You are on page 1of 15

กฎหมายในยุคมืดและยุคกลาง

 การที่โรมันรับเอากฎหมายมาจากกรี กโบราณถือเป็ นสิ่ งที่เป็ นประโยชน์


มาก
 ทําให้เกิดกฎหมายที่เป็ นพื้นฐานของกฎหมายแพ่งในปั จจุบนั
 กฎหมายที่ใช้สาํ หรับชาวโรมันด้วยกันเอง Jus Civile และกฎหมาย
ที่ใช้กบั คนต่างด้าวที่ไม่ใช่โรมัน Jus Gentium ทําให้ชาวโรมัน
ปฏิบตั ิต่อคนในอาณาจักรอื่นที่ตนเข้าไปยึดครองเยีย่ งมนุษย์ดว้ ยกันตาม
หลักการของกฎหมายธรรมชาติ
 อาณาจักรโรมันถึงกาลล่มสลายใน ค.ศ.476 โดยพวก Babarian
 ยุโรปเข้าสู่ ยคุ มืดและยุคกลาง
 เกิดระบบ Feudalism
 ศาสนาคริ สต์ได้เจริ ญอย่างมากและสังฆราชสําคัญ ๆ แห่งกรุ งโรม อาทิ
แอมโบรส ออกุสติน และเกรเกอรี่ ได้ทาํ การพัฒนาเปลี่ยนแปลงปรัชญา
กฎหมายธรรมชาติให้สอดคล้องกับหลักคําสอนในคริ สต์ศาสนา
 อ้างความเป็ นส่ วนหนึ่งในกฎหมายของพระเจ้าแบบคริ สเตียน
(Christianization of Natural Law)
 St.Augustine เสนอความคิดเห็นว่า กฎหมายที่ไม่ถูกต้องตามกฎ
ศาสนาเป็ นกฎหมายที่ใช้บงั คับไม่ได้ จึงบังคับให้รัฐอยูใ่ ต้อิทธิพลของ
ศาสนา กฎหมายของยุโรปจึงมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับกฎของ
ศาสนา
 St. Thomas Aquinas นักบุญชาวอิตาเลียน 1226-1274
เป็ นผูส้ ร้างงานนิพนธ์ชิ้นสําคัญเรื่ อง Summa Theologica
 เชื่อมวิธีคิดแบบเหตุผลนิยม (Rationalism) และเจตนนิยม
(Voluntarism) เข้าด้วยกัน
 นําเอาปรัชญาของอริ สโตเติลมาสังเคราะห์กบั ปรัชญาทางคริ สต์ศาสนา
 ในขณะที่อริ สโตเติลยืนยันว่ามนุษย์สามารถค้นพบกฎหมายธรรมชาติได้
โดยอาศัย “เหตุผล” ในตัวมนุษย์เอง อไควนัสได้พยายามเชื่อมโยงเรื่ อง
“เหตุผล” ดังกล่าวเข้ากับ “เจตจํานง” (Will) ของพระเจ้า
 โดยถือว่าเหตุผลที่สมบูรณ์ถูกต้องมากกว่า ซึ่ งใช้เป็ นเครื่ องมือในการ
ค้นหากฎหมายธรรมชาติน้ นั ปรากฏอยูใ่ น เหตุผลของพระเจ้า
Divine Reason หรื อ เจตจํานงของพระเจ้า ซึ่ งถือว่ามีความ
บริ สุทธิ์ถูกต้องมากกว่าเหตุผลของมนุษย์ซ่ ึ งอาจมีความผิดพลาดได้
 อไควนัสสรุ ปว่า “หลักธรรมหรื อโองการหรื อเจตจํานงของพระเจ้าคือ
ที่มาของกฎหมายธรรมชาติ” (Christian Natural Law)

