You are on page 1of 8

วิชากฎหมายซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้

มาตรา 456 แบบของสัญญาซื้อขาย และหลักฐานการฟ้ องร้อง


“การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ ถ้ามิได้ทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าทีเ่ ป็ นโมฆะ วิธนี ้ใี ห้ใช้ถงึ
ซื้อขายเรือมีระวางตัง้ แต่หา้ ตันขึน้ ไป ทัง้ ซื้อขายแพและสัตว์พาหนะด้วย
สัญญาจะขายหรือจะซื้อทรัพย์สนิ ตามทีร่ ะบุไว้ในวรรคหนึ่ง ถ้ามิได้มหี ลักฐานเป็ นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลง
ลายมือชื่อฝ่ ายผูต้ อ้ งรับผิดเป็ นสาคัญ หรือได้วางประจาไว้ หรือได้ชาระหนี้บางส่วนแล้ว จะฟ้ องร้องให้บงั คับคดีหาได้ไม่
บทบัญญัตทิ ก่ี ล่าวมาในวรรคก่อนนี้ ให้ใช้บงั คับถึงสัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ซง่ึ ตกลงกันเป็ นราคาสองหมื่นบาท
หรือกว่านัน้ ขึน้ ไปด้วย”

ในวรรคแรก ตัวบทจะกล่าวถึง แบบของสัญญา ถ้าทรัพย์สนิ ประเภทอสังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์พเิ ศษไม่


ทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ สัญญานัน้ ตกเป็ นโมฆะ คู่สญั ญาต่างฝ่ ายต่างฟ้ องร้องให้รบั ผิดตาม
สัญญาซื้อขายไม่ได้ ซึง่ การจะคืนทรัพย์สนิ ต้องเป็ นไปตามหลักเรื่องลาภมิควรได้ตามมาตรา172วรรค2
แต่!!! หากสัญญานัน้ ตกเป็ นโมฆะตามมาตรา456วรรคแรก ถ้าข้อเท็จจริงปรากฎว่าผูข้ ายได้ส่งมอบทีด่ นิ ให้ผซู้ ้อื
ครอบครอง10ปี ผูซ้ ้อื ย่อมได้กรรมสิทธิตามมาตรา
์ 1382(ครอบครองปรปั ก)

อสังหาริมทรัพย์ คือ ทีด่ นิ และทรัพย์ทต่ี ดิ อยู่กบั ทีด่ นิ ในลักษณะถาวร (ไม่ว่าจะเป็ นทีด่ นิ ทีม่ กี รรมสิทธิหรื
์ อไม่ก็
ต้องทาตามแบบ) ยกเว้น การขายทีด่ นิ ให้เป็ นสาธารณะสมบัตขิ องแผ่นดิน การซื้อขายเรือนทีต่ กเป็ นส่วนควบของทีด่ นิ ที่
ได้ซ้อื ไปโดยทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าทีไ่ ปก่อนแล้ว ไม่ตอ้ งทาตามแบบ

สังหาริมทรัพย์พิเศษ ได้แก่ เรือมีระวางตัง้ แต่ 5 ตันขึน้ ไป แพ สัตว์พาหนะ(ช้าง ม้า โค กระบือ ลา ล่อ)ทีไ่ ด้ทา
ตั ๋วรูปพรรณ
****รถยนต์จดั เป็ นทรัพย์ประเภทสังหาริมทรัพย์****

ตัวอย่าง ฎ.3276/2548

สัญญาซื้อขายระบุว่า ผูร้ อ้ งขอซื้อทีด่ นิ พิพาทจาก ส. ทาถนนเข้าบ้านกว้าง 5 เมตร ยาวตลอดแนว ในราคา


