You are on page 1of 159

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555

คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยพะเยา
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555

คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยพะเยา
สารบัญ
หน้า
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อหลักสูตร 1
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา 1
3. วิชาเอก 1
4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 1
5. รูปแบบของหลักสูตร 1
6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร 2
7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 2
8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา 2
9. ชื่อ นามสกุล เลขบัตรประจาตัวประชาชน ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษา
ของอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร 3
10. สถานที่จัดการเรียนการสอน 3
11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณาในการ
วางแผนหลักสูตร 3
11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 3
11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม 3
12. ผลกระทบจากข้อ 11.1 และ 11.2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้อง
กับพันธกิจของสถาบัน 4
12.1 การพัฒนาหลักสูตร 4
12.2 ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจสถาบัน 4
13. ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/สาขาวิชาอื่นของสถาบัน 7
หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร
1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 14
1.1 ปรัชญาของหลักสูตร 14
1.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 14
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
2. แผนพัฒนาปรับปรุง 14
หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร
1. ระบบการจัดการศึกษา 16
2. การดาเนินการหลักสูตร 16
3. หลักสูตรและอาจารย์ผสู้ อน 18
3.1 หลักสูตร 18
3.1.1 จานวนหน่วยกิต 18
3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร 18
3.1.3 รายวิชา 19
3.1.4 แผนการศึกษา 27
3.1.5 คาอธิบายรายวิชา 31
3.1.6 ความหมายของเลขวิชา 59
3.2 ชื่อ สกุล เลขบัตรประจาตัวประชาชน ตาแหน่งและคุณวุฒิของอาจารย์ 60
3.2.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร 60
3.2.2 อาจารย์ประจา 61
3.2.3 อาจารย์พิเศษ 63
4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือ สหกิจศึกษา) 63
5. ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงงานหรืองานวิจัย 65
หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล
1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสิต 67
2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน 68
3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจ้ ากหลักสูตร
สู่รายวิชา (Curriculum Mapping) 72
หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนิสิต
1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน 86
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิต 86
3. เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 86
หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์
1. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่ 87
2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์ 87
หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร
1. การบริหารหลักสูตร 88
2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน 88
3. การบริหารคณาจารย์ 89
4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน 90
5. การสนับสนุนและการให้คาแนะนานิสติ 90
6. ความต้องการของตลาดแรงงานสังคมและ/หรือความพอใจของผู้ใช้บัณฑิต 91
7. ตัวบ่งชีผ้ ลการดาเนินงาน 91
หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของหลักสูตร
1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 93
2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 93
3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร 94
4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง 94
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ข้อบังคับมหาวิทยาลัยพะเยา ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี
พ.ศ. 2553 95
ภาคผนวก ข ตารางเปรียบเทียบหลักสูตรเก่า และหลักสูตรปรับปรุง 107
ภาคผนวก ค คาสั่งแต่งตัง้ คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร 132
ภาคผนวก ง รายงานการประชุมวิพากษ์หลักสูตร 134
ภาคผนวก จ ประวัติและผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจาหลักสูตร 146
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
ภาคผนวก ฉ ภาระการสอนของอาจารย์ประจาหลักสูตรและอาจารย์ประจา 152
1

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
Bachelor of Arts Program in Japanese
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา
คณะ/วิทยาลัย คณะศิลปศาสตร์

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1. รหัสและชื่อหลักสูตร
รหัสหลักสูตร : 0302
ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Japanese

2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาญี่ปุ่น)
ชื่อย่อ (ไทย) : ศศ.บ. (ภาษาญี่ปุ่น)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Bachelor of Arts (Japanese)
ชื่อย่อ (อังกฤษ) : B.A. (Japanese)

3. วิชาเอก
ไม่มี

4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
120 หน่วยกิต

5. รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี
5.2 ภาษาที่ใช้
ภาษาไทยและภาษาญี่ปุ่น
2

5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนิสิตไทยหรือต่างชาติที่ใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
ไม่มี
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยพะเยา

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
6.1 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 เปิดสอนภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2555
6.2 คณะกรรมการคณะศิลปศาสตร์ อนุมัตหิ ลักสูตร ในการประชุม
.........วาระพิเศษ............ วันที.่ ....12.....เดือน....กรกฎาคม............พ.ศ. ...2554...........
6.3 คณะกรรมการวิชาการ มหาวิทยาลัยพะเยา เห็นชอบหลักสูตร ในการประชุม
ครั้งที่ ......5/2555......... วันที่ ...29......เดือน ...กุมภาพันธ์...........พ.ศ. ...2555...........
6.4 คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยพะเยา เห็นชอบหลักสูตร ในการประชุม
ครั้งที่ ....32(6/2555)...... วันที่ ..29......เดือน ....มีนาคม..............พ.ศ. .....2555........
6.5 สภามหาวิทยาลัยพะเยา อนุมัติหลักสูตร ในการประชุมครั้งที.่ ..3/2555...................
วันที่ .....21................เดือน ....เมษายน...................พ.ศ. ......2555.................

7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรมีความพร้อมที่จะเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ในปีการศึกษา 2557

8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
8.1. บุคลากรหรือเจ้าหน้าที่ผู้ใช้ภาษาญี่ปุ่นในการทางานของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เช่น
ล่าม เลขานุการ
8.2. บุคลากรในสาขาการท่องเที่ยว การโรงแรม สายการบิน การประชาสัมพันธ์
8.3. นักแปล
8.4. ประกอบอาชีพอิสระที่ใช้ภาษาญี่ปุ่น
3

9. ชื่อ – นามสกุล เลขบัตรประจาตัวประชาชน ตาแหน่ง และคุณวุฒกิ ารศึกษาของอาจารย์


ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
เลขบัตร ตาแหน่ง
ลา คุณ สาเร็จการศึกษา
ชื่อ – สกุล ประจาตัว ทาง สาขาวิชา ปี
ดับ วุฒิ จากสถาบัน
ประชาชน วิชาการ
นางสาวณภัทร 36599005 มหาวิทยาลัย
1 - ศศ.บ. ภาษาญี่ปุ่น 2548
แสนโภชน์ xxxxx นเรศวร
International Aichi
M.A. 2555
Communication University,Japan
Mr. Hiroyuki TH5885 Japanese Reitaku University,
2 - M.A. 2552
Tanaka xxx Linguistics Japan
Waseda University,
B.A. Economics 2520
Japan

10. สถานที่จัดการเรียนการสอน
มหาวิทยาลัยพะเยา

11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร
11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
ญี่ปุ่นมีบ ทบาทส าคั ญ ในการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจประเทศไทย อาทิ นโยบาย
สนับสนุนการค้าระหว่างประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่น การลงทุนของบริษัทญี่ปุ่น ในประเทศไทย และ
ความต้องการแรงงานไทยในอุตสาหกรรมโรงงานของญี่ปุ่น การที่ญี่ปุ่นเข้ามามีบทบาทในการพัฒนาทาง
เศรษฐกิ จ สาขาวิ ช าภาษาญี่ ปุ่ น จึ ง มุ่ ง พั ฒ นาคุ ณ ภาพนิ สิ ต ให้ มี ศั ก ยภาพสามารถก้ า วไปแข่ ง ขั น ใน
ตลาดแรงงานทั้งภายใน และภายนอกประเทศได้
11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม
วัฒนธรรมญี่ปุ่นเป็นวัฒนธรรมที่เข้มแข็ง สามารถเป็นพลังทางปัญญาและรากฐานในการ
พัฒนาไปสู่ความเป็นอารยประเทศได้ หากได้มกี ารศึกษาวัฒนธรรมดังกล่าว จะช่วยให้ผู้ศึกษามีภูมิปัญญา
อันชาญฉลาดได้ นอกจากนี้วัฒนธรรมญี่ปุ่นยังไหลบ่าเข้าไปสู่ประเทศต่างๆอย่างรวดเร็ว และส่งเสริมให้
เกิดค่านิยมแก่คนในประเทศนัน้ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
จากปั จ จั ย ของสถานการณ์ ห รื อ การเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คมและวั ฒ นธรรมดั ง กล่ า ว
ก่อให้เกิดความจาเป็นในการพัฒนานิสติ ให้มคี วามรูใ้ นวัฒนธรรมญี่ปุ่น โดยใช้ภาษาเป็นเครื่องมือ ตลอดจน
4

มีค วามเข้ าใจในสั ง คมและวั ฒ นธรรมญี่ปุ่ นอย่า งถู ก ต้องเพีย งพอ เพื่อให้นิสิ ต นาไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการ
ประกอบอาชีพต่อไป

12. ผลกระทบต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน
12.1 การพัฒนาหลักสูตร
จากบทบาทและอิทธิพลของประเทศญี่ปุ่นที่มมี ากขึ้นทุกขณะ ในประเทศไทย มหาวิทยาลัย
จึงจาเป็นต้องพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัยและมีเนื้อหาเหมาะสมกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคม
12.2 ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน
พันธกิจของมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยพะเยา มุ่งกระจายโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชาชน
ในเขตภาคเหนือตอนบน 7 จังหวัด ได้แก่ พะเยา แพร่ น่าน ลาปาง ลาพูน เชียงราย แม่ฮ่องสอน และ
ภูมิภาคอื่นด้วย โดยจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาที่เป็นความต้องการของท้องถิ่น ภูมิภาค ประเทศ
เพื่อให้ผู้สาเร็จการศึกษามีงานทาทั้งกลุ่มสาขาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ และ
กลุ่มสังคมศาสตร์ ซึ่งมีพันธกิจที่สาคัญ 4ด้าน ดังนี้
1) ด้านการผลิตบัณฑิต
มหาวิทยาลั ยพะเยา มีภารกิจหลักที่ต้องทาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกระดับ ให้
สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (Thai Qualification Framework for Higher
Education) ( TQF : HEd. )โดยมุ่งเน้นการสร้างบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรม ทักษะทางปัญญา มีทั้ง
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีความรับผิดชอบ มีความรู้ มีทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ
สื่อสาร และการใช้เ ทคโนโลยีส ารสนเทศ เพื่อให้สามารถท างานได้ทุก แห่งทั่วโลก โดยจะต้องพัฒนา
ศักยภาพและความพร้อมของอาจารย์ ควบคู่ไปกับการพัฒนามาตรฐานทางวิชาการด้วย การจัดการศึกษา
ในอนาคตมองว่ า จะต้ อ งหาวิ ธี ก าร และรู ป แบบที่ ห ลากหลายยิ่ ง ขึ้ น ดั ง นั้ น จึ ง ต้ อ งสนั บ สนุ น การจั ด
การศึ ก ษาต่ อ เนื่ อ ง ให้ ค รอบคลุ ม ทั้ ง กลุ่ ม เป้ า หมายก่ อ นเข้ า สู่ ต ลาดแรงงาน และกลุ่ ม เป้ า หมายใน
ตลาดแรงงาน ซึ่งจะต้องปรับปรุงรูปแบบ และวิธีการสอน รวมทั้งเนื้อหาสาระให้เท่าทันการพัฒนาทาง
วิชาการ และวิชาชีพในสาขาวิชานั้นๆด้วย
2) ด้านการวิจัย
มหาวิท ยาลั ย พะเยา มุ่งส่งเสริมการวิจัย และพัฒนา เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมที่มีรูปแบบซับซ้อนขึ้น เช่น การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมสมัยใหม่ ที่ใช้ทุนปัญญา
มากกว่าทุนแรงงาน หรือวั ตถุ ดิบ การวิจัย เพื่อเพิ่มประสิท ธิภาพการใช้ท รัพยากร การฟื้นฟู และการ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การวิจัยเชิงอุตสาหกรรม การวิจัยด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ และการพัฒนาระบบ
บริการด้านสาธารณสุข ตลอดจนการวิจัยเพื่อพัฒนาสังคม เป็นต้น โดยมหาวิทยาลัยได้ให้ความสาคัญและ
มุ่งเน้นการวิจัยการวิจัยพื้นฐาน โดยควบคู่ไปกับการวิจัยประยุกต์ในสาขาต่างๆให้มีประสิทธิภาพ เพื่อไปสู่
5

การเรียนการสอนที่มปี ระสิทธิผล และมีคุณภาพชีวิตที่ดีตลอดจนเพิ่มขีดความสามารถในการพึ่งพาตนเอง


ได้อย่างแท้จริงในระยะยาวโดยจะต้องสร้างผู้นาในการวิจัยให้สามารถดาเนินการในลักษณะหุ้นส่วน หรื อ
การสร้างเครือข่ายกับสถาบันที่มีชื่อเสียงทั้งในและต่างประเทศ เพื่อพัฒนาคุณภาพของนักวิจัยให้นาไปสู่
ความเป็นสากลได้เร็วขึน้
3) ด้านการบริการวิชาการ
มหาวิทยาลัยพะเยามุ่งเน้นการบริการวิชาการในรูปแบบที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น เช่น
การบริ ก ารเพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษา และคุ ณ ภาพชี วิ ต การบริ ก ารทางด้ า นการแพทย์ แ ละการ
สาธารณสุข การให้บริการบางประเภท ควรจะเน้นแหล่งเงินทุนของสถาบันการศึกษา โดยเฉพาะการ
ให้บริการวิชาการแก่กลุ่มเป้าหมายที่มกี าลังซือ้ สูง เช่นภาคธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งควรจะต้อง
มีการพิจารณาเกี่ยวกับการลงทุน และดาเนินการร่วมกับภาคเอกชนเกี่ยวกับการให้บริการวิชาการบาง
ประเภท เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเฉพาะเจาะจง เป็นต้น โดยการดาเนินการอาจจะต้องสร้างความร่วมมือกับ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตภาคเหนือตอนบน และองค์กรภาคเอกชน เพื่อช่วยในการสร้างจุดแข็ง
และการยอมรับของสังคมโดยทั่วไป
4) ด้านการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม
มหาวิท ยาลั ย พะเยา มุ่งพัฒนาการผสมผสานทางวัฒนธรรม และการมีส่วนร่วมใน
ประชาคมโลกทางด้านเศรษฐกิ จ โดยการท านุ บ ารุง และอนุรัก ษ์ ศิลปวัฒนธรรมของสังคมไทย เป็ น
รากฐานของการพัฒนาการอย่างมีดุลยภาพ ซึ่งรวมถึงการศึกษาให้เข้าใจความเป็ นไทยอย่างถ่องแท้ เพื่อ
น าไปสู่ ก ารสงวน และรั ก ษาความแตกต่ า งทางประเพณี แ ละวั ฒ นธรรม ตลอดจนการอยู่ ร่ ว มกั น ใน
ประชาคมโลกอย่างมีเอกลักษณ์และศักดิ์ศรี โดยเสริมสร้างวัฒนธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ให้เกิด
ขึน้ กับบุคคล องค์กร และสังคม โดยเป็นเป้าหมายสาคัญที่จะต้องดาเนินการ
พันธกิจของคณะศิลปศาสตร์
คณะศิลปศาสตร์ มีพันธกิจ 5 ข้อ ดังนี้
1) สร้างบัณฑิตให้มีความรู้ ทักษะและจริยธรรมเพื่อตอบสนองต่อสังคมและประเทศ โดย
ยึดหลักการอยู่รว่ มกันในสังคมอย่างมีความสุข
2) มุ่งการวิจัยการเรียนการสอนและการวิจัยเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน
3) เป็นแหล่งรวบรวมและเชื่อมโยงองค์ความรู้ท้องถิ่นกับ สังคม และการจัดการศึกษา
ต่อเนื่องเพื่อสนองตอบความต้องการของประชาชนและการทางาน ขององค์กรต่าง ๆ
4) ส่งเสริมคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมล้านนาที่ประยุกต์เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย
ร่วมกับชุมชน
5) พัฒนาศักยภาพบุคลากรและส่งเสริมการบริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล
ความสอดคล้องของหลักสูตรต่อพันธกิจของมหาวิทยาลัย และคณะศิลปศาสตร์
6

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาญี่ปุ่น ตอบสนองพันธกิจของมหาวิทยาลัยและ


