You are on page 1of 34

การรับกฎหมายสมัยใหม่จากตะวันตก

และการจัดทำประมวลกฎหมาย
อ.หทัยกาญจน์ กำเหนิดเพชร
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
การรับกฎหมายสมัยใหม่จากตะวันตก
การรับกฎหมายอังกฤษ
การรับกฎหมายภาคพื้นยุโรป
การเลือกระบบกฎหมาย
การจัดทำประมวลกฎหมายของไทย
การจัดทำกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127
การจัดทำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
การจัดทำประมวลกฎหมายวิธพ
ี ิจารณาความและกฎหมายอื่นๆ
การรับกฎหมายสมัยใหม่จากตะวันตก
ประเทศไทยจำเป็ นต้ องปฏิรป
ู กฎหมายและการศาลเสียใหม่ เพื่อให้ หลุดพ้นจาก
การสูญเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ประกอบกับกฎหมายไทยทีม่ ีอยู่เดิมมี
ความไม่เหมาะสมกับกาลสมัย

นอกจากนี้ กฎหมายสมัยใหม่จากตะวันตกนั้น เป็ นกฎหมายที่มีความทันสมัย เป็ น


เหตุเป็ นผล มีการรับรองสิทธิของบุคคลมากยิ่งขึ้น

ประเทศไทยจึงจำเป็ นต้ องเร่งทำกฎหมายให้ ทนั สมัยเช่นเดียวกัน โดยในระยะแรก


เป็ นการประกาศกฎหมายเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะเรือ่ งไปก่อน ได้ มีการนำหลัก
กฎหมายของอังกฤษมาใช้ ในหลายเรื่อง
หลังจากนั้น กฎหมายอังกฤษก็ค่อยคลายตัวลงเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ า
เจ้ าอยู่หัวทรงตัดสินพระทัยใช้ ระบบกฎหมายแบบประมวลธรรม (Civil
law system)

ประเทศญีป
่ ุ่ นเป็ นประเทศแรกในเอเชียที่สามารถเปลี่ยนแปลงระบบกฎหมายของ
ตนเองให้ ทนั สมัยตามอย่างตะวันตกได้ โดยการส่งผู้แทนไปดูงานด้ านการปรับปรุง
กิจการด้ านกฎหมายที่ทวีปยุโรป และได้ จ้างนักกฎหมายชาวเยอรมันและฝรั่งเศสมา
ช่วยในการร่างกฎหมาย

