You are on page 1of 4

กฎหมายพาณิชย์ 1

หน่วยเน้น หน่วยที่ 2-3, 9-10, 12-13


เนื้ อหาที่สามารถนำามาออกข้อสอบอัตนัย มี 3 กล่่ม ดังนี้
กล่ม ่ ที่ 1 เรื่องซื้อขาย (หน่วยที่ 2-3)
เรื่องที่ 1 หลักทั่วไปของการซื้อขาย
1. มาตรา 454 คำามั่นจะซื้อหรือจะขาย
2. มาตรา 456 การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ สัญญาจะซื้อหรือจะขายทรัพย์สินตามมาตรา 456 วรรค 1
สำาคัญมากๆๆๆๆๆๆๆ ต้องแยกให้ได้ว่าอย่างไรเป็ นการซื้อขายเสร็จเด็ดขาด อย่างไรเป็ นสัญญาจะซื้อ
ขาย ในวรรค 2 สัญญาจะซื้อขาย หรือคำามั่นในการซื้อขายทรัพย์สินตามมาตรา 456 วรรค 1 +
ทรัพย์สน ิ ตามมาตรา 456 วรรค 3 (สังหาริมทรัพย์ราคาตั้งแต่ 20,000 บาทขึ้นไป) ต้องมีหลักฐานเป็ น
หนังสือลงลายมือชื่อผ้้ต้องรับผิดเป็ นสำาคัญ (ไม่ใช่แบบ) หรือวางมัดจำา หรือชำาระหนี้ บางส่วน จึงจะฟ้ อง
ร้องบังคับคดีกน ั ได้
3. มาตรา 458 เวลาที่มีการโอนกรรมสิทธิ ์
4. มาตรา 459 สัญญาซื้อขายที่มีเงื่อนไข กรรมสิทธิจ์ ะยังไม่โอนจนกว่าการจะเป็ นไปตามเงื่อนไขแล้ว
5. มาตรา 460 การซื้อขายทรัพย์สินที่ไม่ได้กำาหนดแน่ นอน ด้เปรียบเทียบกับมาตรา 195 ด้วย

เรื่องที่ 2 หน้าที่และความรับผิดของผ้้ซ้ ือและผ้้ขาย


1. มาตรา 465 ผ้้ขายส่งมอบสังหาริมทรัพย์ไม่ถ้กต้อง
2. มาตรา 466 ผ้้ขายส่งมอบอสังหาริมทรัพย์ไม่ถ้กต้อง
3. มาตรา 467 ข้อรับผิดกรณีทรัพย์เกินหรือขาดตกบกพร่อง
4. มาตรา 468 การยึดหน่ วงทรัพย์สินที่ขาย ด้เรื่องหลักทั่วไปของสิทธิยึดหน่ วงตามมาตรา 241 ด้วย
5. มาตรา 470 กรณีท่ีผ้ซ้ ือต้องรับผิด
6. มาตรา 472 ความรับผิดของผ้้ขายในกรณีทรัพย์สินที่ซ้ ือขายชำาร่ดบกพร่อง + มาตรา 473 ข้อ
ยกเว้นที่ผ้ขายไม่ต้องรับผิดในการที่ทรัพย์สินชำาร่ดบกพร่อง + มาตรา 474 อาย่ความในการฟ้ องคดี
7. มาตรา 475 หลักทั่วไปเกี่ยวกับการรอนสิทธิ + กรณีท่ีผ้ขายไม่ต้องรับผิดในการรอนสิทธิตาม
มาตรา 476 และมาตรา 482 + อาย่ความในการฟ้ องคดีเกี่ยวกับการรอนสิทธิตามมาตรา 481
8. มาตรา 479 ทรัพย์สินหล่ดจากผ้้ซ้ ือเพราะเหต่แห่งการรอนสิทธิ และมาตรา 480 อสังหาริมทรัพย์
ตกอย่้ในบังคับแห่งภาระจำายอม
9. มาตรา 483+484+485 ข้อสัญญาที่ผ้ขายไม่ต้องรับผิด
10. มาตรา 488 ผ้้ซ้ ือพบเห็นความชำาร่ดบกพร่อง ก็ชอบที่จะยึดหน่ วงราคาไว้ได้

กล่ม่ ที่ 2 เช่าทรัพย์ (หน่ วยที่ 9-10)


