You are on page 1of 10

หน้า 1 จาก 10

กฎหมายพาณิชย์1 (หน่วยเน้น 2,3,9,10,12,13)


หน่วย 2 คำมั่น สัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด
มาตรา 453 อันว่าซื้อขายนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลฝ่ ายหนึ่งเรียกว่า ผู้ขายโอนกรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินให้แก่บุคคลอีก
สัญญาซื้อขาย ฝ่ ายหนึ่ง เรียกว่า ผู้ซื้อและผู้ซื้อตกลงว่าจะใช้ราคาทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ขาย
มาตรา 454 การที่คู่กรณีฝ่ ายหนึ่งให้คำมั่นไว้ก่อนว่าจะซื้อหรือขายนั้นจะมีผลเป็ นการซื้อขายต่อเมื่ออีกฝ่ ายหนึ่งได้
ผลของการซื้อขาย บอกกล่าวความจำนงว่าจะทำการซื้อขายนั้นให้สำเร็จตลอดไป และคำบอกกล่าว เช่นนั้นได้ไปถึงบุคคลผู้ให้
คำมั่นแล้ว
ถ้าในคำมั่นมิได้กำหนดเวลาไว้เพื่อการบอกกล่าวเช่นนั้นไซร้ ท่านว่าบุคคลผู้ให้คำมั่นจะกำหนดเวลาพอ
สมควร และบอกกล่าวไป ยังคู่กรณีอีกฝ่ ายหนึ่งให้ตอบมาเป็ นแน่นอนภายในเวลากำหนดนั้น ก็ได้ว่าจะทำการ
ซื้อขายให้สำเร็จตลอดไปหรือไม่ ถ้าและไม่ตอบ เป็นแน่นอนภายในกำหนดเวลานั้นไซร้ คำมั่นซึ่งได้ให้ไว้ก่อน
นั้นก็ เป็ นอันไร้ผล
มาตรา 456 การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ ถ้ามิได้ทำเป็ นหนังสือ และจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ไซร้
คำมั่นในการซื้อขาย ท่านว่าเป็ นโมฆะวิธีนี้ให้ ใช้ถึงซื้อขายเรือกำปั่ นหรือเรือมีระวางตั้งแต่หกตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือ
ทรัพย์สิน ยนต์มีระวางตั้งแต่ห้าตันขึ้นไป ทั้งซื้อขายแพและสัตว์พาหนะด้วย
อนึ่งสัญญาจะขายหรือจะซื้อทรัพย์สินอย่างใด ๆ ดั่งว่ามานี้ก็ดี คำมั่นในการซื้อขายทรัพย์สินเช่นว่านั้นก็
ดี ถ้ามิได้มีหลักฐานเป็ น หนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลงลายมือชื่อฝ่ ายผู้ต้องรับผิดเป็ นสำคัญ หรือได้วางประจำ
ไว้หรือได้ชำระหนี้บางส่วนแล้ว ท่านว่าจะฟ้ องร้องให้บังคับคดีหาได้ไม่
บทบัญญัติที่กล่าวมาในวรรคก่อนนี้ ท่านให้ใช้บังคับถึงสัญญา ซื้อขายสังหาริมทรัพย์ซึ่งตกลงกันเป็ น
ราคาห้าร้อยบาท หรือกว่า นั้นขึ้นไปด้วย
 EX. ฎีกาว่าการซื้อขายที่ดิน นส.3 ถ้าไม่ทำเป็นหนังสือและจดทะเบียน เป็นโมฆะ
 สัตว์พาหนะ หมายถึง ช้าง ม้า โค กระบือ ลา ล่อ แต่สัตว์เหล่านี้ต้องได้ทำตั๋วรูปพรรณแล้วเท่านั้น
มาตรา 458 กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ขายนั้น ย่อมโอนไปยังผู้ซื้อ ตั้งแต่ขณะเมื่อได้ทำสัญญาซื้อขายกัน
การโอนกรรมสิทธิ์
 กรรมสิทธิ์ แค่ตกลงซื้อขายกันก็ทำให้กรรมสิทธิ์ได้โอนไปแล้ว
มาตรา 459 ถ้าสัญญาซื้อขายมีเงื่อนไข หรือเงื่อนเวลาบังคับไว้ ท่านว่ากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินยังไม่โอนไป
ข้อยกเว้นการโอน จนกว่าการจะได้เป็ นไป ตามเงื่อนไข หรือถึงกำหนดเงื่อนไขเวลานั้น
กรรมสิทธิ์
มาตรา 460 ในการซื้อขายทรัพย์สินซึ่งมิได้กำหนดลงไว้แน่นอนนั้น ท่านว่ากรรมสิทธิ์ยังไม่โอนไปจนกว่า
การซื้อขายทรัพย์สิน จะได้หมาย หรือนับ ชั่ง ตวง วัด หรือคัดเลือก หรือทำโดยวิธีอื่นเพื่อให้บ่งตัวทรัพย์สินนั้นออกเป็ น
ซึ่งมิได้กำหนดลงไว้ แน่นอนแล้ว
แน่นอนและทรัพย์สิน ในการซื้อขายทรัพย์สินเฉพาะสิ่ง ถ้าผู้ขายยังจะต้องนับ ชั่ง ตวง วัดหรือทำการอย่างอื่น หรือ
เฉพาะสิ่ง ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดอันเกี่ยวแก่ทรัพย์สิน เพื่อให้รู้กำหนดราคาทรัพย์สินนั้นแน่นอน ท่านว่ากรรมสิทธิ์ยัง
ไม่โอน ไปยังผู้ซื้อจนกว่าการหรือสิ่งนั้นได้ทำแล้ว
 EX. มาตรา 460 ว.2 ก.ตกลงซื้อถั่วจาก ข. ซึ่งมีอยู่กระสอบเดียว และวางอยู่หน้าร้านของ ข.ราคา
กิโลกรัมละ 5 บาท ดังนั้นกรรมสิทธิ์ในถั่วเหลืองกระสอบนั้นโอนมายัง ก.ตั้งแต่เมื่อใด
 ตอบ เป็นการซื้อขายทรัพย์เฉพาะสิ่ง แต่กรรมสิทธิ์ในถั่วเหลืองยังไม่โอนมายัง ก.จนกว่า ข.ชั่งถั่วใน
กระสอบนั้น เพื่อรู้กำหนดราคาถั่วทั้งกระสอบเป็นการแน่นอนเสียก่อน
หน่วย 3 หน้าที่และความรับผิดของผู้ขายและหน้าที่ของผู้ซื้อ
มาตรา 461 ผู้ขายจำต้องส่งมอบทรัพย์สินซึ่งขายนั้นให้แก่ผู้ซื้อ
หน้า 2 จาก 10

