You are on page 1of 13

การโอนกรรมสิ ทธิ์

มาตรา 453 คำว่ า “โอนกรรมสิ ทธิ์” หมายความว่ า “โอนไปแล้ ว”


หรือ “จะโอนในอนาคต” ก็ได้
1. การโอนกรรมสิ ทธิ์ในสั ญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด มาตรา 458
ย่ อมหมายถึงขณะเมือ่ ได้ ทำสั ญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาดกัน การชำระ
ราคาหรือการส่ งมอบทรัพย์ สินทีซ่ ื้อขายจึงไม่ ใช่ ปัจจัยหรือสาระสำคัญ
ในการโอนกรรมสิ ทธิ์
 ฎ.884/2515 ซื้ อรถจักรยานยนต์จากผูข้ ายโดยชำระราคาให้
เพียงครึ่ งหนึ่ง ส่ วนที่เหลือจะชำระเมื่อไรก็ได้ และผูข้ ายจะโอน
ทะเบียนเป็ นชื่อผูซ้ ้ื อเมื่อชำระราคาให้ครบแล้ว ดังนี้ กรรมสิ ทธิ์ในรถ
ได้โอนเป็ นของผูซ้ ้ื อแล้ว เมื่อมีผทู้ ำความเสี ยหายแก่รถอันเป็ นการ
ละเมิดต่อ ผูซ้ ้ื อ ผูซ้ ้ื อย่อมมีอ ำนาจฟ้ องเรี ยกค่าเสี ยหายได้
 **ฎ.1025/2522 การจดทะเบียนรถยนต์มิใช่แบบแห่ งในการ
ซื้ อขายตาม ป.พ.พ.มาตรา 456 เมื่อเจ้าของขายรถแล้ว แม้ไม่ได้
จดทะเบียนโอนกรรมสิ ทธิ์ ก็เป็ นของผูซ้ ้ื อเจ้าของเดิมมาร้องขอคืนรถ
ที่ศาลสัง่ ริ บไม่ได้
ข้ อยกเว้ น
ถ้าการซื้ อขายเสร็ จเด็ดขาดอสังหาริ มทรัพย์หรื อสังหาริ มทรัพย์ชนิดพิเศษ
ตามมาตรา 456 กรรมสิ ทธิ์ จะโอนไปจนกว่าจะได้ท ำตามแบบที่กฎหมาย
กำหนดคือ ทำเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนก่อนเท่านั้น มิฉะนั้นจะตกเป็ นโมฆะ
 ฎ.404/2504 การซื้ อขายที่ดินมีโฉนด แม้ผซ ู ้ ้ื อจะชำระราคาเรี ยบร้อยแล้ว
และได้ยดึ ถือครอบครองถือเอาประโยชน์จากที่ดินนั้นตลอดมาก็ตาม ถ้ายังไม่ได้
จดทะเบียนโอนกรรมสิ ทธิ์ การซื้ อขายย่อมยังไม่สมบูรณ์ตามกฎหมาย ฉะนั้น
เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาของผูข้ ายย่อมมีสิทธิยดึ ที่ดินนั้นชำระหนี้ได้
 ฎ.1235/2481 ซื้ อขายที่ดินกันแต่ยงั หาได้ไปจดทะเบียนไม่ ผู ้
ขายกลับเอาที่ดินนั้นไปขายแก่ผอู้ ื่น ซึ่ งทราบถึงการซื้ อขายรายเดิม
ดังนี้ ผูซ้ ้ื อรายแรกเรี ยกให้เพิกถอนการจดทะเบียนการซื้ อขายภาย
หลังได้ เพราะเป็ นผูท้ ี่อยูใ่ นฐานะอันจะให้จดทะเบียนสิ ทธิของได้อยู่
ก่อน
ข้ อสั งเกต
 - ที่ดินที่มี น.ส.3 ก็เป็ นอสังหาริ มทรัพย์ภายใต้บงั คับมาตรา 456
การซื้ อขายจึงต้องทำเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนด้วย มิฉะนั้นจะตก