35,000 บาท ไม่ได้ระบุว่าผูร้ อ้ งกับ ส. จะไปจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ทด ่ี นิ พิพาทประกอบกับผูร้ อ้ งได้ชาระเงินค่าทีด่ นิ
ให้แก่ ส. รับไปครบถ้วนแล้วในวันทาสัญญา หลังจากนัน้ ส. วัดเนื้อทีท่ ด่ี นิ พิพาทส่งมอบให้ผรู้ อ้ งทาถนนใช้เป็ นทางเข้าออก
ตลอดมา เป็ นพฤติการณ์ทเ่ี ห็นได้ว่า ทัง้ ฝ่ ายผูร้ อ้ งและ ส. ไม่มเี จตนาจดทะเบียนโอนทีด่ นิ พิพาทต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ จึง
เป็ นสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด เมื่อไม่ได้ทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าทีเ่ ป็ นโมฆะตามมาตรา 456
วรรคแรก
ในวรรคสองและวรรคสาม ตัวบทจะกล่าวถึง หลักฐานการฟ้ องร้อง
คือ ไม่มแี บบทีจ่ ะต้องทาตามทีก่ ฎหมายกาหนด ทาด้วยวาจาก็สมบูรณ์ แต่หากจะฟ้ องร้อง ต้องมีหลักฐานการ
ฟ้ องร้อง ได้แก่ หลักฐานเป็ นหนังสืออย่างหนึ่ งอย่างใด ลงลายมือชื่อฝ่ ายผู้ต้องรับผิดลงในสัญญาเป็ นสาคัญ มีการ
วางประจา(มัดจา) หรือมีการชาระหนี้ บางส่วน มีอนั ใดอันหนึ่งก็ฟ้องร้องได้
ตัวอย่าง
นายดาตกลงซื้อทีด่ นิ มีโฉนดทีน่ ายแดงเสนอขายในราคา 500,000 บาท ซึง่ คู่สญ
ั ญาได้ตกลงกันว่าจะไปทาเป็ น
หนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าทีภ่ ายใน 3 เดือนนับแต่วนั ทีต่ กลง โดยได้ลงลายมือชื่อนายดาไว้ในหลักฐานทีเ่ ป็ น
หนังสือ ดังนี้ หากนายดาผิดสัญญา นายแดงสามารถฟ้ องร้องให้นายดารับผิดตามสัญญาได้ ตามมาตรา 456 วรรคสอง
แต่หากนายแดงผิดสัญญา นายดาไม่สามารถฟ้ องร้องให้นายแดงรับผิดตามสัญญาได้ เพราะไม่มหี ลักฐานเป็ น
หนังสือลงลายมือชื่อของนายแดงตามมาตรา 456 วรรคสอง

ตัวอย่าง ฎ.1651/2493
ทาสัญญาจะซื้อขายทีด่ นิ กันด้วยปากเปล่า และยังมิได้ชาระราคาทีด่ นิ แก่กนั แต่ผ้ขู ายได้ มอบที่ดินให้ผ้ซู ื้อ ผู้ซื้อ
ก็ได้เข้าครอบครองที่ดิน ดังนี้ ถือว่าได้มีการปฏิ บตั ิ การชาระหนี้ บางส่วนแล้ว ย่อมเป็ นสัญญาจะซื้อขายถูกต้องตาม
มาตรา 456 วรรคสอง ผูซ้ ้อื ฟ้ องขอบังคับให้ผขู้ ายโอนขายตามสัญญาได้
*****การชาระหนี้เต็มส่วนเต็มจานวน ก็เป็ นการชาระหนี้บางส่วนเช่นกัน*****

แถมความรูเ้ พิม่ เติม (ไม่ได้ออกสอบแต่ควรรู)้

จาก มาตรา453(ลัษณะของสัญญาซื้อขาย)
ลักษณะของสัญญาซื้อขายมีดงั นี้
เป็ นสัญญา เป็ นสัญญาต่างตอบแทน เป็ นสัญญาทีผ่ ขู้ ายมุ่งโอนกรรมสิทธิ ์ เป็ นสัญญาทีผ่ ซู้ ้อื มุ่งชาระราคา

จาก มาตรา458 (การโอนกรรมสิทธิ)์


กรรมสิทธิโอนทั
์ นทีทส่ี ญ
ั ญาเกิด
มาตรา 465 (การส่งมอบทรัพย์สินประเภทสังหาริมทรัพย์ขาดตกบกพร่องหรือลา้ จานวน)