ลักษณะการส่งมอบ
มาตรา 465 ในการซื้อขายสังหาริมทรัพย์นั้น
การส่งมอบทรัพย์สิน (1) หากว่าผู้ขายส่งมอบทรัพย์สินน้อยกว่าที่ได้สัญญาไว้ ท่านว่า ผู้ซื้อจะปัดเสียไม่รับเอาเลยก็ได้ แต่ถ้าผู้ซื้อรับ
ผิดจากที่ระบุไว้ใน เอาทรัพย์สินนั้นไว้ ผู้ซื้อก็ต้องใช้ราคาตามส่วน
สัญญา (2) หากว่าผู้ขายส่งมอบทรัพย์สินมากกว่าที่ได้สัญญาไว้ ท่านว่า ผู้ซื้อจะรับเอาทรัพย์สินนั้นไว้แต่เพียงตาม
สัญญา และนอกกว่านั้นปัด เสียก็ได้ หรือจะปัดเสียทั้งหมดไม่รับเอาไว้เลยก็ได้ ถ้าผู้ซื้อรับเอา ทรัพย์สินอันเขา
ส่งมอบเช่นนั้นไว้ทั้งหมด ผู้ซื้อก็ต้องใช้ราคาตามส่วน
(3) หากว่าผู้ขายส่งมอบทรัพย์สินตามที่ได้สัญญาไว้ระคนกับ ทรัพย์สินอย่างอื่นอันมิได้รวมอยู่ในข้อสัญญาไซร้
ท่านว่าผู้ซื้อจะรับ เอาทรัพย์สินไว้แต่ตามแต่ตามสัญญา และนอกกว่านั้นปัดเสียก็ได้ หรือจะปัดเสียทั้งหมด
ก็ได้
มาตรา 466 ในการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์นั้น หากว่าได้ระบุ จำนวนเนื้อที่ทั้งหมดไว้ และผู้ขายส่งมอบ
การส่งมอบทรัพย์สิน ทรัพย์สินน้อยหรือมาก ไปกว่าที่ได้สัญญาไซร้ท่านว่าผู้ซื้อจะปัดเสีย หรือจะรับเอาไว้และ ใช้ราคา
ผิดจากที่ระบุไว้ใน ตามส่วนก็ได้ ตามแต่จะเลือก
สัญญา(อสังหาริมทรั อนึ่ง ถ้าขาดตกบกพร่องหรือล้ำจำนวนไม่เกินกว่าร้อยละห้าแห่ง เนื้อที่ทั้งหมดอันได้ระบุไว้
พย์) นั้นไซร้ ท่านว่าผู้ซื้อจำต้องรับเอาและใช้ ราคาตามส่วน แต่ว่าผู้ซื้ออาจจะเลิกสัญญาเสียได้ในเมื่อ
ขาดตก บกพร่องหรือล้ำจำนวนถึงขนาดซึ่งหากผู้ซื้อได้ทราบก่อนแล้วคงจะ มิได้เข้าทำสัญญานั้น
 หมายเหตุ; มาตรา 466 ว.2 ถ้าหากขาดตกบกพร่องหรือส่งจำนวนเกินกว่าร้อยละ 5 แห่งเนื้อที่
ทั้งหมดอันได้ระบุไว้ ก็ไม่อยู่ในบังคับตามวรรค 2 ต้องบังคับตามวรรค 1 เท่านั้น
มาตรา 467 ในข้อรับผิดเพื่อการที่ทรัพย์ขาดตกบกพร่องหรือล้ำจำนวนนั้น ท่านห้ามมิให้ฟ้ องคดีเมื่อพ้นกำหนดปี
อายุความฟ้ องคดี หนึ่งนับแต่เวลาส่งมอบ
มาตรา 468 ถ้าในสัญญาไม่มีกำหนดเงื่อนเวลาให้ใช้ราคาไซร้ ผู้ขายชอบที่จะยึดหน่วงทรัพย์สินที่ขายไว้
การยึดหน่วงจนกว่า ได้จนกว่าจะใช้ราคา
จะใช้ราคา
 หมายเหตุ; สิทธิยึดหน่วง จะต้องใช้ก่อนที่มีการส่งมอบ ถ้าส่งมอบไปแล้วผู้ซื้อไม่ชำระราคา ผู้ขายจะ
ใช้สิทธิยึดหน่วงไม่ได้
มาตรา 470 ถ้าผู้ซื้อผิดนัด ผู้ขายซึ่งได้ยึดหน่วงทรัพย์สินไว้ ตาม มาตราทั้งหลายที่กล่าวมาอาจจะใช้ทางแก้ต่อไปนี้
ผลของการยึดหน่วง แทนทางแก้สามัญในการไม่ชำระหนี้ได้ คือมีจดหมายบอกกล่าวไปยังผู้ซื้อให้ใช้ราคากับทั้งค่าจับจ่ายเกี่ยวกับ
ทรัพย์สินที่ขาย การภายในเวลาอันควร ซึ่งต้องกำหนดลงไว้ในคำบอกกล่าวนั้นด้วย
ถ้าผู้ซื้อละเลยเสียไม่ทำตามคำบอกกล่าว ผู้ขายอาจนำทรัพย์สิน นั้นออกขายทอดตลาดได้

มาตรา 472 ในกรณีที่ทรัพย์สินซึ่งขายนั้นชำรุดบกพร่องอย่าง หนึ่งอย่างใดอันเป็ นเหตุให้เสื่อมราคาหรือเสื่อมความ


ลักษณะความรับผิด เหมาะสมแก่ ประโยชน์อันมุ่งจะใช้เป็ นปกติก็ดี ประโยชน์ที่มุ่งหมายโดยสัญญาก็ดี ท่านว่าผู้ขายต้องรับผิด
เพื่อชำรุดบกพร่อง ความที่กล่าวมาใน มาตรานี้ ย่อมใช้ได้ ทั้งที่ผู้ขายรู้อยู่แล้วหรือ ไม่รู้ว่าความชำรุดบกพร่องมีอยู่
 หมายเหตุ; ผู้ขายต้องรับผิดในทรัพย์สินที่ชำรุดก่อนการขาย
มาตรา 473 ผู้ขายย่อมไม่ต้องรับผิดในกรณีดั่งจะกล่าวต่อไปนี้คือ
ข้อยกเว้นไม่ต้องรับ (1) ถ้าผู้ซื้อได้รู้อยู่แล้ว แต่ในเวลาซื้อขายว่ามีความชำรุดบกพร่อง หรือควรจะได้รู้เช่นนั้น หากได้ใช้ความ
ผิดของผู้ขาย ระมัดระวังอันพึงคาดหมายได้ แต่วิญญูชน
(2) ถ้าความชำรุดบกพร่องนั้น เป็ นอันเห็นประจักษ์แล้วในเวลา ส่งมอบและผู้ซื้อรับเอาทรัพย์สินนั้นไว้โดยมิได้
อิดเอื้อน
(3) ถ้าทรัพย์สินนั้นได้ขายทอดตลาด
หน้า 3 จาก 10

มาตรา 474 ในข้อรับผิดเพื่อชำรุดบกพร่องนั้น ท่านห้ามมิให้ฟ้ องคดีเมื่อพ้นเวลาปี หนึ่งนับแต่เวลาที่ได้พบเห็นความ


