You are on page 1of 41

กองทัพบก

ระเบียบและหลักสูตรการฝึก
การฝึก อาสาสมัครทหารพรานเบื้องต้น (หญิง)

ของ

หน่วยรบพิเศษ
( ๔ สัปดาห์ )

ลฝ.๓๗ – ๑๓ – ๒
_____________
พ.ศ. ๒๕๖๓
กองทัพบก

ระเบียบและหลักสูตรการฝึก
การฝึก อาสาสมัครทหารพรานเบื้องต้น (หญิง)

ของ

หน่วยรบพิเศษ
( ๔ สัปดาห์ )

ลฝ.๓๗ – ๑๓ – ๒
_____________
พ.ศ. ๒๕๖๓
คำสั่งกองทัพบก
ที่ ............... / ๒๕๖๓
เรื่อง ให้ใช้หนังสือตำราในราชการ

กองทัพบกได้ดำเนินการจัดทำระเบียบและหลักสูตรการฝึก การฝึก อาสาสมัครทหารพราน


เบื้องต้น (หญิง) (๔ สัปดาห์) ปี พ.ศ.๒๕๖๓ เสร็จเรียบร้อยแล้ว ดังนั้นจึงให้หน่วยที่เกี่ยวข้องยึดถือระเบียบ
และหลักสูตรการฝึก ดังกล่าว เป็นหลักฐานในการจัดการฝึก , ดำเนินการฝึก, ตรวจสอบประเมินผลและ
สนับสนุนการฝึกของหน่วย ทั้งนี้ให้หน่วยต่าง ๆ เสนอใบเบิกเพื่อขอรับระเบียบและหลักสูตรได้ตาม ผนวก
การเบิกรับและอัตราการจ่าย ประกอบคำสั่งนี้ต่อไป
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
สั่ง ณ วันที่ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

รับคำสั่ง ผบ.ทบ.
พล.ท.
( วิสันติ สระศรีดา )
จก.ยศ.ทบ.
ยศ.ทบ.
สำเนาถูกต้อง
ลงชื่อ ............................................
(...........................................)
ตำแหน่ง
.............../.............../................
ผนวก การเบิกรับ และอัตราการแจกจ่าย ระเบียบและหลักสูตรการฝึก
ประกอบ คำสั่ง ทบ.ที่ /๒๕๖๓ ลง ต.ค.๖๓
ลฝ.๓๗ – ๑๓ – ๒ ระเบียบและหลักสูตรการฝึก การฝึกอาสาสมัครทหารพรานเบื้องต้น (หญิง)
ของ หน่วยรบพิเศษ (๔ สัปดาห์) ปี พ.ศ.๒๕๖๓

๑. หน่วยเบิก
๑.๑ นขต.ทบ. (เว้น ทภ.), นขต.ยศ.ทบ. และหน่วยนอก ทบ. เบิก – รับ ได้จาก ยศ.ทบ.
๑.๒ มทบ. เบิกรับจาก ยศ.ทบ. เพื่อแจกจ่ายให้ ทภ., หน่วยในบังคับบัญชา ทภ. และหน่วยในพื้นที่ มทบ.
๒. อัตราแจกจ่าย
๒.๑ หน่วยใน ทบ.
- กรมฝ่ายเสนาธิการ เว้น กพ.ทบ., ขว.ทบ., กร.ทบ. และ สปช.ทบ. (๒)
- กรมฝ่ายกิจการพิเศษ เว้น กง.ทบ., จบ.สก.ทบ., สบ.ทบ. และ สตช.ทบ. (๒)
- กรมฝ่ายยุทธบริการ เว้น ยย.ทบ. และ พบ. (๒)
- ยศ.ทบ. (๑๐), ศฝยว.ทบ., ศร., ศม., ศบบ. (๒), รร.ร.ศร.,รร.ม.ศม., รร.ป.ศป. (๕), ศสพ. (๒๐),
รร.สพศ.ศสพ. (๑๐), รร.จปร., รร.สธ.ทบ., วทบ., รร.เหล่าสายวิทยาการ, ศูนย์การศึกษา, ห้องสมุด
รร.เหล่าสายวิทยาการ (๑)
- ทภ., ทน. (๒), กองพล (๒), กรม (๒)
- รร.ทพ.ทบ. (๑๐)
- กรม ทพ. (๑๐), ฝทพ.ทภ. (๕) และ ฉก.ทพ.นย. (๓), ร้อย.ทพ. (๓), มว.ทพ.หญิง (๒)
๒.๒ หน่วยนอก ทบ.
- ห้องสมุด กห., ศวจ., ยก.ทหาร, ทร., ทอ. (๒), รร.ตท., ตชด. (๒)
วัตถุประสงค์การฝึกศึกษาของกองทัพบก
 เป็นผู้นำที่ดี มีคุณธรรม
 มีความรู้และประสบการณ์สำหรับการในหน้าที่
 แข็งแรงทรหดอดทนต่อการตรากตรำทำงาน
คำนำ
ระเบียบและหลักสูตรการฝึก การฝึกอาสาสมัครทหารพรานเบื้องต้น (หญิง) เล่มนี้ ได้รวบรวม
จากหลักฐานคู่มือราชการสนาม เอกสารพิเศษ และคู่มือเทคนิคที่ ทบ. อนุมัติให้ใช้เป็นหลักฐานได้ ระเบียบ
ข้อบังคับ คำสั่งและคำชี้แจงต่าง ๆ ของ ทบ. ที่เกี่ยวข้องกับการฝึก เพื่อใช้เป็นแนวทาง สำหรับใช้อ้างอิงในการ
วางแผนและดำเนิ น การฝึ ก ทหารพรานเบื ้ อ งต้ น (หญิ ง ) ของ โรงเรี ย นทหารพรานกองทั พ บก ให้ เ กิ ด
ประสิทธิภาพสูงสุดและสามารถปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบจากผู้บังคับบัญชาให้บรรลุผล ตามวัตถุประสงค์และ
ความมุ่งหมายที่ ทบ. กำหนด
ระเบียบหลักสูตรการฝึกเล่มนี้ หากหน่วยใดมีความประสงค์ที่จะให้ข้อเสนอแนะ ในการปรับปรุง
แก้ไ ข กรุณาระบุ หน้า , ข้อ, บรรทัด ตามที่ปรากฏในระเบียบ และหลักสูตรการฝึกนี้และควรให้เหตุผล
ประกอบ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ และสามารถประเมินค่าในการดำเนินการปรับปรุงแก้ไ ขได้อย่าง
สมบูรณ์ ข้อคิดเห็นดังกล่าวนี้ ขอให้ส่ง ไปที่ กองวิทยาการ ศูนย์สงครามพิเศษ ต.ทะเลชุบศร อ.เมือง
จ.ลพบุรี ๑๕๐๐๐

หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
สารบัญ
บทที่ เรื่อง หน้า
๑ ระเบียบการฝึก
ตอนที่ ๑ กล่าวทั่วไป ๑
ตอนที่ ๒ การจัดการฝึก ๒
ตอนที่ ๓ การยิงปืน ๓
ตอนที่ ๔ การตรวจสอบการฝึกและการรายงาน ๔
๒ หลักสูตรการฝึก
ตอนที่ ๑ ตารางกำหนดการฝึกหลัก ๕
ตอนที่ ๒ ตารางกำหนดการฝึกเป็นรายสัปดาห์ ( ๔ สัปดาห์) ๗
ตอนที่ ๓ แถลงหลักสูตรการฝึก ๑๐
ตอนที่ ๔ ตารางการฝึกยิงปืน ๒๔
๓ การสนับสนุนการฝึก
ตอนที่ ๑ สป.๓ ๒๙
ตอนที่ ๒ สป.๕ ๓๑
ตอนที่ ๓ งบประมาณการฝึก ๓๒
๔ ประกอบระเบียบและหลักสูตรการฝึก ๓๕
ผนวก ก ตารางกำหนดการฝึกหลัก (แบบไม่มีขั้นการฝึก)
ผนวก ข ตารางกำหนดการฝึกหลัก (แบบมีขั้นการฝึก)
ผนวก ค ตารางกำหนดการฝึกประจำสัปดาห์ (แบบไม่มีขั้นการฝึก)
ผนวก ง ตารางกำหนดการฝึกประจำสัปดาห์ (แบบมีขั้นการฝึก)
ผนวก จ ตารางแถลงหลักสูตรการฝึก (แบบไม่มีขั้นการฝึก)
ผนวก ฉ ตารางแถลงหลักสูตรการฝึก (แบบมีขั้นการฝึก)
ผนวก ช ตารางการฝึกประจำวัน
ผนวก ซ ตารางกำหนดการฝึกเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง
ผนวก ด ตารางความต้องการสิ่งอุปกรณ์สิ้นเปลือง (การฝึกและธุรการ)
ผนวก ต ตารางความต้องการสิ่งอุปกรณ์ (สาย สพ., สาย วศ., สาย ส., สาย พ. และ เป้า)
ผนวก ถ ตารางความต้องการยานพาหนะ (การฝึกและธุรการ)
ผนวก ท ตารางความต้องการยานพาหนะและสิ่งอุปกรณ์ประเภทที่ ๓ (งานการฝึกทั่วไป)
ผนวก น ตารางรายงานผลการตรวจสอบและประเมินการฝึกเป็นรายวิชา (เฉพาะเรื่อง)
ประกอบความคิดเห็น (บุคคล)
ผนวก บ ตารางรายงานผลการตรวจสอบและประเมินการฝึกเป็นรายวิชาประกอบความเห็น
(บุคคล)
ผนวก ป ตารางรายงานสรุปผลการตรวจสอบและประเมินการฝึกเป็นรายวิชา (ส่วนรวม)
ประกอบความคิดเห็นในภาพรวม (เป็นหน่วย)
บทที่ ๑
ระเบียบการฝึก
ตอนที่ ๑
กล่าวทั่วไป
๑. ความมุ่งหมาย
ระเบียบและหลักสูตรการฝึก อาสาสมัครทหารพรานหญิงเบื้องต้น กำหนดขึ้นเพื่อ ใช้เป็นแนวทาง
สำหรับการฝึกอบรมอาสาสมัครทหารพรานหญิงทีไ่ ด้รับการคัดเลือกมาบรรจุใหม่ หรือบรรจุทดแทนในหน่วย
ทหารพรานที่ขาดอัตรา หรือ ที่จัดตั้งขึ้นใหม่ โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้อาสาสมัครทหารพรานหญิงใหม่ ได้รับ
การฝึกในวิชาทหารเบื้องต้น เป็นรายบุคคล ตลอดจนเรื่อง หรือวิชา ตามนโยบายการปฏิบัติงาน เพื่อให้มีความ
พร้อมในการปฏิบัติงานในหน่วย ที่สอดคล้องกับการปฏิบัติภารกิจ ของทหารพรานหญิงในปัจจุบัน และเป็น
พื้นฐานในการเข้ารับ การฝึกเป็นหน่วยในระดับสูงขึ้นต่อไป

๒. วัตถุประสงค์
หลักสูตรการฝึกนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อฝึกอบรมอาสาสมัครทหารพรานหญิงใหม่ ที่ได้รับการคัดเลือกมา
บรรจุทดแทนในหน่วยทหารพรานที่ขาดอัตราหรือที่จัดตั้งขึ้นใหม่ให้มีความรู้ความสามารถและมีคุณสมบัติ ดังนี้
๒.๑ ปรับสภาพทางร่างกายและจิตใจจากการดำเนินชีวิตแบบพลเรือนมาเป็นการดำเนินชีวิตในแบบ
ทหารพราน ในกรณีต่อไปนี้
๒.๑.๑ เพื่อให้ทราบถึง คุณลักษณะและท่าทางของทหาร ที่จะนำไปปรับปรุงตนเองให้มี ความ
คุ้นเคยกับชีวิตแบบทหาร กับให้เรียนรู้ถึงวิธีการปฏิบัติตน เพื่อการอยู่ และปฏิบัติงานได้อย่างมีระบบ และเป็น
ระเบียบ
๒.๑.๒ เพื่อให้ทราบถึง แบบธรรมเนียมของทหาร ที่จำเป็นจะต้องนำไปใช้ประพฤติ ปฏิบัติตน
ตลอดห้วงเวลาที่รับราชการ
๒.๑.๓ เพื่อปลูกฝังจิตใจให้มีคุณธรรมที่ดีงามซึ่งจะเป็นเครื่องส่งเสริมให้ทหารพรานใหม่ เป็น
บุคคลที่มีคุณค่าต่อกองทัพบก มีอุดมการณ์เพื่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และประชาชน
๒.๑.๔ เพื่อปลูกฝังให้มีส่วนร่วม และธำรงรักษาไว้ ซึ่งระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยอัน
มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๒.๑.๕ เพื่อปลูกฝังให้มี กิริยามารยาทที่ดีงาม เป็นผู้มีวินัยและขวัญอันสูงส่ง เป็นผู้มีคุณค่าทาง
สังคม เป็นพลเมืองดีของประเทศ และให้เป็นทีเชื่อถือ เลื่อมใสและศรัทธาจากประชาชน
๒.๑.๖ เพื่อเสริมสร้างให้มีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงเป็นมาตรฐานเดียวกัน ทรหดอดทนต่อการ
ปฏิบัติงานอย่างตรากตรำ ในพื้นที่ห่างไกลและทุรกันดาร ได้อย่างต่อเนื่อง
๒.๒ ฝึกฝนให้มีความรู้ในวิชาการทหารเบื้องต้นที่จำเป็นต้องรู้ในวิชาการต่าง ๆดังต่อไปนี้
๒.๒.๑ วิชาทหารทั่วไป ให้มีความรู้ในเรื่องการติดต่อสื่อสาร การอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ
การใช้เครื่องมือหาพิกัดด้วยดาวเทียม การข่าวเบื้องต้น การปฐมพยาบาลและสุขอนามัย และงานด้านกิจการ
พลเรือน ตลอดจนจนการปฏิบัติการจิตวิทยา และการประชาสัมพันธ์
๒.๒.๒ วิชาการใช้อาวุธให้มีความรู้ในเรื่องการใช้อาวุธประจำกายและการปรนนิบัติบำรุงรักษา
อาวุธยุทโธปกรณ์
๒.๒.๓ วิชายุทธวิธี ให้มีความรู้ในเรื่องที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการรบเป็นบุคคลและ เป็นหน่วยใน
ระดับชุดปฏิบัติการพื้นฐาน โดยให้ทราบถึงเทคนิค และวิธีการ ของหน่วยทหารขนาดเล็กปฏิบัติการเป็นอิสระ
หน้า ๒ บทที่ ๑