่ ุ่ น จึงให้ หาผู้เชี่ยวชาญจาก
รัชกาลที่ 5 ทรงเห็นว่าไทยควรใช้วิธีการเดียวกับญีป
ต่างประเทศเข้ ามารับราชการในไทยหลายคน เช่น นายโรลัง ยัคมินส์ , นายริชาร์ด
เกอร์กแปตริก ชาวเบลเยี่ยม และนายโตจิกิ มาเซา ชาวญี่ปุ่น เป็ นต้ น
การรับกฎหมายจากตะวันตกของไทย มีลกั ษณะดังนี้
1.การรับกฎหมายอังกฤษมาใช้ในระยะแรก
 เริ่มด้ วยการนำหลักกฎหมายอังกฤษมาใช้ ในกฎหมายวิธสี บัญญัติ คือ ในปี
พ.ศ. 2437 ได้ ประกาศยกเลิกการพิจารณาคดีแบบจารีตนครบาล โดย
ประกาศใช้ พระราชบัญญัติพิจารณาความมีโทษทางอาญาขึ้นใช้ แทน และ
ประกาศใช้ พระราชบัญญัติกระบวนพิจารณาความแพ่ง โดยมีพ้ ืนฐานมาจาก
กฎหมายอังกฤษ
 ศาลไทยยังถือเอาจารีตประเพณีด้านพาณิชย์ของอังกฤษมาใช้ หลายเรื่อง เช่น
เรื่องสินจ้ าง หลักกฎหมายปิ ดปาก ทรัสตี (พาณิชย์) เป็ นต้ น และเรื่องเจตนา
ร้ าย ในกฎหมายอาญา
 นอกจากนี้ หลักกฎหมายอังกฤษยังถูกนำไปสอนในโรงเรียนกฎหมายโดย
พระองค์เจ้ ารพีฯ
หลักกฎหมายปิ ดปาก หรือ  estoppel หลักกฎหมายที่ไม่ยอมให้ อ้างหรือพิสจู น์
ข้ อเท็จจริงให้ ผดิ ไปจากที่กฎหมายสันนิษฐานไว้ ไม่ว่าข้ อสันนิษฐานนั้นจะเป็ นจริง
หรือไม่ เช่น
ม.407 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
“บุคคลใดกระทำการตามอำเภอใจเหมือนหนึ่งว่าเพื่อชำระหนี้ โดยรู้อยู่ว่าตนไม่มี
ความผูกพันที่จะต้ องชำระ ท่านว่าผู้น้นั หามีสทิ ธิท่ีจะได้ รับคืนทรัพย์ไม่”
มาตรา 411
“บุคคลใดได้ กระทำการเพื่อชำระหนี้เป็ นการอันฝ่ าฝื น ข้ อห้ ามตามกฎหมายหรือศีล
ธรรมอันดี ท่านว่าบุคคลนั้นหาอาจจะ เรียกร้ องคืนทรัพย์ได้ ไม่”
เจตนาร้าย หรือ เถยจิต หรือ Mens Rea
องค์ประกอบความผิดของกฎหมายอาญาของประเทศคอมมอนลอว์ ประกอบด้ วย
1. ส่วนที่เป็ นการกระทำในสิ่งที่ผดิ กฎหมาย (Actus Reus) และ
2. ส่วนที่เป็ นเจตนาร้ ายหรือจิตใจที่ช่ัวร้ าย (Mens Rea) – เจตนากระทำความ
ผิด และประมาทเลินเล่อโดยรู้ตัว
2. การรับกฎหมายแบบภาคพื้ นยุโรป
 ภายหลังจากที่รัชกาลที่ 5 ทรงเลือกใช้ระบบกฎหมายแบบภาคพื้ นยุโรป
อิทธิพลของกฎหมายอังกฤษก็ค่อยๆ ลดความสำคัญลงไป
 โดยพระองค์ได้ จ้างนักกฎหมายชาวญี่ปุ่นและฝรั่งเศสมาเป็ นที่ปรึกษาช่วยงาน
นายโรลัง ยัคมินส์
 หลักกฎหมายในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หลายเรื่อง ไทยได้ ลอกเลียน
มาจากกฎหมายของภาคพื้นยุโรป เช่น หนี้ ทรัพย์ เอกเทศสัญญา
ครอบครัว(บางเรื่อง)
 และได้ มีการปรับปรุงการเรียนการสอนในโรงเรียนกฎหมายให้ สอดคล้ องกับ
ระบบกฎหมายแบบภาคพื้นยุโรปมากยิ่งขึ้น
การเลือกระบบกฎหมาย
ในการนำเอาหลักกฎหมายตะวันตกมาใช้ ในการปฏิรป
ู กฎหมาย ก็มีระบบกฎหมาย
ที่อยู่ในข่ายให้ พิจารณา 2 ระบบ คือ ระบบกฎหมายอังกฤษ (Common
Law) และระบบกฎหมายแบบประมวลกฎหมาย (Civil Law)

ข้ อเท็จจริงปรากฏว่า ประเทศตะวันที่ประเทศไทยทำสนธิสญ


ั ญายก
สิทธิสภาพนอกอาณาเขตให้ แก่คนชาติประเทศเหล่านั้น ส่วนใหญ่จะใช้ กฎหมาย
แบบประมวลกฎหมาย

แต่ในขณะเดียวกันประเทศอังกฤษก็เป็ นประเทศที่มีอท
ิ ธิพลต่อประเทศไทยมาก
และนักกฎหมายในสมัยนั้นก็ส ำเร็จการศึกษาจากประเทศอังกฤษหลายท่าน
 กรมหมื่นราชบุรีฯ ได้ เสนอให้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัวใช้ ระบบกฎหมาย
อังกฤษ ที่พระองค์ทรงมีความชำนาญ เป็ นหลักในการปฏิรูปกฎหมายไทย
แต่กรมพระยาดำรงราชานุ ภาพทรงสนับสนุนให้ เลือกระบบกฎหมายแบบประมวล
กฎหมาย