อายุความฟ้ องคดี ชำรุดบกพร่อง
มาตรา 475 หากว่ามีบุคคลผู้ใดมาก่อการรบกวนขัดสิทธิของผู้ซื้อ ในอันจะครองทรัพย์สินโดยปกติสุข
ลักษณะแห่งการรอน เพราะบุคคลผู้นั้นมีสิทธิเหนือ ทรัพย์สินที่ได้ซื้อขายกันนั้นอยู่ในเวลาซื้อขายก็ดี เพราะความผิดของ
สิทธิ ผู้ขายก็ดี ท่านว่าผู้ขายจะต้องรับผิดในผลอันนั้น
 การรอนสิทธิ หมายถึง การที่ผู้มารบกวนสิทธิของผู้ซื้อนั้น จะต้องเป็นผู้มีสิทธิตามกฎหมาย โดย
เป็นผู้มีสิทธิเหนือทรัพย์สินที่ซื้อขายกันและต้องมีสิทธิดีกว่าผู้ขาย
มาตรา 476 ถ้าสิทธิของผู้ก่อการรบกวนนั้นผู้ซื้อรู้อยู่แล้วในเวลาซื้อขาย ท่านว่าผู้ขายไม่ต้องรับผิด
กรณีไม่ต้องรับผิดใน
การรอนสิทธิ
 ผู้ซื้อรู้ถึงสิทธิของผู้รบกวนในเวลาซื้อขาย
 EX. ก.ซื้อรถยนต์มาจาก ข. โดยรู้ว่า ข.ขโมยรถของ ค.มาขาย ค.มาเรียกร้องเอารถคืนจาก ก. โดย
ก.จะเรียกราคาคืนจาก ข.ไม่ได้
มาตรา 483 คู่สัญญาซื้อขายจะตกลงกันว่าผู้ขายจะไม่ต้องรับผิด เพื่อความชำรุดบกพร่องหรือเพื่อการรอนสิทธิก็ได้
ข้อสัญญาว่าจะไม่
ต้องรับผิด
 เช่นผู้ขายมีข้อตกลงว่าจะไม่ต้องรับผิดชอบในการรอนสิทธิ
มาตรา 484 ข้อสัญญาว่าจะไม่ต้องรับผิดนั้น ย่อมไม่คุ้มผู้ขาย ให้พ้นจากการต้องส่งเงินคืนตามราคา เว้นแต่จะได้
ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น
มาตรา 485 ข้อสัญญาว่าจะไม่ต้องรับผิดนั้น ไม่อาจคุ้มความรับผิด ของผู้ขายในผลของการอันผู้ขายได้กระทำไป
ข้อสัญญาว่าจะไม่ เอง หรือผลแห่งข้อความจริงอันผู้ขายได้รู้อยู่และปกปิ ดเสีย
ต้องรับผิด
 EX. เช่น ก.ตกลงซื้อที่ดินจาก ข. ข.รู้ดีว่าที่ดินของตนแปลงที่ตกลงขายให้ ก.นั้นได้ถูก ค.ครอบครอง
ปรปักษ์จนได้กรรมสิทธิ์ไปแล้ว ก็ไม่ยอมบอกความจริงดังกล่าวให้แก่ ก.ทราบ กลับตกลงกันว่า ข.ไม่
ต้องรับผิดในการรอนสิทธิ์ (ม.483) ดังนี้ไม่ทำให้ ข.พ้นจากความรับผิดที่ต้องคืนราคาที่ดินแก่ ก.ได้
มาตรา 486 ผู้ซื้อจำต้องรับมอบทรัพย์สินที่ตนได้รับซื้อและใช้ ราคาตามข้อสัญญาซื้อขาย
หน้าที่ต้องรับมอบ
ทรัพย์สิน
มาตรา 487 อันราคาทรัพย์สินที่ขายนั้นจะกำหนดลงไว้ในสัญญา ก็ได้หรือจะปล่อยไปให้กำหนดกันด้วยวิธีอย่างใด
หน้าที่ต้องชำระราคา อย่างหนึ่งดั่งได้ ตกลงกันไว้ในสัญญานั้นก็ได้ หรือจะถือเอาตามทางการที่คู่สัญญา ประพฤติต่อกันอยู่นั้นก็ได้
ถ้าราคามิได้มีกำหนดเด็ดขาดอย่างใดดั่งว่ามานั้นไซร้ ท่านว่า ผู้ซื้อจะต้องใช้ราคาตามสมควร
มาตรา 488 ถ้าผู้ซื้อพบเห็นความชำรุดบกพร่องในทรัพย์สินซึ่งตนได้รับซื้อ ผู้ซื้อชอบที่จะยึดหน่วงราคาที่ยังไม่ได้
เมื่อผู้ซื้อพบเห็น ชำระไว้ได้ทั้งหมด หรือแต่บางส่วนเว้นแต่ผู้ขายจะหาประกันที่สมควรให้ได้
ความชำรุดบกพร่อง
ในทรัพย์สินที่ซื้อ
มาตรา 489 ถ้าผู้ซื้อถูกผู้รับจำนองหรือบุคคลผู้เรียกร้องเอา ทรัพย์สินที่ขายนั้นขู่ว่าจะฟ้ องเป็ นคดีขึ้นก็ดี หรือมีเหตุ
สิทธิยึดหน่วงเมื่อผู้ อันควรเชื่อว่า จะถูกขู่เช่นนั้นก็ดี ผู้ซื้อก็ชอบที่จะยึดหน่วงราคาไว้ทั้งหมดหรือ บางส่วนได้ดุจกันจนกว่าผู้ขายจะ
ซื้อถูกผู้รับจำนองขู่ว่า ได้บำบัดภัยอันนั้นให้สิ้นไป หรือ จนกว่าผู้ขายจะหาประกันที่สมควรให้ได้
จะฟ้ องเป็ นคดี
หน้า 4 จาก 10

 ผู้ขายจะได้บำบัดภัยอันนั้นให้สิ้นไป หมายถึง ผู้ขายไปทำความตกลงกับผู้รับจำนองว่าให้งดการฟ้ อง


ร้องผู้ซื้อไว้ก่อน ตนจะหาเงินมาชำระหนี้ให้ในภายหลัง
มาตรา 498 สิทธิในการไถ่ทรัพย์สินนั้น จะพึงใช้ได้เฉพาะต่อบุคคล เหล่านี้ คือ
บุคคลผู้มีหน้ามี่รับไถ่ (1) ผู้ซื้อเดิม หรือทายาทของผู้ซื้อเดิม หรือ
(2) ผู้รับโอนทรัพย์สิน หรือรับโอนสิทธิเหนือทรัพย์สินนั้น แต่ใน ข้อนี้ถ้าเป็ นสังหาริมทรัพย์จะใช้
สิทธิได้ต่อเมื่อผู้รับโอนได้รู้ในเวลาโอน ว่าทรัพย์สินตกอยู่ในบังคับแห่งสิทธิไถ่คืน
หน่วย 9 เช่าทรัพย์
มาตรา 537 อันว่าเช่าทรัพย์สินนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่าผู้ให้เช่า ตกลงให้บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่าผู้
สัญญาเช่าทรัพย์ เช่าได้ใช้หรือ ได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินอย่างใดอย่างหนึ่งชั่วระยะเวลาอันมีจำกัด และผู้เช่าตกลงจะให้ค่าเช่า
เพื่อการนั้น
 หมายเหตุ; ผู้ให้เช่าไม่จำเป็นต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่า แต่ต้องมีอำนาจในการนำทรัพย์สิน
ออกให้เช่า
มาตรา 538 เช่าอสังหาริมทรัพย์นั้น ถ้ามิได้มีหลักฐานเป็ นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลงลายมือชื่อฝ่ ายที่
หลักฐานการทำ ต้องรับผิดเป็ นสำคัญ ท่านว่าจะฟ้ องร้องให้บังคับคดีหาได้ไม่ ถ้าเช่ามีกำหนดกว่าสามปี ขึ้นไป หรือ
สัญญาเช่า กำหนดตลอดอายุของผู้เช่าหรือผู้ให้เช่าไซร้ หากมิได้ทำเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้า
หน้าที่ ท่านว่าการเช่นนั้นจะฟ้ องร้องให้บังคับคดีได้แต่เพียงสามปี

มาตรา 540 อันอสังหาริมทรัพย์ ท่านห้ามมิให้เช่ากันเป็ นกำหนด เวลาเกินกว่าสามสิบปี ถ้าได้ทำสัญญากันไว้เป็น