1. มาตรา 538 หลักฐานและแบบของสัญญาเช่า สำาคัญมากๆๆๆๆๆๆๆๆ อย่าสับสนกับมาตรา 456 เด็ด
ขาด ตามมาตรา 538 ไม่มีคำาว่าเป็ นโมฆะ ให้ด้ไปถึงเรื่องสัญญาเช่าต่างตอบแทนยิง ่ กว่าสัญญาเช่า
ธรรมดาด้วย ซึ่งไม่อย่้ในบังคับมาตรา 538
2. มาตรา 540 กำาหนดเวลาเช่าอสังหาริมทรัพย์
3. มาตรา 542 การเรียกเอาสังหาริมทรัพย์อันเดียวกันโดยอาศัยม้ลของสัญญาเช่าต่างราย + มาตรา
543 การเรียกเอาอสังหาริมทรัพย์อันเดียวกันโดยอาศัยม้ลของสัญญาเช่าต่างราย
4. มาตรา 544 เรื่องการให้เช่าช่วง + ความรับผิดของผ้้เช่าช่วงตามมาตรา 545
5. มาตรา 546 หน้าที่ในการส่งมอบทรัพย์สินของผ้้ให้เช่า
6. มาตรา 547 หน้าที่ในการเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาทรัพย์สินของผ้้ให้เช่า ยกเว้นเฉพาะค่าใช้จ่าย
เพื่อบำาร่งรักษาตามปกติและเพื่อซ่อมแซมเพียงเล็กน้อยซึ่งผ้้เช่าต้องเป็ นผ้้เสีย ด้ด้วยว่าอย่างไรเป็ นการ
บำาร่งรักษาตามปกติ อย่างไรเป็ นการซ่อมแซมเพียงเล็กน้อย
7. มาตรา 548 สิทธิในการเลิกสัญญาของผ้้เช่า เมื่อผ้้ให้เช่าส่งมอบทรัพย์สินฝ่ าฝื นมาตรา 546
8. มาตรา 550 ความรับผิดในความชำาร่ดบกพร่องของผ้้ให้เช่า
9. มาตรา 552 การใช้ทรัพย์สินของผ้้เช่า + มาตรา 553 การสงวนทรัพย์สินที่เช่า และการทำาการ
ซ่อมแซมเล็กน้อย + ถ้าผ้้เช่าฝ่ าฝื นมาตรา 552, 553 ผ้้ให้เช่าสามารถบอกเลิกสัญญาได้ตามมาตรา
554
10. มาตรา 555 การเข้าตรวจด้ทรัพย์สินโดยผ้้ให้เช่า + มาตรา 556 กรณีมีเหต่ต้องซ่อมแซม
ทรัพย์สน ิ เร่งด่วน ผ้้เช่าต้องยอมให้ผ้ให้เช่าซ่อมแซม เว้นแต่การซ่อมแซมกินเวลานานจนไม่สามารถใช้
ทรัพย์น้ันได้ ดังนี้ ผ้เช่าสามารถบอกเลิกสัญญาได้
11. มาตรา 557 กรณีท่ีผ้เช่าต้องแจ้งเหต่แก่ผ้เช่าโดยพลัน มี 3 กรณี
12. มาตรา 558 การดัดแปลงหรือต่อเติมทรัพย์สินที่เช่า
13. มาตรา 560 กรณีผ้เช่าไม่ชำาระค่าเช่า
14. มาตรา 561 ข้อสันนิ ษฐานเกี่ยวกับสภาพทรัพย์สินที่เช่า
15. มาตรา 562 ความรับผิดของผ้้เช่าในความส้ญหายหรือบ่บสลายของทรัพย์สน ิ
16. มาตรา 563 อาย่ความในการฟ้ องผ้้เช่า
17. มาตรา 564 กรณีสัญญาเช่าระงับ
18. มาตรา 566 กำาหนดเวลาเช่าไม่ปรากฏ
19. มาตรา 567 ทรัพย์สน ิ ที่ให้เช่าส้ญหายไปทั้งหมด + มาตรา 568 ทรัพย์สินที่ให้เช่าส้ญหายไปบาง
ส่วน
20. มาตรา 569 ความระงับของสัญญาเช่าเพราะเหต่แห่งการโอนกรรมสิทธิ ์
21. มาตรา 570 กรณีท่ีถือว่าทำาสัญญาเช่าใหม่โดยปริยาย

กล่ม ่ ที่ 3 จ้างแรงงาน จ้างทำาของ รับขน (หน่ วยที่ 12-13)