เป็ นโมฆะ
2. การโอนกรรมสิ ทธิ์ตามสั ญญาซื้อขายมีเงือ่ นไขหรือเงือ่ นเวลา ตามมาตรา
459 กรรมสิ ทธิ์ ไม่อาจโอนไปทันทีจนกว่าเงื่อนไขหรื อเงื่อนเวลานั้นจะ
บรรลุผล
 ฎ.716-171/2493 การซื้ อขายรถยนต์โดยฝ่ ายผูซ้ ้ื อรับมอบรถไปและ
ตกลงกันว่า ผูซ้ ้ื อจะต้องชำระราคาให้หมดเสี ยก่อน ผูข้ ายจึงจะโอนทะเบียนให้
ดังนี้เป็ นสัญญาซื้ อขายมีเงื่อนไข กรรมสิ ทธิ์ จะยังไม่โอนไปยังผูซ้ ้ื อจนกว่าผูซ้ ้ื อ
จะชำระราคาให้หมดก่อน
 ฎ.1562/2522 ซื้อขายรถยนต์ แม้ไม่โอนทะเบียนเป็ นชื่อผูซ้ ้ื อ
กรรมสิ ทธิ์ กโ็ อนไปเป็ นของผูซ้ ้ื อตามมาตรา 458 ผูซ้ ้ื อขายต่อไปโดยมีขอ้
สัญญาว่า ชำระราคาครบจึงจะโอนทะเบียนรถให้ และให้ถือว่าการโอนชื่อใน
ทะเบียนเป็ นเงื่อนไขการโอนกรรมสิ ทธิ์ ดังนี้เป็ นสัญญาซื้ อขายมีเงื่อนไขตาม
มาตรา 459 กรรมสิ ทธิ์ ยงั ไม่โอนจนกว่าจะชำระราคาครบและโอนทะเบียน
แล้ว
3. การโอนกรรมสิ ทธิ์ตามสั ญญาซื้อขายทรัพย์ สินซึ่งยังมิได้ กำหนดลงไว้ แน่ นอน
มาตรา 460 คือ
3.1 ทรัพย์สินซึ่งมิได้ก ำหนดลงไว้แน่นอน คือ คู่สญ ั ญารู้วา่ ซื้อขาย
ทรัพย์สินใด ประเภทใด แต่ยงั มิได้ท ำให้แน่นอนหรื อเป็ นการเฉพาะเจาะจงว่า
เป็ นทรัพย์สินใด มาตรา 460 วรรคแรก
 ฎ.5774/2534 เมื่อกรมสารบรรณทหารได้ซ้ื อแบตเตอรี่ จากโจทก์และขอ
ฝากแบตเตอรี่ ที่ซ้ื อไว้กบั โจทก์ แต่โจทก์ยงั ไม่ได้ก ำหนดแบ่งแยกไว้แน่นอนว่า
จะขายแบตเตอรี่ หม้อใดให้ แบตเตอรี่ จึงยังเป็ นของโจทก์เพราะกรรมสิ ทธิ์ ใน
แบตเตอรี่ ยงั ไม่โอนไปยังกรมสารบรรณทหารผูซ้ ้ื อตาม ป.พ.พ.มาตรา 460
โจทก์จึงเป็ นผูเ้ สี ยหายมีอ ำนาจฟ้ องจำเลยให้ชดใช้แบตเตอรี่ ที่ไปใช้เป็ น
ประโยชน์ส่วนตัว
 ฎ.1504/2526 ซื้อข้าวสาร 20 กระสอบ จากจำนวนหลายกระสอบ
แม้จะยังไม่ได้ช ำระราคา แต่ผขู ้ ายได้วา่ จ้างคนขนส่ งข้าวขึ้นบรรทุกไปส่ งแก่ผู ้
ซื้อและดำเนินการขออนุญาตขนข้าวสารข้ามเขตในนามของผูซ้ ้ื อแล้ว ดังนี้ขณะ
ที่ขนส่ งข้าวสารไปให้ผซู ้ ้ื อ ข้าวสารตกเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของผูซ้ ้ื อแล้ว
 ฎ.723/2492 โจทก์ได้ท ำสัญญาซื้ อน้ำตาลจากจำเลย 310 หาบ ซึ่งมี
จำนวนแน่นอนอยู่ ณ ที่ซ้ือขาย และบรรจุกระสอบไว้เต็มทั้ง 310 กระสอบ ๆ