๓. ขอบเขตการฝึก
๓.๑ ห้วงระยะเวลาการฝึก ๔ สัปดาห์ โดยทำการฝึกวันจันทร์ถึงวันเสาร์ (เว้นวันอาทิตย์) วันละ ๘ ชม.
สำหรับ ชม. สุดท้ายของแต่ละวันให้ทำการฝึก กายบริหารวันละ ๑ ชม.
๓.๒ เรื่องที่ทำการฝึก ประกอบด้วย
๓.๒.๑ การฝึกเบื้องต้นได้แก่ บุคคลท่ามือเปล่า บุคคลท่าอาวุธ และ การฝึกแถวชิด
๓.๒.๒ การฝึกวิชาทหารทั่วไปได้แก่ การติดต่อสื่อสาร การอ่านแผนที่ และการใช้เข็มทิศ การใช้
เครื่อง หาพิกัดด้วยดาวเทียม การข่าวเบื้องต้น การปฐมพยาบาลและสุขอนามัย และงานด้านกิจการพลเรือน
ตลอดจนจนการปฏิบัติการจิตวิทยา และการประชาสัมพันธ์
๓.๒.๓ การฝึกวิชาการใช้อาวุธได้แก่ การใช้อาวุธประจำกาย อาวุธประจำหน่วย ลูกระเบิดขว้าง
และการ ปรนนิบัติบำรุงอาวุธยุทโธปกรณ์
๓.๒.๔ การฝึกวิชายุทธวิธีได้แก่ การฝึกบุคคลทำการรบในเวลากลางวัน การฝึกบุคคลทำการรบ
เวลากลางคืน การลาดตระเวน การตีโฉบฉวย การปฏิบัติฉับพลันการซุ่มโจมตี การต่อต้านการซุ่มโจมตี การตั้ง
ฐานปฏิบัติการ การเล็ดลอดและหลบหนี การดำรงชีพในป่า การสะกดรอย การจัดตั้งจุดตรวจ/จุดสกัด และการ
ปิดล้อม/ตรวจค้น
๓.๓ หลักฐานการฝึก
๓.๓.๑ นโยบายการฝึก คำสั่งการฝึก บันทึกและ สั่งการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกทหารใน
แต่ละปีของ กองทัพบก
๓.๓.๒ คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การฝึกทหาร (รส. ๒๑-๕)
๓.๓.๓ คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย วิธีเตรียมการและดำเนินการฝึก ที่เน้นผลการปฏิบัติ
(รส. ๒๑-๖)
๓.๓.๔ คู่มือราชการสนามว่าด้วย เครื่องช่วยฝึก (รส. ๒๑-๘)
๓.๓.๕ คู่มือราชการสนาม คู่มือทางเทคนิค คู่มือการฝึก และหลักฐานเตรียมการฝึกทหาร
ใหม่ แต่ละวิชาที่กองทัพบก ได้อนุมัติให้ใช้เป็นหลักฐานได้
๓.๓.๖ ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง และคำชี้แจงต่าง ๆ ของกองทัพบกที่เกี่ยวข้อง ระเบียบและ
และหลักสูตรการฝึกอาสาสมัครทหารพรานเบื้องต้น กรมทหารพราน (๘ สัปดาห์)

๔. ความรับผิดชอบ
๔.๑ กองอำนวยการฝึกทหารพราน ที่กองทัพบก มอบหมายให้รับผิดชอบการฝึก เป็นผู้รับผิดชอบและ
ควบคุมเป็นส่วนรวม
๔.๒ การดำเนินการฝึก อยู่ในความรับผิดชอบของ ส่วนการฝึก กองอำนวยการฝึกทหารพราน

ตอนที่ ๒
การจัดการฝึก
๑. ความมุ่งหมาย
เพื่อให้หน่วยที่รับผิดชอบจัดการฝึกดำเนินการฝึกให้เป็นมาตรฐานและเป็นแบบอย่างเดียวกัน
ลฝ. ๓๗ - ๑๓ - ๒ หน้า ๓

๒. วิธีดำเนินการฝึก
๒.๑ การดำเนินการฝึก จะต้องยึดถือและปฏิบัติตาม รายละเอียดที่กล่าวไว้ในคู่มือราชการสนามว่าด้วย
วิธีเตรียมการและดำเนินการฝึกที่เน้นผลการปฏิบัติ (รส. ๒๑–๖)
๒.๒ การดำเนินการฝึก ควรให้ผู้เข้ารับการฝึกได้มีโอกาสปฏิบัติจริง ให้มากกว่าการสอนแบบบรรยาย
๒.๓ การฝึกหมุนเวียน เป็นวิธีการจัดการฝึกที่ดี จะช่วยให้ทหารพรานมีความตื่นตัวสามารถรับการ
ฝึก – สอน ได้อย่างทั่วถึง และการฝึกบ่อยๆ ไม่ใช้เวลามาก จะช่วยให้ทหารพรานได้มีโอกาสทบทวน ทำซ้ำ ทำ
ให้เข้าใจ และจดจำได้ดี
๒.๔ ควรทบทวนเรื่องต่างๆ ที่ได้ฝึกสอนไปแล้ว ให้เข้ากับเรื่องที่จะทำการฝึกสอนต่อไปในโอกาส อัน
เหมาะสม วิธีนี้ควรจะได้พยายามกระทำให้มากที่สุด
๒.๕การฝึกในเวลากลางคืนมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับทหารพรานดังนั้นจึง จำเป็นต้องฝึก
อย่างจริงจัง ภายใต้การกำกับดูแลอย่างเข้มงวด กวดขัน ของผู้บังคับบัญชา และอาจ พิจารณาขยายเวลา ทำการ
ฝึก ให้มากกว่าที่กำหนดไว้ในหลักสูตรการฝึก เท่าที่จะสามารถกระทำได้ โดยจะต้องเพ่งเล็งถึง วินัยของการฝึก
ในเวลากลางคืน เป็นพิเศษด้วย
๒.๖ การอบรม ถือว่ามีความสำคัญเท่าเทียมกับการฝึก ผู้บังคับบัญชาควรจะต้องสนใจกำกับดูแลให้มี
การอบรมอย่างจริงจัง ครบถ้วนตามหลักสูตรการฝึก และทำการอบรมด้วยตนเองอยู่เสมอ
๒.๗ การประเมินผลเป็นวิธีการอย่างหนึ่ง ที่ทำให้ทหารพราน มีความกระตือรือร้นอย่างต่อเนื่อง และ
สามารถยกระดับมาตรฐานการฝึกให้ดีขึ้น การประเมินผลที่กำหนดเกณฑ์มาตรฐานอย่างเหมาะสม ย่อมจะเป็น
การเสริมกำลังใจในการฝึกและสร้างความเชื่อมั่นในตัวเองได้อย่างดียิ่ง
๒.๘ ในกรณีที่มีกระสุนและวัตถุระเบิดเพียงพออาจจัดให้มีการแสดงคุณลักษณะและขีดความ สามารถ
ของอาวุธชนิดต่าง ๆ ที่มีอยู่ในอัตราของหน่วย ทั้งนี้เพื่อให้ผู้รับการฝึกเกิดความเชื่อมั่น ความคุ้นเคยและมีความ
มั่นใจในการฝึก
๒.๙ เพื่อให้การดำเนินการฝึกเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า การฝึกในหลักสูตรนี้ แต่
ละครั้งควรมีทหารพรานใหม่ที่เข้ารับการฝึก จำนวนไม่นอ้ ยว่า ๓๐ คน (เว้น เป็นนโยบายของ กองทัพบก) โดย
ให้กองทัพภาค รวบรวมจำนวนอาสาสมัครทหารพรานที่ขาดอัตราของแต่ละ กรมทหารพราน ในกองทัพภาค
รายงานกองทัพบก เพื่อขออนุมัติบรรจุทดแทน โดยเปิดรับสมัครและทำการคัดเลือก แล้วดำเนินการส่งให้ศูนย์
การฝึกทหารพราน ดำเนินการฝึกตามระเบียบและหลักสูตรการฝึกนี้

ตอนที่ ๓
การยิงปืน
๑. ความมุ่งหมาย
๑.๑ เพื่อให้ทหารพราน ได้ทราบถึงเทคนิคการใช้อาวุธประจำกายอย่างถูกต้อง สามารถทราบสาเหตุ
การติดขัด และแก้ไขเหตุติดขัดในขั้นต้นได้ ให้ทราบถึง ๘ ขั้นตอน ในการทำงานของอาวุธ
๑.๒ เพื่อให้ทหารพราน มีความคุ้นเคย และความเชื่อมั่นในการใช้อาวุธประจำกายอย่างมีประสิทธิผล
และเกิดประสิทธิภาพอย่างสูงสุดเมื่อใช้งาน
๑.๓ ให้ทราบสมรรถนะของอาวุธประจำกายและเทคนิคใหม่ ๆ ที่จะนำมาประยุกต์ใช้กับตัวบุคคล ใน
การปฏิบัติงานจริง ๆ
หน้า ๔ บทที่ ๑

๒. วิธีดำเนินการ
๒.๑ ทหารพรานทุกคนต้องได้รับการฝึกยิงปืนตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรการฝึกนี้ และจะต้องเพ่งเล็ง
ให้ทุกคน ได้ใช้อาวุธประจำกายอย่างเป็นประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ โดยจัดให้ทหารพรานได้รับการฝึก ยิง
ปืนด้วยกระสุนจริง ไปตามขั้นตอนอย่างถูกต้อง และในขณะที่ทำการฝึกสอนนั้นจะต้องจัดให้ มีผู้ช่วยครูฝึก หรือ
ครูฝึก คอยให้คำแนะนำอย่างใกล้ชิด
๒.๒ การยิงปืนด้วยกระสุนจริง และการใช้วัตถุระเบิดทุกชนิด จะต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัย
โดยปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในการรักษาความปลอดภัยอย่างถูกต้อง และจะต้องปฏิบัติตามรายละเอียด ที่กำหนด
ไว้ในคู่มือราชการสนาม, คู่มือการฝึก, คู่มือทางเทคนิค, หลักฐานเตรียมการฝึก, คำสั่ง, คำชี้แจง และ แบบธรรม
เนียม ที่เกี่ยวกับการฝึกของกองทัพบกอย่างเคร่งครัด

ตอนที่ ๔
การตรวจสอบการฝึก และการรายงาน
๑. ความมุ่งหมาย
๑.๑ เพื่อให้ทหารพรานมีความสนใจ และกระตือรือร้นในการเรียน การสอน และการฝึก
๑.๒ เพือ่ ให้ทราบปัญหาข้อขัดข้องและข้อบกพร่องในการฝึก และนำไปปรับปรุงแก้ไข
๑.๓ เพือ่ เพิ่มทักษะพิเศษในการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว

๒. วิธีดำเนินการ
๒.๑ ให้หน่วยดำเนินการฝึก เป็นผู้ดำเนินการตรวจสอบ และรายงานผลการฝึกให้ กองอำนวยการฝึก
ทหารพราน และ หน่วยสายวิทยาการ ( ศสพ.) ทราบ เพื่อรายงานให้หน่วยเหนือต่อไป
๒.๒ หน่วยดำเนินการฝึก นำตรวจการฝึกอย่างใกล้ชิดเพื่อรับทราบ ปัญหา ข้อขัดข้อง และนำไปแก้ไข
ในโอกาสแรกที่สามารถทำได้ หรือนำไปปรับปรุงแก้ไขในการฝึกคราวต่อไป
๒.๓ การรายงานผล ให้กระทำทันทีเมื่อจบการฝึก ทั้งนี้เพื่อให้สามารถปรับปรุง แก้ไข ข้อบกพร่อง
ก่อนที่จะมีการฝึกในโอกาสต่อไป
๒.๔ ผู้ที่ทดสอบสมรรถภาพร่างกาย “ไม่ผ่าน” ให้หน่วยต้นสังกัด พิจารณาปลดออก หรือไม่บรรจุเข้า
รับราชการ

--------------------------------------------------
บทที่ ๒
หลักสูตรการฝึก
ตอนที่ ๑
ตารางกำหนดการฝึกหลัก
เวลา (ชม.)
ลำดับ เรื่องที่ทำการฝึกสอน หมายเหตุ
๑. การฝึกเบื้องต้น ๓๕
๑.๑ การฝึกบุคคลท่ามือเปล่า ๑๔
๑.๒ การฝึกบุคคลท่าอาวุธ ๑๔
๑.๓. การฝึกแถวชิด ๗
๒. การเสริมสร้างสมรรถภาพร่างกาย ๑๕ (๘)
๒.๑ กายบริหาร ๑๕ เวลา ๑๖๐๐ – ๑๗๐๐
๒.๒ การทดสอบร่างกาย (๘) วันอาทิตย์ จำนวน ๒ ครั้ง
๓. วิชาทหารทั่วไป ๕๔
๓.๑ การปฐมพยาบาล (การป้องกันโรคลมร้อนระหว่างการฝึก) ๒
๓.๒ การป้องกันอันตรายจาก เคมี ชีวะ รังสี และ นิวเคลียร์ ๒
การป้องกันโรคโควิด ๑๙ เป็นบุคคล
๓.๓ การปฏิบัติการจิตวิทยา ๑๗
๓.๔ การประชาสัมพันธ์ ๑๗
๓.๕ การติดต่อสื่อสาร ๒
๓.๖ การอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ, ๔
การใช้เครื่องมือหาพิกัดด้วยดาวเทียม
๓.๗ การปฐมพยาบาล ๘
๓.๘ การข่าวเบื้องต้น ๒
๔. การฝึกใช้อาวุธ ๒๓
๔.๑ การฝึกใช้อาวุธประจำกาย ๑๓
๔.๒ การฝึกใช้ลูกระเบิดขว้าง ๑๐
๕. การฝึกทางยุทธวิธี ๒๙ (๔)
๕.๑ บุคคลทำการรบในเวลากลางวัน ๖
๕.๒ บุคคลทำการรบในเวลากลางคืน (๔)
๕.๓ การลาดตระเวน ๓
๕.๔ การตีโฉบฉวย ๓
๕.๕ การซุ่มโจมตี/ การต่อต้านการซุ่มโจมตี ๓
๕.๖ การตั้งจุดตรวจ/ จุดสกัด ๓
๕.๗ การปิดล้อม/ ตรวจค้น ๓
๕.๘ การปฏิบัติการในเขตพื้นที่เมือง ๔
๕.๙ การรบในป่าและภูเขา ๔
หน้า ๖ บทที่ ๒