คณะศิลปศาสตร์ ในการสร้างบัณฑิตให้มีความรู้ ทักษะและจริยธรรมเพื่อตอบสนองต่อสังคมและประเทศ
โดยยึ ด หลั ก การอยู่ ร่ ว มกั น ในสั ง คมอย่ า งมี ค วามสุ ข มี ค วามรู้ ค วามสามารถด้ า นภาษาญี่ ปุ่ น และ
ศิลปวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา มีพื้นฐานความรู้ด้านการค้นคว้าและวิจัย สามารถนาความรู้ไปพัฒนา
ชุมชน สังคมและประเทศ รวมทั้งพัฒนาตนเองต่อไปได้ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ความสอดคล้องของหลักสูตรต่อพันธกิจมหาวิทยาลัย
1) ด้านการผลิตบัณฑิต
หลักสูตรมุ่งเน้นการสร้างบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรม ทักษะทางปัญญา มีทั้งทักษะ
ความสั มพั นธ์ ระหว่า งบุค คล มี ค วามรับ ผิ ดชอบ มี ความรู้ มี ทัก ษะการสื่อสารภาษาญี่ ปุ่น และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้บัณฑิตสามารถนาความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพทั้งใน และต่างประเทศ
2) ด้านการวิจัย
หลั ก สู ตรเน้ นการผลิ ต บัณ ฑิต ที่มี ความรู้ค วามสามารถในการท าวิจั ย ขั้ นพื้ นฐานได้
สามารถแสวงหาองค์ความรู้ใหม่ได้โดยใช้ภาษาญี่ปุ่นเป็นเครื่องมือหลัก นาความรู้ที่ได้เรียนไปประยุกต์ใช้
ในวงการอาชีพหลังสาเร็จการศึกษา หรือใช้เป็นรากฐานในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึน้
3) ด้านการบริการวิชาการ
หลั ก สู ต รเน้ นการผลิต บัณ ฑิตให้มี ความสามารถทางวิ ชาการด้านภาษาและการใช้
ภาษาญี่ปุ่นในวงการอาชีพหลากหลายประเภท ซึ่งสามารถสนองความต้องการของตลาดแรงงานทั้ง
ภาครัฐและเอกชนได้เป็นอย่างดี
4) ด้านการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม
หลักสูตรเน้นการผลิตบัณฑิตให้มคี วามตระหนักรู้ถึงคุณค่าแห่งศิลปวัฒนธรรมของชาติ
และนานาชาติ โดยเฉพาะของเจ้าของภาษา เพื่อนาไปสู่การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติ ยอมรับความ
แตกต่างทางวัฒนธรรมได้

ความสอดคล้องของหลักสูตรต่อพันธกิจของคณะศิลปศาสตร์
1) หลักสูตรเน้นการสร้างบัณฑิตให้มคี วามรู้ ทักษะและจริยธรรมเพื่อตอบสนองต่อ
สังคมและประเทศ โดยยึดหลักการอยู่รว่ มกันในสังคมอย่างมีความสุข
2) หลักสูตรมุ่งเน้นให้เป็นแหล่งรวบรวมและเชื่อมโยงองค์ความรูท้ ้องถิ่นกับ สังคม และ
การจัดการศึกษาต่อเนื่องเพื่อสนองตอบความต้องการของประชาชนและการทางาน ขององค์กรต่าง ๆ
3) หลักสูตรเน้นการผลิตบัณฑิตที่ตระหนักรู้ถึงคุณค่าแห่งศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น
และของชาติ และสามารถทาการเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จักผ่านรายวิชาภาษาญี่ปุ่น เช่น ภาษาญี่ปุ่นเชิงสังคม
และวัฒนธรรม ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการท่องเที่ยว ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมญี่ปุ่น เป็นต้น
7

13. ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/สาขาวิชาอื่นของสถาบัน
13.1 กลุ่มวิชา/ รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนโดยคณะ/ สาขาวิชา/ หลักสูตรอื่น
13.1.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
13.1.1.1 รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนโดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และ
ศิลปกรรมศาสตร์
002124 ปริทัศน์ศลิ ปะการแสดงไทย 3(3-0-6)
Thai Performing Arts
002125 ดุริยางควิจักขณ์ 3(3-0-6)
Music Appreciation
002126 ศิลปะในชีวติ ประจาวัน 3(3-0-6)
Arts in Daily Life

13.1.1.2 รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนโดยคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์
005170 พฤติกรรมมนุษย์ 3(3-0-6)
Human Behavior
005171 ชีวติ และสุขภาพ 3(3-0-6)
Life and Health

13.1.1.3 รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนโดยคณะวิทยาศาสตร์
004150 กอล์ฟ 1(0-2-1)
Golf
004151 เกม 1(0-2-1)
Game
004152 บริหารกาย 1(0-2-1)
Body Conditioning
004153 กิจกรรมเข้าจังหวะ 1(0-2-1)
Rhythmic Activities
8

004154 ว่ายน้า 1(0-2-1)


Swimming
004155 ลีลาศ 1(0-2-1)
Social Dance
004156 ตะกร้อ 1(0-2-1)
Takraw
004157 นันทนาการ 1(0-2-1)
Recreation
004158 ซอฟท์บอล 1(0-2-1)
Softball
004159 เทนนิส 1(0-2-1)
Tennis
004160 เทเบิลเทนนิส 1(0-2-1)
Table Tennis
004161 บาสเกตบอล 1(0-2-1)
Basketball
004162 แบดบินตัน 1(0-2-1)
Badminton
004163 ฟุตบอล 1(0-2-1)
Football
004164 วอลเลย์บอล 1(0-2-1)
Volleyball
004165 ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว 1(0-2-1)
Art of Self – Defense
005173 ทักษะชีวติ 2(1-2-3)
Life Skills
006142 คณิตศาสตร์สาหรับชีวิตในยุคสารสนเทศ 3(3-0-6)
Mathematics for Life in the Information Age
006245 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจาวัน 3(3-0-6)
Science in Daily Life
9

13.1.1.4 รายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไปที่เปิดสอนโดยวิทยาลัยพลังงานและ
สิ่งแวดล้อม
006140 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
Man and Environment
006145 พลังงานและเทคโนโลยีใกล้ตัว 3(3-0-6)
Energy and Technology Around Us

13.1.1.5 รายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไปที่เปิดสอนโดยคณะเภสัชศาสตร์
006143 ยาและสารเคมีในชีวติ ประจาวัน 3(3-0-6)
Drugs and Chemicals in Daily Life

13.1.1.6 รายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไปที่เปิดสอนโดยคณะวิทยาการจัดการและ
สารสนเทศศาสตร์
002121 สารสนเทศศาสตร์เพือ่ การศึกษาค้นคว้า 3(3-0-6)
Information Science for Study and Research
003134 อารยธรรมและภูมปิ ัญญาท้องถิ่น 3(3-0-6)
Civilization and Indigenous Wisdom

13.1.1.7 รายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไปในหลักสูตรที่เปิดสอนโดยคณะนิติศาสตร์
003131 กฎหมายพืน้ ฐานเพื่อคุณภาพชีวติ 3(3-0-6)
Fundamental Laws for Quality of Life

13.1.1.8 รายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไปที่เปิดสอนโดยคณะเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร
006141 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขัน้ พืน้ ฐาน 3(2-2-5)
Introduction to Computer Information Science

13.1.1.9 รายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไปที่เปิดสอนโดยคณะเกษตรศาสตร์และ
ทรัพยากรธรรมชาติ
006144 อาหารและวิถีชีวติ 3(3-0-6)
Food and Life Style
10

13.1.2 หมวดวิชาเฉพาะด้าน
13.1.2.1 รายวิชาหมวดวิชาเฉพาะด้านวิชาแกน ที่เปิดสอนโดยสาขาวิชา
ภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์
146204 ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ 3(3-0-6)
English for Specific Purposes

13.1.2.2 รายวิชาหมวดวิชาเฉพาะด้านวิชาโท กลุ่มภาษาอังกฤษ ที่เปิดสอนโดย


สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์
146111 การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ 3(2-2-5)
Practical Reading and Writing
146112 การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิวัฒน์ 3(2-2-5)
Progressive Reading and Writing
146131 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
English for Communication
146211 การอ่านและการเขียนชั้นสูง 3(2-2-5)
Advance Reading and Writing
146231 ภาษาอังกฤษเพื่อการอภิปราย 3(2-2-5)
English for Discussion
146232 การพูดและการนาเสนอในที่สาธารณะ 3(2-2-5)
Public Speaking and Presentation

13.1.2.3 รายวิชาหมวดวิชาเฉพาะด้าน วิชาโท กลุ่มภาษาจีน ทีเ่ ปิดสอนโดยสาขาวิชา


ภาษาจีน คณะศิลปศาสตร์
142111 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 1 3(2-2-5)
Chinese for Communication I
142112 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 2 3(2-2-5)
Chinese for Communication II
142211 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 3 3(2-2-5)
Chinese for Communication III
142121 การพัฒนาทักษะการฟัง-การพูดภาษาจีน 1 3(2-2-5)
Chinese Listening and Speaking Development I
11

142122 การพัฒนาทักษะการฟัง-การพูดภาษาจีน 2 3(2-2-5)


Chinese Listening and Speaking Development II
142231 การพัฒนาทักษะการอ่าน-การเขียนภาษาจีน 1 3(2-2-5)
Chinese Reading and Writing Development I

13.1.2.4 รายวิชาหมวดวิชาเฉพาะด้าน วิชาโท กลุ่มภาษาไทย ทีเ่ ปิดสอนโดย


สาขาวิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์
144111 ทักษะการรับสารอย่างมีประสิทธิภาพ 3(2-2-5)
Effective Information Receiving Skills
144112 ทักษะการส่งสารอย่างมีประสิทธิภาพ 3(2-2-5)
Effective information Transferring Skills
144439 วรรณกรรมกับสังคม 3(3-0-6)
Literary works and Society
144442 ทักษะการจัดประชุมและฝึกอบรม 3(3-0-6)
Meeting and Seminar setting skill
144443 ภาษากับวัฒนธรรม 3(3-0-6)
Thai Language and Culture
144444 ภาษาเพื่องานสื่อสารมวลชน 3(3-0-6)
Thai for Mass Media

13.1.2.5 รายวิชาหมวดวิชาเฉพาะด้าน วิชาโทกลุ่มภาษาฝรั่งเศส ทีเ่ ปิดสอนโดย


สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส คณะศิลปศาสตร์
145103 ภาษาฝรั่งเศส 1 3(2-2-5)
French I
145104 ภาษาฝรั่งเศส 2 3(2-2-5)
French II
145111 การฟัง-การพูดภาษาฝรั่งเศส 1 3(2-2-5)
French Listening and Speaking I
145112 การฟัง-การพูดภาษาฝรั่งเศส 2 3(2-2-5)
French Listening and Speaking II
145121 การอ่าน-การเขียนภาษาฝรั่งเศส 1 3(2-2-5)
French Reading and Writing I
12

145221 การอ่าน-การเขียนภาษาฝรั่งเศส 2 3(2-2-5)


French Reading and Writing II

13.2 กลุ่มวิชา/รายวิชาที่เปิดสอนให้สาขาวิชา/หลักสูตรอื่น
143381 ทักษะภาษาญี่ปุ่น 1 3(2-2-5)
Japanese Skills I
143382 ญี่ปุ่นศึกษา 3(3-0-6)
Japanese studies
143383 ทักษะภาษาญี่ปุ่น 2 3(2-2-5)
Japanese Skills II
143384 การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 1 3(2-2-5)
Japanese Conversation I
143481 ทักษะภาษาญี่ปุ่น 3 3(2-2-5)
Japanese Skills III
143482 การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 2 3(2-2-5)
Japanese Conversation II

13.3 การบริหารจัดการ
13.3.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
มหาวิท ยาลั ยพะเยา ได้ก าหนดนโยบายให้จัดการเรีย นการสอนหมวดวิชาศึก ษาทั่วไป
จานวนไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต ในโครงสร้างหลักสูตรระดับปริญญาตรีทุกหลักสูตร และได้ดาเนินการ
แต่งตัง้ คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
1) คณะกรรมการบริหารหมวดวิชาศึกษาทั่วไป โดยมีอธิการบดี เป็นประธาน คณบดี/
ผูอ้ านวยการ เป็นกรรมการ และรองอธิการบดีฝา่ ยวิชาการ เป็นกรรมการและเลขานุการ ทาหน้าที่กาหนด
นโยบายและพิจารณาการดาเนินการ การจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไปของมหาวิทยาลัย
2) คณะกรรมการดาเนินงานหมวดวิชาศึกษาทั่วไป โดยมีรองอธิการบดีฝา่ ยวิชาการ เป็น
ประธาน รองคณบดี /รองผู้อานวยการ เป็นกรรมการ ทาหน้าที่พัฒนากระบวนการเรียนการสอน กากับ
ติดตาม ประเมินผลการจัดการเรียนการสอน เพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงหมวดวิชาศึกษาทั่วไปตลอดจน
ประสานงาน เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนดาเนินไปในทิศทางเดียวกัน
3) คณะกรรมการประจารายวิชา ทาหน้าที่ ประสานงานจัดการเรียนการสอน
13

13.3.2 หมวดวิชาศึกษาเฉพาะด้าน
คณะหรือสาขาวิชาอื่นที่ประสงค์จะกาหนดให้รายวิชาภาษาญี่ปุ่นเป็นส่วนหนึ่งของ
หลักสูตร ต้องทาหนังสือขอความร่วมมือหรือขออนุมัติการบรรจุรายวิชาภาษาญี่ปุ่นจากคณะศิลปศาสตร์
ซึ่งเป็นคณะเจ้าของหลักสูตร ในระหว่างการจัดทาหลักสูตรโดยคณะหรือสาขาวิชานั้นๆ
สาหรับขั้นตอนการเปิดรายวิชานั้น คณะหรือสาขาวิชาอื่นที่กาหนดให้รายวิชาภาษาญี่ปุ่น
เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร ต้องทาหนังสือขออนุมัตกิ ารจัดการเรียนการสอนมายังคณะศิลปศาสตร์ซึ่งเป็น
คณะเจ้าของหลักสูตร สาหรับอาจารย์ผู้สอนให้เป็นไปตามนโยบายของมหาวิทยาลัย รายวิชาใดที่ใช้รหัส
วิชาของสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น (ได้แก่รหัส 143xxx) มหาวิทยาลัยจะมอบหมายให้อาจารย์ของสาขาวิชา
ภาษาญี่ปุ่น คณะศิลปศาสตร์เป็นผูส้ อน สาหรับการประเมินผล ให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัย การ
อนุมัตเิ กรดรายวิชาที่ใช้รหัสของสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นเป็นอานาจหน้าที่ของคณะศิลปศาสตร์
14

หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร

1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร


1. 1 ปรัชญา
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น เป็นศาสตร์รวมองค์ความรู้ด้านภาษา
และวรรณกรรม นาไปสู่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเทศญี่ปุ่น การใช้ภาษาญี่ปุ่นเป็นเครื่องมือในการ
ประกอบอาชีพ การแสวงหาความรู้ และการศึกษาในระดับสูง

1.2 ความสาคัญ
ประเทศญี่ปุ่นมีบทบาทสาคัญ ทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมวัฒนธรรม อาทิ การลงทุนของ
บริษัทญี่ปุ่นในไทย การเข้ามาของเทคโนโลยีและวัฒนธรรมญี่ปุ่น ด้วยปัจจัยดังกล่าว ทาให้ความเข้าใจทาง
ภาษาญี่ปุ่นที่จะเป็นตัวกลางในการสื่อสารจึงเป็นสิ่งจาเป็น
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาญี่ปุ่น จึงมุ่งผลิตบุคลากรที่มีความเป็นเลิศทาง
ทางวิชาการในเรื่องภาษาญี่ปุ่น ด้ว ยการศึก ษาฝึก ทัก ษะภาษาญี่ปุ่น ตลอดจนศึก ษาวิจัยและวิเ คราะห์
เกี่ย วกั บวั บัณฑิตจะสามารถนาองค์ความรู้ที่ไ ด้ รับไปประยุ กต์ใช้ใ นการประกอบอาชีพ หรือนาไป เป็น
พืน้ ฐานการศึกษาในระดับที่สูงขึน้