หนึ่งหนัก 60 กก.คือ 1 หาบ และน้ำตาลนี้เก็บอยูเ่ ป็ นส่ วนสัด โดยเฉพาะใน
การซื้อขายไม่ตอ้ งชัง่ ตวง วัด อีก เมื่อโจทก์ได้ช ำระราคาเสร็ จสิ้ นแล้วแต่ได้มอบ
ให้จ ำเลยรักษาไว้ ดังนี้ ถือได้วา่ เป็ นการซื้ อขายเสร็ จเด็ดขาด กรรมสิ ทธิ์ ใน
น้ำตาลได้โอนไปยังผูซ้ ้ื อตาม ป.พ.พ.มาตรา 458 แล้ว เมื่อทางราชการบังคับ
ซื้อไป จำเลยไม่ตอ้ งรับผิด
 ฎ.339/2506 จำเลยทำสัญญาซื้ อขายไม้สกั ให้โจทก์ และรับ
เงินค่าไม้ไปแล้ว ต่อมาเจ้าหน้าที่ของโจทก์ได้ตรวจไม้ที่จ ำเลยเตรี ยม
ไว้ตามสัญญาและตีตราของโจทก์ลงไว้ ย่อมถือได้วา่ ไม้ที่ตีตราแล้ว
นั้นเป็ นทรัพย์เฉพาะสิ่ งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา
370 และบ่งตัวทรัพย์แน่นอน กรรมสิ ทธิ์ ในไม้ตกเป็ นของโจทก์
แล้ว เมื่อมีคนลอบวางเพลิงโรงเลื่อยจำเลย ซึ่ งมิใช่ความผิดของจำเลย
โจทก์จะเรี ยกร้องราคาไม้คืนจากจำเลยไม่ได้
3.2 ทรัพย์สินเฉพาะสิ่ ง ซึ่ งต้องมีการนับ ชัง่ ตวง วัด หรื อทำการอย่าง
อื่นอีก มาตรา 460 วรรคสอง เพื่อกำหนดราคา
การกำหนดตัวทรัพย์แน่นอนแล้ว หากยังต้องมีการดำเนินการ
ต่าง ๆ เพื่อกำหนดราคาทรัพย์สินให้แน่นอน กรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์สิน
ที่ซ้ื อขายก็ยงั ไม่โอนไปยังผูซ้ ้ื อ
 ฎ.215/2478 ซื้ อขายข้าวในยุง้ โดยตกลงราคากันตามจำนวน
ข้าวที่ตวงได้ แต่ยงั ไม่ได้ตวงให้แก่กนั หรื อทำโดยวิธีอื่นเพื่อให้
เป็ นการทราบจำนวนแน่นอน ดังนี้กรรมสิ ทธิ์ ในข้าวยังไม่โอนเป็ น
ของผูซ้ ้ื อตาม ป.พ.พ.มาตรา 460
ข้ อสั งเกต
- การซื้อขายแบบเหมา อันเป็ นการซื้ อขายที่ผขู ้ ายเสนอขายทั้งหมดใน
ราคาจำนวนหนึ่งโดยไม่ตอ้ งคำนวณจำนวนทรัพย์สินที่ขาย และเมื่อผูซ้ ้ื อตกลง
ซื้อตามที่เสนอขาย กรรมสิ ทธิ์ ย่อมโอนไปยังผูซ้ ้ื อตั้งแต่ขณะทำสัญญา ตาม
มาตรา 458
 ฎ.1223/2496 ทำสัญญาขายเหมาอิฐ 2 เตา อิฐประมาณ 2 แสน 2
หมื่นแผ่น ซึ่งอยูใ่ นลายเป็ นจำนวนเงิน 7,000 บาท ดังนี้ เป็ นการขายอิฐเป็ น
เตาซึ่งมีจ ำนวนแน่นอนคือ 2 เตา ราคาที่แน่นอนคือ 7,000 บาท แม้จะได้
กล่าวถึงจำนวนอิฐไว้ดว้ ยก็เป็ นการกล่าวโดยประมาณ พอให้เข้าใจว่าอิฐที่ขาย
ทีปริ มาณสักเท่าใด กรรมสิ ทธิ์ ย่อมโอนจากผูข้ ายไปยังผูซ้ ้ื อตังแต่ขณะทำสัญญา
กัน(มาตรา 458) กรณี ไม่ตอ้ งด้วยมาตรา 460
ผลของการโอนกรรมสิ ทธิ์