เรื่องที่ 1 จ้างแรงงาน
1. มาตรา 575 ลักษณะทั่วไปของสัญญาจ้างแรงงาน
2. มาตรา 577 นายจ้างโอนสิทธิให้แก่บ่คคลภายนอก ต้องมีความยินยอมพร้อมใจ
3. มาตรา 579 ล้กจ้างขาดงานโดยมีเหต่อันสมควร นายจ้างไม่สามารถบอกเลิกสัญญาได้
4. มาตรา 581 กรณีท่ีถือว่าทำาสัญญาจ้างใหม่โดยปริยาย
5. มาตรา 582 กรณีการเลิกจ้างโดยการบอกกล่าวล่วงหน้า ทำาความเข้าใจเรื่องการนับระยะเวลาให้ดี
ด้วยว่าเมื่อไรจึงจะบอกเลิกจ้าง และการเลิกจ้างจะมีผลเมื่อใด
6. มาตรา 583 เหต่แห่งการเลิกจ้างโดยนายจ้างไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า และไม่ต้องใช้ค่าสินไหม
ทดแทน มีอย่้ 5 เหต่ ด้ฎีกาด้วย
7. มาตรา 585 ใบสำาคัญแสดงการผ่านงาน
8. มาตรา 586 กรณีนายจ้างต้องจ่ายเงินค่าเดินทางขากลับให้แก่ล้กจ้าง

เรื่องที่ 2 จ้างทำาของ
1. มาตรา 587 ลักษณะทั่วไปของสัญญาจ้างทำาของ
2. มาตรา 591 ความชำาร่ดบกพร่อง ความชักช้าเกิดขึ้นเพราะสภาพสัมภาระของผ้้ว่าจ้าง
3. มาตรา 593 ผ้้รับจ้างไม่เริ่มกระทำาการ หรือกระทำาการชักช้า
4. มาตรา 603 การที่จ้างพังทลายหรือบ่บสลายก่อนส่งมอบและผ้้รับจ้างเป็ นผ้้จัดหาสัมภาระ +
มาตรา 604 ที่จ้างพังทลายหรือบ่บสลายก่อนส่งมอบและผ้้ว่าจ้างเป็ นผ้้จัดหาสัมภาระ
5. มาตรา 605 สิทธิในการบอกเลิกสัญญาของผ้้ว่าจ้าง
6. มาตรา 607 ผ้้รับจ้างช่วง

ข้อแนะนำาในการศึกษาและการตอบข้อสอบอัตนัยกฎหมายพาณิชย์ 1
1. วิชากฎหมายพาณิชย์ 1 ไม่ใช่วิชาที่ยากต่อการทำาความเข้าใจ ขอให้ทบทวนหลักเบื้องต้นใน
กฎหมายแพ่ง 1 กฎหมายแพ่ง 2 และกฎหมายว่าด้วยทรัพย์สน ิ ให้ดี เพราะต้องนำามาใช้มาก
2. ข้อสอบอัตนัยมี 3 ข้อ ข้อแรกเป็ นเรื่องซื้อขาย แต่มีบางปี ออกเรื่องสัญญาแลกเปลี่ยนซึ่งโดยทั่วไปก็
ใช้บทบัญญัติในเรื่องซื้อขายนั่นเอง (มาตรา 519) ข้อสองส่วนใหญ่เป็ นเรื่องเช่าทรัพย์ มีบ้างบางปี ที่
ออกเรื่องเช่าซื้อ ข้อสามเป็ นเรื่องจ้างแรงงาน จ้างทำาของ รับขน ซึ่งมีความใกล้เคียงกันมาก หลายครั้ง
ที่ข้อสอบถามว่าสัญญาตามปั ญหาเป็ นสัญญาอะไร
3. ใกล้สอบพยายามทบทวนตัวบท และเทปเสียงที่ทาง มสธ. ส่งไปให้
4. สำาหรับผ้้ท่ีต้องการเรียนต่อ นบท. สัญญารับขนถือว่าเป็ นเรื่องสำาคัญเรื่องหนึ่ ง เพราะเป็ นพื้นความร้้
ในการเข้าใจกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ ในส่วนที่เกี่ยวกับ พรบ. รับขนของทางทะเล พศ. 2534
จึงควรทำาความเข้าใจอย่างดีด้วย