 สิ่ งที่น่าสนใจของอไควนัสคือ การเชื่อมต่อเหตุผลเข้ากับเจตจํานงของ


พระเจ้านั้น เซนต์ โทมัส อไควนัส ได้แบ่งกฎหมายออกเป็ น 4 ประเภท
กฎหมายนิรันดร์ (Eternal Law) หมายถึงกฎหมายสู งสุ ดที่มีพระเจ้า
เท่านั้นที่ล่วงรู ้กฎหมายนี้ โดยมนุษย์ทวั่ ไปไม่อาจหยัง่ รู ้ได

กฎหมายธรรมชาติ (Natural Law) หมายถึง ส่ วนหนึ่งของกฎหมาย


นิรันดร์ที่มนุษย์สามารถเข้าถึงได้โดยอาศัย เหตุผล ชี้นาํ การกระทํา
ของมนุษย์ที่ตอ้ งมีหลักธรรม (Precept) ได้แก่ การทําความดี ละ
เว้นความชัว่ Good is to be done and evil to be
avoided เป็ นต้น
 กฎหมายอันศักดิ์สิทธิ์ (Divine Law) หมายถึงกฎเกณฑ์หรื อ
หลักธรรมต่าง ๆ ที่ถูกจารึ กไว้ในคัมภีร์ไบเบิลเท่านั้น