กำหนดเวลาเช่า กำหนดเวลานาน กว่านั้นท่านก็ให้ลดลงมาเป็นสามสิบปี
อสังหาริมทรัพย์ อนึ่ง กำหนดเวลาเช่าดั่งกล่าวมานี้ เมื่อสิ้นลงแล้วจะต่อสัญญาอีก ก็ได้แต่ต้องอย่าให้เกินสามสิบปี นับแต่วันต่อ
สัญญา
 ส่วนสังหาริมทรัพย์นั้นกฎหมายไม่ได้กำหนดอายุการเช่าทรัพย์ไว้ ดังนั้นจึงสามารถให้เช่าเกินกว่า 30
ปี ได้
มาตรา 541 สัญญาเช่านั้นจะทำกันเป็ นกำหนดว่าตลอดอายุของ ผู้ให้เช่าหรือของผู้เช่าก็ให้ทำได้
 อายุ หมายถึง อายุของบุคคลธรรมดาไม่ใช่อายุของนิติบุคคล
มาตรา 542 บุคคลหลายคนเรียกเอาสังหาริมทรัพย์อันเดียวกัน อาศัยมูลสัญญาเช่าต่างราย ท่านว่าทรัพย์
บุคคลหลายคนเรียก ตกไปอยู่ในครอบครองผู้เช่าคนใดก่อนด้วยสัญญาเช่าทรัพย์นั้น คนนั้นมีสิทธิยิ่งกว่าคนอื่น ๆ
เอาสังหาริมทรัพย์อัน
เดียวกัน
มาตรา 543 บุคคลหลายคนเรียกร้องเอาอสังหาริมทรัพย์อันเดียวกัน อาศัยมูลสัญญาเช่าต่างราย ท่านให้
บุคคลหลายคนเรียก วินิจฉัยดั่งต่อไปนี้
เอาอสังหาริมทรัพย์ (1) ถ้าการเช่านั้นเป็ นประเภท ซึ่งมิได้บังคับไว้โดยกฎหมายว่าต้อง จดทะเบียน ท่านให้ถือว่าผู้เช่าซึ่งได้
อันเดียวกัน ทรัพย์สินไปไว้ในครอบครองก่อน ด้วยสัญญาเช่าของตนนั้นมีสิทธิยิ่งกว่าคนอื่น ๆ
(2) ถ้าการเช่าทุกๆรายเป็ นประเภทซึ่งบังคับไว้โดยกฎหมายว่า ต้องจดทะเบียน ท่านให้ถือว่าผู้เช่าซึ่งได้จด
ทะเบียนการเช่าของตน ก่อนนั้นมีสิทธิยิ่งกว่าคนอื่นๆ
(3) ถ้าการเช่ามีทั้งประเภทซึ่งต้องจดทะเบียนและประเภท ซึ่ง ไม่ต้องจดทะเบียนตามกฎหมายยันกันอยู่ไซร้
ท่านว่าผู้เช่าคนที่ได้ จดทะเบียนการเช่าของตนนั้นมีสิทธิยิ่งกว่าเว้นแต่ผู้เช่าคนอื่นจะได้ ทรัพย์สินนั้นไปไว้ใน
ครอบครองด้วยการเช่าของตนเสียก่อนวัน จดทะเบียนนั้นแล้ว
มาตรา 544 ทรัพย์สินซึ่งเช่านั้น ผู้เช่าจะให้เช่าช่วงหรือโอนสิทธิ ของตนอันมีในทรัพย์สินนั้นไม่ว่าทั้งหมดหรือแต่บาง
สัญญาเช่าทรัพย์ถือ ส่วนให้แก่บุคคลภายนอก ท่านว่าหาอาจทำได้ไม่ เว้นแต่จะได้ตกลงกันไว้เป็ นอย่างอื่นในสัญญาเช่า
หน้า 5 จาก 10

เป็นสิทธิเฉพาะตัว ถ้าผู้เช่าประพฤติฝ่ าฝื นบทบัญญัติอันนี้ ผู้ให้เช่าจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได้


ของผู้เช่า(ไม่ตกทอด
สู่ทายาท)
 สัญญาเช่าเป็นสิทธิเฉพาะตัว ถ้าผู้เช่าตายสัญญาระงับ แต่ถ้าผู้ให้เช่าตายสัญญาไม่ระงับ
มาตรา 545 ถ้าผู้เช่าเอาทรัพย์สินซึ่งตนเช่าไปให้ผู้อื่นเช่าช่วงอีก ทอดหนึ่งโดยชอบ ท่านว่าผู้เช่าช่วงย่อมต้องรับผิด
ความรับผิดของผู้ให้ ต่อผู้ให้เช่าเดิม โดยตรง ในกรณีเช่นว่านี้หากผู้เช่าช่วงจะได้ใช้ค่าเช่าให้แก่ผู้เช่า ไปก่อน ท่านว่าผู้เช่าช่วงหา
เช่าช่วงกรณีเช่าช่วง อาจจะยกขึ้นเป็ นข้อการต่อสู้ผู้ให้เช่าได้ไม่
โดยชอบ อนึ่ง บทบัญญัติอันนี้ไม่ห้ามการที่ผู้ให้เช่าจะใช้สิทธิของตนต่อผู้เช่า

 EX. หากผู้ให้เช่าคิดค่าเช่ากับผู้เช่า 5000 บาทและผู้เช่าคิดค่าเช่ากับผู้เช่าช่วง 3000 บาท ถึงอย่างไร


ผู้ให้เช่าก็เรียกค่าเช่าจากผู้เช่าช่วงได้เพียง 3000 บาท แต่หากว่าผู้ให้เช่าคิดราคาค่าเช่าจากผู้เช่า
3000 บาทและผู้เช่าคิดจากผู้เช่าช่วง 5000 บาท ผู้ให้เช่าสามารถเรียกค่าเช่าจากผู้เช่าช่วงได้ 3000
บาทเท่านั้น
มาตรา 546 ผู้ให้เช่าจำต้องส่งมอบทรัพย์สินซึ่งให้เช่านั้นในสภาพ อันซ่อมแซมดีแล้ว
การส่งมอบทรัพย์สิน
ที่เช่า
มาตรา 547 ผู้เช่าต้องเสียค่าใช้จ่ายไปโดยความจำเป็ นและสมควร เพื่อรักษาทรัพย์สินซึ่งเช่านั้นเท่าใด ผู้
การชดใช้ค่าใช้จ่าย ให้เช่าจำต้องชดใช้ให้แก่ผู้เช่า เว้นแต่ค่าใช้จ่ายเพื่อบำรุงรักษาตามปกติและเพื่อซ่อมแซมเพียงเล็ก
แก่ผู้เช่า น้อย
มาตรา 548 ถ้าผู้ให้เช่าส่งมอบทรัพย์สินซึ่งเช่านั้นโดยสภาพ ไม่เหมาะแก่การที่จะใช้เพื่อประโยชน์ที่เช่ามา ผู้เช่าจะ
บอกเลิก สัญญาเสียก็ได้
มาตรา 549 การส่งมอบทรัพย์สินซึ่งเช่าก็ดี ความรับผิดของผู้ให้เช่าในกรณีชำรุดบกพร่องและรอนสิทธิก็
กรณีทรัพย์สินที่เช่า ดี ผลแห่งข้อสัญญาว่าจะไม่ต้องรับผิดก็ดี เหล่านี้ท่านให้บังคับด้วยบทบัญญัติทั้งหลายแห่งประมวล
ชำรุดบกพร่อง กฎหมายนี้ ว่าด้วยการซื้อขายอนุโลมความตามควร
มาตรา 550 ผู้ให้เช่าย่อมต้องรับผิดในความชำรุดบกพร่องอันเกิดขึ้นในระหว่างเวลาเช่า และผู้ให้เช่า
ความรับผิดของผู้ให้ ต้องจัดการซ่อมแซมทุกอย่างบรรดาซึ่งเป็ นการจำเป็ นขึ้น เว้นแต่การซ่อมแซมชนิดซึ่งมีกฎหมาย
เช่าในความชำรุด หรือจารีตประเพณีว่าผู้เช่าจะพึงต้องทำเอง
บกพร่อง
มาตรา 551 ถ้าความชำรุดบกพร่องแห่งทรัพย์สินที่เช่านั้นไม่เป็ น เหตุถึงแก่ผู้เช่าจะต้องปราศจากการใช้และ
การบอกกล่าวให้ผู้ให้ ประโยชน์ และผู้ให้เช่ายัง แก้ไขได้ไซร้ ผู้เช่าต้องบอกกล่าวแก่ผู้ให้เช่าให้จัดการแก้ไขความ ชำรุดบกพร่องนั้น
เช่าจัดการแก้ไข ก่อน ถ้าถ้าและผู้ให้เช่าไม่จัดทำให้คืนดีภายในเวลา อันสมควร ผู้เช่าจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได้ หากว่าความ
ความชำรุดบกพร่อง ชำรุด บกพร่องนั้นร้ายแรงถึงสมควรจะทำเช่นนั้น
หน่วย 10 เช่าทรัพย์
มาตรา 552 อันผู้เช่าจะใช้ทรัพย์สินที่เช่าเพื่อการอย่างอื่นนอกจาก ที่ใช้กันตามประเพณีนิยมปกติ หรือการดั่ง
การใช้ทรัพย์สินที่เช่า กำหนดไว้ในสัญญานั้น ท่านว่าหาอาจจะทำได้ไม่
มาตรา 553 ผู้เช่าจำต้องสงวนทรัพย์สินที่เช่านั้นเสมอกับที่วิญญูชน จะพึงสงวนทรัพย์สินของตนเอง และต้องบำรุง
การสงวนทรัพย์สินที่ รักษาทั้งทำการซ่อมแซม เล็กน้อยด้วย
เช่า
มาตรา 555 ผู้เช่าจำต้องยอมให้ผู้ให้เช่าหรือตัวแทนของผู้ให้เช่า เข้าตรวจดูทรัพย์สินที่เช่าเป็ นครั้งคราว ในเวลาและ
การให้ผู้ให้เช่าหรือ ระยะอันสมควร
หน้า 6 จาก 10