ลำดับ เรื่องที่ทำการฝึกสอน เวลา (ชม.) หมายเหตุ


๖. การอบรม (๓๔) เวลา ๑๙๐๐ – ๒๑๐๐
๖.๑ แบบธรรมเนียมทหาร (๖) เว้น วันที่ทำการฝึกกลางคืน
๖.๒ สิทธิและหน้าที่ของทหารพราน (๒)
๖.๓ มารยาทและวินัยทหาร (๔)
๖.๔ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ (๔)
ทรงเป็นประมุข
๖.๕ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่ทหารควรทราบ (๔)
๖.๖ การปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมืองและโครงการจิตอาสา (๔)
๖.๗ ประวัติศาสตร์ชาติไทย (๒)
๖.๘ คุณธรรม, จริยธรรม (๔)
๖.๙ บทเรียนจากการรบ (๔)
๗. การฝึกภาคสนาม ๒๔ ฝึก ๓ วัน
๘. เวลาผู้บังคับบัญชา ๑๒
รวม ๑๙๒ (๔๖)

หมายเหตุ ๑. ห้วงการฝึก ๔ สัปดาห์ จำนวน ๒๘ วัน (ไม่รวมพิธีเปิด – ปิดการฝึกและ เวลาธุรการ)


๒. ทำการฝึก วันจันทร์ – วันเสาร์ เว้น อาทิตย์
๓. ทำการฝึกวันละ ๘ ชม. สำหรับ ชม. สุดท้ายให้ทำการฝึกกายบริหารวันละ ๑ ชม.
๔. เวลาในวงเล็บ (-) หมายถึงการฝึกและการอบรมในเวลากลางคืน
ลฝ. ๓๗ – ๑๓ - ๒
ตอนที่ ๒
ตารางกำหนดการฝึกเป็นรายสัปดาห์
หลักสูตรประกอบเวลา (สัปดาห์ที่ ๑ – สัปดาห์ที่ ๔)
เวลา สัปดาห์ที่ ๑ สัปดาห์ที่ ๒ สัปดาห์ที่ ๓ สัปดาห์ที่ ๔
ลำดับ เรื่องที่ทำการฝึกสอน
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
๑. การฝึกเบื้องต้น ๓๕
๑.๑ การฝึกบุคคลท่ามือเปล่า ๑๔ - ๗ ๗ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๑.๒ การฝึกบุคคลท่าอาวุธ ๑๔ - - - ๗ ๗ - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๑.๓. การฝึกแถวชิด ๗ - - - - - ๗ - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๒. การเสริมสร้างสมรรถภาพร่างกาย ๑๕(๘)
๒.๑ กายบริหาร ๑๕ - ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ - ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ - - - - - - -
๒.๒ การทดสอบร่างกาย (๘) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๓. วิชาทหารทั่วไป ๕๔
๓.๑ การปฐมพยาบาล (โรคลมร้อน) ๒ ๒ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๓.๒ การป้องกันอันตรายจาก เคมี,ชีวะ,รังสี ๒ ๒ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
นิวเคลียร์ และการป้องกันโรค โควิด ๑๙
๓.๓ การปฏิบัติการจิตวิทยา ๑๗ - - - - - - - - - ๔ - - ๓ - ๔ - ๒ - - - - - ๔
๓.๔ การประชาสัมพันธ์ ๑๗ - - - - - - - - - - ๔ - - ๓ - ๔ ๒ - - - - - ๔
๓.๕ การติดต่อสื่อสาร ๒ - - - - - - - - - - - - - ๒ - - - - - - - - - -
๓.๖ การอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ, ๔ - - - - - - - - - - - ๔ - - - - - - - - - - - -
การใช้เครื่องหาพิกัดด้วยดาวเทียม
๓.๗ การปฐมพยาบาล ๘ ๔ - - - - - - - - - - - ๒ ๒ - - - - - - - - - -
๓.๘ การข่าวเบื้องต้น ๒ - - - - - - - - - - - - ๒ - - - - - - - - - - -

หน้า ๗
๔. การฝึกใช้อาวุธ ๒๓
เวลา สัปดาห์ที่ ๑ สัปดาห์ที่ ๒ สัปดาห์ที่ ๓ สัปดาห์ที่ ๔

หน้า ๘
ลำดับ เรื่องที่ทำการฝึกสอน
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
๔.๑ การฝึกใช้อาวุธประจำกาย ๑๓ - - - - - - ๓ ๓ ๓ - - - - - - - - - - - - ๔ - -
๔.๒ การฝึกใช้ลูกระเบิดขว้าง ๑๐ - - - - - - ๒ ๒ ๒ - - - - - - - - - - - - ๔ - -
๕. การฝึกทางยุทธวิธี ๒๙(๔)
๕.๑ บุคคลทำการรบในเวลากลางวัน ๖ - - - - - - ๒ ๒ ๒ - - - - - - - - - - - - - - -
๕.๒ บุคคลทำการรบในเวลากลางคืน (๔) - - - - - - - - - - - (๔) - - - - - - - - - - - -
๕.๓ การลาดตระเวน ๓ - - - - - - - - - ๓ - - - - - - - - - - - - - -
๕.๔ การตีโฉบฉวย ๓ - - - - - - - - - ๓ - - - - - - - - - - - - -
๕.๕ การซุ่มโจมตี/ ต่อต้านการซุ่มโจมตี ๓ - - - - - - - - - - - - - - ๓ - - - - - - - - -
๕.๖ การตั้งจุดตรวจ/ จุดสกัด ๓ - - - - - - - - - - - - - - ๓ - - - - - - - -
๕.๗ การปิดล้อม/ ตรวจค้น ๓ - - - - - - - - - - - - - - - - ๓ - - - - - - -
๕.๘ การปฏิบัติการในเขตพื้นที่เมือง ๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - ๔ - - - - - -
๕.๙ การรบในป่าและภูเขา ๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - ๔ - - - - - -
๖. การอบรม (๓๔)
๖.๑ แบบธรรมเนียมทหาร (๖) - (๒) (๒) (๒) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๒ สิทธิและหน้าที่ของทหารพราน (๒) (๒) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๓ มารยาทและวินัยทหาร (๔) - - - - (๒) (๒) - - - - - - - - - - - - - - - - -
๖.๔ การปกครองในระบอบประชาธิปไตย (๔) - - - - - - - (๒) (๒) - - - - - - - - - - - - - - -
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๖.๕ กฎหมายที่ทหารควรทราบ (๔) - - - - - - - - - (๒) (๒) - - - - - - - - - - - - -
๖.๖ การปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมือง (๔) - - - - - - - - - - - - (๒) (๒) - - - - - - - - -
และโครงการจิตอาสา

บทที่ ๒
๖.๗ ประวัติศาสตร์ชาติไทย (๒) - - - - - - - - - - - - - - (๒) - - - - - - - - -
๖.๘ คุณธรรม, จริยธรรม (๔) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - (๒) (๒) -
เวลา สัปดาห์ที่ ๑ สัปดาห์ที่ ๒ สัปดาห์ที่ ๓ สัปดาห์ที่ ๔

ลฝ. ๓๗ – ๑๓ - ๒
ลำดับ เรื่องที่ทำการฝึกสอน
(ชม.) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
๖.๙ บทเรียนจากการรบ (๔) - - - - - - - - - - - - - - - (๒) (๒) - - - - - - -
๗. การฝึกภาคสนาม ๒๔ - - - - - - - - - - - - - - - - - - (๘) (๘) (๘) - - -
๘. เวลาผู้บังคับบัญชา ๑๒ - - - - - - - - - - - ๔ - - - - - - - - - - - ๘
รวม ๑๙๒(๔๖)

หน้า ๙
หน้า ๑๐
ตอนที่ ๓
แถลงหลักสูตรการฝึก
เวลา
ลำดับ วิชา (ชม.) เรื่องที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
๑. การฝึกเบื้องต้น ๓๕
๑.๑ การฝึกบุคคลท่ามือเปล่า ๑๔ ๑. การฝึกท่าตรง และท่าพัก ๑.คฝ.๗ – ๖ ๑.เพื่อเสริมสร้างให้มบี ุคลิกแบบ ๑.แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
๒. การฝึกท่าหันอยู่กับที่, ท่าก้าวทางข้าง ๒.คู่มือการฝึก ว่า ทหารที่สมบูรณ์ ๒.วิดีทศั น์การฝึกบุคคลท่า
และท่าก้าวถอยหลัง ด้วยแบบฝึกบุคคล ๒.เพื่อให้สามารถจดจำลักษณะ มือเปล่า
๓. การฝึกท่าเดินและท่าหยุดจากเดิน ท่ามือเปล่า รร. ท่าทางตามแบบฝึกได้โดย
๔. การฝึกท่าเปลี่ยนเท้าในขณะเดิน และ ทม.ทม.รอ. พ.ศ. ถูกต้อง สามารถนำไปใช้ปฏิบัติ
ท่าซอยเท้า ๒๕๖๐ ตามแบบธรรมเนียมของทหาร
๕. การฝึกท่าหันในเวลาเดิน ตลอดเวลาที่รับราชการ
๖. การฝึกท่าเคารพ
๗. การฝึกท่าวิ่ง, ท่าหยุดจากวิ่ง, ท่า
เปลี่ยนเท้าในขณะวิ่ง, ท่าเปลี่ยนจากวิ่ง
เป็นท่าเดิน และเปลี่ยนจากเดินเป็นวิ่ง
๑.๒ การฝึกบุคคลท่าอาวุธ ๑๔ ๑. การฝึกท่าเรียบอาวุธ, ท่าพัก ๑.คฝ.๗ – ๕ ๑.เพื่อเสริมสร้างให้มบี ุคลิกแบบ ๑.แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
๒. การฝึกท่าหันอยู่กับที่,ท่าคอนอาวุธ,ท่า ๒.คู่มือการฝึกว่า ทหารที่สมบูรณ์ ๒.วิดีทัศน์การฝึกบุคคลท่า
เฉียงอาวุธ และท่าอาวุธพร้อม ด้วยแบบฝึกบุคคล ๒. เพื่อให้สามารถจดจำ อาวุธ
๓. การฝึกท่าสะพายอาวุธ และแบกอาวุธ ท่าอาวุธ รร.ทม. ลักษณะท่าทางตามแบบฝึกได้
๔. การฝึกท่าเคารพ ทม.รอ. พ.ศ. โดยถูกต้อง สามารถนำไปใช้
๕. การฝึกท่าตรวจอาวุธและท่ารวมอาวุธ ๒๕๖๐ ปฏิบัติตามแบบธรรมเนียมของ
ทหารตลอดเวลาที่รับราชการ
๑.๓. การฝึกแถวชิด ๗ ๑. การฝึกแถวหน้ากระดาน ๑.คฝ.๗ – ๖ ๑.เพื่อเสริมสร้างให้มบี ุคลิกแบบ ๑. แผ่นภาพเครื่อง
๑.๑ แถวเดี่ยว, สองแถว, สามแถว ฯ ๒.คู่มือการฝึก ว่า ทหารที่สมบูรณ์ ช่วยฝึก

บทที่ ๒
๑.๒ การแยกคู่ขาด ด้วยแบบฝึกบุคคล ๒. เพื่อให้สามารถจดจำ การ ๒. วิดีทัศน์การฝึก
๑.๓ การนับ ท่ามือเปล่า รร. ปฏิบัติตามแบบฝึก ได้ถูกต้อง แถวชิด
ลฝ. ๓๗ – ๑๓ - ๒
เวลา
ลำดับ วิชา เรื่องที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๑.๔ การจัดแถว, การเปิด – ปิดระยะ ทม.ทม.รอ. สามารถนำไปปฏิบัติตามแบบ
๑.๕ การพักและการเลิกแถว ธรรมเนียมของทหารตลอด
๒. การฝึกแถวตอน เวลาที่รับราชการ
๒.๑ แถวเดี่ยว, สองแถว, สามแถว ฯ
๒.๒ การแยกคู่ขาด
๒.๓ การนับ
๒.๔ การจัดแถว, การเปิด – ปิดระยะ
๒.๕ การพักและการเลิกแถว
๒. การเสริมสร้างสมรรถภาพ ๑๕ (๘)
ร่างกาย
๒.๑ กายบริหาร ๑๕ - ให้ฝึกกายบริหารทุกวันที่ทำการฝึก โดย ๑.รส.๒๑ – ๒๐ ๑. เพื่อเสริมสร้างให้มีบคุ ลิก
ฝึกในเวลา ๑๖๐๐ – ๑๗๐๐ เว้น วันที่ ๒.คู่มือการฝึก ว่า แบบทหารที่สมบูรณ์
ทำการฝึกเวลากลางคืน ด้วยแบบฝึกบุคคล ๒. เพื่อให้มีความแข็งแรง
ท่ามือเปล่า รร. สมบูรณ์ทางกาย พร้อมสำหรับ
ทม.ทม.รอ. พ.ศ. การฝึก และการปฏิบัติงานใน
๒๕๖๐ พื้นที่
๒.๒ การทดสอบร่างกาย (๘) - ทดสอบสมรรถภาพร่างกายจำนวน ๒ คำสั่ง ทบ.ที่ ๗๘/ ๑. เพื่อทดสอบความ แข็งแรง
ครั้ง ในวันอาทิตย์สัปดาห์ที่ ๑ และ ๓๕ ลง ๒๙ ม.ค. สมบูรณ์ของร่างกาย และความ
สัปดาห์ที่ ๓ โดยใช้ท่าทดสอบและเกณฑ์ ๓๕ พร้อมสำหรับการฝึกต่อไป
การทดสอบของ กองทัพบก
๓. วิชาทหารทัว่ ไป ๕๔
๓.๑ การปฐมพยาบาล ๒ - ความรู้เบื้องต้น โรคลมร้อน และการ - - เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ
ป้องกันอันตรายจากความร้อนในการฝึก โรคลมร้อนใน เบื้องต้น สามารถ
สังเกตอาการโรคลมร้อนให้กับ
ตนเองและผู้อื่นได้ รวมทั้งรู้ถึง
วิธีการป้องกันอันตรายจากความ