 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงเห็นเลือกระบบประมวลกฎหมาย
( Civil Law)เป็ นหลักในการปฏิรูประบบกฎหมาย เนือ่ งจากกฎหมายไทยแต่เดิม
มีลกั ษณะเป็ นลายลักษณ์อกั ษรอยู่แล้วจึ งง่ายทีจ่ ะเปลีย่ นกฎหมายไทยให้สอดคล้องกับ
ระบบประมวลกฎหมาย

 ใน พ.ศ.2440 รัชกาลที่ 5 ทรงโปรดให้ แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจชำระร่างประมวล


กฎหมายอาญา โดยมีกรมหมื่นราชบุรีฯเป็ นประธาน
การจัดทำประมวลกฎหมายของไทย
การร่างประมวลกฎหมาย เป็ นการร่างกฎหมายที่จัดแบ่งหมวดหมู่อย่างเป็ นระบบ
มีข้อความท้ าวถึงซึ่งกันและกัน
ประมวลกฎหมาฉบับแรกที่ไทยจัดทำ ได้ แก่ ประมวลกฎหมายลักษณะอาญา ที่
ประกาศใช้ ใน ร.ศ. 127

เหตุผลที่เลือกทำประมวลกฎหมายอาญาก่อน เนือ่ งจากต้องการยกเลิกศาลกงสุล


อันเป็ นสิทธิสภาพนอกอาณาเขต
และในขณะนั้นคนไทยและเจ้ าหน้ าที่ฝ่ายกฎหมายยังไม่ค่อยมีความรู้ความเข้ าใจใน
การชำระกฎหมายแบบประมวลกฎหมาย และกฎหมายอาญาเป็ นประมวลกฎหมาย
ที่ร่างได้ ง่ายที่สดุ และศาลสามารถเข้ าใจได้ ง่าย
การร่างกฎหมายวิธสี บัญญัตใิ ช้บงั คับไปพลางก่อน
ร.5 ทรงโปรดให้ มีการปรับปรุงกฎหมายวิธสี บัญญัติโดยการยกร่างพระราชบัญญัติ
ต่าง ๆ ขึ้นใช้ บังคับไปพลางก่อน ระหว่างที่รอการจัดทำประมวลกฎหมายที่สมบูรณ์
1. พระราชบัญญัติลักษณะพยาน ร.ศ.113 (พ.ศ.2437)
2. พระธรรมนูญศาลต่างๆทั้งในกรุงเทพและหัวเมือง
3. พระราชบัญญัติวิธพี ิจารณาความมีโทษสำหรับใช้ ไปพลางก่อน ร.ศ.115 (พ.ศ.
2439)
4. พระราชบัญญัติกระบวนพิจารณาความแพ่ง ร.ศ.115 (พ.ศ.2439)
5. พระธรรมนูญศาลยุติธรรม และพระราชบัญญัติวิธพี ิจารณาความแพ่ง ในปี ร.ศ.
127 (แก้ ไข)
6. พระราชบัญญัติเพิ่มเติมวิธพี ิจารณาความอาญา ร.ศ.120 และ ร.ศ.126
การจัดทำประมวลกฎหมายอาญา
ขั้นตอนการร่างประมวลกฎหมายอาญา
1. ร.ศ.116 ตั้งคณะกรรมการผู้ช ำนาญกฎหมาย ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ให้
ตรวจพระราชกำหนดบทพระอัยการเก่าใหม่ โดยได้ ออกกฎหมายที่จำเป็ นต้ องใช้
ก่อน เช่น พรบ.ว่าด้ วยอั้งยี่ ร.ศ.116, พรบ.ลักษณะข่มขืนประเวณี ร.ศ.118,
พรบ.ลักษณะหมิ่นประมาท ร.ศ.118, ประกาศลักษณะฉ้ อ ร.ศ.119 เป็ นต้ น
2. ร.ศ. 123 ได้ ทรงโปรดเกล้ าฯ ให้ นายยอร์ช ปาดู ซ์ เข้ ามารับราชการเป็ นที่
ปรึกษาในการร่างกฎหมาย โดยนายปาดูซ์ได้ ให้ ความเห็นว่าควรตั้งคณะกรรมการ
ชุดใหม่โดยให้ ดูตัวอย่างจากประมวลกฎหมายอาญาของฝรั่งเศสและฮอลันดา เป็ น
หลัก
3. เมื่อคณะกรรมการในข้ อ 2 แก้ ไขร่างเสร็จ ได้ น ำทูลเกล้ าถวาย
4. ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ ต้งั คณะกรรมการเสนาบดี 4 ท่าน เพื่อตรวจร่าง
ของนายปาดูซ์
5. รัชกาลที่ 5 ทรงตรวจร่างด้ วยพระองค์เองอีกครั้งหนึ่ง และทรงปรึกษาที่ประชุม
เสนาบดี เมื่อเสนาบดีเห็นชอบ จึงโปรดเกล้ าฯ ให้ ตราเป็ นพระราชบัญญัติต่อไป