“ในการซื้อขายสังหาริมทรัพย์นนั ้
(1) หากว่าผูข้ ายส่งมอบทรัพย์สนิ น้อยกว่าทีไ่ ด้สญั ญาไว้ ท่านว่าผูซ้ ้อื จะปั ดเสียไม่รบั เอาเลยก็ได้ แต่ถา้ ผูซ้ ้อื รับเอา
ทรัพย์สนิ นัน้ ไว้ ผูซ้ ้อื ก็ตอ้ งใช้ราคาตามส่วน
(2) หากว่าผูข้ ายส่งมอบทรัพย์สนิ มากกว่าทีไ่ ด้สญั ญาไว้ ท่านว่าผูซ้ ้อื จะรับเอาทรัพย์สนิ นัน้ ไว้แต่เพียงตามสัญญา
และนอกกว่านัน้ ปั ดเสียก็ได้ หรือจะปั ดเสียทัง้ หมดไม่รบั เอาไว้เลยก็ได้ ถ้าผูซ้ ้อื รับเอาทรัพย์สนิ อันเขาส่งมอบเช่นนัน้ ไว้
ทัง้ หมด ผูซ้ ้อื ก็ตอ้ งใช้ราคาตามส่วน
(3) หากว่าผูข้ ายส่งมอบทรัพย์สนิ ตามทีไ่ ด้สญ
ั ญาไว้ระคนกับทรัพย์สนิ อย่างอื่นอันมิได้รวมอยูใ่ นข้อสัญญาไซร้ ท่าน
ว่าผูซ้ ้อื จะรับเอาทรัพย์สนิ ไว้แต่ตามสัญญา และนอกกว่านัน้ ปั ดเสียก็ได้ หรือจะปั ดเสียทัง้ หมดก็ได้”

***เน้น (3)***

ใน(1) หมายความว่า ถ้าผูข้ ายส่งทรัพย์สนิ มาน้อยกว่าตามสัญญา ผูซ้ ้อื ทาได้2ทาง คือ 1.ปั ดทิง้ ไม่รบั ทัง้ หมด 2.
รับทรัพย์สนิ ตามทีผ่ ขู้ ายเอามาให้ แต่จ่ายเงินตามจานวนของทีผ่ ขู้ ายเอามาให้ เช่น สัญญาสั ่ง100ผูข้ ายเอามาให้80 ผูซ้ ้อื
จะปั ดทิง้ ไม่รบั ของและไม่จา่ ยเงินเลยก็ได้ หรือ รับของ80ตามทีผ่ ขู้ ายเอามาให้และชาระเงินแค่80ตามทีไ่ ด้

ใน(2) หมายความว่า ว่า ถ้าผูข้ ายส่งทรัพย์สนิ มามากกว่าตามสัญญา ผูซ้ ้อื ทาได้3ทาง คือ 1.ปัดทิง้ ไม่รบั ทัง้ หมด
2.รับทรัพย์สนิ ตามทีผ่ ขู้ ายเอามาให้ แต่จ่ายเงินตามจานวนของทีผ่ ขู้ ายเอามาให้ 3.รับทรัพย์สนิ ตามจานวนทีส่ ั ่งไว้ใน
สัญญา เช่น สัญญาสั ่ง100ผูข้ ายเอามาให้180 ผูซ้ ้อื จะปั ดทิง้ ไม่รบั ของและไม่จา่ ยเงินเลยก็ได้ หรือ รับของ180ตามที่
ผูข้ ายเอามาให้และชาระเงิน180 ตามทีไ่ ด้ หรือ รับแค่100ตามจานวนในสัญญาทีท่ ากันไว้ระหว่างผูซ้ ้อื และผูข้ าย

ใน(3) หมายความว่า ว่า ถ้าผูข้ ายส่งทรัพย์สนิ มาปนกับทรัพย์สนิ อื่นทีเ่ ราไม่ได้สั ่งไว้ตามสัญญา ผูซ้ ้อื ทาได้2ทาง
คือ 1.ปั ดทิง้ ไม่รบั ทัง้ หมด 2.รับทรัพย์สนิ เฉพาะตามทีอ่ ยู่ในสัญญา เช่น ผูซ้ ้อื สั ่งซื้อแตงโม แต่ผขู้ ายเอาแตงโมกับแตงกวา
และแตงไทย มาให้ผซู้ ้อื ผูซ้ ้อื สามารถทาได้2ทาง คือ 1.ปั ดทิง้ ไม่รบั ทัง้ หมด 2.รับเฉพาะแตงโมและจ่ายเงินแค่ค่าแตงโม
ตัวอย่าง
ผูซ้ ้อื ผูข้ ายตกลงซื้อขายข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ จานวน 10,000 กิโลกรัม แต่ผขู้ ายส่งมอบข้าวโพดเลีย้ งสัตว์จานวน
10,000 กิโลกรัม และข้าวโพดขาวจานวน 3,000 กิโลกรัม ดังนี้ ผูซ้ ้อื มีสทิ ธิ 2ทาง คือ 1. ผูซ้ ้อื สามารถรับเอาเฉพาะ
ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ได้ แล้วบอกปัดไม่รบั ข้าวโพดขาวได้ แล้วชดใช้ราคาข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ หรือ 2. ผูซ้ ้อื สามารถปฏิเสธไม่รบั
ข้าวโพดทัง้ หมดก็ได้ และไม่ตอ้ งชดใช้ราคา