หน้า ๑๑
ร้อนในการฝึก
หน้า ๑๒
เวลา
ลำดับ วิชา เรื่องที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๓.๒ การป้องกันอันตรายจาก ๒ - ความรู้เบื้องต้นโรคโควิด ๑๙ มาตรการ - เอกสาร ศบค. - เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ
เคมี,ชีวะ,รังสี นิวเคลียร์ และ และวิธีการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ๑๙ ทบ. โรคโควิด ๑๙ ทราบถึงวิธีการ
การป้องกันโรค โควิด ๑๙ โควิด ๑๙ เป็นบุคคล ป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
โควิด ๑๙ เป็นบุคคล
๓.๓ การปฏิบัติการจิตวิทยา ๑๗ - จิตวิทยาสังคม, โครงสร้างทางสังคม, - แนวสอน - เพื่อให้ทราบถึงหลักพื้นฐาน -
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม รร.สพศ.ศสพ. การ ปจว., วงรอบการ ปจว.,
- ความรู้เบื้องต้น หลักพื้นฐานการ ปจว., การ ปจว.ต่อ เป้าหมาย,การ
วงรอบการ ปจว., การ ปจว.ต่อ เป้าหมาย, รณรงค์ทางจิตวิทยา และการ
การรณรงค์ทางจิตวิทยา และการ ประเมินผลการ ปจว.
ประเมินผลการ ปจว. - การโฆษนาชวนเชื่อ เพื่อให้
- การโฆษนาชวนเชื่อ สามารถนำไปปฏิบัติงานได้
๓.๔ การประชาสัมพันธ์ ๑๗ - หลักพื้นฐานการประชาสัมพันธ์ - แนวสอน - หลักพื้นฐานการ - แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
- มนุษยสัมพันธ์ รร.สพศ.ศสพ. ประชาสัมพันธ์, มนุษยสัมพันธ์,
- ทัศนคติและการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ทัศนคติและการเปลี่ยนแปลง
- การปฏิบัติการข่าวสาร ทัศนคติ} การปฏิบัติการข่าวสาร
- กลยุทธการสื่อสารออนไลน์ ,การสร้างพลังมวลชน เพื่อให้
- การสร้างพลังมวลชน สามารถ
นำไปใช้ปฏิบัติงานได้
๓.๕ การติดต่อสื่อสาร ๒ - หลักในการติดต่อสื่อสาร, ความหมายและ - รส.๒๔ – ๕ - เพื่อให้รู้จักหลักในการ - แผ่นภาพและ เครื่องมือ
ประวัติของการสื่อสาร, ความสำคัญของ ติดต่อสื่อสารประเภทวิทยุ วิธีรับ สื่อสารที่มี ใช้อยู่ในหน่วย
การติดต่อสื่อสาร, หลักการติดต่อ สื่อสาร, – ส่งข่าว และสามารถปฏิบัติได้ ทหารพราน
ประเภทวิทยุ, ประมวลลับ และ รหัส, พล อย่างถูกต้อง
นำสาร, ทัศนสัญญาณ, เสียงสัญญาณ
๓.๖ การอ่านแผนที่และการใช้ ๔ ๑.สัญลักษณ์, สี และเครื่องหมายบนแผน -รส.๒๑ – ๒๖ ๑. เพื่อให้มีความรู้ในเรื่องการใช้ ๑. แผนที่
เข็มทิศ, การใช้เครื่องมือหา ที่ การใช้สัญลักษณ์และสีต่าง ๆ บนแผนที่ -คู่มือพลทหาร ว่า งาน และอ่านแผนที่เบื้องต้น ๒. เข็มทิศ

บทที่ ๒
พิกัดด้วยดาวเทียม ๒.ความหมายของเส้นกริด, การกำหนด ด้วยการ ปฏิบัติใน ๒. เพื่อให้สามารถใช้งานแผนที่ ๓. เครื่องหาพิกัดด้วย
ที่ตั้งโดยอาศัยเส้นกริด, การอ่านพิกัดที่ตั้ง สนาม พ.ศ.๒๕๑๖ ในการปฏิบัติงานในภูมิประเทศ ดาวเทียม
ลฝ. ๓๗ - ๑๓ - ๒
เวลา
ลำดับ วิชา เรื่องที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
ของจุดใดจุดหนึ่งบนแผนที่ -คู่มือการใช้ ได้ทั้งในกลางวันและกลางคืน ๔. แผ่นวัดมุม P 67
๓.มาตราส่วนบนแผนที่, มาตราส่วนเส้น งานเครื่องหา ๓. เพื่อให้สามารถใช้งานเครื่อง ๕. ดินสอ ยางลบ
บรรทัด, การวัดระยะบนแผนที่ โดยใช้ พิกัดด้วย หาพิกัดด้วยดาวเทียมในการ ๖. แผ่นภาพเครื่องมือ
เข็มทิศ, เครื่องมือ และมาตราส่วนเส้น ดาวเทียม ปฏิบัติงานได้
บรรทัด
๔.ทิศทาง มุมภาคทิศเหนือ, ความหมาย
และลักษณะของมุมภาคทิศเหนือกลับ
๕.การใช้เข็มทิศเลนเซติก, การเล็งเข็มทิศ
การอ่านค่ามุมภาคทิศเหนือ, การใช้
เข็มทิศเวลากลางคืน, ข้อควรระวังในการ
ใช้เข็มทิศ, การวางแผนที่ให้ถูกทิศ โดย
การใช้เข็มทิศ และไม่ใช้เข็มทิศ
๖. การวัดมุม และการกรุยทิศทางบน
แผนที่ วิธีวัดมุมภาคบนแผนที่
๗. การกำหนดจุดที่อยู่ลงในแผนที่ ด้วย
วิธีเล็งสกัดตรง และเล็งสกัดกลับ ด้วย
การใช้แผนที่ และเข็มทิศ๘. การใช้เครื่อง
หาพิกัดด้วยดาวเทียมหาพิกัดจุดที่ตั้ง จุด
ใดจุดหนึ่ง
๙. การฝึกใช้แผนที่ เข็มทิศ และเครื่องหา
พิกัดด้วยเทียมประกอบการเดินทางใน
ภูมิประเทศ
๓.๗ การปฐมพยาบาล ๘ ๑. การปฏิบัติต่อผู้บาดเจ็บและการ ๑.รส.๒๑ -๑๑ - เพื่อให้ทราบถึงกระบวนการที่ ๑. แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
พยาบาลฉุกเฉิน หลักการช่วยชีวิต เมื่อ ๒.คู่มือพลทหารว่า สำคัญและสิ่งที่เป็นอันตรายต่อ ๒. กระเป๋าพยาบาล
ทางเดินหายใจอุดตัน การผายปอด การ ด้วยการปฏิบัติใน ชีวิต เข้าเฝือกและ๓. สายรัด

หน้า ๑๓
ห้ามเลือด สนาม พ.ศ.๒๕๑๖ - ให้ทราบถึงแนวทางในการ ห้ามเลือด ผ้าพันแผล
เวลา

หน้า ๑๔
ลำดับ วิชา เรื่องที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๒. อาการกระดูกหัก และการเข้าเฝือก ๓.คู่มือพลเสนา ป้องกัน และแก้ไขอันตรายที่ พร้อมอุปกรณ์ ชุดปฐม
๓. การปฐมพยาบาลผู้ถูกสัตว์มีพิษกัด รักษ์ หลักสูตร เกิดขึ้น พยาบาล
และการปฐมพยาบาลคนจมน้ำ เบื้องต้นเหล่า - ให้ทราบถึงวิธีการช่วยเหลือ
๔. การปฐมพยาบาลผู้หมดสติ อาการ แพทย์ ตนเองและเพื่อน ทหารพราน
เจ็บป่วยที่เป็นอันตรายต่อสมอง การป้อง เมื่อได้รับบาดเจ็บหรืออันตราย
กันและปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับ อันตราย
จากโรคลมร้อน
๕. การอนามัยส่วนบุคคล และการสุขา ภิ
บาลในสนาม และกฎสำหรับ หลีกเลี่ยง
โรคภัยในสนาม
๓.๘ การข่าวเบื้องต้น ๒ ๑. ความมุ่งหมายและความสำคัญของการ ๑.รส.๒๑ – ๗๕ - เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจใน
ข่าวทางทหาร ประเภทของข่าวที่มีคุณค่า ๒.คู่มือพลทหารว่า เรื่องของข่าวสารทางทหารให้
และความจำเป็นของข่าวสาร ด้วยการปฏิบัติใน มากพอแก่ความจำเป็นที่จะต้อง
๒. ความจำเป็นของทหารในการแสวงหา สนาม พ.ศ.๒๕๑๖ ทราบ และสามารถนำไปปฏิบัติ
ข่าวสาร สอนในเรื่องเจ้าหน้าที่รวบรวม งานในสนามได้
ข่าวสาร แหล่งข่าวสาร และการปฏิบัติ
ต่อเชลยศึก
๓. ความรับผิดชอบของทหารในมาตรการ
ป้องกันต่อต้านข่าว วินัยในการรักษาความ
ลับ การใช้การพรางและการซ่อนพรางการ
รักษาความปลอดภัยทางการสื่อสาร
๔. วิธีการสังเกต และรายงานข่าวสาร
๔. ระบบการกำหนดเขตการใช้และพราง
ไฟ ระบบการใช้สัญญาณผ่าน ระบบการ
รักษาความปลอดภัยในที่ตั้งทางทหาร

บทที่ ๒
และวิธีปฏิบัติเมื่อถูกจับเป็นเชลยศึก
๔. การฝึกใช้อาวุธ ๒๓
ลฝ. ๓๗ – ๑๓ - ๒
เวลา
ลำดับ วิชา เรื่องที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๔.๑ การฝึกใช้อาวุธประจำ ๑๓ ๑. ทำการสอนในเรื่อง ชิ้นส่วนประกอบ ๑.รส.๒๓ – ๙ - เพื่อให้ทราบถึงคุณลักษณะ ๑. แผ่นภาพแสดงการ
กาย ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๑ และ และ ขีปนวิธีของ ปลย.๑๑, ปลย.เอ็ม ๑๖ ๒.รส.๒๓-๙-๑ โดยทั่วไป, การถอดประกอบ, ทำงานของ ปลย.๑๑,
เอ.๒, ปลย.๑๑ และ ปลย.เอ. เอ ๑ และ เอ ๒,ปลย. AK - 47 การตรวจ ๓.ระเบียบและ การทำงานของเครื่องกลไก, การ ปลย.เอ็ม ๑๖ เอ ๑ และ
เค. ๔๗ สอบ สภาพชิ้นส่วน การถอด ประกอบ หลักสูตรการฝึกยิง ระวังรักษา, การทำความสะอาด เอ ๒, ปลย. AK – 47
การตรวจสอบระบบการทำงาน การทำ ปืนทหาร การฝึก ตลอดจนการฝึกให้ ยิงปืนได้ ๒. กระสุนฝึกบรรจุ
ความสะอาดอาวุธ การชโลมน้ำมัน และ ยิงปืนเล็กยาว อย่างแม่นยำ ๓. แผ่นภาพฝึกเล็ง
ประจำปี สำหรับ ๔. คานฝึกเล็ง
การทำความสะอาดกระสุน
ทหารทุกเหล่าทัพ ๕. แท่นวางปืน
๒. การแก้ไขโดยฉับพลัน เมื่อเกิดการ
ของ ทบ. พ.ศ. ๖. หีบเล็ง
ติดขัดในขณะทำการยิง๓. การบรรจุ ๒๕๔๒ ๗. แผ่นเป้าสำหรับการยิง
กระสุนใส่ในซองกระสุน และ ปรับศูนย์ ระยะ ๒๕ ม.
การนำกระสุนออกจากซองกระสุน
๔. การจัดปรับศูนย์หน้า – หลัง
๕. การจัดศูนย์พอดี การจัดภาพการเล็ง
ประกอบเป้าหมาย
๖. การเล็งและการลั่นไก
๗. การฝึกปฏิบัติท่ายิง ได้แก่ ท่านอน, ท่า
นั่งราบ,ท่านั่งคุกเข่า,ท่านั่งสูงและยืนยิง๘.
ระเบียบปฏิบัติในสนามยิงปืน ขั้นตอนการ
ปฏิบัติและการรักษาความปลอดภัย
๙. การฝึกยิงเพื่อความคุ้นเคยในสนามยิง
ปืนระยะ ๑,๐๐๐ นิ้ว (๒๕ ม.)
๔.๒ การฝึกใช้ลูกระเบิดขว้าง ๔ ๑.อาวุธศึกษา, คุณลักษณะ, ขีดความ -รส.๒๓ – ๓๐ - เพื่อให้มีความรู้ใน เรื่องคุณ ๑.แผ่นภาพลูกระเบิด
สามารถ และ การทำงานของกลไก ลูก ลักษณะ, ขีดความสามารถและ ขว้าง
ระเบิดขว้าง, แบบและส่วนประกอบ ของ การทำงานของกลไกลูกระเบิด ๒.ลูกระเบิดฝึกขว้าง

หน้า ๑๕
ลูกระเบิดขว้าง ขว้างและสามารถขว้างลูกระเบิด ๓.ลูกระเบิดซ้อมขว้าง
๒.วิธีการจับถือลูกระเบิดขว้าง, เทคนิค ขว้างได้อย่างแม่นยำ
หน้า ๑๖
เวลา
ลำดับ วิชา เรื่องที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
และท่าขว้างลูกระเบิด ได้แก่ ท่ายืน,ท่านั่ง
คุกเข่า, ท่านั่งคุกเข่าจากท่านอน, ท่านอน
หงายขว้าง และ ท่าก้มขว้าง
๕. การฝึกทางยุทธวิธี ๒๙(๔)
๕.๑ บุคคลทำการรบในเวลา ๖ ๑. ข้อพิจารณาการใช้ภูมิประเทศตามแง่ ๑.รส.๒๑ – ๗๕ - เพื่อให้เรียนรู้หลักการและวิธี - แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
กลางวัน คิดทางทหาร และสภาพลมฟ้าอากาศ ๒.รส.๕ – ๒๐ ปฏิบัติการรบในเวลากลางวัน
๒. การกำบัง และการซ่อนพราง หลักการ ๓.คู่มือพลทหารว่า เป็นบุคคล เพื่อนำไปใช้เป็น
ใช้ที่กำบัง, วัสดุการพราง, การใช้ฉากหลัง ด้วยการปฏิบัติใน พื้นฐานการปฏิบัติทางยุทธวิธี
และร่มเงา, วิธีการพราง, การพราง สนาม พ.ศ.๒๕๑๖
ร่างกาย, การพรางอาวุธ, การพรางเสื้อผ้า
เครื่องแต่งกาย การพรางวัสดุสะท้อนแสง,
วินัยการพราง และการเลือกที่ซ่อนพราง๓.
การกะระยะความสำคัญของการกะระยะ
การกะระยะด้วยวิธีการสังเกต แสงและ
เสียง และการวัดระยะทางข้างการฝึก
จดจำระยะ
๔. การตรวจการณ์ หลักการตรวจการณ์
การเลือกที่ตรวจการณ์ การตรวจการณ์
ระหว่างการเคลื่อนที่ ลักษณะร่องรอยต่าง
ๆ ที่ควรทราบ รายงานการตรวจการณ์
๕. การเคลื่อนที่ในเวลากลางวัน กฎการ
เคลื่อนที่ วิธีการเคลื่อนที่โดยทั่วไป การ
เคลื่อนที่ผ่านเครื่องกีดขวาง การเคลื่อนที่
ด้วยวิธีการโผ, การคลานสูง, การคลานต่ำ,
การกลิ้ง, การเดินและการหมอบแบบเงียบ