1.3 วัตถุประสงค์
1.3.1 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ และมีทักษะภาษาญี่ปุ่นที่ดี สามารถใช้ภาษาญี่ปุ่นเป็น
เครื่องมือในการประกอบอาชีพ สื่อสารกับชาวญี่ปุ่นได้
1.3.2 เพื่อผลิตบัณฑิตที่สามารถใช้ภาษาญี่ปุ่นเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้แขนง
อื่น การวิจัยหรือการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึน้
1.3.3 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ สังคมและวัฒนธรรมญี่ปุ่น อันจะ
เป็นพืน้ ฐานความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศ และส่งผลต่อการทางานร่วมกันได้อย่างมีความสุข

2. แผนพัฒนาปรับปรุง
แผนการพัฒนา/ เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ ตัวบ่งชี้
ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับ ติดตามการปรับเปลี่ยนเกณฑ์ ได้หลักสูตรปรับปรุงที่ดีข้นึ /
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรเรื่องต่างๆ มาตรฐานหลักสูตรของ สกอ. ตัวเล่มหลักสูตร
ของ สกอ. หาก สกอ. ทาการ
ปรับเปลี่ยนเกณฑ์
15

แผนการพัฒนา/ เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ ตัวบ่งชี้


ปรับปรุงหลักสูตรให้มคี วามทันสมัย 1. สารวจภาวะ การมีงานทา 1. ผลสารวจ / บัณฑิตได้งาน
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ ของบัณฑิต ทาในด้านที่เกี่ยวข้องกับ
บัณฑิตหรือตลาดแรงงาน 2. สารวจความพึงพอใจและ สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นและได้
ความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต เงินเดือนตามเกณฑ์ของ สกอ.
3. สารวจความคิดเห็นของ 2. ผลสารวจ / ความพึงพอใจ
สถานประกอบการที่นิสิตไป และความคิดเห็นของผู้ใช้
ฝึกงาน บัณฑิต
4. สารวจความคิดเห็นของ 3. ผลสารวจความคิดเห็นของ
บัณฑิตที่มีตอ่ หลักสูตรที่ได้ สถานประกอบการที่นิสิตไป
เรียนไป ฝึกงาน
5. จัดประชุมเพื่อรับฟังความ 4. ผลสารวจความคิดเห็นของ
คิดเห็นจากกรรมการที่ปรึกษา บัณฑิตที่มีตอ่ หลักสูตรที่ได้
ที่มาจากภาคประชาชน เรียนไป
5. การประชุมของสาขาวิชา
ภาษาญี่ปุ่นกับกรรมการที่
ปรึกษาที่มาจากภาคประชาชน
ปรับปรุงหลักสูตรให้มคี วามเข้มข้น 1. สารวจความคิดเห็นของ 1. ผลสารวจความคิดเห็นของ
ทางวิชาการในระดับที่ใช้เป็นพืน้ ฐาน บัณฑิตที่กาลังศึกษาต่อระดับ บัณฑิตที่กาลังศึกษาต่อระดับ
ในการศึกษาต่อระดับปริญญาโท ปริญญาโท สาขาภาษาญี่ปุ่น ปริญญาโท สาขาภาษาญี่ปุ่น
สาขาภาษาญี่ปุ่นหรือสาขาที่ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง และ
เกี่ยวข้อง 2. จัดประชุมเพื่อรับฟังความ รายงานการประชุมของ
คิดเห็นจากกรรมการที่ปรึกษา สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นกับ
ที่มาจากภาคประชาชน กรรมการที่ปรึกษาที่มาจาก
3. สารวจหลักสูตรปริญญาโท ภาคประชาชน
สาขาภาษาญี่ปุ่นหรือสาขาที่ 2. ผลสารวจหลักสูตร
เกี่ยวข้องที่มกี ารพัฒนา ปริญญาโทสาขาภาษาญี่ปุ่น
ออกมาใหม่ๆ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องที่มีการ
พัฒนาออกมาใหม่ๆ
16

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร

1. ระบบการจัดการศึกษา
1.1 ระบบ
เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยพะเยา ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2553
1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน
ไม่มี
1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค
ไม่มี

2. การดาเนินการหลักสูตร
2.1 วัน – เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน
ภาคการศึกษาต้น เดือน มิถุนายน – ตุลาคม
ภาคการศึกษาปลาย เดือน พฤศจิกายน – มีนาคม

2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยพะเยา ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2553
การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา
เป็นไปตามระเบียบการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัย
พะเยา

2.3 ปัญหาของนิสิตแรกเข้า
2.3.1 ปัญหาพืน้ ฐานภาษาอังกฤษ
2.3.2 ปัญหาพื้นฐานภาษาญี่ปุ่นที่ไม่เท่าเทียมกัน

2.4 กลยุทธ์ในการดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา / ข้อจากัดของนักศึกษาในข้อ 2.3


2.4.1 จัดโครงการอบรมภาษาอังกฤษ
2.4.2 จัดคาบเรียนเสริมพืน้ ฐานภาษาญี่ปุ่น แก่นิสิตที่ไม่เคยเรียนภาษาญี่ปุ่นมาก่อน
17

2.5 แผนการรับนักศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี
จานวนนิสิตแต่ละปีการศึกษา
จานวนนิสิต
2555 2556 2557 2558 2559
ชั้นปีที่ 1 60 60 60 60 60
ชั้นปีที่ 2 60 60 60 60
ชั้นปีที่ 3 60 60 60
ชั้นปีที่ 4 60 60
รวม 60 120 180 240 240
จานวนคาดว่าจะสาเร็จการศึกษา 60 60

2.6 งบประมาณตามแผน
ปีงบประมาณ
หมวดรายจ่าย
2555 2556 2557 2558 2559
1. งบบุคลากร
1.1 หมวดเงินเดือน 2,100,000 2,250,000 2,400,000 2,550,000 2,700,000
1.2 หมวดค่าจ้างประจา 1,440,000 1,440,000 1,440,000 1,440,000 1,440,000
2. งบดาเนินการ
2.1 หมวดค่าตอบแทน 50,000 50,000 50,000 50,000 50,000
2.2 หมวดค่าใช้สอย 900,000 900,000 900,000 900,000 900,000
2.3 หมวดค่าวัสดุ 300,000 300,000 300,000 300,000 300,000
2.4 หมวดสาธารณูปโภค 50,000 50,000 50,000 50,000 50,000
3. งบลงทุน
3.1 หมวดครุภัณฑ์ 500,000 500,000 500,000 500,000 500,000
4. งบเงินอุดหนุน 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000
รวมรายจ่าย 9,340,000 9,490,000 9,640,000 9,790,000 9,940,000

2.7 ระบบการศึกษา
 จัดการศึกษาแบบชั้นเรียน
 แบบทางไกลผ่านสื่อสิ่งพิมพ์เป็นหลัก
 แบบทางไกลผ่านสื่อแพร่ภาพและเสียงเป็นสื่อหลัก
18

 แบบทางไกลอิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อหลัก (E-learning)
 แบบทางไกลอินเตอร์เน็ต
 อื่นๆ ระบุ.....................................................................................................

2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย


เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยพะเยา ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2553

3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน
3.1 หลักสูตร
3.1.1 จานวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร 120 หน่วยกิต
3.1.2 โครงสร้างของหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็นหมวดวิชาที่สอดคล้องกับที่กาหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐาน
หลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้

หลักสูตร หลักสูตร
หมวดวิชา เกณฑ์ สกอ. ปรับปรุง ปรับปรุง
พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2555
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 30 30
1.1 วิชาศึกษาทั่วไปบังคับ 21 21
1.2 วิชาศึกษาทั่วไปเลือก 9 9
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 84 หน่วยกิต 99 84
2.1 กลุ่มวิชาแกน 6 6
2.2 กลุ่มวิชาเอก 69 54
2.2.1 วิชาเอกบังคับ 60 36
2.2.2 วิชาเอกเลือก 9 18
2.3 กลุ่มวิชาเลือกเฉพาะสาขา 18 18
2.4 กลุ่มวิชาการฝึกงาน หรือ
6 6
สหกิจศึกษา หรือ การศึกษาอิสระ
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 6 6
รวม (หน่วยกิต) ไม่น้อยกว่า 120 135 120
19

3.1.3 รายวิชาในหมวดต่างๆ
1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป บังคับ จานวน 21 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาภาษา 9 หน่วยกิต
001103 ทักษะภาษาไทย 3(3-0-6)
Thai language Skills
001111 ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน 3(3-0-6)
Fundamental English
001112 ภาษาอังกฤษพัฒนา 3(3-0-6)
Developmental English
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 3 หน่วยกิต
ให้นสิ ิตเลือกเรียน 1 รายวิชา
003134 อารยธรรมและภูมปิ ัญญาท้องถิ่น 3(3-0-6)
Civilization and Indigenous Wisdom
003136 พะเยาศึกษา 3(2-2-5)
Phayao Studies
กลุ่มวิชาพลานามัย 1 หน่วยกิต
004150 กอล์ฟ 1(0-2-1)
Golf
004151 เกม 1(0-2-1)
Game
004152 บริหารกาย 1(0-2-1)
Body Conditioning
004153 กิจกรรมเข้าจังหวะ 1(0-2-1)
Rhythmic Activities
004154 ว่ายน้า 1(0-2-1)
Swimming
004155 ลีลาศ 1(0-2-1)
Social Dance
004156 ตะกร้อ 1(0-2-1)
Takraw
20

004157 นันทนาการ 1(0-2-1)


Recreation
004158 ซอฟท์บอล 1(0-2-1)
Softball
004159 เทนนิส 1(0-2-1)
Tennis
004160 เทเบิลเทนนิส 1(0-2-1)
Table Tennis
004161 บาสเกตบอล 1(0-2-1)
Basketball
004162 แบดมินตัน 1(0-2-1)
Badminton
004163 ฟุตบอล 1(0-2-1)
Football
004164 วอลเลย์บอล 1(0-2-1)
Volleyball
004165 ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว 1(0-2-1)
Art of Self – Defense
กลุ่มวิชาบูรณาการ 8 หน่วยกิต
005171 ชีวติ และสุขภาพ 3(3-0-6)
Life and Health
005172 การจัดการการดาเนินชีวิต 3(2-2-5)
Living Management
005173 ทักษะชีวติ 2(1-2-3)
Life Skills

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป เลือก ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต


กลุ่มวิชาภาษา
001113 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3(3-0-6)
English for Academic Purposes
21

กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
002121 สารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษาค้นคว้า 3(3-0-6)
Information Science for Study and Research
002122 ปรัชญาเพื่อชีวติ 3(3-0-6)
Philosophy for Life
002123 ภาษาสังคมและวัฒนธรรม 3(3-0-6)
Language Society and Culture
002124 ปริทัศน์ศลิ ปะการแสดงไทย 3(3-0-6)
Thai Performing Arts
002125 ดุริยางควิจักขณ์ 3(3-0-6)
Music Appreciation
002126 ศิลปะในชีวติ ประจาวัน 3(3-0-6)
Arts in Daily Life
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
003131 กฎหมายพืน้ ฐานเพื่อคุณภาพชีวติ 3(3-0-6)
Fundamental Laws for Quality of Life
003132 ไทยกับประชาคมโลก 3(3-0-6)
Thai and the World Community
003133 วิถีไทย วิถีทัศน์ 3(3-0-6)
Thai Way and Vision
003135 การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม 3(3-0-6)
Politics Economy and Society
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
006140 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
Man and Environment
006141 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขัน้ พืน้ ฐาน 3(2-2-5)
Introduction to Computer Information Science
006142 คณิตศาสตร์สาหรับชีวิตในยุคสารสนเทศ 3(3-0-6)
Mathematics for Life in the Information Age
006143 ยาและสารเคมีในชีวติ ประจาวัน 3(3-0-6)
Drugs and Chemicals in Daily Life
22

006144 อาหารและวิถีชีวติ 3(3-0-6)


Food and Life Style
006145 พลังงานและเทคโนโลยีใกล้ตัว 3(3-0-6)
Energy and Technology around Us
006245 วิทยาศาสตร์ในชีวติ ประจาวัน 3(3-0-6)
Science in Daily Life
กลุ่มวิชาบูรณาการ
005170 พฤติกรรมมนุษย์ 3(3-0-6)
Human Behavior

2) หมวดวิชาเฉพาะด้าน จานวน 84 หน่วยกิต


ประกอบด้วยรายวิชาในกลุ่มวิชาแกนจานวน 6 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเอกจานวนไม่
น้อยกว่า 54 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเลือกเฉพาะสาขา จานวนไม่นอ้ ยกว่า 18 หน่วยกิต มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
2.1) กลุ่มวิชาแกน จานวน 6 หน่วยกิต
146200 ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ 3(3-0-6)
English for Specific Purposes
143398 ระเบียบวิจัย 3(3-0-6)
Research Methodology
2.2) กลุ่มวิชาเอก จานวน 54 หน่วยกิต
วิชาเอกบังคับ จานวน 36 หน่วยกิต
143101 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 1 3(2–2-5)
Basic Japanese l
143102 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 2 3(2–2-5)
Basic Japanese ll
143111 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 1 3(2–2-5)
Japanese for Communication I
143112 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 2 3(2-2-5)
Japanese for Communication II
143201 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 3 3(2–2-5)
Basic Japanese lll
143202 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 4 3(2–2-5)
Basic Japanese lV
23

143203 การเขียนภาษาญี่ปุ่นเบือ้ งต้น 3(2–2-5)


Basic Japanese Writing
143211 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 3 3(2–2-5)
Japanese for Communication III
143212 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 4 3(2–2-5)
Japanese for Communication IV
143301 ภาษาญี่ปุ่นขั้นกลาง 1 3(2–2-5)
Intermediate Japanese l
143302 ภาษาญี่ปุ่นขั้นกลาง 2 3(2–2-5)
Intermediate Japanese ll
143321 ภาษาศาสตร์ภาษาญี่ปุ่นเบือ้ งต้น 3(3-0-6)
Introduction to Japanese Linguistic
วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต
143322 อักษรญี่ปุ่น 3(3-0-6)
Japanese Characters and Letters
143331 ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมญี่ปุ่น 3(3-0-6)
History and Culture of Japan
143341 วรรณกรรมญี่ปุ่นเบือ้ งต้น 3(3-0-6)
Introduction to Japanese Literature
143351 ภาษาญี่ปุ่นเชิงสังคมและวัฒนธรรม 3(2-2-5)
Japanese Language in Social and Cultural Aspects
143361 ภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ 3(2–2-5)
Business Japanese
143371 การเปรียบเทียบภาษาญี่ปุ่นกับภาษาไทย 3(2-2-5)
Japanese-Thai Contrastive Study
143401 ภาษาญี่ปุ่นระดับเชิงวิชาการ 3(2-2-5)
Academic Japanese
143421 สัทศาสตร์ภาษาญี่ปุ่น 3(2-2-5)
Japanese Phonetic
143452 ภาษาญี่ปุ่นในสถานการณ์ปัจจุบัน 3(2–2-5)
Japanese in Current Affairs
24

143461 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการท่องเที่ยว 3(2–2-5)


Japanese for Tourism
143462 การสอนภาษาญี่ปุ่นในฐานะภาษาต่างประเทศ 3(2-2-5)
Teaching Japanese as a Foreign Language
143471 การแปลภาษาญี่ปุ่น 3(2-2-5)
Japanese Translation
2.3) กลุ่มวิชาเลือกเฉพาะสาขา ไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต
ให้นสิ ิตเลือกเรียนกลุ่มวิชาใดกลุ่มวิชาหนึ่งจากกลุ่มวิชาดังต่อไปนี้
กลุ่มภาษาจีน
142111 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 1 3(2-2-5)
Chinese for Communication I
142112 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 2 3(2-2-5)
Chinese for Communication II
142211 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 3 3(2-2-5)
Chinese for Communication III
142121 การพัฒนาทักษะการฟัง-การพูดภาษาจีน 1 3(2-2-5)
Chinese Listening and Speaking Development I
142122 การพัฒนาทักษะการฟัง-การพูดภาษาจีน 2 3(2-2-5)
Chinese Listening and Speaking Development II
142231 การพัฒนาทักษะการอ่าน-การเขียนภาษาจีน 1 3(2-2-5)
Chinese Reading and Writing Development I
กลุ่มภาษาไทย
144111 ทักษะการรับสารอย่างมีประสิทธิภาพ 3(2-2-5)
Effective Information Receiving Skills
144112 ทักษะการส่งสารอย่างมีประสิทธิภาพ 3(2-2-5)
Effective Information Transferring Skills
144439 วรรณกรรมกับสังคม 3(3-0-6)
Literary Works and Society
144442 ทักษะการจัดประชุมและฝึกอบรม 3(2-2-5)
Conference and Training setting skills
144443 ภาษากับวัฒนธรรม 3(3-0-6)
Language and Culture
25