ตัวแทนเข้าตรวจ
ทรัพย์สิน
มาตรา 556 ถ้าในระหว่างเวลาเช่ามีเหตุจะต้องซ่อมแซมทรัพย์สิน ซึ่งเช่นนั้นเป็ นการเร่งร้อน และผู้ให้เช่าประสงค์
กรณีมีเหตุที่ผู้ให้เช่า
จะทำการอันจำเป็นเพื่อ ที่จะซ่อมแซมเช่นว่านั้นไซร้ ท่านว่าผู้เช่าจะไม่ยอมให้ทำนั้นไม่ได้ แม้ถึง ว่าการนั้นจะ
ต้องซ่อมแซม เป็นความไม่สะดวกแก่ตน ถ้าการซ่อมแซมเป็นสภาพซึ่ง ต้องกินเวลานานเกินสมควร จนเป็ นเหตุให้ทรัพย์สิน
ทรัพย์สินโดยเร่งร้อน นั้นไม่เหมาะแก่การ ที่จะใช้เพื่อประโยชน์ที่เช่ามา ผู้เช่าจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได้
มาตรา 557 ในกรณีอย่างใด ๆ ดั่งจะกล่าวต่อไปนี้ คือ
กรณีที่ผู้เช่าต้องแจ้ง(1) ถ้าทรัพย์สินที่เช่านั้นชำรุดควรที่ผู้ให้เช่าจะต้องซ่อมแซมก็ดี
เหตุให้ผู้ให้เช่าโดย (2) ถ้าจะต้องจัดการอย่างหนึ่งอย่างใด เพื่อปัดป้ องภยันตราย แก่ทรัพย์สินนั้นก็ดี
พลัน (3) ถ้าบุคคลภายนอกรุกล้ำเข้ามาในทรัพย์สินที่เช่า หรือเรียกร้อง สิทธิอย่างใดอย่างหนึ่งเหนือทรัพย์สินนั้นก็ดี
ในเหตุดั่งกล่าวนั้นให้ผู้เช่าแจ้งเหตุแก่ผู้ให้เช่าโดยพลัน เว้นแต่ผู้ ให้เช่าจะได้ทราบเหตุนั้นอยู่ก่อนแล้ว
ถ้าผู้เช่าละเลยเสียไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัตินี้ไซร้ ท่านว่าผู้เช่า จะต้องรับผิดต่อผู้ให้เช่าในเมื่อผู้ให้เช่า
ต้องเสียหายอย่างใด ๆ เพราะ ความละเลยชักช้าของผู้เช่านั้น
มาตรา 558 อันทรัพย์สินที่เช่านั้น ถ้ามิได้รับอนุญาตของผู้ให้เช่า ก่อน ผู้เช่าจะทำการดัดแปลงหรือต่อเติมอย่าง
กรณีผู้เช่าดัดแปลง หนึ่งอย่างใดหาได้ไม่ ถ้าและผู้เช่าทำไปโดยมิได้รับอนุญาตของผู้ให้เช่าเช่นนั้นไซร้ เมื่อผู้ ให้เช่าเรียกร้อง ผู้เช่า
หรือต่อเติมทรัพย์สิน จะต้องทำให้ทรัพย์สินนั้นกลับคืนคงสภาพเดิม ทั้งจะต้องรับผิดต่อผู้ให้เช่าในความสูญหายหรือบุบสลายอย่าง
ที่เช่า ใด ๆ อันเกิดแต่การดัดแปลงต่อเติมนั้นด้วย
มาตรา 560 ถ้าผู้เช่าไม่ชำระค่าเช่าผู้ให้เช่าจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได้
การบอกเลิกสัญญา แต่ถ้าค่าเช่านั้นจะพึงส่งเป็ นรายเดือน หรือส่งเป็ นระยะเวลายาว กว่ารายเดือนขึ้นไป ผู้ให้เช่าต้องบอก
กรณีผู้เช่าไม่ชำระค่า กล่าวแก่ผู้เช่าก่อนว่าให้ชำระค่า เช่าภายในเวลาใด ซึ่งพึงกำหนดอย่าให้น้อยกว่าสิบห้าวัน
เช่า
มาตรา 561 ถ้ามิได้ทำหนังสือลงลายมือชื่อของคู่สัญญาแสดงไว้ ต่อกันว่าทรัพย์สินที่ให้เช่ามีสภาพเป็ นอย่างไร
บทสันนิษฐานตาม ท่านให้สันนิษฐานไว้ ก่อนว่าผู้เช่าได้รับทรัพย์สินที่เช่านั้นไปโดยสภาพอันซ่อมแซมดีแล้ว และเมื่อสัญญาได้เลิก
กฎหมายว่าผู้เช่าได้ หรือระงับลง ผู้เช่าก็ต้องส่งคืนทรัพย์สินในสภาพ เช่นนั้น เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าทรัพย์สินนั้นมิได้ซ่อมแซมไว้ดีใน
ทรัพย์สินที่เช่าใน ขณะที่ส่งมอบ
สภาพที่ซ่อมแซม
ดีแล้ว
 บทสันนิษฐานตามกฎหมายผู้เช่าต้องส่งมอบทรัพย์สินที่เช่าในสภาพที่ซ่อมแซมดีแล้วเช่นกัน
มาตรา 562 ผู้เช่าจะต้องรับผิดในความสูญหายหรือบุบสลาย อย่างใด ๆ อันเกิดขึ้นแก่ทรัพย์สินที่เช่า เพราะความ
ความรับผิดของผู้เช่า ผิดของผู้เช่าเอง หรือของบุคคลซึ่งอยู่กับผู้เช่าหรือของผู้เช่าช่วง
ในความสูญหายหรือ แต่ผู้เช่าไม่ต้องรับผิดในความสูญหายหรือบุบสลายอันเกิดแต่การใช้ทรัพย์สินนั้นโดยชอบ
บุบสลาย
มาตรา 563 คดีอันผู้ให้เช่าจะฟ้ องผู้เช่าเกี่ยวแก่สัญญาเช่านั้นท่าน ห้ามมิให้ฟ้ องเมื่อพ้นกำหนดหกเดือนนับแต่วันส่ง
อายุความฟ้ องคดี คืนทรัพย์สินที่เช่า