บทที่ ๒
, การเคลื่อนที่แบบเงียบ การข้ามลวด
หนาม ,การข้ามคูด้วยวิธีการคลานข้าม
ลฝ. ๓๗ – ๑๓ - ๒
เวลา
ลำดับ วิชา เรื่องที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๖. การวางตัวในสนามรบ
๗. การเลือกและการใช้เส้นทาง, การหา
และกำหนดทิศ, วิธีปฏิบัติเมื่อหลงทาง
๘. การใช้อาวุธและวินัยการยิง, การใช้
อาวุธเงียบ
๕.๒ บุคคลทำการรบในเวลา (๔) ๑. การฟังเสียง,การสูดกลิ่น, การสัมผัส -๑.รส.๒๑ – ๗๕ -เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพให้ - แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
กลางคืน และการปรับสายตาให้มองเห็นเวลา ๒.รส.๕ – ๒๐ สามารถปฏิบัติการรบได้ในทุก
กลางคืน ๓.คู่มือพลทหารว่า ทัศนวิสัย , เสริมสร้างความมั่น
๒. การใช้ที่ซ่อนพราง, การหาทิศในเวลา ด้วยการปฏิบัติใน ใจในตนเอง และเป็นพื้นฐานใน
กลางคืน สนาม พ.ศ.๒๕๑๖ การปฏิบัติทางยุทธวิธีในระดับ
๓. การใช้อาวุธประจำกาย และการค้นหา หน่วยที่สูงขึ้นต่อไป
เป้าหมายในเวลากลางคืน
๔. การระวังป้องกันเวลากลางคืน
๕.๓ การลาดตระเวน ๓ ๑. หลักการลาดตระเวน, แบบของการ ๑.รส.๒๑ – ๗๕ -เพื่อสอนให้มีความรู้เบื้องต้น - แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
ลาดตระเวน,ภารกิจ,การจัด,การประกอบ ๒.รส.๗ – ๘ เกี่ยวกับการลาดตระเวน และ
กำลัง, ยุทโธปกรณ์, รูปขบวน,การเตรียม ฝึกให้เกิดความเชื่อมั่น สามารถ
การและการปฏิบัติการลาดตระเวน, ปฏิบัติการลาดตระเวนได้ทั้งใน
เทคนิค การลาดตระเวน ในเวลากลางวัน เวลากลางวัน และเวลากลางคืน
และเวลากลางคืน
๒. การฝึกลาดตระเวนในเวลากลางวัน
๕.๔ การตีโฉบฉวย ๓ ๑.ความมุ่งหมาย,ลักษณะของการตีโฉบ ๑.รส.๒๑ – ๗๕ -เพื่อสอนให้มีความรู้เบื้องต้น
ฉวย, ลำดับขั้นการปฏิบัติ ได้แก่การเตรียม ๒.รส.๗ – ๘ เกี่ยวกับการ
การ,การจัดกำลัง, การตรวจภูมิประเทศ, ตีโฉบฉวย และฝึกให้เกิด
การเลือกและเตรียมยุทโธปกรณ์, การ ความชำนาญ สามารถ
เคลื่อนที่ไปจุดนัดพบ ณ ที่หมาย, การ ปฏิบัติการตีโฉบฉวยได้
ระวังป้องกัน, การปฏิบัติที่จุดนัดพบ ณ ที่ อย่างมีประสิทธิภาพ

หน้า ๑๗
หมาย, การปฏิบัติ ณ ที่หมาย,การตรวจ
เวลา

หน้า ๑๘
ลำดับ วิชา เรื่องที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
ค้น และการถอนตัว
๕.๕ การซุ่มโจมตี/การต่อต้าน ๓ ๑. หลักการซุ่มโจมตี, ประเภทการซุ่ม ๑.รส.๒๑ – ๗๕ - เพื่อให้ทราบถึงวิธีปฏิบัติในการ - แผ่นภาพการฝึก
การซุ่มโจมตี โจมตี, การจัดกำลัง, รูปแบบการซุ่มโจมตี ๒.รส.๗ – ๘ ซุ่มโจมตี และวิธีการต่อต้าน เมื่อ
ทั้งแบบเป็นจุด และเป็นพื้นที่, การซุ่ม ถูกซุ่มโจมตีเพื่อ ลดอันตรายจาก
โจมตีในเวลากลางวันและกลางคืน, การ การกระทำของข้าศึก กลับเป็น
เข้าจุดนัดพบ ณ ที่หมายการเข้าวางตัวใน ฝ่ายตอบโต้ และฝึกให้เกิดความ
พื้นที่ซุ่มโจมตี, การดัดแปลงภูมิประเทศ, คล่องแคล่ว รวดเร็ว แม่นยำใน
การพราง, วินัยในการซุ่มโจมตี, การ ขั้นตอนการปฏิบัติ
ควบคุมบังคับบัญชา, การปฏิบัติซุ่มโจมตี,
การตรวจค้น, การถอนตัว และการายงาน
๒. หลักการต่อต้านการซุ่มโจมตี, ประเภท
การต่อต้านการซุ่มโจมตี และ เทคนิค วิธี
การต่อต้านการซุ่มโจมตี
๕.๖ การตั้งจุดตรวจ/จุดสกัด ๓ - ความมุ่งหมายในการตั้งจุดตรวจ/จุดสกัด -คู่มือการตั้งจุด -เพื่อให้ทราบและสามารถ ตั้งจุด - แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
,ประเภทของจุดตรวจ/ จุดสกัด, การเลือก ตรวจของ ขว.ทบ. ตรวจ/ จุดสกัด และปฏิบัติ ณ
ที่ตั้งจุดตรวจ/จุดสกัด, การจจัดกำลัง, การ จุดตรวจ/ จุดสกัดได้อย่าง
เข้าประจำและปฏิบัติ ณ จุดตรวจ/ จุด รวดเร็ว ถูกต้อง และมี
สกัด,เทคนิคและวิธีการตรวจและวิธีปฏิบัติ ประสิทธิภาพ
เมื่อตรวจพบ เป้าหมายหรือสิ่งผิดปกติ
๕.๗ การปิดล้อม/ ตรวจค้น ๔ (๒) - ความมุ่งหมายในการปิดล้อม/ ตรวจค้น, ๑.รส.๓๑ – ๑๖ -เพื่อให้ทราบถึงวิธีการและ - แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
การข่าวกรอง, การประสานงานกับฝ่าย ๒.รส.๓๑ – ๒๑ ขั้นตอนในการปิดล้อม ตรวจค้น
บ้านเมือง, การรักษาความลับในการ และสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่าง
ปฏิบัติการ, การจัดกำลัง, การดำเนินการ รวดเร็ว ถูกต้อง และมี
ปิดล้อมตรวจค้น, การเคลื่อนที่, การคง ประสิทธิภาพ
กำลังปิดล้อม, การบีบกระชับวงล้อม, การ

บทที่ ๒
ตรวจค้น, การายงาน และการถอนตัว
ลฝ. ๓๗ – ๑๓ - ๒
เวลา
ลำดับ วิชา เรื่องที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๕.๘ การปฏิบัติการในเขต ๔ - ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติการใน -แนวสอน - เพื่อให้ทราบถึงหลัก พื้นฐาน -สนามฝึก รร.สพศ.ศสพ.
พื้นที่เมือง พื้นที่เขตเมือง, ข้อจำกัดในการปฏิบัติ,การ รร.สพศ.ศสพ. วิธีปฏิบัติการใน เขตพื้นที่เมือง
ตรวจการณ์, เทคนิคการเคลื่อนที่ และ การต่อสู้ในระยะประชิดสามารถ
เทคนิคการตรวจค้นอาคาร นำไปปฏิบัติงานต่อยอดการฝึกที่
หน่วยได้
๕.๙ การรบในป่าและภูเขา ๔ - ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการรบในป่าภูเขา ๑.รส.๒๑ – ๗๕ - เพื่อให้ทราบหลักพื้นฐาน - แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก
, ขีดจำกัดในการปฏิบัติการรบ, การ ๒.รส. ๗ – ๑๕ เทคนิควิธีการปฏิบัติการรบใน
เตรียมการสำหรับการปฏิบัติการในพื้นที่ พื้นที่ป่าภูเขา
ป่าภูเขา, หลักการเดินภูเขา, การ
ลาดตระเวน, การตรวจการณ์, การยิง
๖. การอบรม (๓๔)
๖.๑ แบบธรรมเนียมทหาร (๖) ๑. ระเบียบการภายในหน่วย, การ -คู่มือพลทหาร ว่า - เพื่ออบรม ให้มีความรู้ ความ -
ปฏิบัติงานประจำวัน, การลาพัก ด้วย เรื่องที่ทหาร เข้าใจในแบบธรรมเนียมของ
๒. การบังคับบัญชา, ผู้บังคับบัญชาทาง ใหม่ควรทราบ ทหาร สามารถจดจำนำไปใช้ใน
ทหาร อำนาจหน้าที่ของผู้บังคับบัญชา, พ.ศ.๒๕๒๗ ระหว่างรับราชการได้อย่าง
การปฏิบัติตนต่อผู้บังคับบัญชา และ โทษ ถูกต้อง
ของการไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง
๓. การแสดงความเคารพ, บุคคลและสิ่งที่
ทหารจะต้องแสดงการเคารพ
๖.๒ สิทธิและหน้าที่ของทหาร (๒) ๑. สิทธิ และประโยชน์ที่ทหารพรานจะ -เอกสารของ - เพื่อให้ทราบถึงสิทธิ -
พราน ได้รับ ในเรื่องเงินเดือน,เบี้ยเลี้ยง,ค่าเลี้ยงดู ศปก.ทบ. เกี่ยวกับ ประโยชน์ ตลอดจนหน้าที่ ของ
, เครื่องแต่งกาย สิทธิกำลังพล ในระหว่าง สิทธิอันพึงได้ของ ตนเองในระหว่างรับราชการ
การรับราชการและเมื่อออก จากราชการ ทหารพราน
ไปแล้ว
๒. หน้าที่ของทหารพราน ความรับผิดชอบ
ในหน้าที่ ความสำนึกในหน้าที่ ข้อดีขงการ

หน้า ๑๙
เคร่งครัดในหน้าที่ ข้อเสียของการละเลย
เวลา

หน้า ๒๐
ลำดับ วิชา เรื่องที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
ต่อหน้าที่ ข้อดีของการเคร่งครัดในหน้าที่
ข้อเสียของการละเลยต่อหน้าที่
๖.๓ มารยาทและวินัยทหาร (๔) ๑. มารยาทโดยทั่วไปของทหารต่อผู้บังคับ -คู่มือพลทหาร ว่า - เพื่อสอนให้มีความรู้ ความ -
บัญชา และผู้ใหญ่ ด้วย เรื่องที่ทหาร เข้าใจในเรื่องมารยาท และ วินัย
๒. มารยาทโดยทั่วไปของทหารต่อทหาร ใหม่ ควรทราบ ของทหาร เพื่อนำไปใช้ใน
และประชาชน พ.ศ.๒๕๒๗ ระหว่างรับราชการ
๓. ข้อควรประพฤติภายในหน่วย และ
ภายนอกหน่วย
๔. วินัยของทหาร คำจำกัดความ ความ
จำเป็นของวอนัยในหมู่ทหาร, หน้าที่ และ
สิทธิของผู้บังคับบัญชา, ตัวอย่างการ
กระทำผิดวินัยทหาร และการลงทัณฑ์
๖.๔ การปกครอง ในระบอบ (๔) - ความหมายของประชาธิปไตย, หลัก -คู่มือการสอน - เพื่อปลูกฝังให้มีความรู้ ความ -
ประชาธิปไตย อันมีระมหา สำคัญในการปกครองระบอบประชาธิป- อบรมทหารว่าด้วย เข้าใจในการปกครอง ระบอบ
กษัตริย์ทรงเป็นประมุข ไตย ๓ ประการ ได้แก่ สิทธิ เสรีภาพ และ การปลูกฝัง อุดม ประชาธิปไตย อันมีพระมหา
ความเสมอภาค, องค์กร ๓ ฝ่าย ได้แก่ การณ์ทาง กษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และตุลาการ, การเมืองในหน่วย
หลักนิติธรรม, รัฐสภา, คณะรัฐมนตรี, ทหาร พ.ศ.๒๕๒๕
สิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทย
๖.๕ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย (๔) ๑. ความผิดที่เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง -เอกสารกฎหมาย - เพื่อสอนให้มีความรู้ ความ -
ที่ทหารควรทราบ กับการปฏิบัติงานได้แก่ กฎหมายยาเสพ ที่เกี่ยวข้อง เข้าใจในกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
ติดให้โทษ, กฎหมายเกี่ยวกับป่าไม้ และ การปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติ
ทรัพยากร, กฎหมายผู้หลบหนีเข้าเมือง หน้าที่ของตนได้ถูกต้อง
และคนต่างด้าว
๒. อำนาจหน้าที่และวิธีปฏิบัติของทหาร