กฎหมายพาณิชย์ 2
หน่วยเน้น หน่วยที่ 3, 7-8, 11, 12, 15

เนื้ อหาที่นำามาออกข้อสอบอัตนัย แบ่งได้เป็ น 3 กล่่ม


กล่ม ่ ที่ 1 เรื่องการก้้ยืมเงิน (หน่วยที่ 3)
1. มาตรา 653 เรื่องการก้้ยืมเงินกว่า 2,000 บาท (ไม่ใช่ต้งั แต่ 2,000 บาท) ต้องมีหลักฐานเป็ น
หนังสือลงลายมือชื่อผ้้ยืมเป็ นสำาคัญ ส่วนการนำาสืบการใช้เงินนั้นตามมาตรา 653 นั้นหมายถึงเฉพาะ
เงินต้นเท่านั้น ส่วนการนำาสืบเรื่องการใช้ดอกเบี้ยสามารถนำาสืบด้วยพยานบ่คคลได้ (ไม่เป็ นกรณีตาม
มาตรา 653) ด้ฎีกามากๆ ด้ฎีกามากๆ
2. มาตรา 654 + พรบ.ห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พศ. 2475 สร่ปว่าไม่สามารถเรียกดอกเบี้ยเกิน
กว่าร้อยละ 15 ได้ (ไม่ใช้บง ั คับกับการก้้ยืมเงินของธนาคาร) ถ้าฝ่ าฝื นดอกเบี้ยตกเป็ นโมฆะทั้งหมด แต่
ยังคงฟ้ องให้มีการใช้เงินต้นกันได้ (ตามมาตรา 173) และต้องทำาความเข้าใจว่าดอกเบี้ยตามสัญญาเงิน
ก้้ กับดอกเบี้ยระหว่างผิดนัดตามมาตรา 224 เป็ นคนละประเด็นกัน แม้ดอกเบี้ยตามสัญญาก้้เป็ นโมฆะ
แล้ว แต่เจ้าหนี้ สามารถเรียกดอกเบี้ยระหว่างผิดนัดได้ตามมาตรา 224 ด้ฎีกามากๆ
3. มาตรา 655 เป็ นกรณีห้ามคิดดอกเบี้ยทบต้น ซึ่งไม่ใช้กับประเพณีทางการค้า บัญชีเดินสะพัด และ
ดอกเบี้ยที่ค้างชำาระเกิน 1 ปี และได้ทำาสัญญาตกลงกันไว้เป็ นหนังสือ ด้เรื่องบัญชีเดินสะพัด (สัญญาก้้
เบิกเงินเกินบัญชี) ว่าเป็ นสิทธิเฉพาะตัว ไม่ตกไปยังทายาท ด้ฎีกามากๆ
4. มาตรา 656 กรณีผ้กย ้ ืมเงินยอมรับเอาทรัพย์สินอื่นแทนเงิน

นอกจากนี้ อาจต้องอ้างมาตรา 7, มาตรา 224, มาตรา 321, มาตรา 650 ในการตอบข้อสอบด้วย

กล่ม่ ที่ 2 เรื่องตัวแทน (หน่วยที่ 7-8)


1. มาตรา 805 ห้ามตัวแทนทำาการเพื่อประโยชน์ของตนเองหรือของบ่คคล ภายนอก เว้นแต่นิตก ิ รรม
นั้นมีเฉพาะการชำาระหนี้
2. มาตรา 806 ตัวการเปิ ดเผยชื่อ ไม่อย่้ในบังคับมาตรา 798
3. มาตรา 807 หน้าที่ต้องทำาตามคำาสั่งของตัวการ
4. มาตรา 808 หน้าที่ท่ีตัวแทนต้องทำาการด้วยตนเอง
5. มาตรา 810 หน้าที่ท่ีต้องส่งเงินหรือทรัพย์สินที่รับไว้แทนตัวการ + มาตรา 811 ตัวแทนเอาเงินของ
ตัวการไปใช้เป็ นการส่วนตัว
6. มาตรา 812 ความรับผิดของตัวแทน มี 4 กรณี สำาคัญมากๆๆๆๆ
7. มาตรา 813 ตัวแทนตั้งตัวแทนช่วง + มาตรา 814 ความรับผิดของตัวแทนช่วง
8. มาตรา 817 การจ่ายบำาเหน็จให้ตัวแทน + มาตรา 818 กรณีท่ีไม่มีสิทธิได้รับบำาเหน็จ
9. มาตรา 819 สิทธิท่ีตัวแทนจะยึดหน่ วงทรัพย์สินของตัวการ
10. มาตรา 820 ความรับผิดของตัวการต่อบ่คคลภายนอก
11. มาตรา 821 ตัวแทนเชิด ไม่อย่้ในบังคับมาตรา 798
12. มาตรา 822 กรณีตัวแทนทำาเกินขอบอำานาจ แต่มีม้ลเหต่อันสมควรทำาให้บ่คคลภายนอกเชื่อว่า
ตัวแทนได้ทำาการในขอบอำานาจ (ด้ค่้ไปกับมาตรา 821)
13. มาตรา 823 ตัวแทนทำาการโดยปราศจากอำานาจหรือนอกเหนื อขอบอำานาจ ไม่ผ้กพันตัวการ เว้น
แต่ตัวการให้สต ั ยาบัน (ด้ค่้ไปกับมาตรา 822)
14. มาตรา 824 ตัวแทนทำาสัญญาแทนตัวการซึ่งอย่้ในต่างประเทศ
15. มาตรา 825 ตัวแทนเข้าทำาสัญญาโดยเห็นแก่อามิสสินจ้าง ไม่ผ้กพันตัวการ
16. มาตรา 826 กรณีสัญญาตัวแทนระงับ
17. มาตรา 827 การบอกเลิกการเป็ นตัวการและตัวแทนซึง ่ กันและกัน
18. มาตรา 828 กรณีตัวการตาย ตกเป็ นผ้้ไร้ความสามารถ หรือล้มละลาย + มาตรา 829 กรณี
ตัวแทนตาย ตกเป็ นผ้้ไร้ความสามารถ หรือล้มละลาย
19. มาตรา 831 ข้อต่อส้้บ่คคลภายนอกในเรื่องสัญญาระงับ