***ข้อสังเกต มาตรา 465 (1) (2) (3) เป็ นสิทธิของผูซ้ ้อื ทีจ่ ะรับเอาหรือปั ดเสียก็ได้ผขู้ ายบังคับให้ผซู้ ้อื รับ
เอาไม่ได้
ความรับผิดในการรอนสิ ทธิ (มาตรา477 478)

มาตรา 477 (สิ ทธิ ของผูซ้ ื้อ เมื่อเกิ ดการรอนสิ ทธิ จากบุคคลภายนอก)

“ เมื่อใดการรบกวนขัดสิทธินนั ้ เกิดเป็ นคดีขน้ึ ระหว่างผูซ้ ้อื กับบุคคลภายนอก ผูซ้ ้อื ชอบทีจ่ ะขอให้ศาลเรียกผูข้ าย
เข้าเป็ นจาเลยร่วมหรือเป็ นโจทก์ร่วมกับผูซ้ ้อื ในคดีนนั ้ ได้ เพื่อศาลจะได้วนิ ิจฉัยชีข้ าดข้อพิพาทระหว่างผูเ้ ป็ นคู่กรณีทงั ้ หลาย
รวมไปเป็ นคดีเดียวกัน”
กล่าวคือ เมื่อผูซ้ ือ้ กับบุคคลภายนอก(บุคคลที่สาม) เกิดปั ญหากัน สิทธิของผูซ้ ือ้ ที่เกิดขึน้ คือ ผูซ้ ือ้ สามารถเรียกผูข้ าย
มาเป็ นโจทก์รว่ มได้ในกรณีท่ผี ซู้ ือ้ เป็ นผูฟ้ ้องบุคคลภายนอก หรือสามารถเรียกผูข้ ายมาเป็ นจาเลยร่วมได้ในกรณีท่ตี นถูก
บุคคลภายนอกฟ้อง

มาตรา 478 (สิ ทธิ ของผู้ขายในการเข้าร่วมคดี)

“ถ้าผูข้ ายเห็นเป็ นการสมควร จะสอดเข้าไปในคดีเพื่อปฏิเสธการเรียกร้องของบุคคลภายนอก ก็ชอบทีจ่ ะทาได้


ด้วย”

กล่าวคือ ผูข้ ายมีสิทธิท่จี ะปฎิเสธในการเข้าไปร่วมเป็ นจาเลยร่วมหรือโจทก์รว่ มตามมาตรา477 เพื่อปฎิเสธการ


เรียกร้องของบุคคลภายนอก คือผูข้ ายจะไปหรือไม่ไปก็ได้ ถ้าเห็นว่าสมควรไปช่วยก็ไป ถ้าเห็นว่าไม่สมควรไปช่วยก็ไม่ไปได้

ข้อสัญญาว่าจะไม่ต้องรับผิดตามเจตนาของคู่สญ
ั ญา (มาตรา 483 484 485)

มาตรา 483 (ไม่ต้องรับผิดโดยการตกลงกัน)

“คู่สญ
ั ญาซื้อขายจะตกลงกันว่าผูข้ ายจะไม่ตอ้ งรับผิดเพื่อความชารุดบกพร่องหรือเพื่อการรอนสิทธิกไ็ ด้”
กล่าวคือ

มาตรา 484 (ชดใช้ด้วยเงิ น)

“ข้อสัญญาว่าจะไม่ตอ้ งรับผิดนัน้ ย่อมไม่คมุ้ ผูข้ ายให้พน้ จากการต้องส่งเงินคืนตามราคา เว้นแต่จะได้ระบุไว้เป็ น


อย่างอื่น”

มาตรา 485 (ไม่ค้มุ กันผูข้ ายที่ร้แู ละปกปิ ด)