144444 ภาษาเพื่องานสื่อสารมวลชน 3(2-2-5)


Language for Mass communication
กลุ่มภาษาฝรั่งเศส
145103 ภาษาฝรั่งเศส 1 3(2-2-5)
French I
145104 ภาษาฝรั่งเศส 2 3(2-2-5)
French II
145111 การฟัง-การพูดภาษาฝรั่งเศส 1 3(2-2-5)
French Listening and Speaking I
145112 การฟัง-การพูดภาษาฝรั่งเศส 2 3(2-2-5)
French Listening and Speaking II
145121 การอ่าน-การเขียนภาษาฝรั่งเศส 1 3(2-2-5)
French Reading and Writing I
145221 การอ่าน-การเขียนภาษาฝรั่งเศส 2 3(2-2-5)
French Reading and Writing II
กลุ่มภาษาอังกฤษ
146111 การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ 3(2-2-5)
Practical Reading and Writing
146112 การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิวัฒน์ 3(2-2-5)
Progressive Reading and Writing
146131 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
English for Communication
146211 การอ่านและการเขียนชั้นสูง 3(2-2-5)
Advance Reading and Writing
146231 ภาษาอังกฤษเพื่อการอภิปราย 3(2-2-5)
English for Discussion
146232 การพูดและการนาเสนอในที่สาธารณะ 3(2-2-5)
Public Speaking and Presentation
26

2.4) หมวดวิชาการฝึกงาน หรือ สหกิจศึกษา หรือ การศึกษาอิสระ


จานวน 6 หน่วยกิต
143497 การศึกษาอิสระ * 6 หน่วยกิต
Independent Study
143498 การฝึกงาน * 6 หน่วยกิต
Professional Training
143499 สหกิจศึกษา* 6 หน่วยกิต
Co-operative Education

หมายเหตุ * ให้นสิ ิตเลือกเรียนเพียง 1 รายวิชา

3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต


นิสิตเลือกเรียนรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยพะเยา หรือสถาบันอุดมศึกษา
อื่นที่มหาวิทยาลัยรับรอง ยกเว้นรายวิชาในหมวดศึกษาทั่วไป
27

3.1.4 แผนการศึกษา
ชั้นปีท่ี 1
ภาคการศึกษาต้น
001111 ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน 3(3-0-6)
Fundamental English
005171 ชีวติ และสุขภาพ 3(3-0-6)
Life and Health
005173 ทักษะชีวติ 2(1-2-3)
Life Skills
143101 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 1 3(2-2-5)
Basic Japanese l
143111 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 1 3(2–2-5)
Japanese for Communication I
004xxx กลุ่มวิชาพลานามัย 1(x-x-x)
Personal Hygiene Courses
รวม 15 หน่วยกิต

ภาคการศึกษาปลาย
001103 ทักษะภาษาไทย 3(3-0-6)
Thai language Skills
001112 ภาษาอังกฤษพัฒนา 3(3-0-6)
Developmental English
003134 อารยธรรมและภูมปิ ัญญาท้องถิ่น* 3(3-0-6)
Civilization and Indigenous Wisdom
003136 พะเยาศึกษา* 3(2-2-5)
Phayao Studies
143102 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 2 3(2-2-5)
Basic Japanese ll
143112 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 2 3(2–2-5)
Japanese for Communication ll
* หมายเหตุ ให้นสิ ิตเลือกเรียนเพียง 1 รายวิชา
รวม 15 หน่วยกิต
28

ชั้นปีท่ี 2
ภาคการศึกษาต้น
005172 การจัดการการดาเนินชีวิต 3(2-2-5)
Living Management
143201 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 3 3(2-2-5)
Basic Japanese lll
143211 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 3 3(2-2-5)
Japanese for Communication lll
00xxxx วิชาศึกษาทั่วไปเลือก 3 (x–x-x)
General Elective
00xxxx วิชาศึกษาทั่วไปเลือก* 3 (x–x-x)
General Elective
* หมายเหตุ
ให้นสิ ิตเรือกเรียนรายวิชา 001113 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3(3-0-6)
English for Academic Purposes
รวม 15 หน่วยกิต

ภาคการศึกษาปลาย
143202 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 4 3(2-2-5)
Basic Japanese IV
143203 การเขียนภาษาญี่ปุ่นเบือ้ งต้น 3(2-2-5)
Basic Japanese Writing
143212 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 4 3(2-2-5)
Japanese for Communication IV
146200 ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ 3(3-0-6)
English for Specific Purposes
00xxxx วิชาศึกษาทั่วไปเลือก 3(x–x-x)
General Elective
รวม 15 หน่วยกิต
29

ชั้นปีท่ี 3
ภาคการศึกษาต้น
143301 ภาษาญี่ปุ่นขั้นกลาง 1 3(2-2-5)
Intermediate Japanese I
143321 ภาษาศาสตร์ภาษาญี่ปุ่นเบือ้ งต้น 3(3-0-6)
Introduction to Japanese Linguistic
143398 ระเบียบวิจัย 3(3-0-6)
Research Methodology
143xxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
Major Elective
xxxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3(x-x-x)
Elective in Specific Fields
xxxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3(x-x-x)
Elective in Specific Fields
รวม 18 หน่วยกิต

ภาคการศึกษาปลาย
143302 ภาษาญี่ปุ่นขั้นกลาง 2 3(2-2-5)
Intermediate Japanese II
143xxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
Major Elective
143xxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
Major Elective
xxxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3(x-x-x)
Elective in Specific Fields
xxxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3(x-x-x)
Elective in Specific Fields
xxxxxx วิชาเลือกเสรี 3(x-x-x)
Free Elective
รวม 18 หน่วยกิต
30

ชัน้ ปีท่ี 4
ภาคการศึกษาต้น
143xxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
Major Elective
143xxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
Major Elective
143xxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
Major Elective
xxxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3(x-x-x)
Elective in Specific Fields
xxxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3(x-x-x)
Elective in Specific Fields
xxxxxx วิชาเลือกเสรี 3(x-x-x)
Free Elective
รวม 18 หน่วยกิต

ภาคการศึกษาปลาย
ให้นสิ ิตเลือกเรียนเพียง 1 รายวิชา
143497 การศึกษาอิสระ 6 หน่วยกิต
Independent Study
143498 การฝึกงาน 6 หน่วยกิต
Professional Training
143499 สหกิจศึกษา 6 หน่วยกิต
Co-operative Education
รวม 6 หน่วยกิต
31

3.1.5 คาอธิบายรายวิชา

001103 ทักษะภาษาไทย 3(3-0-6)


Thai Language Skills
ทักษะการใช้ ภาษาไทย ทั้ งในด้ านการฟั ง การอ่ าน การพู ดและการเขี ยน เพื่ อการสื่ อสาร
โดยเน้นทักษะการเขียนเป็นสาคัญ
Thai language skills in listening, reading, speaking and writing for communication
emphasizing on writing skills

001111 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(3-0-6)


Fundamental English
ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาอังกฤษและไวยากรณ์ระดับพื้นฐานเพื่อการสื่อสารใน
ปริบททางวิชาการและปริบทอื่น ๆ
English listening, speaking, reading, and writing skills, and grammar for communicative
purposes in academic contexts and others

001112 ภาษาอังกฤษพัฒนา 3(3-0-6)


Developmental English
ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษและไวยากรณ์ระดับซับซ้อน เพื่อการสื่อสาร
ในปริบททางวิชาการและปริบทอื่นๆ
More complete English listening, speaking, reading, and writing skills, and grammar
for communicative purposes in academic contexts and others

001113 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3(3-0-6)


English for Academic Purposes
ทักษะภาษาอังกฤษ เน้นทักษะการอ่านและการเขียนงานวิชาการ การศึกษาค้นคว้าวิจัยที่
เกี่ยวข้องกับสาขาของผู้เรียน
English skills emphasizing on reading and writing pertaining to students’ academic
areas and research interest
32

002121 สารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษาค้นคว้า 3(3-0-6)


Information Sciences for Study and Research
ความหมาย ความสาคัญและประเภทของแหล่งสารสนเทศ การจัดระบบสารสนเทศ การ
เข้าถึงสารสนเทศต่าง ๆ การสืบค้นสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์ บริการฐานข้อมูล การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ การเลือก การสังเคราะห์และการนาเสนอสารสนเทศ ตลอดจนเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดี
และมีนิสัยในการใฝ่หาความรู้
Meaning and significance of information sources, approaches, and database services;
information technology application, selection, synthesis, and presentation of information as well as
creating positive attitudes and sense of inquiry in students

002122 ปรัชญาเพื่อชีวิต 3(3-0-6)


Philosophy for Life
ความรู้พื้นฐานเกี่ ย วกั บปรัชญาและแนวคิดโลกทัศน์ ชีวทัศน์ ปรัชญาชีวิต และวิถีก าร
ดาเนินชีวิต ประสบการณ์อันทรงคุณค่า ปัจจัยหรือเงื่อนไขที่ส่งผลต่อความสาเร็จในชีวิตและงานในทุกมิติ
ของผู้มชี ื่อเสียง เพื่อประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ พัฒนาชีวติ ที่มีคุณภาพ มีประโยชน์ และคุณค่าต่อสังคม
Introduction to philosophy, philosophical concepts on life and world, philosophy of life,
way of life, valuable experiences, factors leading to success in life and works of outstanding persons
as to apply for creativity and life enhance

002123 ภาษา สังคม และวัฒนธรรม 3(3-0-6)


Language Society and Culture
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษา สังคมและวัฒนธรรมไทย ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาที่มีต่อ
สังคมและวัฒนธรรม วัฒนธรรมในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของภาษาอัน
เนื่องมาจากปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
Knowledge about language Thai society and culture, relation between language and
society and language and culture and language change caused by social and cultural factors
33

002124 ปริทัศน์ศิลปะการแสดงไทย 3(3-0-6)


Thai Performing Arts
ลักษณะและคุณค่าของนาฏศิลป์ไทยแบบมาตรฐานและแบบพืน้ บ้านเพื่อให้เกิดสุนทรียะใน
การชมนาฏศิลป์ไทยประเภทต่าง ๆ
The characteristics and values of both Thai classical and local dance to enable student
to understand and have background knowledge of different kinds of Thai dance

002125 ดุริยางควิจักขณ์ 3(3-0-6)


Music Appreciation
ลักษณะ ความสาคัญ พัฒนาการ องค์ประกอบทางด้านดนตรี บทเพลง คีตกวี
สุนทรียศาสตร์ทางด้านดนตรีไทย และตะวันตก ลักษณะและบทเพลงที่ใช้ในการแสดงดนตรี มารยาทใน
การเข้าฟังดนตรี การวิจารณ์และอภิปรายจากการฟังและชมการแสดงดนตรี รวมทั้งบทบาทของดนตรีไทย
และตะวันตกในสังคมไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
Musical characteristics, importance of music development, musical components, lyrics,
music composers, aesthetics of Thai and Western music, the characteristics and repertoire for musical
performance, music etiquette, criticism and discussion on the musical performance including the roles
of Thai and Western music in Thai society from the past to the present

002126 ศิลปะในชีวติ ประจาวัน 3(3-0-6)


Arts in Daily Life
การรับรู้ทางด้านศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม เพื่อประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน
ประกอบด้วย ทัศนศิลป์ หัตถศิลป์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบแฟชั่น ศิลปะภาพถ่าย ภาพเคลื่อนไหว
การออกแบบการสื่อสาร รวมทั้งความรู้ ทางสถาปัตยกรรม ด้าน การประหยัดพลังงาน คติความเชื่อต่างๆ
อันจะนาไปสู่การเห็นคุณค่าของรสนิยมและสุนทรีย์ในการดารงชีวิตที่สัมพันธ์กับบริบทต่างๆ ทั้งของไทย
และสากล
Recognition of the arts and architecture for application in daily life, Topics include visual art,
craftsmanship, product design, fashion design, photography, animation and visual communication
design, Knowledge of architecture in energy-saving management, Beliefs concerning appreciation of
values in taste and aesthetics to live in harmony in national and international contexts
34

003131 กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต 3(3-0-6)


Fundamental Laws for Quality of Life
ความรูพ้ ืน้ ฐานเกี่ยวกับระบบกฎหมายและประเภทของกฎหมาย สิทธิมนุษยชนและสิทธิ
ขั้นพื้นฐานตามรัฐธรรมนูญ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายอาญา กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ กฎหมายเกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่น กฎหมายเพื่อการอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมและภูมปิ ัญญาท้องถิ่น และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและการพัฒนาคุณภาพ
ชีวติ ของนิสติ
Fundamental knowledge of legal systems and types of laws, human rights and basic
rights under the constitution, civil and commercial law, criminal law, intellectual property law,
information technology law, law concerning local administration, law on natural resources and
traditional knowledge preservation, an laws concerning contemporary phenomenon and student’s
quality of life

003132 ไทยและประชาคมโลก 3(3-0-6)


Thai and the World Community
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐไทยกับสังคมโลกภายใต้การเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่างๆ ตั้งแต่
ก่อนสมัยใหม่จนถึงสังคมในยุคปัจจุบัน บทบาทของไทยบนเวทีโลกและแนวโน้มในอนาคต
Relations between Thailand and the world community under changes during various
times stating from the pre-modern age up to the present, roles of Thailand in the world forum and
future trends

003133 วิถีไทย วิถที ัศน์ 3(3-0-6)


Thai Way and Vision
ความหมาย ความสาคัญของวิถีไทย วิถีทัศน์ พัฒนาการของวิถีไทยสู่ปัจจุบัน
ลักษณะเฉพาะ และอัตลักษณ์ความเป็นไทย กระบวนการเปลี่ยนแปลงแนวคิดที่เกี่ยวกับวิถีไทย การดารง
ความเป็นไทยในโลกปัจจุบัน
Meaning, significance of Thai ways and vision, development of Thai ways up to the
present, specific features and identity of Thai-ness, the change process, concepts regarding the Thai
way, and conservation Thai-ness in a changing world
35

003134 อารยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 3(3-0-6)


Civilization and Indigenous Wisdom
อารยธรรมในยุคต่าง ๆ วิถีวัฒนธรรม วิถีชีวติ ประเพณี พิธีกรรม คติความเชื่อ ภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น และการอนุรักษ์ สืบทอด และพัฒนาภูมปิ ัญญาท้องถิ่น
Civilization throughout history, cultural evolution, ways of life, traditions, ritual
practices, beliefs and contribution and development are preservative of wisdom

003135 การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม 3(3-0-6)


Politics Economy and Society
ความหมายและความสัมพันธ์ของการเมือง เศรษฐกิจ สังคม พัฒนาการเมืองไทยและ
ระดับสากล การเมืองและการปรับตัวของประเทศพัฒนาและกาลังพัฒนา ระบบเศรษฐกิจโลก ผลกระทบ
ของโลกาภิวัฒน์กับการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ความสัมพันธ์ของระบบโลกกับประเทศไทย
Meaning and relation among politics, economy, and society, Thai and international
political development, politics and adjustment of developed countries, the global economics system,
impacts of globalization on politics economy and society, relations between the world system and
Thailand

003136 พะเยาศึกษา 3(2-2-5)


Phayao Studies
พั ฒ นาการทางประวั ติ ศ าสตร์ โ บราณคดี พลวั ต ทางสั ง คม การเมื อ งการปกครอง
เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของจังหวัดพะเยาตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง การ
วิเคราะห์แนวโน้มการพัฒนาด้านต่าง ๆ ในอนาคต ภายใต้บริบทโลกาภิวัตน์และประชาคมอาเซียน
History, archeology, social dynamics, politics, economics and culture from the past to
present, factors influencing the changes, analytical study of the sustainable development in the
future ; globalization and ASEAN communities context.
36

004150 กอล์ฟ 1(0-2-1)


Golf
ประวัติ ความหมาย ความสาคัญ การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายสาหรับกีฬากอล์ฟ
การฝึกทักษะเบือ้ งต้น และกฎกติกามารยาทของกีฬากอล์ฟ
History definition importance and physical fitness for golf basic skill training rules and
etiquette of golf

004151 เกม 1(0-2-1)