 กฎหมายของมนุษย์ (Human Law) หมายถึง กฎหมายที่มนุษย์


บัญญัติข้ ึนใช้กนั เองในสังคม ซึ่ งอยูภ่ ายใต้กรอบที่กล่าวมาข้างต้น
กฎหมายนิรันดร์ (Eternal Law)
 แผนของพระผูเ้ ป็ นเจ้า
 กํากับความเป็ นไปทั้งปวงในจักรวาล
 สรรพสิ่ งดําเนินไปภายใต้ลิขิตอันศักดิ์สิทธิ์ของพระผูเ้ ป็ นเจ้า
 กฎหมายนิรันดร์น้ ี มีแต่พระปั ญญา wisdomของพระผูเ้ ป็ นเจ้าเท่านั้น
ที่ทรงรู ้ได้โดยบริ บูรณ์
 กฎหมายนิรันดร์จึงเป็ นสิ่ งที่มีสารัตถะทางสติปัญญา ไม่ใช่เป็ นเรื่ อง
อําเภอใจ will อย่างที่ออกัสตินเคยวางแนวความคิดไว้อีกต่อไป
กฎหมายธรรมชาติ (Natural Law)
 เป็ นกฎหมายนิรันดร์เฉพาะบางส่ วนที่มนุษย์สามารถเข้าถึงได้ ด้วย
เหตุผลของมนุษย์ที่มีอยูใ่ นตัวทุกคน
 เป็ นเหตุผลที่มีอยูใ่ นธรรมชาติของมนุษย์ (Human Nature)
 อไควนัสเห็นว่า กฎหมายนิรันดร เป็ นเหตุผลอันกว้างใหญ่ไพศาลเกิน
กว่าสติปัญญาของมนุษย์ที่จะหยัง่ รู ้ได้ครบถ้วน คงรู ้ได้แต่เพียงบางส่ วน
ที่เรี ยกว่ากฎหมายธรรมชาติเท่านั้น
 กฎเกณฑ์รากฐานแห่ งความประพฤติของมนุษย์ จงทําดี ละเว้นความชัว่
 สัญชาตญาณการดํารงอยูข่ องชีวติ ให้ความชอบธรรมกับการ ป้องกัน
และกรณี จาํ เป็ นตามกฎหมาย
 สัญชาตญาณทางเพศ ความปรารถนาของหญิงชาย ต้องการอยูร่ ่ วมกัน
ฉันสามีภริ ยา มีครอบครัว และอบรมเลี้ยงดูผสู ้ ื บสันดาน อันเป็ นที่มาของ
การยอมรับและการให้ความคุม้ ครองสถาบันครอบครัวในกฎหมาย
 สัญชาตญาณทางสังคม ความปรารถนาตามธรรมชาติทางสติปัญญาที่จะ
แสวงหาสัจธรรม ปรารถนาใคร่ รู้เกี่ยวกับพระผูเ้ ป็ นเจ้า ไม่ทาํ ร้ายผูอ้ ื่น
และคบค้าสมาคมกับผูอ้ ื่นด้วยดี
กฎหมายศักดิ์สิทธิ์ (Divine Law)
 กฎเกณฑ์ที่มนุษย์ได้รับรู ้จากการดลบันดาลเปิ ดเผยให้รู้โดยพระผูเ้ ป็ นเจ้า
เช่นที่ปรากฏในรู ปของพระบัญญัติ 10 ประการ (Ten
Commandment) ในพระคัมภีร์ไบเบิ้ล และปรากฏในรู ปของบท
ศรัทธายึดมัน่ Dogma ที่ศาสนจักรประกาศว่าเป็ นผลจากการดล
บันดาลของพระผูเ้ ป็ นเจ้า
 กฎเกณฑ์ที่มนุษย์ปกติไม่อาจเข้าใจได้ดว้ ยเหตุผล พระผูเ้ ป็ นเจ้าจึงทรง
เปิ ดเผยให้รู้ได้โดยทางพระคัมภีร์และทางคําสอนของศาสนจักร
 เป็ นกฎเกณฑ์ที่เสริ มให้มนุษย์ประพฤติดีประพฤติชอบได้บริ บูรณ์ยงิ่ ขึ้น
กฎหมายมนุษย์ (Human Law)
 กฎหมายคือบัญชาของเหตุผลเพื่อความดีงามร่ วมกัน ที่บญั ญัติข้ ึนโดยผูม้ ี
หน้าที่ในการดูแลรักษาประชาคมและได้ประกาศใช้แล้ว
 เช่นเดียวกับคํานิยามของซิเซโร ซึ่ งเป็ นหัวใจของความคิดกฎหมายใน
สมัยโรมัน
 จากคํานิยามของอไควนัส เห็นได้วา่ กฎหมายมีลกั ษณะเป็ น บัญชา
Ordinance แต่ไม่ใช่บญั ชาของอํานาจหรื ออําเภอใจ แต่แสดงออก
ถึงความมีอาํ นาจอันชอบธรรมของกฎหมายที่ทุกคนจะต้องเคารพและ
ปฏิบตั ิตาม
 เป็ นบัญชาของเหตุผล และเหตุผลนั้นก็ตอ้ งมีคุณภาพที่วา่ จะต้องมีความ
มุ่งหมายเพื่อความดีงามร่ วมกัน
 Common Good
 เน้นองค์ประกอบทางอุดมคติของสังคมส่ วนรวม
 กฎหมายจะต้องเป็ นสิ่ งที่บญั ญัติโดยผูม้ ีหน้าที่ในการดูแลรักษา
ประชาคม ซึ่ งหมายถึงผูป้ กครอง แต่ไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นพระเจ้าแผ่นดิน
เสมอไป
 ต้องมีการประกาศใช้ ทําให้เห็นว่า กฎหมายของมนุษย์เป็ นไปตามหลัก
เหตุผล สอดคล้องกับกฎหมายธรรมชาติซ่ ึ งไม่จาํ เป็ นต้องประกาศ
 กฎหมายมนุษย์น้ นั ต้องประกาศเพราะเป็ นสิ่ งที่มนุษย์กาํ หนดขึ้นตาม
เหตุผล
 แตกต่างจากกฎหมายธรรมชาติ เพราะอาจมีขอ้ จํากัดทางเวลาและ
สถานที่ มีการเปลี่ยนแปลงได้
 เช่นการลักทรัพย์ การฆ่าคน ทุกคนย่อมรู ้วา่ เป็ นความผิด แต่ผดิ แล้ว
จะต้องรับโทษเพียงใดเป็ นเรื่ องของกฎหมายมนุษย์ที่อาจบัญญัติแตกต่าง
กันได้ตามความเหมาะสม

You might also like