1. กรณีเกิดภัยพิบัตแิ ก่ทรัพย์ สินทีซ่ ื้อขาย


บาปเคราะห์ยอ่ มตกอยูแ่ ก่เจ้าของกรรมสิ ทธิ์ มาตรา 370 และ
371
เช่น นายดำซื้ อมะพร้าว 100 ผลจากเรื อนายแดงยังไม่ช ำระราคา
แต่
ได้มีการคัดเลือกและนับมะพร้าวกองไว้ต่างหากแล้ว โดยนัดมารับมะพร้าว
ในวันรุ่ งขึ้นพร้อมชำระราคา ปรากฏว่าคืนนั้นเองพายุพดั เรื อมะพร้าวของ
นายแดงล่มมะพร้าวสู ญหายหมด ดังนี้ นายดำไม่มีสิทธิเรี ยกร้องให้นายแดง
ส่ งมอบมะพร้าว แต่นายแดงมีสิทธิเรี ยกร้องราคามะพร้าวจากนายดำ
ผลของการโอนกรรมสิ ทธิ์
2. กรณีมกี ารโอนขายต่ อ
เจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ยอ่ มมีสิทธิโอนขายทรัพย์สินของตน
เช่น นายดำซื้ อรถยนต์จากนายแดง โดยนายดำชำระราคาครึ่ งหนึ่ง
และนายแดงได้ส่งมอบรถยนต์ให้แก่นายดำแล้ว ต่อมานายดำได้น ำรถยนต์
ไปขายต่อให้แก่นายขาว ดังนี้ นายขาวย่อมได้รับโอนกรรมสิ ทธิ์ ในรถยนต์
ต่อจากนายดำ
หากกรรมสิ ทธิ์ ยังอยูท่ ี่ผขู้ าย ผูซ้ ้ื อย่อมไม่ได้กรรมสิ ทธิ์ ตามหลัก
“ผู้รับโอนไม่ มสี ิ ทธิดกี ว่ าผู้โอน”
ผลของการโอนกรรมสิ ทธิ์

3. กรณีเจ้ าหนีข้ องผู้ขายนำยึดทรัพย์ ทขี่ าย


ถ้ากรรมสิ ทธิ์ ยังอยูท่ ี่ผขู้ าย เจ้าหนี้ ของผูข้ ายย่อมนำยึดทรัพย์ที่ขายได้
เช่น นายดำเป็ นหนี้นายขาว 200,000 บาท นายดำมีรถยนต์ 1
คัน นายดำขายรถยนต์แก่นายแดง โดยส่ งมอบรถยนต์ให้แก่นายแดงแต่มี
ข้อตกลงว่าจะโอนกรรมสิ ทธิ์ ให้นายแดงเมื่อนายแดงชำระราคาครบถ้วน
หากนายดำไม่ช ำระหนี้ให้แก่นายขาว นายขาวอาจฟ้ องนายดำและนำยึด
รถยนต์คนั ดังกล่าวเพื่อขายทอดตลาดนำเงินมาชำระหนี้ได้

You might also like