Game
ประวัติ วิวัฒนาการความเป็นมา ความสาคัญ ความหมาย ทฤษฎีการเล่น เทคนิคการเป็นผูน้ า
การฝึกกิจกรรม ประเภทของเกม เทคนิคการสอน ตลอดจนการใช้เครื่องอานวยความสะดวก อุปกรณ์
รวมถึงความคิดสร้างสรรค์ อีกทั้งส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
History philosophy definition and importance of games type of games basic game
leadership and games participation
004152 บริหารกาย 1(0-2-1)
Body Conditioning
ประวัติ ความหมาย ความสาคัญของการบริหารกาย หลักการออกกาลังกาย กิจกรรม
การสร้างสมรรถภาพทางกาย และการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
History, definition and importance of body conditioning; principle of exercises, physical
fitness activities, and physical fitness test

004153 กิจกรรมเข้าจังหวะ 1(0-2-1)


Rhythmic Activities
ประวัติ ความหมาย ความสาคัญ การเคลื่อนไหวเบือ้ งต้น ท่าเต้นราพืน้ เมือง และ
วัฒนธรรมการเต้นราของนานาชาติ
History, definition, importance and basic movements of folk dances and international
folk dances
37

004154 ว่ายน้า 1(0-2-1)


Swimming
ประวัติ ความหมาย ความสาคัญ การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายสาหรับกีฬาว่ายน้า
การฝึกทักษะเบือ้ งต้น และกฎกติกา มารยาทของกีฬาว่ายน้า
History definition importance physical fitness basic skill training rules and etiquette of
swimming

004155 ลีลาศ 1(0-2-1)


Social Dance
ประวัติ ความหมาย ความสาคัญ การเคลื่อนไหวเบือ้ งต้น รูปแบบการเต้นราสากลและ
มารยาทของการเต้นราสากล
History, definition, importance, basic movement, types, and etiquette of social dances

004156 ตะกร้อ 1(0-2-1)


Takraw
ประวัติ ความหมาย ความสาคัญ การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายสาหรับนักกีฬา
ตะกร้อ การฝึกทักษะเบือ้ งต้น และกฎกติกามารยาทของกีฬาตะกร้อ
History definition importance physical fitness basic skill training, rules and etiquette of
Takraw

004157 นันทนาการ 1(0-2-1)


Recreation
ความหมาย ขอบข่ายและความสาคัญของกิจกรรมนันทนาการในรูปแบบต่างๆ ตลอดจน
สามารถนากิจกรรมนันทนาการไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมและเกิดประโยชน์
History philosophy definition and importance of recreation nature of activities and
recreation participation
38

004158 ซอฟท์บอล 1(0-2-1)


Softball
ประวัติ ความหมาย ความสาคัญ การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายสาหรับกีฬาซอฟท์
บอล การฝึกทักษะเบือ้ งต้น กฎ กติกา มารยาทของกีฬาซอฟท์บอล
History, definition, importance and physical fitness for softball; basic skill training, rules
and etiquette of softball

004159 เทนนิส 1(0-2-1)


Tennis
ประวัติ ความหมาย ความสาคัญ การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายสาหรับกีฬาเทนนิส
การฝึกทักษะเบือ้ งต้น และกฎกติกา มารยาทของกีฬาเทนนิส
History definition Importance and physical fitness for tennis basic skill training rules and
etiquette of tennis

004160 เทเบิลเทนนิส 1(0-2-1)


Table Tennis
ประวัติ ความหมาย ความสาคัญ การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายสาหรับกีฬาเทเบิล
เทนนิส การฝึกทักษะเบือ้ งต้นและกฎกติกา มารยาทของกีฬาเทเบิลเทนนิส
History definition Importance and physical fitness for table tennis basic skill training
rules and etiquette of table tennis

004161 บาสเกตบอล 1(0-2-1)


Basketball
ประวัติ ความหมาย ความสาคัญ การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายสาหรับบาสเกตบอล
การฝึกทักษะเบือ้ งต้น กฎ กติกา มารยาทของกีฬาบาสเกตบอล
History definition importance and physical fitness for basketball basic skill training rules
and etiquette of basketball
39

004162 แบดมินตัน 1(0-2-1)


Badminton
ประวัติ ความหมาย ความสาคัญ การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายสาหรับกีฬา
แบดมินตัน การฝึกทักษะเบื้องต้น และกฎกติกา มารยาทของกีฬาแบดมินตัน
History, definition, importance and physical fitness for badminton; basic skill training,
rules and etiquette of badminton

004163 ฟุตบอล 1(0-2-1)


Football
ประวัติ ความหมาย ความสาคัญ การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายสาหรับกีฬาฟุตบอล
การฝึกทักษะเบือ้ งต้น และกฎกติกา มารยาทของกีฬาฟุตบอล
History definition Importance and physical fitness for football basic skill training rules
and etiquette of football

004164 วอลเลย์บอล 1(0-2-1)


Volleyball
ประวัติ ความหมาย ความสาคัญ การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายสาหรับวอลเลย์บอล
การฝึกทักษะเบือ้ งต้น กฎ กติกา มารยาทของกีฬาวอลเลย์บอล
History, definition, Importance and physical fitness for volleyball; basic skill training,
rules and etiquette of volleyball

004165 ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว 1(0-2-1)


Art of Self – Defense
ประวัติ ความหมาย ความสาคัญ การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายสาหรับศิลปะการ
ต่อสูป้ ้องกันตัว ทักษะเบือ้ งต้นของศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว กฎหมายสาหรับการป้องกันตัวและกฎกติกา
มารยาทของศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว
History, definition Importance and physical fitness for the art of self–defense; basic skill
of the art of self–defense, laws for self–defense; rules and etiquette of the art of self-defense
40

005170 พฤติกรรมมนุษย์ 3(3-0-6)


Human Behavior
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดพฤติกรรม พืน้ ฐานทางชีวภาพของพฤติกรรมและประเภทของ
พฤติกรรม ความรูส้ ึกและการรับรู้ การมีสติสัมปชัญญะ การเรียนรูแ้ ละความจา การคิดและภาษา เชาว์
ปัญญาและการยกระดับเชาว์ปัญญา การจัดการอารมณ์และการสร้างแรงจูงใจ พฤติกรรมมนุษย์ทาง
สังคม พฤติกรรมอปกติ และการวิเคราะห์กรณีศกึ ษาพฤติกรรมมนุษย์เพื่อการประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน
Concept of human behavior, biology and type of behavior, sensation and perception,
state of consciousness, learning and memory, thinking and language, intelligence and intelligence
management of emotions and development of motivation, human social behavior, abnormal behavior,
analysis of human behavior case studies for application in daily life

005171 ชีวติ และสุขภาพ 3(3-0-6)


Life and Health
ความรู้ความเข้าใจเชิงบูรณาการเกี่ยวกับวงจรชีวิต พฤติกรรมและการดูแลสุขภาพของ
มนุษย์ วัยรุ่นและสุขภาพการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพและนันทนาการ การส่งเสริมสุขภาพจิต อาหารและ
สุ ขภาพ ยาและสุ ขภาพ สิ่ง แวดล้อมและสุขภาพ การประกั นสุขภาพ ประกั นชีวิต ประกั นอุบัติเ หตุ
ประกันสังคม การป้องกันตัวจากอุบัติภัย อุบัติเหตุ ภัยธรรมชาติ และ โรคระบาด
Integrated knowledge and understanding about the life cycle, healthy behavior and
human health care, adolescence and exercise and recreation for health, enrichment of mental health,
medicine and health, environment and health, health insurance, life insurance, accident insurance.
And social security; protection from danger, accidents, natural disasters and communicable diseases

005172 การจัดการการดาเนินชีวติ 3(2-2-5)


Living Management
ความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของบุคคลในครอบครัว
และสังคม การปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก การติดต่อสื่อสาร การจัดการ ความขัดแย้ง
การคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เศรษฐศาสตร์กับการดาเนินชีวิตที่ดี และคุณธรรมจริยธรรม
Knowledge and skills relating to role, duty, and responsibity as a member of a family
and a member of a society, adaptation to changes in a global society, world communication, conflict
management resolutions, methods of creative problem solutions, a good economy and living conditions
and ethics
41

005173 ทักษะชีวติ 2(1-2-3)


Life Skills
การพัฒนาบุคลิกภาพทั้งภายในและภายนอก การฝึกทักษะการทางานเป็นทีมที่เน้นการ
เป็นผูน้ าและเป็นผูต้ ามที่ดี การพัฒนาบุคคลให้มีจิตสาธารณะและการพัฒนาคุณสมบัติดา้ นอื่นๆ ของบุคคล
Development of personality both mental and physical characteristics, practice in team
working skills focusing on leader and follower roles, development of public consciousness and other
desirable personal characteristics

006140 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)


Man and Environment
ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม สาเหตุปัญหาสิ่งแวดล้อม ผลของการ
เปลี่ยนแปลงประชากรมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม กรณีปัญหาสิ่งแวดล้อม ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ
และระดับโลก การเปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศโลก อุบัติภัยธรรมชาติและการรับมือ การพัฒนากับสิ่งแวดล้อม
การปลูกจิตสานึก การสร้างความตระหนัก และการมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
Relationship between man and the environment, cause of environmental problems,
effects of population change related to environmental problems case studies of global climate change,
natural disasters and encounter, at the global and local scale and the building of environmental
awareness and participation in sustainable environmental management

006141 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน 3(2-2-5)


Introduction to Computer Information Science
ระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อินเตอร์เน็ตและการประยุกต์ ใช้งาน ระบบสานักงานอัตโนมัติ ระบบจานวนและการแทนข้อมูล การ
จัดการข้อมูล และระบบฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศ ภาษาคอมพิวเตอร์ การพัฒนาโปรแกรม
ปัญญาประดิษฐ์ ระบบเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
Computer system, hardware, software, operating system, computer networks, the
Internet and its applications, office automation systems, number system and data representation, data
management and database systems, information systems, programming languages, program design,
artificial intelligent, geographic information system
42

006142 คณิตศาสตร์สาหรับชีวิตในยุคสารสนเทศ 3(3-0-6)


Mathematics for Life in the Information Age
การประยุกต์ใช้วิชาคณิตศาสตร์เพื่อใช้จริงกับชีวติ ประจาวัน เช่น การเงินการธนาคาร การ
ประกันภัย การตัดสินใจทางธุรกิจ และการรวบรวมข้อมูลทางสถิตเิ พื่อการสารวจและการตัดสินใจ
เบือ้ งต้น
Application of mathematics for daily life including banking and finance, insurance,
business and statistics for data collection and decision making

006143 ยาและสารเคมีในชีวติ ประจาวัน 3(3-0-6)


Drugs and Chemicals in Daily Life
ความรูข้ องยาและเคมีภัณฑ์ เครื่องสาอาง อาหารและยาจากสมุนไพรที่ใช้ในชีวติ ประจาวัน
ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ตลอดจนการเลือกใช้และจัดการเพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับสุขภาพ และ
สิ่งแวดล้อม
Basic knowledge of drugs and chemicals including cosmetics and herbal medicinal
product commonly used in daily life and related to health as well as their proper selection and
management for health and environmental safety

006144 อาหารและวิถชี ีวติ 3(3-0-6)


Food and Life Style
บทบาทและความสาคัญของอาหารในชีวติ ประจาวัน วัฒนธรรมและพฤติกรรมการบริโภค
อาหารในภูมิภาคต่างๆ ของโลกและในประเทศไทย รวมถึงอิทธิพลของอารยธรรมต่างประเทศต่อ
พฤติกรรมการบริโภคของไทย เอกลักษณ์และภูมิปัญญาด้านอาหารของไทย การเลือกอาหารที่เหมาะสม
ต่อความต้องการของร่างกาย อาหารเพื่อสุขภาพ ข้อมูลประกอบการพิจารณาเลือกซือ้ อาหาร และอาหาร
และวิถีชีวติ กับการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัตน์
Roles and importance of food in daily life, cultures and consumption behavior around
the world including the influence of foreign cultures on Thai consumption behavior, identity and
wisdom of food in Thai, proper food selection according to basic needs, health foods, information for
purchasing food, and food and life style according in the age of globalization
43

006145 พลังงานและเทคโนโลยีใกล้ตัว 3(3-0-6)


Energy and Technology around Us
ความรู้พื้นฐานด้านพลั งงานและเทคโนโลยี การอนุรักษ์พลังงาน การใช้พลังงานอย่าง
ฉลาด ผลกระทบของการใช้พลังงานที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม ที่มาของพลังงานไฟฟ้า และพลังงานอื่นๆ และ
การใช้พลังงานอย่างถูกต้อง ประหยัด และปลอดภัย หลักการทางานและการเลือกใช้ระบบปรับอากาศ
รถยนต์ เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน การใช้พลังงานในอนาคต การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์
เทคโนโลยีสาหรับรถยนต์ในอนาคต ระบบขนส่งมวลชน การเตรียมความพร้อมสาหรับการเปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยี และการตัดสินใจเลือกใช้อย่างเหมาะสม
Basic knowledge of energy and technology, energy conservations, intelligent methods
for consuming energy, impact of consuming energy on environment, source of electricity and other
energy, proper, economical and safe methods for consuming energy, principle of selecting air
conditioner and vehicle, consuming energy in the future, electricity generation by nuclear energy,
mass transportation system, preparation for changing technology and decision making on proper use

006245 วิทยาศาสตร์ในชีวติ ประจาวัน 3(3-0-6)


Science in Daily Life
บทบาทของวิท ยาศาสตร์ชี วภาพ วิ ท ยาศาสตร์ ก ายภาพ และวิท ยาศาสตร์เ ทคโนโลยี
บูรณาการความรู้ทางด้านวิท ยาศาสตร์ของโลกทั้งระบบที่เ กี่ย วข้องกับ สิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อม สารเคมี
พลั ง งานและไฟฟ้ า การสื่ อสารและคมนาคม อุ ตุ นิ ย มวิท ยา โลกและอวกาศ รวมถึ ง การประยุ ก ต์ ใ ช้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในชีวติ ประจาวัน
Role of biological science and physical science and integration of earth science in daily
life organisms, environments, chemical substances, energies and electricity, telecommunications,
meteorology, earth and space including, the applications of science and technology in daily life

142111 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 1 3(2-2-5)


Chinese for Communication I
ทักษะพื้นฐาน 4 ทักษะของภาษาจีน พูด ฟัง เขีย น อ่าน การออกเสียงภาษาจีนตาม
ระบบสัทอักษรภาษาจีน Chinese Phonetic Alphabet (CPA) (PINYIN) ทักษะการเขียนตัวอักษรจีนอย่าง
ถูกต้องตามระบบการเขียนอักษรจีนแบบบรรจง ศัพท์พื้นฐานต่าง ๆ เกี่ยวกับสิ่งใกล้ตัวและคาศัพท์ที่ใช้ใน
ชีวติ ประจาวันประมาณ 300 คา สนทนาขั้นพื้นฐาน ไวยากรณ์จนี พืน้ ฐาน
44

Four basic skills of Chinese including speaking listening reading and writing, Chinese
Pronunciation with Chinese phonological system (CHINESE PHONETIC ALPHABET), Chinese character
systematically writing skills, 300 of daily-life words and expressions, basic conversation and Chinese
grammar

142112 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 2 3(2-2-5)


Chinese for Communication II
คาศัพท์ในชีวิตประจาวันประมาณ 400 คา การออกเสียงในระดับคาหลายพยางค์ วลี และ
ระดับประโยค ไวยากรณ์จีนพื้นฐานระดับประโยค โครงสร้างประโยคแบบต่ าง ๆ ประโยคที่ใช้กริยาช่วย
ประโยคภาคแสดงเป็ น กริ ย าวลี ประโยคภาคแสดงเป็ น คุ ณ ศั พ ท์ ว ลี ประโยคภาคแสดงเป็ น นามวลี
โครงสร้างประโยคคาถามแบบต่าง ๆ การใช้คาบอกตาแหน่ง การบอกเวลา วันเดือนปี การใช้กริยาช่วย
ต่าง ๆ หน่วยคาไวยากรณ์ที่แสดงความสมบรูณ์ของการกระทา การเขียนอักษรจีน
400 daily-life words and expressions, pronunciation in level of multi-syllable words,
phrases and sentences, basic grammar of sentence structures. the sentences with verb complement,
the sentences with adjective complement, the sentence with noun complement, the structure of
interrogative sentences, the use of prepositions, telling the time and date, use of auxiliary verbs, the
functional words, writing of Chinese characters