 ประมวลกฎหมายลักษณะอาญาฉบับนี้ จึงได้ ประกาศใช้ ใน ร.ศ.127


 เราอาจกล่าวได้ ว่าประมวลกฎหมายอาญาฉบับนี้มีความทันสมัยยิ่งในขณะนั้น
เพราะได้นำเอาหลักกฎหมายอาญาทีเ่ ป็ นทีน่ ิยมอยู่ในประเทศต่ างๆ มาดัดแปลง
ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของประเทศไทย
หลักกฎหมายอาญาทีไ่ ด้นำมาบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายลักษณะอาญา มี
ดังนี้
1. การกำหนดหลักเกณฑ์ทวั ่ ไปเกีย่ วกับความผิดทางอาญา
เช่น กำหนดเรื่องเจตนา พยายาม ป้ องกัน เหตุยกเว้ นโทษ และได้ ก ำหนดขอบเขต
การบังคับใช้ กฎหมายด้ วย
2. การแบ่งประเภทของความผิด
ไม่ได้ มีการแบ่งประเภทความผิดออกเป็ นลหุโทษ มัธยโทษ และอุกฤษโทษ เหมือน
ประเทศอื่นๆ แต่แบ่งเป็ นภาคทั่วไป กับ ภาคความผิด ที่มีความผิดลหุโทษรวมอยู่
ด้ วย
3. การลงโทษ
กำหนดโทษไว้ 6 สถาน ได้ แก่ ประหารชีวิต จำคุก ปรับ ให้ อยู่ในเขตที่อนั มีก ำหนด
ให้ ริบทรัพย์ และให้ เรียกประกันทานบน
4. เกีย่ วกับการลงโทษผูก้ ระทำความผิดในครั้งแรกและผูก้ ระทำความผิดซ้ำ
มีการกำหนดเงื่อนไขในคำพิพากษา เพื่อป้ องกันไม่ให้ กระทำความผิดซ้ำและหลีก
เลี่ยงการจำคุกระยะสั้น / มีการเพิ่มโทษแก่ผ้ ูกระทำความผิดโดยไม่เข็ดหลาบ
5. มีการกำหนดโทษขั้นต่ำและขั้นสูง
อันเป็ นการให้ ดุลพินิจแก่ศาลในการกำหนดโทษ โดยขยายช่วงของโทษให้ กว้ างขึ้น
กว่าของประเทศฝรั่งเศส
6. การกระทำวามผิดหลายบทหรือหลายกรรม –
ไทยนำหลักการนี้มาจากประเทศอังกฤษ คือ ถ้ ากระทำความผิดต่างกรรม
ต่างวาระ ให้ เรียงกระทงลงโทษ / ถ้ ากระทำกรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท ให้ ลงโทษ
บทหนัก
7. การนับเวลาของโทษจำคุก
เป็ นการบัญญัติให้ ชัดเจนยิ่งขึ้น ในมาตรา 32, 33
8. การกระทำความผิดของเด็กและเยาวชน
เป็ นหลักยกเว้ นโทษให้ แก่ผ้ ูกระทำความผิดที่อายุไม่ถงึ 7 ปี เป็ นต้ น

 กฎหมายอาญาฉบับนี้ประกาศใช้ เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2451 มี 340 มาตรา มี


ความกะทัดรัด เข้ าใจง่าย และมีข้อบกพร่องน้ อยกว่าประมวลกฎหมายอาญาของ
ประเทศญี่ปุ่น