บทที่ ๒
พราน ในฐานะผู้ช่วยเจ้าพนักงาน
เวลา

ลฝ. ๓๗ – ๑๓ - ๒
ลำดับ เรื่องที่ทำการฝึกสอน เรื่องที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๖.๖ การปลูกฝังอุดมการณ์ (๔) ๑. ความหมายของชาติ องค์ประกอบ -คู่มือการสอน๑.เพื่อปลูกฝังอุดมการณ์ ความ -
ทางการเมือง และโครงการ ความเป็นชาติ ความรักประเทศชาติ และ อบรมทหารว่าด้วย
รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
จิตอาสา ข้อควรปฏิบัติของคนรักชาติ การปลูกฝัง อุดม
๒.สร้างสำนึกในหน้าที่ทั้งใน
๒. การป้องกันประเทศชาติ ความมั่นคง การณ์ทางการ ฐานะที่เป็นทหารพราน และ
ของชาติ องค์ประกอบความมั่นคงของชาติ เมือง ในหน่วยประชาชนคนไทย
และการป้องกันประเทศชาติทางทหาร ทหาร พ.ศ.๒๕๒๕๓.เพื่อให้มีความรู้เบื้องต้นใน
๓. ความรู้เบื้องต้นโครงการจิตอาสา โครงการจิตอาสา
๖.๗ ประวัติศาสตร์ชาติไทย (๒) - ความเป็นมาของประเทศไทย, พระมหา -คู่มือการสอน - เพื่ออบรมให้มีความรู้ ความ -
กรุณาธิคุณของพระมหากษัตริย์ไทย อบรมทหาร ว่า เข้าใจ และความภาคภูมิใจใน
ประวัติและพระเกียรติคุณของพระมหา ด้วย การปลูกฝัง ชาติ วีรชนคนไทย และพระมหา
กษัตริย์ไทย ประวัติและเกียรติคุณวีรชน
อุดมการณ์ทาง กรุณาธิคุณของ พระมหากษัตริย์
ไทย การเมืองใน หน่วย ไทย
ทหาร พ.ศ.๒๕๒๕
๖.๘ คุณธรรม, จริยธรรม (๔) ๑. ความกล้าหาญ ความหมายของความ -คู่มือการสอน - เพื่ออบรมสั่งสอนให้มี ความรู้ -
กล้าหาญ, ความจำเป็นที่ทหารต้องมี อบรมทหาร ว่า ความเข้าใจใน คุณธรรม จริย
ความกล้าหาญ ประโยชน์ของความกล้า ด้วย การปลูกฝัง ธรรม ที่ทหารทุกคนจำเป็นต้อง
หาญ, โทษของความขลาด และหลักการ อุดมการณ์ทาง มี เพื่อนำไปใช้ประพฤติปฏิบัติ
เสริมสร้างความกล้าหาญ การเมืองใน หน่วย ให้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรม
๒.ความอดทนความหมายของความอดทน ทหาร พ.ศ.๒๕๒๕ จริยธรรม
,ลักษณะความอดทนทางกาย, ทาง ใจ
ประโยชน์ของความอดทน โทษของการ
ขาดความอดทนการเสริมสร้างความอดทน
๓. การเสียสละ ความหมายของการ
เสียสละ ลักษณะการเสียสละทางกำลัง
กาย กำลังความคิด กำลังทรัพย์ การ
เสียสละทางการทหาร หลักการเสริมสร้าง

หน้า ๒๑
ความเสียสละ
เวลา

หน้า ๒๒
ลำดับ วิชา เรื่องที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
๔. ความสามัคคีความหมายและประโยชน์
ของความสามัคคี โทษของการแตกความ
สามัคคี ความจำเป็นที่ทหารต้องมีความ
สามัคคี การรักษาความสามัคคีในหมู่
ทหาร หลักการเสริมสร้างความสามัคคี
๕. ความซื่อสัตย์สุจริต ความหมายและ
ลักษณะทั่วไปของความซื่อสัตย์ ความ
ซื่อสัตย์ทางทหาร ความจำเป็นที่ทหาร
ต้องมีความซื่อสัตย์สุจริต
๖. การรักเกียรติ ความหมายของ
เกียรติยศและเกียรติศักดิ์สำหรับทหาร
หลักการเสริมสร้างรักษา เกียรติยศ
เกียรติศักดิ์ทหาร
๖.๙ บทเรียนจากการรบ (๒) ๑. เหตุการณ์สำคัญ ของยุทธการต่าง ๆ -บันทึกบทเรียน - เพื่ออบรม เสริมสร้างความ -
ของหน่วยในแต่ละพื้นที่ของกองทัพ จากการรบของแต่ กล้าหาญ ขวัญ กำลังใจ ในการสู้
ภาคต่าง ๆ ละ ยุทธการ รบ และความมุ่งมั่นในการรักษา
๒. บทเรียนจากการรบในยุทธการต่าง ๆ อธิปไตยของชาติ
ของประเทศไทย
๘. การฝึกภาคสนาม ๙๖ - ให้นำกำลังทหารพรานใหม่ ที่เข้ารับการ - - เพื่อให้ทหารพรานใหม่ได้มี -
ฝึก ไปทำการฝึกภาคสนาม ในภูมิประเทศ ความคุ้นเคยต่อการปฏิบัติ
ที่สมจริง ทัง้ ในเวลากลางวันและ เวลา ภารกิจในภูมิประเทศจริง และ
กลางคืน ตามบ่งการปัญหาฝึกที่ สมมุติ สามารถ ประยุกต์บูรณาการ
อย่างต่อเนื่อง โดนจัดให้มีข้าศึกสมมุติตาม ความรู้ที่ได้รับจากการฝึกในที่ตั้ง
บ่งการที่กำหนด มาปฏิบัติงานจริงในสนามได้
๙. เวลาผู้บังคับบัญชา ๓ - - ๑. เป็นเวลาให้ผู้บังคับ บัญชา -

บทที่ ๒
ได้พบปะเพื่อสอบ ถามความ
เป็นอยู่ ปัญหา ข้อขัดข้องต่าง ๆ
เวลา

ลฝ. ๓๗ – ๑๓ - ๒
ลำดับ วิชา เรื่องที่ทำการฝึกสอน หลักฐาน ความมุ่งหมาย เครื่องช่วยฝึก
(ชม.)
เพื่อนำไปแก้ไข และเป็นการ
เสริมสร้างขวัญกำลังใจในการฝึก
๒. เป็นเวลาอะไหล่ สำหรับ
การฝึกเมื่อสภาพ อากาศ
เปลี่ยนแปลง ไม่เอื้ออำนวยต่อ
การฝึก
๓.เป็นเวลาสำหรับธุรการ การ
เตรียมการฝึก

หน้า ๒๓
หน้า ๒๔ บทที่ ๒

ตอนที่ ๔
ตารางการฝึกยิงปืน
๑. การยิงปืนตามหลักสูตรการฝึกยิงปืนเล็กยาว สำหรับทหารพราน (หญิง) บรรจุใหม่
๑.๑ ความมุ่งหมาย
ใช้เป็นหลักสูตรการฝึกยิงปืนเล็กยาว สำหรับทหารพรานใหม่ของกองทัพบก กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็น
หลักฐานสำหรับการยิงปืนเล็กยาวในพื้นฐานเบื้องต้นสำหรับทหารพรานใหม่ของทุกหน่วย ที่ได้รับการบรรจุ เข้า
รับราชการใหม่ ในกรมทหารพราน กองทัพบก
๑.๒ การใช้
การยิงตามหลักสูตรการฝึกการฝึกยิงปืนเล็กยาว ให้ใช้ในกรณีดังนี้
๑.๒.๑ เริ่มฝึกยิงปืนครั้งแรก หลังจากได้ทำการฝึกการใช้อาวุธเบื้องต้นมาแล้ว
๑.๒.๒ ทำการฝึกยิง ในสนามยิงปืน ระยะ ๒๕ เมตร (๑,๐๐๐ นิ้ว)
๑.๒.๓ ทำการยิงเพื่อปรับปืนในกรณีเร่งด่วน
๑.๒.๔ มีกระสุนน้อย จนไม่อาจทำการยิงตามหลักสูตรอื่นได้
๑.๒.๕ ใช้ฝึกยิงเพื่อความคุ้นเคย และยิงประเมินผลขั้นพื้นฐาน
๑.๒.๖ ไม่มีการจัดชั้นคุณวุฒิในการฝึกยิงตามหลักสูตรนี้ แต่สามารถประเมินผลการยิงได้
๑.๓ ตารางยิง
๑.๓.๑ ตารางการฝึกยิงนี้ ใช้สำหรับปืนเล็กยาว หรือปืนเล็กสั้นที่ สามารถยิงเป็นกึ่งอัตโนมัติได้ทุก
ชนิด
๑.๓.๒ ให้ทหารพรานใหม่ทำการฝึกยิง ตามตารางดังต่อไปนี้
๑.๓.๒.๑ ตารางที่ ๑ จำนวน ๒๗ นัด
๑.๓.๒.๒ ตารางที่ ๒ จำนวน ๑๘ นัด
รวม จำนวน ๔๕ นัด
๑.๓.๒.๓ ตารางที่ ๓ (ฝึกยิงคุ้นเคย) จำนวน ๖๙ นัด
๑.๓.๒.๔ ตารางที่ ๓ (ประเมินผล) จำนวน ๖๙ นัด
รวมทั้งสิ้น จำนวน ๑๘๓ นัด
๑.๓.๓ ในกรณีที่มีกระสุนจำกัด ให้ทหารพรานได้ทำการฝึก ๔ แบบ ตามจำนวนกระสุนที่ได้รับ
๑.๓.๓.๑ แบบที่ ๑ ทำการฝึกยิง ตามตารางดังต่อไปนี้
๑.๓.๓.๑.๑ ตารางที่ ๑ จำนวน ๒๗ นัด
๑.๓.๓.๑.๒ ตารางที่ ๒ จำนวน ๑๘ นัด
รวม จำนวน ๔๕ นัด
๑.๓.๓.๑.๓ ตารางที่ ๓ (เฉพาะลำดับ ๑, ๒, ๕, ๖ ฝึกยิงคุ้นเคย)
จำนวน ๔๙ นัด
๑.๓.๓.๑.๔ ตารางที่ ๓ (เฉพาะลำดับ ๑, ๒, ๕, ๖ ประเมินผล)
จำนวน ๔๙ นัด
รวมทั้งสิ้น จำนวน ๑๔๓ นัด
๑.๓.๓.๒ แบบที่ ๒ ทำการฝึกยิง ตามตารางดังต่อไปนี้
๑.๓.๓.๒.๑ ตารางที่ ๑ จำนวน ๒๗ นัด
๑.๓.๓.๒.๒ ตารางที่ ๒ จำนวน ๑๘ นัด
รวม จำนวน ๔๕ นัด
๑.๓.๓.๒.๓ ตารางที่ ๓ (เฉพาะลำดับ ๑ และ ๒ ฝึกยิงคุ้นเคย)
จำนวน ๒๙ นัด
ลฝ. ๓๗ - ๑๓ - ๒ หน้า ๒๕

๑.๓.๓.๒.๔ ตารางที่ ๓ (เฉพาะลำดับ ๑ และ ๒ ประเมินผล)


จำนวน ๒๙ นัด
รวมทั้งสิ้น จำนวน ๑๐๓ นัด
๑.๓.๓.๓ แบบที่ ๓ ทำการฝึกยิง ตามตารางดังต่อไปนี้
๑.๓.๓.๓.๑ ตารางที่ ๑ จำนวน ๒๗ นัด
๑.๓.๓.๓.๒ ตารางที่ ๒ จำนวน ๑๘ นัด
รวม จำนวน ๔๕ นัด
๑.๓.๓.๓.๓ ตารางที่ ๓ (เฉพาะลำดับ ๑ และ ๒ ประเมินผล)
จำนวน ๒๙ นัด
รวมทั้งสิ้น จำนวน ๗๔ นัด
๑.๓.๓.๔ แบบที่ ๔ ทำการฝึกยิง ตามตารางดังต่อไปนี้
๑.๓.๓.๔.๑ ตารางที่ ๑ จำนวน ๑๒ นัด
๑.๓.๓.๔.๒ ตารางที่ ๒ จำนวน ๙ นัด
รวม จำนวน ๒๑ นัด
๑.๓.๓.๔.๓ ตารางที่ ๓ (เฉพาะลำดับ ๑ และ ๒ ประเมินผล)
จำนวน ๒๙ นัด
รวมทั้งสิ้น จำนวน ๕๐ นัด
๑.๓.๔ ในกรณีที่กระสุนขาดแคลน ให้พิจารณาทำการฝึกยิง โดยที่ไม่ต้องให้ทหารพรานทำการ
ยิงประเมินผล ตามตาราง (ในช่องหมายเหตุ) ดังต่อไปนี้
๑.๓.๔.๑ ตารางที่ ๑ จำนวน ๑๒ นัด
๑.๓.๔.๒ ตารางที่ ๒ จำนวน ๙ นัด
รวม จำนวน ๒๑ นัด

ตารางการฝึกยิงปืนในสนามยิงปืน ระยะ ๒๕ เมตร (๑,๐๐๐ นิ้ว)


ตารางที่ ๑ การยิงจัดกลุ่มกระสุน
เวลา กระสุน
ท่ายิง เป้า คะแนน หมายเหตุ
(วินาที) (นัด)
- นอนยิงมี - เป้าปรับศูนย์ ไม่จำกัด ๒๗ - - ทำการยิง ๙ ครั้ง ครั้งละ ๓ นัด
เครื่องหนุนรอง เวลา - กรณีกระสุนจำกัด ทำการยิง ๔
ครั้ง ๆ ละ ๓ นัด (รวม ๑๒ นัด)

๑. ความมุ่งหมาย
ในการยิงปืนเพื่อจัดกลุ่มกระสุน เพื่อสอนให้ทหารได้เรียนรู้ถึงการยิงปืนโดยไม่ต้องปรับศูนย์ และไม่ต้อง
คำนึงถึงตำบลกระสุนบนแผ่นเป้าว่าจะถูกที่กลางตัวหรือไม่ ขอเพียงกระสุนเกาะกลุ่มก็ใช้ได้ และเพื่อเป็นพื้นฐาน
ให้ทหารพรานได้ทำการปรับปืน ตั้งศูนย์รบในโอกาสต่อไป
๒. คำแนะนำ
การยิงปืนเพื่อจัดกลุ่มกระสุนให้ยึดถือปฏิบัติ ดังนี้
๒.๑ เมื่อทหารพรานใหม่เรียนรู้ทฤษฏีแล้ว ควรนำทหารพรานใหม่ออกไปฝึกยิงปืน เพื่อจัดกลุ่มกระสุน
ในระยะเวลาที่ไม่ห่างกันมากนัก
๒.๒ ผู้เข้ารับการฝึกต้องพยายามใช้อาวุธ ปืนเล็กยาวขนาด ๕.๕๖ มม. กระบอกเดิมตลอดห้วงการฝึก
๒.๓ ให้ถือว่าเป็นการฝึกยิงปืนภาคบังคับ ไม่ควรงดเว้น หรือนำ ปลย.ขนาดอื่นมาใช้ยิงแทน
หน้า ๒๖ บทที่ ๒
๒.๔ ให้ทำการฝึกยิงปืนในเวลากลางวัน ในสนามยิงปืนระยะ ๒๕ ม. โดยใช้เป้าสำหรับยิงปรับศูนย์
อย่างน้อยใช้กระสุน ๒๗ นัด (ยิง ๙ ครั้ง ๆ ละ ๓ นัด) ในทุก ๒ ครั้งให้จัดกลุ่มกระสุน กลุ่มละ ๓ นัด เพื่อ
เปรียบเทียบ และในครั้งสุดท้าย ขนาดกลุ่มกระสุนไม่ควรมีเส้นผ่านศูนย์กลางเกินกว่า ๔ ซม.
๓. ตารางการฝึกยิง
๓.๑ ตารางการฝึกยิงนี้ จะต้องใช้สำหรับ ปลย.ขนาด ๕.๕๖ มม. เท่านั้น
๓.๒ ในกรณีที่กระสุนมีจำกัด ไม่สามารถทำการยิงด้วยกระสุนคนละ ๒๗ นัดได้ ให้ใช้กระสุนได้อย่าง
น้อย คนละ ๑๒ นัด