142121 การพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษาจีน 1 3(2-2-5)


Chinese Listening and Speaking I
การฟั ง และการพู ด บทสนทนาภาษาจีนในชีวิตประจาวันอย่างง่าย ๆ การออกเสียงให้
ชัดเจนถูกต้อง และการพูดโต้ตอบ
Listening and speaking Chinese in simple dialogues for daily life, pronunciation, and
ability for inquiring and answering

142122 การพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษาจีน 2 3(2-2-5)


Chinese Listening and Speaking II
การฟังและพูดบทสนทนาภาษาจีนในชีวิตประจาวัน ในระดับกลาง และสูง การใช้ถ้อยคาที่
ถูกต้องในสถานการณ์ต่างๆ
Listening and speaking Chinese daily life dialogues in intermediate and advanced
levels, using proper words in different situations
45

142211 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 3 3(2-2-5)


Chinese for Communication III
คาศัพท์ในชีวิตประจาวันและศัพท์เฉพาะต่าง ๆ ประมาณ 500 คา การใช้คาบอกจานวน
เงิ น ส่ ว นขยายภาคแสดง หน่ ว ยค าไวยากรณ์ ที่ ใ ช้ เ ชื่ อ มภาคแสดงกั บ ส่ ว นขยายภาคแสดง การซ้ า
คาคุณศัพท์พยางค์เดี่ยวและสองพยางค์ หน่วยคาที่แสดงการดาเนินต่อเนื่องไปของภาคแสดง หน่วยคา
ไวยากรณ์ที่แสดงการเน้นประสบการณ์ การซ้าคากริยาสองพยางค์ ประโยคที่ภาคแสดงมีหลายกริยาวลี
การใช้คาบุพบทต่าง ๆ ที่สาคัญ รวมทั้งคาเชื่อมของประโยคความซ้อน
500 daily-life words and technical terms. Chinese currency, the complement
modification, functional words for complement and complement modification, the reduplication of
monosyllabic and dissyllabic adjectives, indication words in progressive aspect, the particle
emphasizing on past experience, the reduplication of dissyllabic verbs, the sentence with several verb
complements, prepositions and conjunctions used in complex sentence

142231 การพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีน 1 3(2-2-5)


Chinese Reading and Writing Development I
ทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีนขนาดสั้นที่ใช้ในชีวิตประจาวันทั่วไป บันทึกประจาวัน
นิทาน จดหมาย แนะนาตนเอง ประวัติส่วนตัว บัตรเชิญ ประกาศ โฆษณา
Reading and writing skills in Chinese in term of diary; stories, letters, self introduction,
resume, invitation card, announcement, advertisement

143101 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 1 3(2–2-5)


Basic Japanese l
ภาษาญี่ปุ่นชั้นต้น การอ่านและเขียนอักษรฮิรางานะ คาตาคานะ และตัวอักษรคันจิพืน้ ฐาน
ที่จาเป็นในชีวิตประจาวันจานวน 100 ตัว คาศัพท์จานวน 700 คา และรูปประโยคพื้นฐานที่ใช้ใน
ชีวติ ประจาวัน 50 รูปประโยค
Basic Japanese; reading and writing Hiragana, Katakana, 100 practical Kanji, 700
basic vocabularies and 50 basic sentence patterns in daily life
46

143102 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 2 3(2–2-5)


Basic Japanese ll
ภาษาญี่ปุ่นชั้นต้น การอ่านและเขียนตัวอักษรคันจิจานวน 200 ตัว คาศัพท์จานวน 1,000
คา และรูปประโยคที่ใช้ในชีวิตประจาวัน 80 รูปประโยค เทียบเท่าระดับในการสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่น
ระดับเอ็น5
Basic Japanese; reading and writing 200 kanji, 1,000 vocabularies and 80 sentence
patterns in daily life in Japanese Language Proficiency Test -N5 level

143111 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 1 3(2–2-5)


Japanese for Communication I
ทักษะการออกเสียงภาษาญี่ปุ่น การฟังและพูดสนทนาแบบสั้น การสนทนาและการโต้ตอบ
ในห้องเรียน การแนะนาตัวเอง การอธิบายลักษณะบุคคล สิ่งของและสถานที่ การบอกและการถามเวลา
การนับจานวน การใช้คากริยารูปต่างๆในการพูดเกี่ยวกับตนเอง
Japanese pronunciation, listening-speaking short conversation, conversation and
questioning-answering in classroom context, self introduction, description persons things and places,
telling and asking time, ordinal number, using various forms of verbs to talk about themselves

143112 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 2 3(2-2-5)


Japanese for Communication II
ทักษะฟังและพูดภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น การสนทนาและการโต้ตอบในชีวติ ประจาวันอย่างง่าย
การขอร้อง การชักชวน การขออนุญาต การห้ามปรามตักเตือน การบอกและการถามวิธีการในการกระทา
สิ่งใดสิ่งหนึ่ง การถามและแสดงความคิดเห็น
Basic Japanese speaking and listening skills, conversation and asking-answering in
daily life, request, invitation, asking for permission, prohibition and caution, telling and asking how to
do something, asking and expressing opinions
47

143201 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 3 3(2–2-5)


Basic Japanese lll
ภาษาญี่ปุ่นชั้นต้น การอ่านและเขียนตัวอักษรคันจิ400 ตัว คาศัพท์จานวน 1,500 คา
รูปประโยคที่ใช้ในชีวติ ประจาวันรวม 120 รูปประโยค
Basic Japanese : reading and writing 400 kanji, 1,500 vocabularies and 120 sentence
patterns in daily life

143202 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 4 3(2–2-5)


Basic Japanese lV
ภาษาญี่ปุ่นชั้นต้น การอ่านและเขียนตัวอักษรคันจิ 500 ตัว คาศัพท์และรูปประโยคที่ใช้ใน
ชีวติ ประจาวัน รวมคาศัพท์ประมาณ 2,000 คา รูปประโยคจานวน 150 รูปประโยค เทียบเท่าระดับในการ
สอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่น ระดับเอ็น4
Basic Japanese; reading and writing 500 kanji, 2,000 vocabularies and 150 sentence
patterns in daily life in JLPT-N4 level

143203 การเขียนภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น 3(2–2-5)


Basic Japanese Writing
หลักการเขียนภาษาญี่ปุ่น การเขียนเรียงความภาษาญี่ปุ่นที่ถูกต้องตามรูปแบบ ในหัวข้อที่
เกี่ยวกับชีวิตประจาวัน การใช้ศัพท์และสานวนที่เหมาะสม
Principles of Japanese writing; writing Japanese essays in correct format about daily
life with emphasis on using appropriate vocabulary and expressions

143211 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 3 3(2–2-5)


Japanese for Communication III
ทักษะการสื่อสาร การฟังและพูดภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น การใช้ประโยคที่ซับซ้อนขึ้นในการ
สนทนาโต้ตอบในชีวติ ประจาวันในหัวข้อที่หลากหลาย การอ่านบทความสั้น
Communication skills, speaking and listening basic Japanese, using more complex
sentence patterns in daily life conversation in various situations, reading short passage
48

143212 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 4 3(2–2-5)


Japanese for Communication IV
ทักษะการสื่อสาร การฟังและพูดภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น การเลือกใช้ศัพท์และสานวนที่ถูกต้อง
ในการสนทนาและการโต้ตอบในชีวติ ประจาวัน ในหัวข้อที่หลากหลาย ภาษาสุภาพ การอ่านบทความสัน้
Communication skills, speaking and listening basic Japanese, using proper words and
expressions in conversation and asking-answering in various situations of daily life conversation, polite
Japanese (keigo), reading short passage

143301 ภาษาญี่ปุ่นขั้นกลาง 1 3(2–2-5)


Intermediate Japanese l
ภาษาญี่ปุ่นชั้นกลาง การอ่านและเขียนบทความสั้น อักษรคันจิ 600 ตัว คาศัพท์ 2,500
คา และรูปประโยคจานวน 250 รูปประโยค
Intermediate Japanese; reading and writing short passages, 600 kanji, 2,500
vocabularies and 250 sentence patterns

143302 ภาษาญี่ปุ่นขั้นกลาง 2 3(2–2-5)


Intermediate Japanese ll
ภาษาญี่ปุ่นชั้นกลาง อ่านทาความเข้าใจบทความ การสนทนาหัวข้อที่เกี่ยวกับ
ชีวติ ประจาวัน อักษรคันจิ 700 ตัว คาศัพท์ 4,000 คา และรูปประโยค 300 รูปประโยค เทียบเท่าระดับใน
การสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่น ระดับเอ็น3
Intermediate Japanese; reading various kinds of essay, everyday life conversation,
700 kanji, 4,000 vocabularies and 300 sentence patterns in JLPT-N3 level

143321 ภาษาศาสตร์ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น 3(3-0-6)


Introduction to Japanese Linguistic
ความรูพ้ ืน้ ฐานเกี่ยวกับภาษาญี่ปุ่น ระบบเสียง สัทวิทยาภาษาญี่ปุ่น หน่วยคา
วากยสัมพันธ์ภาษาญี่ปุ่น และระบบความหมาย ทฤษฎีภาษาศาสตร์เพื่อใช้ในการศึกษาวิเคราะห์
ภาษาญี่ปุ่น
Basic knowledge of Japanese linguistics; Japanese phonology, morphology, syntax,
semantics
49

143322 อักษรญี่ปุ่น 3(3-0-6)


Japanese Characters and Letters
ตัวอักษรที่ใช้ในภาษาญี่ปุ่น ตัวอักษรคันจิ ตัวอักษรคานะ วิวัฒนาการของอักษรคันจิ
วิธีการอ่านคันจิแบบต่างๆ ส่วนประกอบอนุมูลของตัวคันจิ ลาดับเส้นและการนับเส้นตัวอักษรคันจิ ตาราง
คันจิที่ใช้ในปัจจุบัน วิวัฒนาการของอักษรคานะ อักขรวิธีญี่ปุ่น
Letters and characters in Japanese; Kanji and Kana, development of Kanji, various
styles of reading Kanji, radical of Kanji, stroke order and stroke counting of Kanji, Kanji table for public
use, development of Kana, orthography in Japanese

143331 ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมญี่ปุ่น 3(3-0-6)


History and Culture of Japan
ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น ยุคสมัยที่มคี วามโดดเด่นทางวัฒนธรรม ยุคนารา เฮอัน คามาคุระ
มุโรมาจิ เอโดะ เมจิ โชวะ ความสัมพันธ์ของประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ชีวติ
ความเป็นอยู่ แนวคิดของชาวญี่ปุ่น
History of Japan, Japanese culture, periods of important culture; Nara, Heian,
Kamakura, Muramachi, Edo, Meiji, Showa, relations between history and culture, tradition, ways of
life, Japanese ways of thinking

143341 วรรณกรรมญี่ปุ่นเบื้องต้น 3(3-0-6)


Introduction to Japanese Literature
ประวัติวรรณคดีญี่ปุ่นในสมัยโบราณ เฮอัน คามาคุระ มุโรมาจิ เอโดะ วรรณกรรมญี่ปุ่นที่
ขึน้ ชื่อ วรรณกรรมญี่ปุ่นในแต่ละยุคสมัย
Background of Japanese literature in ancient Japan, Heian, Kamakura, Muromachi,
Edo, well-known Japanese literature, Japanese literature in each period

143351 ภาษาญี่ปุ่นเชิงสังคมและวัฒนธรรม 3(2-2-5)


Japanese Language in Social and Cultural Aspects
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาญี่ปุ่นกับสังคมและวัฒนธรรม การใช้ภาษาญี่ปุ่นสุภาพ (เคโกะ)
การคานึงถึงมารยาทในระบบสังคมญี่ปุ่น การใช้เคโกะในวงการธุรกิจ
Relation between Japanese language and Japanese society, culture, using of polite
Japanese; Keigo (Honorific word) with Japanese social custom, using Keigo in business
50

143361 ภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ 3(2-2-5)


Business Japanese
ประเพณีปฏิบัติและการใช้ภาษาในทางธุรกิจของญี่ปุ่น การใช้ศัพท์ทางธุรกิจด้านต่างๆ
การใช้ภาษาญี่ปุ่นในการทางาน
Traditional manners and use of language in Japanese business environment, use of
vocabulary in various business aspects, using Japanese in working

143371 การเปรียบเทียบภาษาญี่ปุ่นกับภาษาไทย 3(2-2-5)


Japanese-Thai Contrastive Study
การค้นคว้าวิเคราะห์และเปรียบเทียบภาษาญี่ปุ่นกับภาษาไทย ในหัวข้อต่างๆ ระบบเสียง
คา ประโยค ความหมาย และการใช้ภาษา ของทั้งสองภาษา
Research, analysis and comparison between Thai and Japanese languages on various
topics; sound system, word, sentence, meaning and using

143381 ทักษะภาษาญี่ปุ่น 1 3(2-2-5)


Japanese Skills I
อักษรฮิรางานะและคาตาคานะ การออกเสียงภาษาญี่ปุ่น โครงสร้างประโยคภาษาญี่ปุ่น
ขั้นพื้นฐานสาหรับการแนะนาตัวและสนทนาทักทายในชีวติ ประจาวัน
Introduction to Japanese characters; Hiragana and Katakana, pronunciation in
Japanese, basic Japanese structure for self introducing and conversation in daily life

143382 ญี่ปุ่นศึกษา 3(3-0-6)


Japanese Studies
ความรู้ พื้ น ฐานเกี่ ย วกั บ ประเทศญี่ ปุ่ น ประวั ติ ศ าสตร์ ภู มิ ศ าสตร์ สั ง คม การเมื อ ง
เศรษฐกิจและวัฒนธรรม
Basic knowledge about Japan; history, geography, society, politic, economy and
culture
51

143383 ทักษะภาษาญี่ปุ่น 2 3(2-2-5)


Japanese Skills II
โครงสร้างประโยคภาษาญี่ปุ่นขั้นพื้นฐานในระดับที่สูงขึน้ ทักษะภาษาญี่ปุ่นทั้งสี่ด้าน
การฝึกทักษะการฟังและการพูด
Basic Japanese structure at a higher level, 4 skills of Japanese language emphasizing
on listening and speaking skills

143384 การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 1 3(2-2-5)


Japanese Conversation I
ทักษะการฟังและการพูดบทสนทนาภาษาญี่ปุ่นในชีวิตประจาวัน การออกเสียงและการ
โต้ตอบบทสนทนาภาษาญี่ปุ่น
Listening and speaking skills in daily-life conversations, pronunciation and conversation
in Japanese

143398 ระเบียบวิธีวิจัย 3(3-0-6)


Research Methodology
ความหมาย ความสาคัญ ประเภทการวิจัย ปัญหาและสมมุตฐิ านการวิจัย ประชากรและ
กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือการวิจัย วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล จรรยาบรรณนักวิจัย
การเขียนโครงร่างและรายงานการวิจัย
Meaning, significance, types, problem, and hypothesis of research, population and
sample, research tools, methods of data collection and data analysis, ethics of researcher, proposal
and research report writing

143401 ภาษาญี่ปุ่นระดับเชิงวิชาการ 3(2-2-5)


Academic Japanese
การใช้ภาษาญี่ปุ่นเกี่ยวกับหัวข้อเชิงวิชาการ การฟังจับใจความการนาเสนอผลงาน การจด
บันทึก การเตรียมการ ทักษะการนาเสนอผลงาน การซักถาม ด้วยภาษาญี่ปุ่น
Japanese on academic topics, listening comprehension presentations, note taking,
preparing presentation, presentation skills, question and answer session in Japanese
52

143421 สัทศาสตร์ภาษาญี่ปุ่น 3(3-0-6)


Japanese Phonetic
เสียง และระบบเสียงในภาษาญี่ปุ่น เสียงสระ เสียงพยัญชนะ อวัยวะ การออกเสียง คา
เทียบคู่ หน่วยเสียง หน่วยเสียงย่อย กฎการเปลี่ยนแปลงเสียง โครงสร้างพยางค์ การลงเสียงหนักเบา และ
ทานองเสียง
Japanese sounds and their systems; the topics of vowels, consonants, organs of
speech, minimal pairs, phonemes, allophones, rules of sound change, syllable structures, stress, and
intonation

143452 ภาษาญี่ปุ่นในสถานการณ์ปัจจุบัน 3(2–2-5)


