสงยอมใหผูวาจางดําเนินการดังตอไปนี้
1) เรียกเอกาคาจางที่เพิ่มขึ้นเพราะจางบุคลอื่นทําการขนสงตอไปจนแลวเสร็จตามสัญญา
2) เรียกคาเสียหายอันพึงมีจากผูร ับจาง
ขอ 10. การบอกกลาวเลิกสัญญาโดยหัวหนาสถานศึกษาหรือผูไดรับมอบหมายจากหัวหนา
สถานศึกษาหรือตัวแทนของผูวาจางที่กระทําตอตัวแทนหรือพนักงานของผูขนสงใหถือวาเปนการ
บอกเลิกสัญญานี้แลว

สัญญานี้ไดทําขึ้นเปนสองฉบับ มีขอความอยางเดียวกัน คูสัญญาไดอานเขาใจขอความโดย


ละเอียดตลอดแลว จึงไดลงลายมือชื่อพรอมทั้งประทับตรา (ถามี) ไวเปนสําคัญ ตอหนาพยานและเก็บ
ไวฝายละฉบับ

ลงชื่อ………………………………….ผูวาจาง ลงชื่อ………………………………………..ผูขนสง
(………………………………….) (………………………………………..)

ลงชื่อ………………………………….พยาน ลงชื่อ………………………………………..พยาน
(………………………………….) (………………………………………..)

93

You might also like