“ข้อสัญญาว่าจะไม่ตอ้ งรับผิดนัน้ ไม่อาจคุม้ ความรับผิดของผูข้ ายในผลของการอันผูข้ ายได้กระทาไปเอง หรือผล


แห่งข้อความจริงอันผูข้ ายได้รอู้ ยู่แล้วและปกปิ ดเสีย”
มาตรา 483 บัญญัติว่าคู่สัญญาซื้อขายจะตกลงกันว่าผูข้ ายจะไม่ตอ้ งรับผิดเพื่อความชารุ ดบกพร่ องหรื อ เพื่อการรอน
สิ ทธิก็ได้ แต่ !!!! มาตรา 485 บัญญัติว่าข้อสัญญาว่าจะไม่ตอ้ งรับผิดนั้น ไม่อาจคุม้ ความรับผิดของผูข้ าย ในผลของการอันผูข้ าย
ได้กระทาไปเอง หรื อผลแห่งข้อความจริ งอันผูข้ ายรู ้อยูแ่ ล้วและปกปิ ดเสี ย

ตัวอย่าง

นายกลางได้ตกลงซื้อรถยนต์จากนายเล็ก โดยตกลงกันว่า หากมีความชารุ ดบกพร่ องเกิดขึ้น นายเล็กจะไม่รับผิดชอบ


ดังนี้นายกลางกับนายเล็กตกลงกันได้ตามมาตรา 483 มาตรา 483 ตกอยูภ่ ายใต้บงั คับมาตรา 484 , 485 กล่าวคือ ข้อสัญญาว่า
จะไม่ตอ้ งรับผิดนั้น ย่อมไม่คมุ้ ผูข้ ายให้พน้ จากการต้องส่งเงินคืนตามราคา เว้นแต่จะได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่นตามมาตรา 484 ข้อ
สัญญาว่าจะไม่ตอ้ งรับผิดนั้น ไม่อาจคุม้ ความรับผิดของผูข้ ายในผลของการอันผูข้ ายได้กระทาไปเอง หรื อผลแห่งข้อความจริ ง
อันผูข้ ายได้รู้อยูแ่ ล้วและปกปิ ดเสี ยตามมาตรา 485

หมายเหตุ : ใช้บงั คับในกรณี ความรับผิดเพื่อการรอนสิ ทธิดว้ ย


ตัวอย่างข้อสอบวิชาซื้อขาย
1.นายสมาน ซื้อรถยนต์จากนางสมศรีในราคา 500,000 บาท ต่อมานายสมานขับขี่ รถยนต์โดยประมาทชน
เสาร์ไฟฟ้ าข้างถนน ทาให้รถยนต์ได้รบั ความเสียหายเล็กน้อยนายสมานจึงนารถยนต์ไปคืนให้กบั นางสมศรี
และขอเงินจานวน 500,000 บาท คืนโดดยอ้างว่ายังไม่ได้จดทะเบียนเปลี่ยนชื่อในคู่มอื รถยนต์ สัญญาซื้อ
ขายยังไม่สมบูรณ์ ตกเป็ นโมฆะ ข้ออ้างของนายสมานรับฟั งได้หรือไม่ อย่างไร
ตอบ จากกรณีตามอุทาหรณ์ มีประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์(ปพพ.) ทีเ่ กีย่ วข้องดังต่อไปนี้
มาตรา 456 วางหลักว่า “ การซื้อขายอสังหาริมทรัพ ย์ ถ้ามิได้ทาเป็ น หนังสือและจดทะเบีย นต่อ
พนัก งานเจ้าหน้ าที่เ ป็ นโมฆะ วิธีน้ีใ ห้ใ ช้ถึงซื้ อขายเรือมีระวางตัง้ แต่ห้าตันขึ้นไป ทัง้ ซื้อ ขายแพและสัตว์
พาหนะด้วย
สัญ ญาจะขายหรือ จะซื้อ หรือ ค ามันในการซื
่ ้อ ขายทรัพย์ส ินตามที่ระบุไว้ใ นวรรคหนึ่ง ถ้ามิได้มี
หลักฐานเป็ นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลงลายมือชื่อฝ่ ายผูต้ ้องรับผิดเป็ นสาคัญ หรือได้วางประจาไว้ หรือได้
ชาระหนี้บางส่วนแล้ว จะฟ้ องร้องให้บงั คับคดีหาได้ไม่
บทบัญญัติท่กี ล่าวมาในวรรคก่อนนี้ ให้ใช้บงั คับถึงสัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ซ่ึงตกลงกันเป็ น
ราคาสองหมื่นบาท หรือกว่านัน้ ขึน้ ไปด้วย ”
ตาม ป.พ.พ. มาตรา 456 วรรคแรก วางหลักไว้ว่าการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์
ชนิดพิเศษจะต้องทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ มิเช่นนัน้ จะตกเป็ นโมฆะ การซื้อขาย
สังหาริมทรัพย์ธรรมดาซึ่งไม่อยู่ภายใต้บังคับตาม มาตรา 456 วรรคแรก ฉะนัน้ การซื้อขายรถยนต์รถยนต์
ระหว่างนายสมาน และนางสมศรี สมบูรไ์ ม่ตกเป็ นโมฆะ
ส่วนการจดทะเบียนเปลีย่ นชื่อในคู่มอื รถเป็ นเพียงการแจ้งการเปลีย่ นชื่อเจ้าของรถยนต์ มิใช่แบบบ
ทีก่ ฎหมายกาหนดไว้ให้ตอ้ งทา แม้จะไม่มกี ารเปลีย่ นชื่อในคู่มอื รถ กาม่ทาให้สญ
ั ญาซือ้ ขายเป็ นโมฆะ ดังนัน้
ข้อออ้างของนายสมานรับฟั งไม่ได้
2.นายเมฆทาการซือ้ ขายเก้าอีก้ บั นายหมอกจานวน50ตัว เมื่อถึงวันส่งมอบนายหมอกได้สง่ มอบเก้าอี ้
และโต๊ะอย่าง 50 ตัว หากนายเมฆไม่พอใจจะสามารถบอกเลิกสัญญาได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
จากโจทย์มีหลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์(ป.พ.พ.)ที่เกี่ยวข้อง ดังนี ้