Japanese in Current Affairs
สถานการณ์ปัจจุบันของญี่ปุ่น สังคม เศรษฐกิจ การอ่านและการฟังสื่อภาษาญี่ปุ่น ข่าว
สารคดี อินเทอร์เน็ต สิ่งพิมพ์ ศัพท์เฉพาะทาง และทักษะการสืบหาข้อมูลภาษาญี่ปุ่น
Current affair of Japan, society, economy, reading and listening Japanese media;
news, documentary, internet, printed matter, Japanese technical terms, Japanese information retrieval
skills
143461 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการท่องเที่ยว 3(2–2-5)
Japanese for Tourism
ศัพท์เฉพาะ สานวนที่ใช้ในการท่องเที่ยว การใช้ภาษาญี่ปุ่นรูปสุภาพ งานบริการท่องเที่ยว
ตลอดจนแนะนาสถานที่ท่องเที่ยวสาหรับนักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่น
Japanese specific terms and expressions in tourism business, the use of polite
expressions by tour guide, main touristic spots for Japanese tourists

143462 การสอนภาษาญี่ปุ่นในฐานะภาษาต่างประเทศ 3(2-2-5)


Teaching Japanese as a Foreign Language
หลักการสอนภาษาญี่ปุ่นชั้นต้น การฝึกการสอนโดยวิธีตรง การวางแผนการสอน การสอน
แบบฟัง-พูด
Principles of teaching basic Japanese, teaching basic Japanese in direct method,
making a teaching plan, teaching in a classroom by audio-lingual method
53

143471 การแปลภาษาญี่ปุ่น 3(2-2-5)


Japanese Translation
หลักการแปล การฝึกแปลประโยคและบทความในหัวข้อต่างๆ การแปลล่ามในหัวข้อ
เกี่ยวกับชีวติ ประจาวัน จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และจากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย
Principle of translation, translation document and articles in various topics,
interpretation in daily life conversation from Thai to Japanese and vice versa

143481 ทักษะภาษาญี่ปุ่น 3 3(2-2-5)


Japanese Skills III
โครงสร้างประโยคภาษาญี่ปุ่นที่มีความซับซ้อน ทักษะภาษาญี่ปุ่นทั้งสี่ด้าน ทักษะการฟัง
และการพูด
Complex structure of Japanese language and practice in the four language skills
emphasizing on listening and speaking skills

143482 การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 2 3(2-2-5)


Japanese Conversation II
ทั ก ษะการฟั ง และการพู ด บทสนทนาในชี วิ ตประจาวั น การใช้ ถ้อ ยค าและส านวนตาม
สถานการณ์ต่างๆ
Listening and speaking skills in daily-life conversations, words and expressions in
different situations

143497 การศึกษาอิสระ 6 หน่วยกิต


Independent Study
การค้นคว้า การรวบรวมข้อมูล การวิจัย การวิเคราะห์ การเขียนรายงาน การนาเสนอ และการ
อภิปราย ในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับประเทศญี่ปุ่น วัฒนธรรมญี่ปุ่น หรือภาษาญี่ปุ่น การนาเสนอผลงานด้วย
ภาษาญี่ปุ่น
Studying, collecting data, researching, analyzing, report writing, presenting and discussing in
topics of Japan, Japanese culture, Japanese language and presentation in Japanese
54

143498 การฝึกงาน 6 หน่วยกิต


Professional Training
การฝึกปฏิบัติ เรียนรู้ เพิ่มพูนประสบการณ์และทักษะในงานที่เกี่ยวข้องกับประเทศญี่ปุ่น
หรืองานที่ใช้ภาษาญี่ปุ่นในสถานประกอบการ องค์กรภาครัฐหรือเอกชน
Training, learning, gaining experience, improving working skills in relation with Japan or using
Japanese in private or government sectors

143499 สหกิจศึกษา 6 หน่วยกิต


Co-operative Education
การปฏิบัติงาน เรียนรู้ เพิ่มพูนประสบการณ์และทักษะในงานที่เกี่ยวข้องกับประเทศญี่ปนุ่
หรือภาษาญี่ปุ่นในฐานะพนักงานฝึกหัดในสถานประกอบการ องค์กรภาครัฐหรือเอกชน
Working, learning, gaining experience, improving working skills in relation with Japan or
Japanese as an apprentice in private or government sectors

144111 ทักษะการรับสารอย่างมีประสิทธิภาพ 3(2-2-5)


Effective information Receiving Skills
ทฤษฎีการสื่อสาร หลักการ กลวิธี รูปแบบ การฟังและการอ่านประเภทต่างๆ การ
วิเคราะห์วินิจ วิจารณ์และประเมินค่า
Theory of communication, the principles, strategies, and feature of listening and
reading in a variety patterns, analysis, interpretation, criticism and evaluation

144112 ทักษะการส่งสารอย่างมีประสิทธิภาพ 3(2-2-5)


Effective information Transferring Skills
ทฤษฎีการสื่อสาร หลักการ กลวิธี รูปแบบ การพูดและการเขียนประเภทต่างๆ การ
พัฒนาบุคลิกภาพในการพูดและการพัฒนาทักษะการเขียน
The theory of communication, the principle, strategy and format of speaking and
writing in a variety of patterns, personality development in speaking, writing skills
55

144439 วรรณกรรมกับสังคม 3(3-0-6)


Literary works and Society
ลักษณะสังคมไทย ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมกับสังคม วัฒนธรรม สังคมและ
การเมืองในวรรณกรรมไทย อิทธิพลของวรรณกรรมและสังคมที่มีต่อกัน
Thai society, correlation between Thai literature and society, culture, society and
politic in Thai literature, the impacts between literature and society

144442 ทักษะการจัดประชุมและฝึกอบรม 3(2-2-5)


Conference and Training setting skills
ความรูท้ ั่วไปเกี่ยวกับการประชุมและฝึกอบรม หลักการจัดการประชุมและฝึกอบรม
บทบาทและหน้าที่ของผูเ้ กี่ยวข้อง การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในการจัดประชุมและฝึกอบรม
Introduction to conference and training, principle of conference and training setting,
roles and responsibilities of all parties involved, use of language for communication in conference and
training

144443 ภาษากับวัฒนธรรม 3(3-0-6)


Language and Culture
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมในแง่มุมต่างๆ ภาษาไทยกับความเชื่อ ค่านิยม
โลกทัศน์ การใช้ภาษาไทยในปริบทของวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงของภาษาในปริบทของวัฒนธรรม
Correlations between language and culture in different aspects such as Thai language
and beliefs, popularities, vision, use of Thai language in cultural context, changing of language in
cultural context

144444 ภาษาเพื่องานสื่อสารมวลชน 3(2-2-5)


Language for Mass Communication
ความรูเ้ กี่ยวกับงานสื่อสารมวลชน ลักษณะภาษาที่ใช้สื่อสารในงานสื่อสารมวลชน
ประเภทต่างๆ หลักการเขียนและพูดในงานสื่อสารมวลชน
General knowledge of mass communication, Characteristics of languages used in mass
communications, principles of writing and speaking in mass communication works
56

145103 ภาษาฝรั่งเศส 1 3(2-2-5)


French I
ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวัน ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน
ไวยากรณ์ฝรั่งเศสเบือ้ งต้น โครงสร้างประโยคที่ไม่ซับซ้อน
French for daily communicative skills, listening, speaking, reading and writing skills,
elementary French grammar, simple sentence structure

145104 ภาษาฝรั่งเศส 2 3(2-2-5)


French II
ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสารในสถานการณ์ตา่ งๆ ไวยากรณ์ฝรั่งเศส โครงสร้างประโยคที่
ซับซ้อน ระดับภาษาฝรั่งเศสที่แตกต่างกัน
French for communication in various situations, French grammar, complex sentence
structure, different levels of French language

145111 การฟังและการพูดภาษาฝรั่งเศส 1 3(2-2-5)


French Listening and Speaking I
การฟังและการพูดในสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจาวันการฟังภาษาฝรั่งเศสจากบท
สนทนาและข่าว การพูดแสดงความคิดเห็น สัทศาสตร์ฝรั่งเศสและการออกเสียง สัทอักษร IPA
Listening and speaking in various situations in daily life, Listening skill based on
conversation and report, expressing an opinion, French phonetics and pronunciation, phonetic
transcription of IPA.

145112 การฟังและการพูดภาษาฝรั่งเศส 2 3(2-2-5)


French Listening and Speaking II
การฟังภาษาฝรั่งเศสจากข่าว บทสนทนาในบริบทต่างๆ ภาพยนตร์และสื่อต่างๆ การจับ
ใจความ การเล่าเรื่อง และการแสดงความคิดเห็น
Listening French report and conversation in various contexts, cinema and authentic
document, summarizing, retelling and expressing opinions
57

145121 การอ่านและการเขียนภาษาฝรั่งเศส 1 3(2-2-5)


French Reading and Writing I
การอ่านข่าว บทความขนาดสั้น เรื่องสั้น การอ่านเพื่อความเข้าใจ การเขียนเรียงความ
ขนาดสั้นในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับชีวติ ประจาวัน
Reading news, short article, short story, reading for comprehension, writing short
composition in various contexts in daily life

145122 การอ่านและการเขียนภาษาฝรั่งเศส 2 3(2-2-5)


French Reading and Writing II
การอ่านบทความภาษาฝรั่งเศสที่มเี นือ้ หาเชิงวิชาการ วรรณกรรม การวิเคราะห์ บทอ่าน
การอ่านเพื่อมุ่งประสิทธิผล การเขียนเรียงความขนาดสั้นที่มีเนื้อหาเชิงวิชาการ
Reading academic French texts, literature, text analysis, effective reading, writing
short academic compositions

146111 การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเชิงปฏิบัติ 3(2-2-5)


Practical Reading and Writing
หลักเบือ้ งต้นการอ่าน การเขียน ปัญหาในการอ่านและการเขียน ระดับ คา วลี อนุประโยค
ประโยคประเภทต่างๆ การอ่านเพื่อวิเคราะห์ประโยคที่ไม่สมบูรณ์ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน การแบ่ง
ประโยค การเขียนตามหลักการเกี่ยวกับการเขียนเบือ้ งต้น
Basic principle of reading and writing, problems in reading and writing at lexical level,
types of phrases, clauses and sentence, reading focusing on problems on incomplete sentences, the
use of punctuation marks, writing following the basic principle

146112 การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิวัฒน์ 3(2-2-5)


Progressive Reading and Writing
การอ่านเพื่อความเข้าใจและการวิเคราะห์ การเขียนในระดับประโยค ย่อหน้า ความเรียง
เชิงแสดงความคิดเห็น ความเรียงเชิงพรรณนา ความเรียงเชิงอภิปราย ความเรียงแบบเล่าความ ความเรียง
เชิงประเมินค่า
Reading for comprehension and analysis, writing sentences paragraph, persuasive,
comparison and contrast essay, descriptive essay definition essay narrative essay evaluation essay
58

146131 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)


English for Communication
การฟัง-พูด ภาษาอังกฤษ การออกเสียงสระ พยัญชนะ การเน้นเสียงในระดับคาและระดับ
ประโยค การทาความเข้าใจบทสนทนา การฟังเพื่อจับคาสาคัญ รายละเอียด และใจความสาคัญ และพูด
โต้ตอบบทสนทนาอย่างเหมาะสม
Listening and speaking in English, vowel and consonant sounds, stress patterns and
intonation in both word and sentence levels, understanding conversational language in words, details,
and gist, making response to the conversation in proper way

146200 ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ 3(3-0-6)


English for Specific Purposes
ภาษาอังกฤษในบริบทที่เฉพาะเจาะจงเน้นใช้ทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน โดยเพิ่ม
หัวข้อและประเด็นการพูดและการเขียนที่มคี วามเกี่ยวข้องกับศาสตร์ที่นสิ ิตกาลังศึกษาให้มคี วามสอดคล้อง
กับคาศัพท์
English in more specific contexts focusing on listening, speaking, reading, and writing
skill with additions of various speaking and writing topics

146211 การอ่านและการเขียนขั้นสูง 3(2-2-5)


Advance Reading and Writing
การอ่านเพือ่ วิเคราะห์ การอ่านบทความทางวิชาการ การทบทวนวรรณกรรม การ
สังเคราะห์ข้อมูล การเขียนอ้างอิง การเขียนบรรณานุกรม การเขียนโน้ตย่อ การเขียนบทความ การเขียน
รายงานการวิจัย
Analytical reading, reading academic article, literature review, synthesizing data,
writing citation, writing references, writing note-taking, writing article, writing research report

146231 ภาษาอังกฤษเพื่อการอภิปราย 3(2-2-5)


English for Discussion
การอภิปรายในหัวข้ออภิปรายที่หลากหลาย การให้ข้อมูลสนับสนุนความคิดเห็น การใช้
คาศัพท์และโครงสร้างที่ถูกต้องเหมาะสม
Discussion of various topics, giving evidence to support one’s own idea, using
appropriate vocabulary and structure
59

146232 การพูดและการนาเสนอในที่สาธารณะ 3(2-2-5)


Public Speaking and Presentation
ความสาคัญ ประเภทของการพูดในที่สาธารณะ หลักการพูดในที่สาธารณะ วิธีการ
นาเสนอ การเรียบเรียงความคิด การนาเสนอผลงานทางวิชาการ การนาเสนอทางธุรกิจ การโต้วาที การ
กล่าวสุนทรพจน์ การพูดแบบฉับพลัน การใช้สื่อนาเสนออย่างมีประสิทธิภาพ การวิเคราะห์ผฟู้ ัง
Importance, types of public speaking, principles of public speaking, procedures of
giving presentation, idea organization, academic presentation, business presentation, debating, giving
speech, impromptu speaking, using medias for effective presentation, audience analysis

3.1.6 ความหมายเลขรหัสวิชา
เลขรหัสสามตัวแรก หมายถึง สาขาวิชา
143 หมายถึง วิชาภาษาญี่ปุ่น
เลขในลาดับที่ส่ี หมายถึง ระดับชั้นปีของการศึกษา
1 หมายถึง รายวิชาในระดับชั้นปีที่ 1
2 หมายถึง รายวิชาในระดับชั้นปีที่ 2
3 หมายถึง รายวิชาในระดับชั้นปีที่ 3
4 หมายถึง รายวิชาในระดับชั้นปีที่ 4
เลขในลาดับที่ห้า หมายถึง หมวดหมู่ในสาขาวิชา
0 หมายถึง ไวยากรณ์ ทักษะการอ่านเขียน
1 หมายถึง การสนทนาสื่อสาร ทักษะการฟังพูด
2 หมายถึง ความรูท้ างภาษาศาสตร์
3 หมายถึง ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
4 หมายถึง วรรณกรรม
5 หมายถึง ภาษาและสังคม
6 หมายถึง รายวิชาเพื่อประกอบวิชาชีพ
7 หมายถึง การแปลภาษา
8 หมายถึง รายวิชาที่เปิดให้หลักสูตรอื่น
9 หมายถึง การฝึกงาน / สหกิจศึกษา / การศึกษาอิสระ อื่นๆ
เลขในลาดับทีห่ ก หมายถึง ลาดับรายวิชา
60

3.2 ชื่อ สกุล ตาแหน่งและคุณวุฒขิ องอาจารย์


3.2.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร
เลขบัตร
ตาแหน่ง คุณ ปีท่สี าเร็จ
ลาดับ ชื่อ – สกุล ประจาตัว สาขาวิชา สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน
ทางวิชาการ วุฒิ การศึกษา
ประชาชน
นางสาวณภัทร แสน 36599005 ศศ.บ. ภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยนเรศวร 2548
1*
โภชน์ xxxxx - M.A. International Communication Aichi University,Japan 2555
นางสาวพิรดา โตน 110149908 ศศ.บ. ภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551
2 -
ชัยภูมิ xxxxx
ศศ.ม. นิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2548
นางสาวพันธุ์พิชญา 35011003 -
3 นศ.บ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2548
ปัญญาฟู xxxxx
ศศ.บ. ภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยนเรศวร 2546
ศศ.บ. ภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยนเรศวร 2542
35603001
4 นายอิทธิพล บัวย้อย - (เกียรตินิยมอันดับ 2)
xxxxx

TH5885 M.A. Japanese Linguistics Reitaku University, Japan 2552


5* Mr. Hiroyuki Tanaka -
Xxx B.A. Economics Waseda University, Japan 2550
* อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร
61