มาตรา 567 ถ้าทรัพย์สินซึ่งให้เช่าสูญหายไปทั้งหมดไซร้ ท่านว่าสัญญาเช่าก็ย่อมระงับไปด้วย


กรณีทรัพย์สินซึ่งให้
เช่าสูญหายไป
ทั้งหมด
หน้า 7 จาก 10

มาตรา 568 ถ้าทรัพย์สินซึ่งให้เช่าสูญหายไปแต่เพียงบางส่วนและ มิได้เป็ นเพราะความผิดของผู้เช่า ท่านว่าผู้เช่าจะ


กรณีทรัพย์สินซึ่งให้ เรียกให้ลดค่าเช่าลง ตามส่วนที่สูญหายก็ได้
เช่าสูญหายไปเพียง ในกรณีเช่นนี้ ถ้าผู้เช่าไม่สามารถใช้สอยทรัพย์สินส่วนที่ยังคงเหลือ อยู่นั้นสำเร็จประโยชน์ได้ดั่งที่ได้มุ่ง
บางส่วน หมายเข้าทำสัญญาเช่าไซร้ ท่านว่า ผู้เช่าจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได้
มาตรา 569 อันสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์นั้นย่อมไม่ระงับไป เพราะเหตุโอนกรรมสิทธิ์ทรัพย์สินซึ่งให้เช่า
การโอนกรรมสิทธิ์ใน ผู้รับโอนย่อมรับไปทั้งสิทธิและหน้าที่ของผู้โอนซึ่งมีต่อผู้เช่านั้นด้วย
ทรัพย์สินซึ่งให้เช่า
 ผู้รับโอนจะต้องผูกพันตามสิทธิและหน้าที่ตามสัญญาเดิมที่ผู้โอนกับผู้เช่ามีต่อกัน โดยถือเสมือนว่า
ผู้รับโอนได้เข้ามาแทนที่ผู้โอนในการเป็นผู้ให้เช่าแทนผู้โอน
มาตรา 570 ในเมื่อสิ้นกำหนดเวลาเช่าซึ่งได้ตกลงกันไว้นั้น ถ้า ผู้เช่ายังคงครองทรัพย์สินอยู่ และผู้ให้เช่า
กรณีการครอง รู้ความนั้นแล้วไม่ทักท้วงไซร้ ท่านให้ถือว่าคู่สัญญาเป็ นอันได้ทำสัญญาใหม่ต่อไปไม่มีกำหนดเวลา
ทรัพย์สินที่เช่าเมื่อสิ้น
กำหนดเวลาเช่า
 แต่ถ้าผู้ให้เช่าทักท้วง ย่อมทำให้สัญญาเช่าไม่ได้ต่อใหม่แบบไม่มีกำหนดเวลา
หน่วย 12 จ้างแรงงาน
มาตรา 575 อันว่าจ้างแรงงานนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่าลูกจ้าง ตกลงจะทำงานให้แก่
ลักษณะของสัญญา บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่านายจ้างและนายจ้างตกลงจะให้สินจ้างตลอดเวลาที่ทำงานให้
จ้างแรงงาน
 สัญญาจ้างแรงงานมีลักษณะเฉพาะ 3 ประการคือ
1. เป็นสัญญาต่างตอบทน
2. เป็นสัญญาไม่มีแบบ
3. เป็นสัญญาเฉพาะตัว
มาตรา 576 ถ้าตามพฤติการณ์ไม่อาจจะคาดหมายได้ว่างานนั้น จะพึงทำให้เปล่าไซร้ ท่านย่อมถือเอาโดยปริยายมี
คำมั่นจะให้สินจ้าง
มาตรา 577 นายจ้างจะโอนสิทธิของตนให้แก่บุคคลภายนอกก็ได้ เมื่อลูกจ้างยินยอมพร้อมใจด้วย
เป็นสัญญาเฉพาะตัว ลูกจ้างจะให้บุคคลภายนอกทำงานแทนตนก็ได้ เมื่อนายจ้างยินยอมพร้อมใจด้วย
ถ้าคู่สัญญาฝ่ ายใดทำการฝ่ าฝื นบทบัญญัตินี้ คู่สัญญาอีกฝ่ ายหนึ่ง จะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได้
มาตรา 578 ถ้าลูกจ้างรับรองโดยแสดงออกชัดหรือโดยปริยาย ว่าตนเป็ นผู้มีฝี มือพิเศษ หากมาปรากฏว่าไร้ฝี มือเช่น
ลูกจ้ารับรองว่าตน นั้นไซร้ ท่านว่านายจ้างชอบที่จะบอกเลิกสัญญาเสียได้
เป็นผู้มีฝี มือพิเศษแต่
ปรากฏว่าไร้ฝี มือ
มาตรา 579 การที่ลูกจ้างขาดงานไปโดยเหตุอันสมควร และชั่วระยะเวลาน้อยพอสมควรนั้น ท่านว่าไม่ทำให้นายจ้าง
ลูกจ้างขาดงานไป มีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้
โดยมีเหตุอันควร
มาตรา 580 ถ้าไม่มีกำหนดโดยสัญญาหรือจารีตประเพณีว่าจะ พึงจ่ายสินจ้างเมื่อไร ท่านว่าพึงจ่ายเมื่องานได้ทำ
แล้วเสร็จ ถ้าการ จ่ายสินจ้างนั้นได้กำหนดกันไว้เป็ นระยะเวลา ก็ให้พึงจ่ายเมื่อสุด ระยะเวลาเช่นนั้นทุกคราว
ไป
มาตรา 581 ถ้าระยะเวลาที่ได้ตกลงว่าจ้างกันนั้นสุดสิ้นลงแล้ว ลูกจ้างยังคงทำงานอยู่ต่อไปอีกและนายจ้างรู้ดั่งนั้น
การบอกเลิกสัญญา ก็ไม่ทักท้วงไซร้ ท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าคู่สัญญาเป็ นอันได้ทำสัญญาจ้างกันใหม่ โดยความอย่างเดียวกัน
จ้างงานที่ไม่มีกำหนด กับสัญญาเดิม แต่คู่สัญญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง อาจจะเลิกสัญญาเสียได้ด้วยการบอกกล่าวตามความใน มาตรา
หน้า 8 จาก 10