มาตรา 465 วางหลักว่า “ในการซือ้ ขายสังหาริมทรัพย์นนั้

(1)…
(2)…
(3)หากว่าผูข้ ายส่งมอบทรัพย์สินตามที่ได้สญ
ั ญาไว้ระคนกับทรัพย์สินอย่างอื่นอันมิได้รวมอยู่ในข้อ
สัญญาไซร้ ท่านว่า ผูซ้ ือ้ จะรับเอาทรัพย์สิน ท่านว่าผูซ้ ือ้ จะรับเอาทรัพย์สินไว้แต่ตามสัญญา และนอกกว่านัน้
ปัดเสียก็ได้ หรือจะปั ดเสียทัง้ หมดก็ได้

วินิจฉัย

จากกรณีตายอุทาหรณ์ กรณีท่นี ายเมฆซึ่งเป็ นผูท้ าการซือ้ ขายเก้าอีก้ บั นายหมอกซึ่งเป็ นผูข้ ายจานวน


50ตัวเป็ นการซือ้ ขายสังหาริมทรัพย์ แต่ในวันส่งมอบทรัพย์สินนายหมอกได้สง่ มอบเก้าอีแ้ ละโต๊ะอย่างละ 50
ตัว

ซึ่งเป็ นการส่งมอบทรัพย์สินตามที่สญ
ั ญาไว้ระคนกับทรัพย์สินอย่างอื่นอันมิได้รวมอยู่ในข้อสัญญา
ดังนีน้ ายเมฆผูซ้ ือ้ จะรับเอาทรัพย์สินไว้แต่ตามสัญญา ซึ่งคือเฉพาะเพียงแต่เก้าอีจ้ านวน 50 ตัว และปัดการส่ง
มอบโต๊ะจานวน 50 ตัวเสียก็ได้ หรือนายเมฆจะปัดรับการส่งมอบของทัง้ เก้าอีแ้ ละโต๊ะเสียก็ได้ ดังนัน้ ถ้าหาก
นายเมฆไม่พอใจจะสามารถบอกเลิกสัญญาเสียก็ได้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 465(3)
สรุป หากนายสามารถบอกเลิกสัญญาได้ถา้ หากว่านายไม่พอใจ เพราะ นายหมอกได้สง่ มอบ
ทรัพย์สินตามที่สญ
ั ญาไว้ระคนกับทรัพย์สินอย่างอื่นอันมิได้รวมอยู่ในข้อสัญญา ตาม ป.พ.พ. มาตรา465(3)
3.นายครุฑทาสัญญาขายที่ดินให้แก่นายนาคเนือ้ ที่ 900 ตร.วา โดยมีขอ้ สัญญาว่าผูข้ ายไม่ตอ้ งรับผิด
ในกรณีผซู้ ือ้ ถูกรอนสิทธิใดๆก็ตาม นายนาคไม่ได้อ่านสัญญาโดยละเอียด จึงตกลงทาสัญญาซือ้ ขายที่ดินกับ
นายครุฑ โดยทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อเจ้าหน้าที่ ต่อมาภายหลัง นายนาคถูกนายอินฟ้องเพิกถอน
กรรมสิทธิใ์ นที่ดินดังกล่าวทัง้ หมด ดังนัน้ นายนาคจะฟ้องให้ใครรับผิดชอบได้บา้ ง และศาลจะพิจารณาคดี
อย่างไร จงอธิบายพร้อมยกหลักกฎหมายประกอบ