 ประมวลกฎหมายฉบับนี้ใช้ บังคับมาเกือบ 50 ปี และได้ ยกเลิกเมือ่ พ.ศ.2499


การจัดทำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
การร่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เริ่มขึ้นในปี พ.ศ.2451 (ร.ศ. 127)
ภายหลังจากการประกาศใช้ ประมวลกฎหมายลักษณะอาญา

รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระราชดำริให้ จัดทำประมวลกฎหมายนี้ข้ น


ึ เพื่อรวบรวมกฎหมาย
ที่กระจัดกระจายเข้ ามาเป็ นหมวดหมู่ ให้ เหมาะสมกับกาลสมัย โดยให้ ประกาศส่วน
ที่ส ำคัญไปก่อน ส่วนอื่นๆ ให้ ประกาศเพิ่มเติมในภายหลัง

คณะกรรมการที่ทรงตั้งขึ้นประกอบด้ วยนักกฎหมายชาวฝรั่งเศสล้ วนๆ โดยได้ เสนอ


ให้ รวมกฎหมายแพ่ง กับกฎหมายพาณิชย์เข้ าเป็ นฉบับเดียวกัน โดยเอาตามอย่าง
ประเทศสวิสเซอร์แลนด์
ึ โดยแบ่งหน้ าที่การทำงานออกเป็ น
คณะกรรมการร่างกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ข้ น
6 กอง
1. คณะกรรมการกองที่ 1 – เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม
เสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ เสนาบดีกระทรวงวัง โดยมีหน้ าที่ตัดสินนโยบาย
ในการร่างกฎหมาย เพื่อให้ คณะกรรมการที่มีหน้ าที่ร่างกฎหมายปฏิบัติตาม
2. คณะกรรมการกองที่ 2 – เป็ นนักกฎหมายชาวต่างประเทศ เช่น นายมาเซา นาย
ติลเลกี นายเทอร์เนอร์ นายปาดูซ์ และนักกฎหมายชาวไทย มีหน้ าที่ร่างกฎหมาย
ตามนโยบายที่คณะกรรมการกองที่ 1 อนุมัติ
3. คณะกรรมการกองที่ 3 – นักกฎหมายชาวฝรั่งเศส มีหน้ าที่แปลกฎหมายเป็ น
ภาษาฝรั่งเศส
4. คณะกรรมการกองที่ 4 – นักกฎหมายชาวอังกฤษ มีหน้ าที่แปลกฎหมายเป็ น
ภาษาอังกฤษ
5. คณะกรรมการกองที่ 5 – ผู้พิพากษาไทยและนักกฎหมายไทย หน้ าที่ตรวจร่าง
กฎหมายให้ สอดคล้ องกับหลักการพิพากษาของศาลไทย
6. คณะกรรมการกองที่ 6 – นักกฎหมายไทย ทำหน้ าที่ตรวจความถูกต้ องของ
กฎหมายเป็ นครั้งสุดท้ าย ก่อนนำขึ้นทูลเกล้ าถวาย
 ต่อมามีการปรับปรุงคณะกรรมการนี้เพื่อความเหมาะสมในการทำงาน ท้ ายที่สดุ
หน้ าที่ในการร่างกฎหมายตกเป็ นของนายปาดูซ์ กับ หม่อมเจ้ าจรูญศักดิ์
ภายหลังจากนายปาดูซ์ออกจากการร่างกฎหมายไป (2451-2457) นายเดเลส
เตร ได้ เข้ ามาดูแลต่อ (2457-2459) หากแต่การร่างกฎหมายภายใต้ การดูแล
ของนายเดเลสเตร เป็ นไปอย่างล้ าช้ าและไม่มีหลักเกณฑ์ โดยทำได้ เพียง 2 บรรพ