ระยะเวลาการจ้าง ต่อไปนี้
แน่นอน
มาตรา 582 ถ้าคู่สัญญาไม่ได้กำหนดลงไว้ในสัญญาว่าจะจ้างกัน นานเท่าไร ท่านว่าฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งจะเลิกสัญญา
การบอกเลิกสัญญา ด้วยการบอกกล่าว ล่วงหน้า ในเมื่อถึงหรือก่อนจะถึงกำหนดจ่ายสินจ้างคราวใดคราวหนึ่ง เพื่อให้เป็ นผลเลิก
โดยการบอกกล่าว สัญญากันเมื่อถึงกำหนดจ่ายสินจ้างคราวถัดไปข้าง หน้าก็อาจทำได้ แต่ไม่จำต้องบอกกล่าวล่วงหน้ากว่าสาม
ล่วงหน้า เดือน
อนึ่ง ในเมื่อบอกกล่าวดั่งว่านี้ นายจ้างจะจ่ายสินจ้างแต่ลูกจ้างเสีย ให้ครบจำนวนที่จะต้องจ่ายจนถึง
เวลาเลิกสัญญาตามกำหนดที่บอก กล่าวนั้นทีเดียวแล้วปล่อยลูกจ้างจากงานเสียในทันที ก็อาจทำได้
มาตรา 583 ถ้าลูกจ้างจงใจขัดคำสั่งของนายจ้างอันชอบด้วย กฎหมายก็ดี หรือละเลยไม่นำพาต่อคำสั่งเช่นว่านั้น
สิทธิและหน้าที่ของ เป็นอาจิณก็ดี ละทิ้งการงานไปเสียก็ดี กระทำความผิดอย่างร้ายแรงก็ดี หรือ ทำประการอื่นอันไม่สมแก่การ
นายจ้างกรณีเลิกจ้าง ปฏิบัติหน้าที่ของตนให้ลุล่วงไปโดย ถูกต้องและสุจริตก็ดี ท่านว่านายจ้างจะไล่ออกโดยมิพักต้องบอก กล่าว
หรือไล่ลูกจ้างออก ล่วงหน้า หรือให้สินไหมทดแทนก็ได้
จากงาน
มาตรา 584 ถ้าจ้างแรงงานรายใดมีสาระสำคัญอยู่ที่ตัวบุคคล ผู้เป็ นนายจ้าง ท่านว่าสัญญาจ้างเช่นนั้นย่อมระงับไป
สัญญาจ้างระงับ ด้วยมรณะ แห่งนายจ้าง
เพราะความมรณะ
ของนายจ้าง
มาตรา 585 เมื่อการจ้างแรงงานสุดสิ้นลงแล้ว ลูกจ้างชอบที่จะได้รับใบสำคัญ แสดงว่าลูกจ้างนั้นได้
ใบรับรองงาน ทำงานมานานเท่าไรและงานที่ทำนั้นเป็ นงานอย่างไร
มาตรา 586 ถ้าลูกจ้างเป็ นผู้ซึ่งนายจ้างได้จ้างเอามาแต่ต่างถิ่น โดยนายจ้างออกเงินค่าเดินทางให้ไซร้ เมื่อการจ้าง
ค่าเดินทางเมื่อการ แรงงานสุดสิ้นลง และถ้ามิได้กำหนดกันไว้เป็นอย่างอื่นในสัญญาแล้ว ท่านว่านายจ้างจำต้องใช้เงินค่าเดินทาง
จ้างสิ้นสุดลง ขากลับให้ แต่จะต้องเป็ นดั่งต่อไปนี้ คือ
(1) สัญญามิได้เลิกหรือระงับ เพราะการกระทำหรือความผิดของ ลูกจ้างและ
(2) ลูกจ้างกลับไปยังถิ่นที่ได้จ้างเอามาภายในเวลาอันสมควร
 หมายเหตุ; ถ้าลูกจ้างเดินทางมาเองนายจ้างไม่ต้องใช้เงินค่าเดินทางขากลับให้
หน่วย 13 จ้างทำของ
มาตรา 587 อันว่าจ้างทำของนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่าผู้รับจ้าง ตกลงจะทำการงานสิ่งใด
สัญญาจ้างทำของ สิ่งหนึ่งจนสำเร็จให้แก่ บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่าผู้ว่าจ้าง และผู้ว่าจ้างตกลงจะให้สินจ้างเพื่อ ผล
สำเร็จแห่งการที่ทำนั้น

สาระสำคัญของสัญญาจ้างทำของมีดังนี้
1. เป็นสัญญาต่างตอบแทน
2. เป็นสัญญาที่มุ่งถึงความสำเร็จของการงานที่ว่าจ้าง
3. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ คือเป็นสัญญาซึ่งเพียงคู่กรณีตกลงกันก็บังคับกันได้
4. ผู้ว่าจ้างไม่มีอำนาจบังคับบัญชาผู้รับจ้าง แต่มีสิทธิตรวจตรางานที่ว่าจ้างตลอดเวลา
EX. สัญญาทนายความเป็นสัญญาจ้างทำของ
มาตรา 588 เครื่องมือต่าง ๆ สำหรับใช้ทำการงานให้สำเร็จนั้น ผู้รับจ้างเป็นผู้จัดหา
การจัดหาเครื่องมือ
ในการทำงานและ
สัมภาระ
หน้า 9 จาก 10

มาตรา 589 ถ้าสัมภาระสำหรับทำการงานที่กล่าวนั้นผู้รับจ้าง เป็ นผู้จัดหา ท่านว่าต้องจัดหาชนิดที่ดี