กล่ม
่ ที่ 3 ประกันภัย (หน่วยที่ 11,12,15)
1. มาตรา 861 ลักษณะทั่วไปของสัญญาประกันภัย
2. มาตรา 863 ผ้้เอาประกันภัยต้องมีส่วนได้เสียในเหต่ประกันภัย สำาคัญมากๆๆๆๆ
3. มาตรา 864 กรณีท่ีผ้เอาประกันภัยมีสิทธิลดเบี้ยประกันภัย
4. มาตรา 865 กรณีสัญญาประกันภัยเป็ นโมฆียะ สำาคัญมากๆๆๆๆๆๆๆ + มาตรา 866 กรณีท่ีถือว่า
สัญญาประกันภัยสมบ้รณ์
5. มาตรา 867 วรรค 1 การฟ้ องร้องบังคับคดีเกี่ยวกับสัญญาประกันภัย ตัวกรมธรรม์ประกันภัยไม่ใช่
ตัวสัญญาประกันภัย แต่ถือว่าเป็ นหลักฐานเป็ นหนังสือ
6. มาตรา 889 ลักษณะทั่วไปของสัญญาประกันชีวิต
7. มาตรา 891 สิทธิของผ้้เอาประกันชีวิตที่จะโอนประโยชน์แห่งสัญญา
8. มาตรา 892 ค่าไถ่ถอนกรมธรรม์กรณีบอกล้างสัญญาตามมาตรา 865
9. มาตรา 893 กรณีแถลงอาย่คลาดเคลื่อนเป็ นเหต่ให้กำาหนดเบี้ยประกันตำ่า
10. มาตรา 894 การบอกเลิกสัญญาด้วยการงดส่งเบี้ยประกัน
11. มาตรา 895 เหต่มรณะที่ผ้รับประกันไม่ต้องใช้เงิน สำาคัญมากๆๆๆๆๆๆ ด้ฎีกาด้วย
12. มาตรา 896 กรณีมรณภัยเกิดขึ้นเพราะความรับผิดของบ่คคลภายนอก (เปรียบเทียบกับมาตรา
880) ในสัญญาประกันชีวิตผ้้เอาประกันชีวิตสามารถเรียกค่าสินไหมทดแทนได้ 2 ทาง คือ เรียกเอา
จากผ้ก
้ ่อความเสียหายโดยตรง และเรียกเอาจากผ้้รับประกันภัย
13. มาตรา 897 กรณีกำาหนดให้ใช้เงินแก่ทายาทโดยไม่ได้ระบ่ช่ ืออย่างเจาะจง

คำาแนะนำาในการศึกษาและตอบข้อสอบอัตนัยกฎหมายพาณิชย์ 2
1. วิชากฎหมายพาณิชย์ 2 ถือว่าเป็ นวิชาที่มีจำานวนมาตราน้อยที่ส่ดในช่ดวิชากฎหมายแพ่งทั้งหมด ดัง
นั้นจึงควรทำาความเข้าใจท่กมาตราที่เป็ นมาตราสำาคัญข้างต้น และกฎหมายพาณิชย์ 2 ไม่ใช่วิชายาก
ถ้ามีความร้้พ้ ืนฐานของกฎหมายแพ่งที่ดี
2. ข้อสอบอัตนัยมี 3 ข้อ ข้อแรกเป็ นเรื่องก้้ยืมเงิน ข้อที่สองเป็ นเรื่องตัวแทน ข้อที่สามเป็ นเรื่องประกัน
ภัย จำานวนมาตราที่ใช้ตอบในแต่ละข้อไม่มาก ประมาณ 1-2 มาตรา ขอให้โชคดีครับ

You might also like