และใช้ เงินไปจำนวน 770,000 บาท
พ.ศ.2459 ได้ มีการปรับปรุงคณะกรรมการร่างกฎหมายใหม่ โดยมีพระเจ้ าบรม
วงศ์เธอกรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ เป็ นประธาน และมี นายเรอเน่ กียอง เป็ น
กรรมการด้ วย
ในการร่างกฎหมายครั้งใหม่น้ ี มีเรอเน่ กียอง เป็ นผู้อ ำนวยการในการร่าง โดย
เป็ นการยกร่างให้ สอดคล้ องกับความต้ องการของประเทศ ไม่ใช่คัดลอกบทบัญญัติ
กฎหมายต่างประเทศมาแล้ วดัดแปลงเพียงผิวเผิน
โดยผู้ร่างจะทำการศึกษาเรื่องนั้นๆ อย่างกว้ างๆ โดยดูจากตัวบทกฎหมายเดิมที่มี
อยู่ และดูจากประมวลกฎหมายที่ส ำคัญของต่างประเทศ
ต่อมา พ.ศ. 2462 กรมหลวงสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ ได้ ลาออกจากประธานกรรมการ
ร่าง และเจ้ าพระยาอภัยราชามหายุติธรรมธร (เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม) ได้ เข้ า
มาทำหน้ าที่แทน
พ.ศ. 2466 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเหล้ าเจ้ าอยู่หัว ทรงโปรดเกล้ าฯ ให้ ยก
ฐานะกรรมการชำระประมวลกฎหมาย เป็ น กรมร่างกฎหมาย สังกัดกระทรวง
ยุติธรรม โดยมีเจ้ าพระยาอภัยราชาฯ เป็ นนายกกรรมการ และนายเรอเน่ กียอง
เป็ นที่ปรึกษา
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ ประกาศใช้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพที่ 1 และ 2 ในวันที่ 11 พฤศจิกายน
พ.ศ. 2466 โดยให้ มีผลในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2467 แต่กต็ ้ องเลื่อนออก
ไปอีก 1 ปี โดยประกาศใช้ พร้ อมกับบรรพ 3
แต่ประมวลกฎหมาย 2 บรรพทีป ่ ระกาศใช้นได้ี้ รบั การวิพากษ์วิจารณ์อย่าง
มากว่ามีขอ้ บกพร่องหลายประการ อ่านไม่เข้าใจ อ่านไม่รูเ้ รือ่ ง โดยอาจเป็ น
เพราะผู้ร่างฝี มือไม่ถงึ ขั้น ประกอบกับมีความเกรงใจฝรั่งเศสจึงไม่กล้ าแก้ ไข
ในที่สดุ ต้ องมีการตั้งกรรมการชุดใหม่ โดยในการร่างใช้โครงร่างประมวลกฎหมาย
แพ่งแบบเยอรมัน โดยลอกจากประมวลกฎหมายแพ่งของญีป่ ุ่ น แต่กไ็ ด้ นำ
บทบัญญัติจากกฎหมายฝรั่งเศสในฉบับเก่าและบางตอนจากกฎหมายแพ่งของ
สวิสเซอร์แลนด์มารวมไว้ ด้วย
11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 ได้ มีพระราชกฤษฎีกายกเลิกประมวลกฎหมาย
แพ่งฯ ฉบับเดิม เฉพาะบรรพ 1 และ 2 และประกาศใช้ ฉบับที่ได้ ตรวจชำระใหม่
แทน