 สัมภาระ เช่น ไม้ หิน ปูน ทราย ในมาตรานี้ไม่ได้บังคับว่าผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้จัดหาสัมภาระ ดังนั้น
ผู้ว่าจ้างจะจัดหามาก็ได้ แต่ถ้าผู้รับจ้างจัดหามาก็จะต้องจัดหาชนิดที่ดีเท่านั้น
มาตรา 590 ถ้าสัมภาระนั้นผู้ว่าจ้างเป็นผู้จัดหามาส่ง ท่านให้ผู้ รับจ้างใช้สัมภาระด้วยความระมัดระวัง และประหยัด
อย่าให้เปลือง เสียเปล่า เมื่อทำการงานสำเร็จแล้ว มีสัมภาระเหลืออยู่ก็ให้คืนแก่ ผู้ว่าจ้าง
มาตรา 591 ถ้าความชำรุดบกพร่องหรือความชักช้าในการที่ทำ นั้นเกิดขึ้นเพราะสภาพแห่งสัมภาระซึ่งผู้ว่าจ้างส่งให้
ความรับผิดเพื่อ ก็ดี เพราะคำสั่ง ของผู้ว่าจ้างก็ดี ท่านว่าผู้รับจ้างไม่ต้องรับผิด เว้นแต่จะได้รู้อยู่แล้ว ว่าสัมภาระนั้นไม่เหมาะ
ความชำรุดบกพร่อง หรือว่าคำสั่งนั้นไม่ถูกต้องและมิได้บอกกล่าว ตักเตือน
มาตรา 592 ผู้รับจ้างจำต้องยอมให้ผู้ว่าจ้างหรือตัวแทนของ ผู้ว่าจ้างตรวจตราการงานได้ตลอดเวลาที่ทำอยู่นั้น
การยอมให้ผู้ว่าจ้าง
หรือตัวแทนตรวจตรา
งานที่ทำ
มาตรา 593 ถ้าผู้รับจ้างไม่เริ่มทำการในเวลาอันควร หรือทำการ ชักช้าฝ่ าฝื นข้อกำหนดแห่งสัญญาก็ดี หรือทำการ
ผู้ว่าจ้างบอกเลิก ชักช้าโดยปราศจาก ความผิดของผู้ว่าจ้าง จนอาจคาดหมายล่วงหน้าได้ว่าการนั้นจะไม่ สำเร็จภายในกำหนด
สัญญาว่าจ้างทำของ เวลาที่ได้ตกลงกันไว้ก็ดี ผู้ว่าจ้างชอบที่จะเลิก สัญญาเสียได้ มิพักต้องรอคอยให้ถึงกำหนดส่งมอบของนั้นเลย
มาตรา 594 ถ้าในระหว่างเวลาที่ทำการอยู่นั้นเป็นวิสัยจะคาด หมายล่วงหน้าได้แน่นอนว่า การที่ทำนั้นจะสำเร็จ
ความชำรุดบกพร่อง อย่างบกพร่องหรือ จะเป็ นไปในทางอันฝ่ าฝื นข้อสัญญาเพราะความผิดของผู้รับจ้างไซร้ ผู้ว่าจ้างจะบอกกล่าว
อาจเกิดขึ้นในขณะ ให้ผู้รับจ้างแก้ไขสิ่งที่บกพร่องให้คืนดี หรือทำการ ให้เป็ นไปตามสัญญา ภายในเวลาอันสมควรซึ่งกำหนดให้ใน
ที่ทำการงานยังไม่ คำบอก กล่าวนั้นก็ได้ ถ้าและคลาดกำหนดนั้นไปท่านว่าผู้ว่าจ้างชอบที่จะ เอาการนั้นให้บุคคลภายนอก
เสร็จสมบูรณ์ได้ ซ่อมแซม หรือทำต่อไปได้ซึ่งผู้รับจ้าง จะต้องเสี่ยงความเสียหายและออกค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น
มาตรา 595 ถ้าผู้รับจ้างเป็ นผู้จัดหาสัมภาระไซร้ ความรับผิด ของผู้รับจ้างในการบกพร่องนั้น ท่านให้บังคับด้วยบท
แห่งประมวล กฎหมายนี้ลักษณะซื้อขาย
มาตรา 596 ถ้าผู้รับจ้างส่งมอบการที่ทำไม่ทันเวลาที่ได้กำหนด ไว้ในสัญญาก็ดี หรือถ้าไม่ได้กำหนดเวลาไว้ใน
การส่งมอบงานให้ทัน สัญญา เมื่อล่วงพ้นเวลา อันควรแก่เหตุก็ดี ผู้ว่าจ้างชอบที่จะได้ลดสินจ้างลง หรือถ้าสาระ สำคัญแห่งสัญญา
เวลา อยู่ที่เวลาก็ชอบที่จะเลิกสัญญาได้
มาตรา 597 ถ้าผู้ว่าจ้างยอมรับมอบการที่ทำนั้นแล้วโดยมิได้ อิดเอื้อน ผู้รับจ้างก็ไม่ต้องรับผิดเพื่อการที่ส่งมอบเนิ่น
ถ้าผู้ว่าจ้างยอมรับ ช้า
มอบงานที่ทำล่าช้า
โดยไม่อิดเอื้อน
มาตรา 598 ถ้าผู้ว่าจ้างยอมรับมอบการที่ทำนั้นแล้วทั้งชำรุด บกพร่องมิได้อิดเอื้อนโดยแสดงออกชัดหรือโดยปริยาย
ผู้รับจ้างก็ ไม่ต้องรับผิด เว้นแต่ความชำรุดบกพร่องนั้นเป็นเช่นจะไม่พึงพบ ได้ในขณะเมื่อรับมอบ หรือผู้รับจ้าง
ได้ปิ ดบังความนั้นเสีย
มาตรา 599 ในกรณีที่ส่งมอบเนิ่นช้าไปก็ดี หรือส่งมอบการที่ทำ ชำรุดบกพร่องก็ดี ท่านว่าผู้ว่าจ้างชอบที่จะยึดหน่วง
สินจ้างไว้ได้ เว้นแต่ผู้รับจ้างจะให้ประกันตามสมควร
มาตรา 600 ถ้ามิได้กำหนดไว้เป็ นอย่างอื่นในสัญญาไซร้ ท่านว่า ผู้รับจ้างจะต้องรับผิด เพื่อการที่ทำชำรุดบกพร่อง
เพียงแต่ที่ปรากฏขึ้นภายในปี หนึ่งนับแต่วันส่งมอบ หรือที่ปรากฏขึ้นภายในห้าปี ถ้าการที่ทำนั้นเป็ นสิ่งปลูก
สร้างกับพื้นดิน นอกจากเรือนโรงทำด้วยเครื่องไม้
แต่ข้อจำกัดนี้ท่านมิให้ใช้บังคับ เมื่อปรากฏว่าผู้รับจ้างได้ปิ ดบัง ความชำรุดบกพร่องนั้น
 หมายเหตุ; สิ่งปลูกสร้างกับพื้นดิน ถ้าปลูกเรือนไทยกลางสระน้ำไม่ถือว่าปลูกอยู่กับพื้นดิน ต้องฟ้ อง
หน้า 10 จาก 10

ภายใน 1 ปี นับแต่ส่งมอบ
มาตรา 601 ท่านห้ามมิให้ฟ้ องผู้รับจ้างเมื่อพ้นปี หนึ่ง นับแต่วัน การชำรุดบกพร่องได้ปรากฏขึ้น
อายุความสิทธิเรียก
ร้องในกรณีความเสีย
หายของการงานที่
จ้างชำรุดบกพร่อง
 อายุความเรียกร้องค่าทำของและเงินทดรองจ่าย ปพพ.มาตรา 193/34 อายุความ 2 ปี
มาตรา 603 ถ้าผู้รับจ้างเป็ นผู้จัดหาสัมภาระ และการที่จ้างทำ นั้นพังทลายหรือบุบสลายลงก่อนได้ส่งมอบกันถูกต้อง
ความวินาศเกิดขึ้น ไซร้ ท่านว่า ความวินาศอันนั้นตกเป็ นพับแก่ผู้รับจ้าง หากความวินาศนั้นมิได้ เป็ นเพราะการกระทำของผู้ว่า
ก่อนการส่งมอบโดย จ้าง
ผู้รับจ้างเป็ นผู้จัดหา ในกรณีเช่นว่านี้ สินจ้างก็เป็นอันไม่ต้องใช้
สัมภาระ
มาตรา 604 ถ้าผู้ว่าจ้างเป็ นผู้จัดหาสัมภาระ และการที่จ้างทำนั้น พังทลายหรือบุบสลายลงก่อนได้ส่งมอบกันถูกต้อง
ไซร้ ท่านว่าความ วินาศนั้นตกเป็ นพับแก่ผู้ว่าจ้าง หากความวินาศนั้นมิได้เป็ นเพราะ การกระทำของผู้รับจ้าง
ในกรณีเช่นว่านี้ สินจ้างก็เป็นอันไม่ต้องใช้ เว้นแต่ความวินาศ นั้นเป็ นเพราะการกระทำของผู้ว่าจ้าง
มาตรา 605 ถ้าการที่จ้างยังทำไม่แล้วเสร็จอยู่ตราบใด ผู้ว่าจ้าง อาจบอกเลิกสัญญาได้ เมื่อเสียค่าสินไหมทดแทนให้
ผู้ว่าจ้างบอกเลิก แก่ผู้รับจ้างเพื่อ ความเสียหายอย่างใด ๆ อันเกิดแต่การเลิกสัญญานั้น
สัญญาในขณะที่การ
ที่จ้างยังทำไม่เสร็จ
มาตรา 606 ถ้าสาระสำคัญแห่งสัญญาอยู่ที่ความรู้ความสามารถ ของตัวผู้รับจ้างและผู้รับจ้างตายก็ดี หรือตกเป็ นผู้
การระงับแห่งสัญญา ไม่สามารถทำการ ที่รับจ้างนั้นต่อไปได้ด้วยมิใช่เพราะความผิดของตนก็ดี ท่านว่าสัญญา นั้นย่อมเป็นอันสิ้นลง
โดยผลของกฎหมาย ถ้าและการส่วนที่ได้ทำขึ้นแล้วนั้นเป็ นประโยชน์แก่ผู้ว่าจ้างไซร้ ท่านว่าผู้ว่าจ้างจำต้องรับเอาไว้และใช้สิน
จ้างตามสมควรแก่ส่วนนั้น ๆ
มาตรา 607 ผู้รับจ้างจะเอาการที่รับจ้างทั้งหมดหรือแบ่งการแต่ บางส่วนไปให้ผู้รับจ้างช่วงทำอีกทอดหนึ่งก็ได้ เว้นแต่
การแบ่งงานบางส่วน สาระสำคัญแห่ง สัญญานั้นจะอยู่ที่ความรู้ความสามารถของตัวผู้รับจ้าง แต่ผู้รับจ้างคง ต้องรับผิดเพื่อความ
หรือทั้งหมดแก่ผู้รับ ประพฤติหรือความผิดอย่างใด ๆ ของผู้รับจ้างช่วง
จ้างช่วง



You might also like