ตารางที่ ๒ การยิงเพื่อปรับศูนย์รบในสนามยิงปืนระยะ ๒๕ เมตร


เวลา กระสุน คะแนน
ท่ายิง เป้า หมายเหตุ
(วินาที) (นัด)
- นอนยิงมี เป้าปรับศูนย์รบ ไม่จำกัด ๑๘ - - ทำการยิง ๖ ครั้ง ครั้งละ ๓ นัด
เครื่องหนุนรอง เวลา - กรณีกระสุนจำกัด ทำการยิง ๓
ครั้ง ๆ ละ ๓ นัด (รวม ๙ นัด)

๑. ความมุ่งหมาย
เป็นการฝึกยิงปืนเพื่อตั้งศูนย์รบ เพื่อสอนให้ทหารพรานได้เรียนรู้ถงึ วิธีการปรับตั้งศูนย์รบ สำหรับ ปลย.
ขนาด ๕.๕๖ มม. เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในการปรับตั้งศูนย์รบในโอกาสที่จำเป็นด้วยตนเองได้ และเพื่อประสงค์
ให้ทหารพรานได้ทำการปรับปืนตั้งศูนย์รบ สำหรับอาวุธประจำกายของตนเองได้
๒. คำแนะนำ
การยิงปืนเพื่อตั้งศูนย์รบ ให้ยึดถือปฏิบัติดังนี้
๒.๑ เมื่อได้ทำการยิงจัดกลุ่มกระสุนแล้ว ควรนำทหารพรานใหม่ออกไปฝึกยิงปืนเพื่อเพื่อตั้งศูนย์รบ ใน
ระยะเวลาที่ไม่ห่างกันมากนัก
๒.๒ ผู้เข้ารับการฝึกต้องพยายามใช้อาวุธ ปืนเล็กยาวขนาด ๕.๕๖ มม. กระบอกเดิมตลอดห้วงการฝึก
๒.๓ ให้ถือว่าเป็นการฝึกยิงปืนภาคบังคับ ไม่ควรงดเว้น หรือนำ ปลย.ขนาดอื่นมาใช้ยิงแทน
๒.๔ เมื่อได้ทำการยองปรับปืนตั้งศูนย์รบเรียบร้อยแล้ว ควรให้ทหารจัดตำแหน่งของควงปรับทางระยะ
และควงปรับทางทิศ ที่ศูนย์หน้าและศูนย์หลังไว้ ซึ่งเป็นตำแหน่ง ของควงปรับทางระยะและควงปรับทางทิศ ของ
ปืนกระบอก นั้น สำหรับทหารพรานคนนั้น หากสามารถกระทำได้ ควรจะใช้วิธีทำเครื่องหมายบันทึกผลอย่างใด
อย่างหนึ่งติดไว้ที่พานท้ายปืน
๒.๕ การยิงเพื่อปรับศูนย์รบ ไม่มีการจัดชั้นคุณวุฒิ
๓. ตารางการฝึกยิง
๓.๑ ตารางการฝึกยิงนี้ใช้สำหรับ ปลย. ขนาด ๕.๕๖ มม. เท่านั้น
๓.๒ ในกรณีที่กระสุนมีจำกัด ไม่สามารถทำการฝึกยิง ด้วยกระสุนคนละ ๑๘ นัดได้ ให้ใช้กระสุนได้
อย่างน้อย ๙ นัด

หมายเหตุ
๑. ในการยิงปืนเพื่อตั้งศูนย์รบ ให้ทำการยิงในสนามยิงปืนระยะ๒๕ เมตร โดยใช้ ปลย. เอ็ม.๑๖ เอ.
๑ หรือ เอ.๒ ในท่านอนยิงที่มีเครื่องหนุนรอง โดยใช้กระสุน ๑๘ นัด เป้าปรับศูนย์รบระยะ ๒๕๐ เมตร (ปลย.
เอ็ม.๑๖ เอ.๑) หรือเป้าปรับศูนย์รบ ระยะ ๓๐๐ เมตร (ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๒)
ลฝ. ๓๗ - ๑๓ - ๒ หน้า ๒๗
๒. ผู้รับการฝึกจะต้องสามารถทำการยิงปรับศูน โดย์ใช้กระสุน๑๘ นัดให้กลุ่มกระสุน เข้าบริเวณ
กึ่งกลางเป้า และให้แบ่งกระสุนออกเป็นชุดย่อย ชุดละ ๓ นัด ยิง ๖ ครั้ง
๓. ในการยิง๒ ชุดสุดท้ายเป็นการยิงหาผล กระสุนไม่น้อยกว่า ๕ ใน ๖ นัด กระสุน จะต้องอยู่ใน
วงกลมเส้นผ่าศูนย์กลาง ๔ ซม.
๔. ในกรณีที่ทหารพราน ไม่สามารถยิงปรับศูนย์รบได้โดยใช้กระสุน ๑๘ นัด จะต้องถูกนำไป
ฝึกเป็นพิเศษ เมื่อค้นหาและแก้ไขข้อบกพร่องได้แล้ว จึงกลับมาทำการยิงปรับศูนย์รบใหม่อีกครั้ง
๕. ถ้ามีกระสุนจำกัด ซึ่งจำเป็นต้องทำการยิง โดยใช้กระสุน ๙ นัด ให้ทำการฝึกยิงโดย แบ่ง
กระสุนออกเป็นชุด ๆ ละ ๓ นัด

ตารางที่ ๓ การฝึกยิงเพื่อความคุ้นเคย และยิงประเมินผลในสนามยิงปืนระยะ ๒๕ เมตร


ลำดับ ท่ายิง เป้า เวลา กระสุน คะแนน หมายเหตุ
(นัด)
๑. นอนยิง เป้าปรับศูนย์ ไม่จำกัด ๙ - ปรับปืน
๒. นอนยิง รูปหุ่นย่อ ๕ นาที ๒๐ ๒๐ ลำดับ ๒.
๓. นั่งราบยิง รูปหุ่นย่อ ๕ นาที ๑๐ ๑๐ - ใช้กระสุน ๒ ซอง ๆ ละ ๑๐ นัด
๔. นั่งสูงยิง รูปหุ่นย่อ ๕ นาที ๑๐ ๑๐ -- ท่ท่าานอนยิ งมีเครื่องหนุนรอง ๑๐ นัด
นอนยิงไม่มีเครื่องหนุนรอง ๑๐ นัด
๕. นั่งคุกเข่ายิง รูปหุ่นย่อ ๑๐ นาที ๑๐ ๑๐ - เวลา ๕ นาที รวมทั้งการเปลี่ยนซองกระสุน
๖. ยืนยิง รูปหุ่นย่อ ๑๐ นาที ๑๐ ๑๐

๑. การฝึกยิง ปลย.เอ็ม.๑๖ ในสนามระยะ ๒๕ เมตร โดยใช้ นอนยิง, ท่านั่งราบ, ท่านั่งสูง, ท่านั่งคุกเข่า และ ท่า
ยืนยิง ใช้เป้ารูปหุ่นย่อส่วน
๑.๑ ทำการฝึกยิงในเวลากลางวัน ในสนามระยะ ๒๕ เมตร
๑.๒ ใช้กระสุนคนละ ๖๐ นัดท่านั่งราบ, ท่านั่งสูง, ท่านั่งคุกเข่าและท่ายืน ท่าละ๑๐ นัด ท่านอนยิง ๒๐
นัด
๑.๓ การฝึกยิงเพื่อความคุ้นเคยสามารถแบ่งออกเป็น ๓ - ๕ ครั้ง โดยใช้กระสุนเฉลี่ยครั้ง ละเท่า ๆ กัน
เพื่อเปิดโอกาสให้ทหารพรานได้ฝึกยิงปืนบ่อย ๆ
๒. การประเมินผล ให้ถือเกณฑ์ผ่าน ดังนี้
๒.๑ ทหารพรานทำการยิงในท่านั่งยิง และยืนยิง ถูกเป้ารูปตัวหุ่นย่อส่วนอย่างน้อย ๑๖ นัด จาก ๒๐
นัด โดยไม่จำเป็นต้องถูกภายในวงกลมกลางรูปตัวหุ่น คิด ๑ นัด ๑ คะแนน
๒.๒ ทหารพรานทำการยิงในท่านอนยิงถูกเป้ารูปตัวหุ่นย่อส่วนอย่างน้อย ๑๔ นัด จาก ๒๐ นัด โดยไม่
จำเป็น ต้องถูกภายในวงกลมกลางรูปตัวหุ่น คิด ๑ นัด ๑ คะแนน
๒.๓ ในกรณีใช้เป้ารูปหุ่นย่อส่วนระยะ ๒๐๐ เมตร ซึ่งออกแบบมาสำหรับปลย.๑๑ ใช้ฝึกยิงในสนาม
ระยะ ๒๕ เมตร กระสุนถูกภายในเส้นประของเป้ารูปหุ่นย่อส่วนระยะ๒๐๐ เมตร ถือว่าได้คะแนน
๓. เกณฑ์การคิดคะแนน
ลำดับ เกณฑ์ ท่านั่งยิงและยืนยิง ท่านอนยิง
๓.๑ ดีมาก ๓๘ – ๔๐ คะแนน ๑๙ – ๒๐ คะแนน
๓.๒ ดี ๓๔ – ๓๗ คะแนน ๑๗ – ๑๘ คะแนน
๓.๓ พอใช้ ๒๐ – ๓๓ คะแนน ๑๔ – ๑๖ คะแนน
๓.๔ ไม่ได้ผล ๒๐ – ๓๓ คะแนน ต่ำกว่า ๑๔ คะแนน
หน้า ๒๘ บทที่ ๒

หมายเหตุ
๑. อย่างน้อยที่สุดทหารควรได้รับการฝึกยิงปืนในสนามระยะ๒๕เมตร (๑,๐๐๐ นิ้ว) ในท่านอนยิง มีเครื่อง
หนุนรองจำนวนกระสุนไม่ต่ำกว่า ๒๑ นัด/ คน
๒. ทหารพรานควรได้รับการฝึกยิงปืนเพื่อความคุ้นเคยในสัปดาห์ที่ ๓
๓. ในกรณีที่การประเมินผลมีอุปสรรค ให้ยึดถือท่านอนยิงเป็นเกณฑ์การประเมินผลหลัก
๔. ทหารพรานควรได้รับการฝึกยิงเพิ่มเติมหลังจากบรรจุตามตำแหน่งหน้าที่ ในหลักสูตรการฝึกอื่นๆ เพื่อ
เพิ่มความชำนาญ
ลฝ. ๓๗ – ๑๓ - ๒
บทที่ ๓
การสนับสนุนการฝึก
ตอนที่ ๑ สป.๓
ระยะทาง (กม.) สป.๓
เกณฑ์
ยานพาหนะ แก๊สโซฮอล์ ดีเซล น้ำมันเครื่อง น้ำมันเครื่อง
ลำดับ หน่วย ที่ตั้ง จำนวน ไป-กลับ/ ความ หมายเหตุ
ชนิด รวม ออกเทน หมุนเร็ว เบนซิน sae ดีเซล sae
คัน สิ้นเปลือง
๙๑ (ลิตร) (ลิตร) ๔๐ (ลิตร) ๔๐ (ลิตร)
๑. ๒๔๐ ธุรการ วันละ ๑๐ ลิตร
๒. รร.สพศ.ฯ อ.ปากช่อง รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๒ ๕๖๐ ๕๖๐ ๒ ๒๘๐ เคลื่อนย้ายไป-กลับ
จว.น.ม.
๓. รร.สพศ.ฯ อ.ปากช่อง รยบ.ปกติขนาดเล็ก ๕ ๑,๔๐๐ ๑,๔๐๐ ๕ ๒๘๐ เคลื่อนย้ายไป-กลับ
จว.น.ม.
๔. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.ปกติขนาดเล็ก ๓ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕ ๑๐๐ ตรวจเส้นทางปัญหาฝึก
๕. กอ.ฝึก รพ.ปากช่อง รดส.ขนาดเล็ก ๑ ๗๒๐ ๗๒๐ ๗ ๑๐๒ รถพยาบาล
๖. กอ.ฝึก สนามฝึก รดส.ขนาดเล็ก ๑ ๒,๗๐๐ ๒,๗๐๐ ๗ ๓๘๕ รถพยาบาล
๗. กอ.ฝึก สนามยิงปืน รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๕๐๐ ๕๐๐ ๒ ๒๕๐ ฝึกยิงปืน (กลางวัน,กลางคืน)
๘. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๑,๘๙๐ ๑,๘๙๐ ๒ ๙๔๕ ฝึกการตั้งจุดตรวจ/จุดสกัด
๙. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๖๐๐ ๖๐๐ ๒ ๓๐๐ ฝึกการปิดล้อม/ตรวจค้น
๑๐. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๒,๘๐๐ ๒,๘๐๐ ๒ ๑,๔๐๐ ฝึกการรบในป่าภูเขา
๑๑. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๒ ๖๐๐ ฝึกระเบิดทำลาย
๑๒. กอ.ฝึก สนามยิงปืน รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๗๐๐ ๗๐๐ ๒ ๓๕๐ ฝึกการลาดตระเวน
๑๓. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๖๓๐ ๖๓๐ ๒ ๓๑๕ ฝึกบุคคลทำการรบ