พ.ศ. 2472 ได้ มีการประกาศให้ ใช้ บรรพ 3 ที่ชำระใหม่ แทนที่ฉบับเดิม

พ.ศ. 2473 ประกาศใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 4 โดยให้ ใช้


บังคับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2473

พ.ศ. 2478 ประกาศให้ ใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 และ 6


อย่างไรก็ดี การที่ชาวฝรั่งเศสมีส่วนร่วมในการร่างประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ชองไทยมาโดยตลอด ทำให้ กฎหมายฝรั่งเศสมีอทิ ธิพลพอสมควร เช่น
เรื่องสาธารณสมบัติของแผ่นดิน

ส่วนกฎหมายอังกฤษก็มีอท
ิ ธิพลเช่นเดียวกัน เช่น เรื่องล้ มละลาย ซื้อขาย ตัว๋ เงิน
การร่างประมวลกฎหมายวิธสี บัญญัต ิ
ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการออกกฎหมายวิธสี บัญญัติใช้ บังคับไปพลางก่อน เมื่อ ร.ศ.
115 และกฎหมายลักษณะพยาน ร.ศ. 113
มีการประกาศใช้ พระธรรมนูญศาลยุติธรรม และพระราชบัญญัติวิธพ ี ิจารณาความ
แพ่ง ในปี ร.ศ. 127
การจัดทำร่างประมวลกฎหมายวิธพ ี ิจารณาความได้ เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2453 แต่ได้
มาทำอย่างจริงจังเมื่อ พ.ศ. 2475
จนกระทั้งแล้ วเสร็จในปี พ.ศ. 2477 ได้ มีการประกาศใช้ พระธรรมนูญศาล
ยุติธรรม ประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความแพ่ง และประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณา
ความอาญา มีผลใช้ บังคับเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2478
กฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา
 เรอเน่ กียอง มีบทบาทสำคัญในการจัดทำร่างกฎหมายวิธพ
ี ิจารณาความอาญาอย่างมาก
โดยได้ เสนอให้
 1) อาศัยระบบกฎหมายไทยที่มีอยู่เป็ นหลัก
 2) สำหรับกฎหมายต่างประเทศ ให้ ดูกฎหมายของแอฟริกาใต้ และลังกา ที่ดูตัวอย่างจาก
ประเทศฮอนแลนด์
 3) ระบบการสอบสวนเป็ นแบบ ให้ ศาลเป็ นผู้ท ำการสอบสวน (ตามที่ใช้ อยู่)
 ทำอย่างจริงจังหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 (เริ่มตั้งคณะกรรมการ
ตั้งแต่ พ.ศ.2457)
 กรมร่างกฎหมายมอบหมายให้ นายเรมี เดอปลังเตโรส ยกร่างประมวลกฎหมายฯ จนแล้ ว
เสร็จในปี พ.ศ.2476 และประกาศใช้ เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2478 และมีผลใช้
บังคับในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2478
มีข้อพิจารณาบางประการเกี่ยวกับการร่างประมวลกฎหมายวิธพ
ี ิจารณาความอาญา
เรื่องการจำกัดอำนาจฟ้ องคดีอาญา – ควรให้ ท้งั พนักงานอัยการและผู้เสียหายฟ้ อง
คดีอาญาได้ ด้วย
การสอบสวน – ควรทำโดยพนักงานฝ่ ายปกครอง และพนักงานอัยการ ซึ่งช่วงแรก
ไทยให้ ศาลเป็ นผู้ท ำการสอบสวน โดยยึดหลักกฎหมายอังกฤษ
การฎีกา – ฎีกาได้ เฉพาะปัญหาข้ อกฎหมาย ไม่สามารถฎีกาปัญหาข้ อเท็จจริงได้
แต่ฎกี าได้ ในความผิดทุกประเภท
ต่อมากงสุลใหญ่องั กฤษ คัดค้ าน โดยเฉพาะเรื่องระบบการสอบสวน
ไทยจึงได้ ยกกฎหมายของแอฟริกาใต้ ซ่ึงผสมผสานกฎหมายของอังกฤษและภาค
พื้นยุโรปเพื่อต่อสู้กบั อังกฤษ
กฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง
การร่ างประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ใช้เค้าโครงเดิมของพระราชบัญญัติ
วิธีพิจารณาความแพ่ง ร.ศ. 127 ที่กรมหลวงราชบุรีฯ เป็ นผูม้ ีบทบาทสำคัญในการร่ าง
โดยอาศัยกฎหมายของอังกฤษและอินเดียเป็ นหลัก
ระหว่าง พ.ศ.2454 – 2457 นายริ วแิ อร์ ชาวฝรั่งเศส ได้รับมอบหมายให้เป็ นผูย้ กร่ าง
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง โดยได้อาศัยบทบัญญัติเดิม และเพิ่มเติม
กฎหมายฝรั่งเศส และกฎข้อบังคับว่าด้วยวิธีพิจารณาในศาลกงสุ ลของอังกฤษใน
ประเทศไทย พ.ศ. 2441 ไว้ดว้ ย
ต่อมา พ.ศ. 2457 นายชาร์ ลส์ เลเวส์ก ได้รับมอบหมายให้เป็ นผูย้ กร่ างต่อจากนายริ วิ
แอร์ และทำจนแล้วเสร็ จในปี พ.ศ. 2478 และได้มีการประกาศใช้ในวันที่ 1 ตุลาคม
2478
อิทธิพลขอกฎหมายอังกฤษ
1. การนำกฎหมายอังกฎหมายมาใช้ในระยะแรก โดยเฉพาะหลักเรื่องการพาณิชย์
โดยเป็ นการหยิบมาใช้ เป็ นส่วนๆ
 สินจ้ าง กฎหมายปิ ดปาก ทรัสตี
 ล้ มละลาย พยาน ซื้อขาย หุ้นส่วน ตัว๋ เงิน