ตอบ (กรณีนายนาคสามารถฟ้องให้ใครรับผิดชอบได้บา้ ง)

การที่นายครุฑทาสัญญาซือ้ ขายที่ดินกับนายนาคและภายหลังนายนาคถูกนายอินฟ้องเพิกถอน
สิทธิในที่ดินดังกล่าว เป็ นกรณีท่กี ารรบกวนขัดสิทธิเกิดขึน้ เป็ นคดีระหว่างผูซ้ ือ้ กับบุคคลภายนอก กล่าวคือ
นายนาคเป็ นผูซ้ ือ้ และนายอินเป็ นบุคคลภายนอก นายนาคชอบที่จะให้ศาลเรียกนายครุฑผูข้ าย เข้าเป็ นจาเลย
ร่วมกับนายนาคในคดีนไี ้ ด้ตามมาตรา 477 เพื่อศาลจะได้วินิจฉัยชีข้ าดข้อพิพาทระหว่างผูเ้ ป็ นคู่กรณีทงั้ หลาย
รวมไปเป็ นคดีเดียวกัน

ตามบัญญัติแห่งมาตรา478 ถ้านายครุฑผูข้ าย เห็นเป็ นการสมควร จะสอดไปในคดีเพื่อปฏิเสธการ


เรียกร้องของนายอิน บุคคลภายนอก ก็ชอบที่จะทาได้ดว้ ย

(กรณีศาลจะพิจารณาอย่างไร)
จากข้อเท็จจริงดังกล่าว ข้อสัญญาระหว่าง นายครุฑและนายนาคว่า ผูข้ ายไม่ตอ้ งรับผิดในกรณีผซู้ ือ้
ถูกรอนสิทธิใดๆ เป็ นกรณีท่ีค่สู ญ
ั ญาตกลงกัน ตามมาตรา 483 นายครุฑชอบที่จะยกสัญญาดังกล่าวขึน้ กล่าว
เพื่อไม่ให้ตนต้องรับผิด แต่ขอ้ สัญญาว่าไม่ตอ้ งรับผิดนัน้ ไม่อาจคุม้ ความรับผิดของผูข้ ายในผลของการอันผูไ้ ด้
กระทาไปเอง หรือผูข้ ายปกปิ ดความจริง ซึ่งการที่นายนาคตกลงทาสัญญาโดยไม่อ่านให้ดีเสียก่อน ไม่เป็ นกรณี
ที่นายครุฑปกปิ ดข้อสัญญากับนายนาค ตามมาตรา485 ดังนัน้ นายครุฑยังคงได้รบั การคุม้ ครองอยู่

แต่อย่างไรก็ตาม ข้อสัญญาว่าจะไม่รบั ผิดนัน้ ย่อมไม่คมุ้ ผูข้ ายให้พน้ จากการส่งมอบเงินคืนตาม


ราคา ดังนัน้ เมื่อสัญญามิได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น นายครุฑจึงต้องส่งมอบเงินค่าที่ดินตามหลักลาภมิควรได้
กลับคืนสูฐ่ านะเดิมให้แก่นายนาคตามมาตรา 484

สรุป (1) นายนาคชอบที่จะให้ศาลเรียกนายครุฑเข้ามาเป็ นจาเลยร่วมได้


(2) นานครุฑมิตอ้ งรับผิดในข้อสัญญา แต่ตอ้ งส่งมอบราคาคืนที่ดินแก่นายนาค

You might also like