หน้า ๒๙
๑๔. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒ ๑๐๐ ฝึกการซุ่มโจมตี/ตีโฉบฉวย
๑๕. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๒ ๖๐๐ ฝึกการสะกดรอย
หน้า ๓๐
ระยะทาง (กม.) สป.๓
แก๊สโซฮอล์ ดีเซล น้ำมันเครื่ น้ำมันเครื่
เกณฑ์
ยานพาหนะ ออกเทน หมุนเร็ว อง อง
ลำดับ หน่วย ที่ตั้ง จำนวน ไป-กลับ/ ความ หมายเหตุ
ชนิด รวม ๙๑ (ลิตร) (ลิตร) เบนซิน ดีเซล sae
คัน สิ้นเปลือง
sae ๔๐ ๔๐ (ลิตร)
(ลิตร)
๑๖. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๒,๘๐๐ ๒,๘๐๐ ๒ ๑,๔๐๐ ฝึกการเล็ดลอดหลบหนี
๑๗. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๙ ๕๔๐ ๕๔๐ ๒ ๒๗๐ ฝึกการเดินแผนที่เข็มทิศ
๑๘. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.๒/๑/๒ ตัน ๘ ๒,๑๐๐ ๒,๑๐๐ ๒ ๑,๐๕๐ ส่ง นร.เข้าพื้นที่ฝึก
๑๙. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.ปกติขนาดเล็ก ๕ ๔,๒๐๐ ๔,๒๐๐ ๕ ๘๔๐ บรรทุกของ
๒๐. กอ.ฝึก สนามฝึก รถน้ำ ๑ ๕๘๐ ๕๘๐ ๓ ๑๙๓ ส่งน้ำ
๒๑. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.ปกติขนาดเล็ก ๒ ๓,๕๐๐ ๓,๕๐๐ ๕ ๗๐๐ ส่งเสบียง
๒๒. กอ.ฝึก สนามฝึก รยบ.ปกติขนาดเล็ก ๑ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๕ ๒๔๐ ซื้อ สป.
อ.ปากช่อง รดส.ขนาดเล็ก ๑ ๒๘๐ ๒๘๐ ๗
๒๓. รร.สพศ.ฯ ๔๐ ตรวจเยี่ยมการฝึก
จว.น.ม.
๒๔. กอ.ฝึก กทม. รดส.ขนาดเล็ก ๑ ๑,๑๘๒ ๑,๑๘๒ ๗ ๑๖๘ อจ.บรรยายพิเศษ (กทม.)
รวม ๒,๔๐๐ ๘,๗๔๘ ๒๔ ๘๗

บทที่ ๓
ลฝ. ๓๗ - ๑๓ - ๒ หน้า ๓๑

ตอนที่ ๒ สป.๕
- ความต้องการกระสุนและวัตถุระเบิด
๑. อัตรากระสุน ปลย. ขนาด ๕.๕๖ มม. ธรรมดา หรือกระสุน ปล.อื่น ๆ ตามชนิดที่ใช้สำหรับการยิงปืนด้วย
กระสุนจริง
จำนวน ต่อ
ลำดับ รายการ หมายเหตุ
(นัด) ทหารพราน
๑. สำหรับใช้ฝึกยิงจัดกลุ่มกระสุนในสนามยิงปืน ระยะ ๒๕ ม. ๒๗ ๑ คน
๒. สำหรับใช้ฝึกยิงปรับศูนย์รบ ในสนามยิงปืน ระยะ ๒๕ ม. ๑๘ ๑ คน
๓. สำหรับใช้ฝึกยิงเพื่อความคุ้นเคย ในสนามยิงปืน ระยะ ๒๕ ม. ๖๙ ๑ คน
๔. สำหรับใช้ประเมินผลการยิงปืน ในสนามยิงปืน ระยะ ๒๕ ม. ๖๙ ๑ คน
๕. สำหรับใช้ฝึกยิงปืนฉับพลัน ๓๐ ๑ คน
รวมใช้กระสุนทั้งสิ้น ๒๑๓ ๑ คน

๒. อัตราลูกระเบิดขว้างที่ใช้สำหรับการฝึกขว้างลูกระเบิด
ต่อ
ลำดับ รายการ จำนวน หมายเหตุ
ทหารพราน
๑. ถุงดินดำจุกพลาสติกและชนวน ลข.๘๘ ซ้อมขว้าง ๕ ชุด ๑ คน ใช้ซ้อมขว้าง
๒. ลข.๘๘ สังหาร ๑ ลูก ๑ คน ให้ขว้างคนละ ๑ ครั้ง
๓. อัตรากระสุนและวัตถุระเบิดที่ใช้สำหรับฝึกสอนและสาธิต
ต่อ
ลำดับ รายการ จำนวน หมายเหตุ
ทหารพราน
๑. ลข.๘๘ ซ้อมขว้าง ๑ ลูก ๑ คน
๒. ลข.๘๘ สังหาร ๕ ลูก ๓๐ คน
๓. ลข.๘๘ ควันสี ๕ ลูก ๓๐ คน
๔. ดินระเบิด ที.เอ็น.ที. ขนาด ๑/๒ ปอนด์ ๑๐ แท่ง ๓๐ คน
๕. เชื้อประทุไฟฟ้า ๕ ดอก ๓๐ คน
๖. เชื้อประทุชนวน ๕ ดอก ๓๐ คน
๗. ชนวนฝักแคเวลา ๕ ฟุต ๓๐ คน
๘. ชนวนกดระเบิด (เอ็ม.๑ เอ.๑) ๒ อัน ๓๐ คน
๙. ชนวนเลิกกดระเบิด (เอ็ม.๕) ๒ อัน ๓๐ คน
๑๐. ชนวน ดึง – เลิกดึง (เอ็ม.๓) ๒ อัน ๓๐ คน
๑๑. พลุสัญญาณสีต่างๆ ๕ นัด ๓๐ คน
๑๒. กปก.ขนาด ๗.๖๒ มม. ๕๐ นัด ๑ คน สำหรับฝึกยิง
๑๓. กปล.ขนาด ๕.๕๖ มม.(หรือขนาด ๗.๖๒) ซ้อมรบ ๖๐ นัด ๑ คน ใช้ฝึกทางยุทธวิธี
หน้า ๓๒
ตอนที่ ๓ งบประมาณการฝึก
๓.๑. ค่าเบี้ยเลี้ยง และค่าเลี้ยงดู
จำนวนบาท/ คน คูณด้วย
ความต้องการเกี่ยวกับการเงิน จำนวน จำนวนเงิน
จำนวนวันตามหลักสูตร รวมเงิน หมาย
ลำดับ ยศ – ชั้น
ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าอาหาร ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าอาหาร ผู้เข้ารับ เจ้า ต่อ ๑ คน สตาง เหตุ
ค่าเลี้ยงดู ค่าเลี้ยงดู บาท
บาท/วัน บาท/วัน บาท/วัน บาท/วัน การฝึก หน้าที่ ค์
๑. ผู้เข้ารับการฝึก
- อส.ทพ. - ๑๙๐.- - - ๕,๓๒๐.- - ๒๕๐ - ๕,๓๒๐ ๑,๓๓๐,๐๐๐ - ๒๘ วัน
๒. ส่วนอำนวยการฝึก
- พล.ต. - พ.อ.(พ.) ๒๗๐.- - - ๘,๖๔๐.- - - - ๓ ๘,๖๔๐ ๒๕,๙๒๐ - ๓๒ วัน
- จ.ส.อ. – ส.ต. ๒๔๐.- - - ๗,๖๘๐.- - - ๑๐ ๗,๖๘๐ ๗๖,๘๐๐
- พลฯ - ๒๔.- - - ๗๖๘ - ๑๐ ๗๖๘ ๗,๖๘๐
๓. ส่วนการฝึก
- พ.อ. – ส.ต. ๒๔๐.- - - ๗,๖๘๐.- - - - ๕๑ ๖,๗๒๐ ๓๙๑,๖๘๐ -
๔. ส่วนสนับสนุนการฝึก
- พ.อ. – ส.ต. ๒๔๐.- - - ๗,๖๘๐.- - - - ๑๘ ๗,๖๘๐ ๑๓๘,๒๔๐
- พลฯ - - ๒๔ - - ๗๖๘ - ๕ ๗๖๘ ๓,๘๔๐
๕. การเปิด – ปิด การฝึก
- ค่าพิธี เปิด-ปิด การฝึก ๑,๐๐๐ -
- ค่าเครื่องดื่ม ๑,๒๐๐ -
- ค่าประกาศนียบัตร ๒๖๓ ๑๕ ๓,๙๔๕ -
(อะไหล่ ร้อยละ ๕)
รวม (หนึ่งล้านเก้าแสนสองหมื่นสามร้อยห้าบาทถ้วน) ๑,๙๒๐,๓๐๕

บทที่ ๓
ลฝ. ๓๗ - ๑๓ - ๒ หน้า ๓๓
๓.๒ ค่าสมนาคุณวิทยากร
จำนวนชั่วโมง จำนวนชั่วโมง จำนวนเงิน
ลำดับ วิชาที่ใช้วิทยากร หมายเหตุ
ตามหลักสูตร ที่ใช้วิทยากร บาท
๑. การปฏิบัติการจิตวิทยา ๑๔ ๑๔ ๒,๘๐๐.- (๒๐๐.-บาท/ชม.)
๒. การประชาสัมพันธ์ ๑๔ ๑๔ ๒,๘๐๐.-
รวม (ห้าพันหกร้อยบาทถ้วน) ๕,๖๐๐.-

หมายเหตุ : หนังสือ สปช.ทบ.ที่ ต่อ กห ๐๔๐๖/ ๓๗๒๕๕, ๒๔๗๒ ลง ๑๔ ก.พ.๕๖ (เอกสารหมายเลข ๕)


๓.๓ ค่าเครื่องช่วยฝึก (เครื่องช่วยฝึกสิ้นเปลือง)
เกณฑ์สิ้นเปลือง จำนวนผู้เข้ารับ ความต้องการทั้ง
ระยะเวลาการฝึกศึกษา หมายเหตุ
ต่อคน (บาท) การฝึก (คน) หลักสูตร (บาท)
๔ สัปดาห์
- ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ๑,๒๒๕.- ๒๕๐ ๓๐๖,๓๕๐.-

หมายเหตุ คำสั่ง ทบ. ที่ ๖๕๐/ ๒๕๕๘ ลง ๒ พ.ย.๕๘ เรื่อง อัตราเครื่องช่วยฝึกสิ้นเปลืองงานศึกษาตามหลักสูตร


๓.๔ ค่าเครื่องช่วยฝึกพิเศษ

หน่วย ราคา
ลำดับ ประเภทและรายการ จำนวน เป็นเงิน หมายเหตุ
นับ หน่วยละ
๑ Chem-Light (ฝึกการรบในป่าภูเขา) กล่อง ๒๕ ๑,๗๕๐ ๔๓,๗๕๐ - กล่องละ ๑๐ อัน
๒ ค่าคู่มือ (ผู้เข้ารับการฝึก) เล่ม ๒๕๐ ๑๕๐ ๓๗,๕๐๐
๓ อุปกรณ์ฝึกบุคคลทำการรบ ชุด ๒๕๐ ๑๕๐ ๓๗,๕๐๐ - ฝุ่นพราง,หลอดเรืองแสง
๔ เชือก เส้น ๑ ๒๐,๐๐๐ ๒๐,๐๐๐
๕ อุปกรณ์การตั้งจุดตรวจจุดสกัด ๘,๕๐๐ - เหมาจ่าย
๖ อุปกรณ์การปิดล้อม/ตรวจค้น ๕,๐๐๐ - เหมาจ่าย
๗ อุปกรณ์การสะกดรอย ๑,๕๐๐ - เหมาจ่าย
๘ อุปกรณ์ระเบิดทำลายแสวงเครื่อง ๒๐,๐๐๐ - เหมาจ่าย
๙ อุปกรณ์ดำรงชีพในป่า ๔,๐๐๐ - เหมาจ่าย
๑๐ อุปกรณ์ยิงปืนฉับพลัน ๓,๐๐๐ - เหมาจ่าย
๑๑ อุปกรณ์ยิงปืนในป่า ๓,๐๐๐ - เหมาจ่าย
๑๒ อุปกรณ์ยิงปืนในเวลากลางคืน ๓,๐๐๐ - เหมาจ่าย
๑๓ อุปกรณ์ฝึกรบในพื้นที่สิ่งปลูกสร้าง ๓,๕๐๐ - เหมาจ่าย
๑๔ อุปกรณ์ทำเสาอากาศแสวงเครื่อง ๒,๕๐๐ - เหมาจ่าย
๑๕ อุปกรณ์ฝึกแผนที่เข็มทิศเวลากลางคืน ๒,๐๐๐ - เหมาจ่าย
๑๖ อุปกรณ์ชุดปฐมพยาบาลเบื้องต้น
- เครื่องวัดความดัน เครื่อง ๑ ๓,๕๐๐ ๓,๕๐๐
- Betadin ขวด ๓ ๙๒ ๒๗๖
- สำลีก้อน ถุง ๕ ๑๐๐ ๕๐๐
หน้า ๓๔ บทที่ ๓

หน่วย ราคา
ลำดับ ประเภทและรายการ จำนวน เป็นเงิน หมายเหตุ
นับ หน่วยละ
- สำลีก้อน ถุง ๕ ๑๐๐ ๕๐๐
- E thy Alcohol ขวด ๖ ๕๕ ๓๓๐
- Micropor ม้วน ๓๐ ๑๕ ๔๕๐
- ระเบิดปิงปอง ลูก ๕๐ ๑๐ ๕๐๐
- ๐.๙๙ % NSS ๑๐๐๐ ML. ขวด ๓๐ ๓๒ ๙๖๐
- Medicath No.๒๒ อัน ๖๐ ๑๐ ๖๐๐
- Set I.V. เชต ๖๐ ๑๐ ๖๐๐
- สีผสมอาหารแบบน้ำ (สีแดง) ขวด ๑๐ ๑๕ ๑๕๐
- ลูกโป่งทำหลอดเลือดเทียม ถุง ๑๐ ๔๐ ๔๐๐
รวม ๘,๒๖๖

รวมค่าเครื่องช่วยฝึกพิเศษ ๒๐๓,๐๑๖

๓.๕ ค่าเป้า
หน่วย ราคา
ลำดับ ประเภทและรายการ จำนวน เป็นเงิน หมายเหตุ
นับ หน่วยละ
๑. เป้า หุ่นนั่ง ข.๒๒๙๙ แผ่น ๒๕๐ ๑๙๙.๕๐ ๔๙,๘๗๕
๒. เป้า หุ่นยืน ค.๒๒๖๒ แผ่น ๒๕๐ ๓๐๓ ๗๕,๗๕๐
๓. เป้าปพ. แบบ ก. ๒๒๕๕ หุ่น ๕๐๐ ๘.๗๕ ๔,๓๗๕
๔. เป้าปพ. แบบ ข. ๒๒๕๖ หุ่น ๒๕๐ ๙.๒๕ ๒,๓๑๒
รวมค่าเป้า ๑๓๒,๓๑๒

๓.๖ ค่าแบตเตอรี่
หน่วย ราคา
ลำดับ ประเภทและรายการ จำนวน เป็นเงิน หมายเหตุ
นับ หน่วยละ
๑. ถ่านไฟฉายขนาดเล็กแบบอัลคาไลน์ ก้อน ๑,๐๐๐ ๙.๕๐ ๙,๕๐๐
๒. BA ๓๓๘๖/๔๐ ก้อน ๒๐๐ ๕๘๕ ๑๑๗,๐๐๐
๓. BA- ๖๒๔ ก้อน ๑๕๐ ๒๗๙ ๔๑,๘๕๐
๔. UM-๑ ก้อน ๒๐๐ ๓๓.๕๐ ๖,๗๐๐
รวมค่าแบตเตอรี่ ๑๗๕,๐๕๐

You might also like