2. คำสอนในโรงเรียนกฎหมาย
 หลักกฎหมายอังกฤษถูกนำมาสอนในโรงเรียนกฎหมายด้ วย รวมทั้ง
แนวคิดทางนิติปรัชญาของจอห์น ออสติน (สำนักกฎหมายบ้ านเมือง)
อิทธิพลของกฎหมายภาคพืน้ ยุโรป
1. กฎหมายอาญา ใช้ แนวคิดของประเทศที่ใช้ ประมวลกฎหมายเป็ นหลัก ประกอบ
กับหลักกฎหมายเก่าของไทย (อั้งยี่ ซ่องโจร ปล้ นทรัพย์)

2. กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มีโครงร่างและแนวคิดจากกฎหมายภาคพื้นยุโรป
โดย 4 บรรพแรก อาศัยโครงของเยอรมันเป็ นหลัก (แต่ไทยแยกเอกเทศสัญญา
ไว้ ต่างหาก) กล่าวคือ
1. บรรพ 1 บรรพ 2 เลียนแบบจากญี่ปุ่น
2. บรรพ 3 มีกฎหมายอังกฤษปนอยู่ เรื่อง ตัว๋ เงิน หุ้นส่วนบริษัท
3. บรรพ 4 ใช้ ตามแบบซีวิลลอว์ เช่น กรณีกรรมสิทธิ์เหนือ
อสังหาริมทรัพย์ ผู้มีช่ ือในทะเบียนย่อมมีสทิ ธิดีกว่า ส่วนสังหาริมทรัพย์
ผู้ใดครอบครองทรัพย์โดยสุจริตย่อมมีสทิ ธิดีกว่า
การผสมผสานความคิดสมัยใหม่เข้ากับสังคมไทย
ในการรับกฎหมายจากต่างประเทศนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว
ทรงมีพระราชดำรัสให้ ดูกฎหมายของต่างชาติได้ แต่อย่าตามไปเสียหมดทีเดียว
ควรเลือกเอามาในสิ่งที่ดี และยกเลิกสิ่งที่ไม่ดี โดยควรให้ สอดคล้ องกับธรรมเนียม
ของเราแต่เดิมด้ วย

ดังนั้น ในการจัดทำประมวลกฎหมายต่างๆ จึงต้ องคำนึงถึงอยู่เสมอว่าบทบัญญัติ


นั้นๆ เหมาะสมกับสังคมไทยหรือไม่ โดยเฉพาะเรื่อง ครอบครัว
แนวคิดเรื่องผัวเดียวเมียเดียว อาจต่างจากแนวคิดดั้งเดิมของสังคมไทย แต่ไทยก็
ยอมรับแนวคิดนี้โดยใช้ ระบบจดทะเบียนเป็ นตัวกำหนด แต่หากฝ่ าฝื นก็ไม่ถงึ กับ
เป็ นความผิดอาญาฐานสมรสซ้ อนเหมือนอย่างบางประเทศ (เช่น อิสราเอล
เนเธอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ เป็ นต้ น )

กฎหมายอาญา เช่น เรื่อง การกำหนดโทษฐานฆ่าผู้บุพการีให้ มีโทษหนักกว่าฆ่าคน


ธรรมดา

เรื่องการห้ ามผู้สบ
ื สันดานฟ้ องผู้บุพการี หรือคดีอทุ ลุม เป็ นต้ น
1. กม.สมัยสุโขทัย
2. ก.ม.อยุธยา (คัมภีร์พระธรรมศาสตร์)
3. ก.ม.รัตนโกสินทร์ตอนต้ น (กฎหมายตราสามดวง)
4. มูลเหตุในการปฏิรปู กฎหมาย รัชกาลที่ 4
5. การปฏิรปู การศาลและกฎหมายในสมัย รัชกาลที่ 5

You might also like