3.2.2 อาจารย์ประจา
เลขบัตร
ตาแหน่ง คุณ ปีท่สี าเร็จ
ลาดับ ชื่อ – สกุล ประจาตัว สาขาวิชา สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน
ทางวิชาการ วุฒิ การศึกษา
ประชาชน
1* นางสาวณภัทร 36599005 M.A International Communication Aichi University, Japan 2555
-
แสนโภชน์ xxxxx ศศ.บ. ภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยนเรศวร 2548
ศศ.ม. นิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2548
นางสาวพันธุ์พิชญา 35011003 -
2 นศ.บ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2548
ปัญญาฟู xxxxx
ศศ.บ. ภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยนเรศวร 2546
TH5885 M.A. Japanese Linguistics Reitaku University, Japan 2552
3* Mr. Hiroyuki Tanaka -
Xxx B.A. Economics Waseda University, Japan 2520
นางสาวโขมพัฒน์ 15603000
4 - B.S. Applied Bio Science Tokyo University of Agriculture ,Japan 2553
ประวัง xxxxx
Advanced Japanese Culture and Language
Cert. 2549
Japanese Culture Institute ,Japan
35013002
5 นายณัฐกร คาปวน - ศศ.บ. ภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 2546
xxxxx
นายพงษ์พิชญ์ 16799001 ภาษาญี่ปุ่น
6 - ศศ.บ. มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551
จิตรภิมลภัทร xxxxx (เกียรตินิยมอันดับ 2)
นางสาวพิรดา 11014990
7 - ศศ.บ. ภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยนเรศวร 2550
โตนชัยภูมิ xxxxx
62

เลขบัตร
ตาแหน่ง คุณ ปีท่สี าเร็จ
ลาดับ ชื่อ – สกุล ประจาตัว สาขาวิชา สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน
ทางวิชาการ วุฒิ การศึกษา
ประชาชน
นายอิทธิพล 35011003 ภาษาญี่ปุ่น
8 - ศศ.บ. มหาวิทยาลัยนเรศวร 2543
บัวย้อย xxxxx (เกียรตินิยมอันดับ 2)
เทคโนโลยีและสื่อสาร
9 Mr. Toshiaki Kanaya TZ0227xxx - กศ.บ. มหาวิทยาลัยนเรศวร 2550
การศึกษา
* อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร
63

3.2.3 อาจารย์พิเศษ
ตาแหน่ง
ลาดับ ชือ่ -สกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา
ทางวิชาการ
1. Mr. Yusuke Masuda - M.A. Business Administration
B.A. Business Administration

4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม
ประสบการณ์ภาคสนามสาหรับนิสิตหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต จะบรรจุลงในวิชาการฝึกงาน
และสหกิจศึกษา เพื่อให้นสิ ิตได้ประยุกต์ใช้ความรูค้ วามสามารถด้านทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน และการ
คิดวิเคราะห์วิจารณ์ ไปสู่การปฏิบัติจริง เพื่อสร้างความชานาญและความมั่นใจในการใช้ภาษาพร้อมที่จะ
ทางานหรือศึกษาต่อในระดับที่สูงขึน้ รวมทั้งได้มปี ระสบการณ์ของชีวิตการทางานอย่างแท้จริง เป็นการ
สร้างความพร้อมทั้งด้านความรู้ ความคิด บุคลิกภาพ และคุณสมบัติจาเป็นอื่นๆในโลกของการประกอบ
อาชีพ
4.1 มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณ์ภาคสนาม
มาตรฐานการเรียนรูข้ องวิชาการฝึกงาน และสหกิจศึกษา เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่ได้
กาหนดไว้ในมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา
ภาษาญี่ปุ่น ในประเด็นต่อไปนี้
4.1.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม
(1) ตระหนั กในคุ ณค่ าและคุ ณธรรม จริ ยธรรม และซื่ อสั ตย์ สุ จริ ต มี จรรยาบรรณทาง
วิชาการและวิชาชีพ
(2) มีวินัย และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(3) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
(4) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของ
ความเป็นมนุษย์
4.1.2 ด้านความรู้
(1) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศกึ ษากับความรูใ้ นศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
4.1.3 ด้านทักษะทางปัญญา
(1) ใช้ประสบการณ์ทางภาคปฎิบัติมาหาแนวทางใหม่ในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
(1) มี ม นุ ษ ยสั ม พั น ธ์ ที่ ดี สามารถสื่ อ สารกั บ กลุ่ ม คนหลากหลายทั้ ง ภาษาไทยและ
ภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
64

(2) สามารถวางตั ว และแสดงความคิ ด เห็ น พร้ อ มทั้ ง แสดงจุ ด ยื น อย่ า งเหมาะสมตาม


บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
(3) มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรูท้ ั้งตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.5 ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
(1) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของ
สื่อการนาเสนออย่างเหมาะสม
4.1.6 ด้านทักษะการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาบุคลิกภาพ
(1) สามารถพัฒนาบุคลิกภาพ และมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม

4.2 ช่วงเวลา
ภาคการศึกษาปลาย ชั้นปีที่ 4

4.3 การจัดเวลาและตารางสอน
นิ สิ ต ต้ อ งฝึ ก ปฏิ บั ติ ง านไม่ ต่ ากว่ า 12 สั ป ดาห์ หรื อ 3 เดื อ นในการท างานกั บ สถาน
ประกอบการที่คณะอนุมัติให้ไปฝึกงาน โดยคณะจะต้องแต่งตั้งอาจารย์นิเทศการฝึกงาน เพื่อกากับดูแล
การฝึกปฏิบัติ งานของนิสิตในความดูแล อย่างไรก็ต ามตารางการฝึกงานมอบให้ผู้บังคับบัญชาของนิสิตที่
สถานประกอบการต่างๆเป็นผู้กาหนดและได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์นิเทศ ก่อนการฝึกงานของนิสิต
เสร็จสิน้ อาจารย์นิเทศต้องดาเนินการสอบถามผลการปฏิบัติงานของนิสิตจากผู้บังคับบัญชาที่ทางานด้วย
ตนเองอย่างน้อย 1 ครั้ง (ยกเว้นบางกรณีเช่นการนิเทศการฝึกงานต่างประเทศ ให้ขึ้นกับความเห็นชอบของ
คณะและมหาวิทยาลัย ) และเมื่อการฝึกงานยุติลง นิสิตจะต้องนาเสนอผลงานเป็นรายบุคคลทั้งด้วยงาน
เขียนและวาจาเป็นภาษาญี่ปุ่น ก่อนสิน้ ภาคการศึกษานั้นๆ

5. ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงงานหรืองานวิจัย
การท าโครงงานหรืองานวิจัย จะบรรจุลงในรายวิชาการศึก ษาอิสระ โดยมีจุดมุ่งหมายให้นิสิต
สามารถประยุกต์ใช้ทักษะความรู้ต่างๆที่เรียนมา เพื่อทาการค้นคว้าและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ตาม
ระเบีย บวิธี ก ารวิจัย สายมนุษ ยศาสตร์ โดยสาขาวิชาจะก าหนดให้นิสิตได้เ รีย นรู้พื้นฐานการท าวิจัย ใ น
รายวิชาระเบียบวิธีวิจัย ในภาคการศึกษาต้น ของปีการศึกษาที่ 3 ก่อนศึกษารายวิชาการศึกษาอิสระ ใน
ภาคการศึกษาปลาย ของปีการศึกษาที่ 4 ภายใต้การกากับดูแลและให้คาปรึกษา ของอาจารย์ที่ปรึกษา
และนิสติ ต้องนาเสนอผลการศึกษาวิจัยต่อคณาจารย์ นิสิต และผูส้ นใจทั่วไป เมื่อถึงปลายภาคการศึกษา
65

5.1 มาตรฐานผลการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ของวิชาการศึกษาอิสระ เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่ได้กาหนด
ไว้ในมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นใน
ประเด็นต่อไปนี้
5.1.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม
(1) ตระหนั กในคุ ณค่ าและคุ ณธรรม จริ ยธรรม และซื่ อสั ตย์ สุ จริ ต มี จรรยาบรรณทาง
วิชาการ และวิชาชีพ
(2) มีวินัย และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(3) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
(4) เคารพสิทธิและรับฟั งความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของ
ความเป็นมนุษย์
5.1.2 ด้านความรู้
(1) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศกึ ษากับความรูใ้ นศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
5.1.3 ด้านทักษะทางปัญญา
(1) สามารถวิ เ คราะห์ ปั ญ หา รวมทั้ ง ประยุ ก ต์ ค วามรู้ ทั ก ษะ และการใช้ เ ครื่ อ งมื อ ที่
เหมาะสมกับการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
(2) ใช้ประสบการณ์ทางภาคปฏิบัติมาหาแนวทางใหม่ในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
5.1.4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
(1) มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
5.1.5 ด้านทักษะในการวิเคราะห์เ ชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
(1) มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จาเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทางานที่เกี่ยวข้องกับการ
ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีส่อื สารอย่างเหมาะสม
(2) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของ
สื่อการนาเสนออย่างเหมาะสม
5.1.6 ด้านทักษะการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาบุคลิกภาพ
(1) สามารถพัฒนาบุคลิกภาพ และมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม

5.2 ช่วงเวลา
ภาคการศึกษาปลาย ชั้นปีที4่
66

5.3 การเตรียมการ
นิสิตควรส่งโครงร่างการศึกษาอิสระ ซึ่งอาจเป็นโครงร่างเดียวกั นกับที่ได้จัดทาในขณะที่
เรียนระเบียบวิธีวิจัย โดยส่งมายังสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น เพื่อให้สาขาวิชาจัดหาอาจารย์ที่ปรึกษาให้ หรือ
นิสติ อาจทาบทามอาจารย์ที่ปรึกษาด้วยตนเอง
ภายใน 2 สัปดาห์แรกของภาคการศึกษา สาขาวิชาจะประกาศรายชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
การศึกษาอิสระอย่างเป็นทางการ นิสิตต้องจัดทาแผนการดาเนินงานเสนออาจารย์ที่ปรึกษา โดยนิสิตต้อง
พบอาจารย์ที่ ป รึก ษาเพื่อรายงานความก้าวหน้า เป็นลายลัก ษณ์ อัก ษรอย่างน้อย 3 ครั้ง ระหว่างภาค
การศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาจะเป็นผู้ช่วยกาหนดประเด็นที่นิสิตต้องรายงานให้ทราบในแต่ละครั้ง นิสิตทุก
คนต้องเขียนผลการศึกษาอิสระให้เสร็จสิน้ ภายในสัปดาห์ที่ 14 ของภาคการศึกษานั้น และต้องนาเสนอด้วย
วาจาเป็ นภาษาญี่ ปุ่นต่ อที่ป ระชุ มคณาจารย์แ ละนิ สิตสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่ น ในสัป ดาห์ ที่ 15 ของภาค
การศึกษา ทั้งนี้ผู้สนใจทั่ว ไปสามารถเข้ารับฟังการนาเสนอผลงานการศึกษาอิสระของนิ สิตได้ จากนั้น
ภายในสัปดาห์ที่ 16 นิสิตส่งเล่มรายงานการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ให้อาจารย์ที่ปรึกษาและคณะ อนึ่ง
กาหนดการเรื่องระยะเวลาสามารถปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับกาหนดการของคณะและมหาวิทยาลัย
ต่อไปได้

5.4 กระบวนการประเมินผล
5.4.1 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลพิจารณาจากประเด็น 3 ประเด็นและสัดส่วนการให้คะแนนที่
แตกต่างกัน ดังต่อไปนี้
(1) เนือ้ หาของรายงานการศึกษาอิสระ ร้อยละ 60
(2) การใช้ภาษาและรูปแบบรายงายการศึกษาอิสระ โดยเขียนเป็นภาษาญี่ปุ่น ร้อยละ 20
(3) การนาเสนอการศึกษาอิสระด้วยวาจาเป็นภาษาญี่ปุ่น ร้อยละ 20
ทั้งนีเ้ กณฑ์ดังกล่าวสามารถปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมตามที่สาขาวิชา และคณะฯเห็นสมควร
5.4.2 ระดับขั้น
การประเมิ น ผลวิ ช าการศึ ก ษาอิ ส ระ คิ ด เป็ น ระดั บ ขั้ น 2 แบบคื อ ผ่ า น หรื อ S
(Satisfactory) หรือ ไม่ผ่าน หรือ U (Unsatisfactory) โดยใช้เกณฑ์ค่าระดับขั้นดังนี้
คะแนนรวมร้อยละ 60 หรือมากกว่า หมายถึง ผ่าน หรือ S (Satisfactory)
คะแนนรวมร้อยละ 0-59 หมายถึง ไม่ผ่าน หรือ U (Unsatisfactory)
67

หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน และการประเมินผล

1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสิต
คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ที่มหาวิทยาลัยกาหนดไว้ กล่าวคือนิสิตมหาวิทยาลัยพะเยาต้อง
เรียนรู้ที่จะอยู่และเรียนอย่างมีความสุข จบและมีงานทา และเป็นคนดีของสังคม คณะศิลปศาสตร์สอนให้
นิสติ รูจ้ ัก “อดทน อุทิศ อิสระ”
นอกเหนือจากคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ที่มหาวิทยาลัย และคณะศิลปศาสตร์กาหนดไว้แล้ว
นั้น คุณลักษณะพิเศษที่นสิ ิตหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นพึงมี คือความรูใ้ นทักษะ
ภาษาญี่ปุ่น รวมถึงการใช้ภาษาญี่ปุ่นในวงการวิชาชีพต่างๆได้
กลยุทธ์การสอนและกิจกรรมในการพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสติ สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นกาหนด
ได้ดงั นี้
คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์หรือกิจกรรม
1. ด้านบุคลิกภาพ 1. ให้มกี ารนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียนในรายวิชาต่างๆ
2. จัดกิจกรรมนอกหลักสูตรเกี่ยวกับการอบรมพัฒนาบุคลิกภาพ
3. มีการกิจกรรมส่งเสริมการแสดงออก เช่น งานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
2. ด้านคุณธรรมจริยธรรม และ 1. สอดแทรกในการเรียนการสอนทุกรายวิชาในวิชาเฉพาะด้าน
จรรยาบรรณวิชาชีพ 2. จัดให้มกี ารอบรมด้านคุณธรรมจริยธรรม
3. ด้านภาวะผู้นา 1. จัดโครงการ/กิจกรรมของสาขาวิชา ให้นิสิตทุกชั้นปีได้มสี ่วนร่วม
ทั้งในการวางแผนและดาเนินงาน
2. มอบหมายงานกลุ่มในรายวิชาต่างๆ
4. ด้านทักษะภาษาญี่ปุ่น 1. เปิดสอนรายวิชาทักษะภาษาญี่ปุ่นทั้งการอ่าน เขียน แปล การ
สนทนาสื่อสาร
2. วิชาการสนทนา นิสิตต้องได้ศกึ ษากับเจ้าของภาษาโดยตรงหรือ
ผูส้ อนที่มปี ระสบการณ์การศึกษาในประเทศเจ้าของภาษา
3. จัดโครงการพัฒนานิสิตเช่นส่งเสริมให้นสิ ิตเข้าร่วมการประกวด
ที่ตอ้ งใช้ทักษะภาษาญี่ปุ่นทั้งในคณะ มหาวิทยาลัยและนอกสถาบัน
4. เปิดสอนรายวิชาทฤษฎีดา้ นภาษาญี่ปุ่น ภาษาศาสตร์
5. ด้านการใช้ภาษาญี่ปุ่นในวงการ 1. เปิดสอนรายวิชาภาษาญี่ปุ่นแขนงวิชาชีพ เช่น ภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ
วิชาชีพต่างๆ 2. ให้นสิ ิตได้เรียนรู้นอกตาราเรียน โดยใช้ส่อื ที่ทันสมัย สามารถ
ติดตามข่าวสาร เพิ่มศัพท์และความรู้ที่จะนาไปประยุกต์ใช้ได้ตอ่ ไป
3. เชิญผูเ้ ชี่ยวชาญในสายงานอาชีพมาให้ความรู้ และถ่ายทอด
ประสบการณ์แก่นสิ ิต
68

2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน
2.1 คุณธรรม จริยธรรม
2.1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
(1) ตระหนักในคุณค่า คุณธรรม จริยธรรม และซื่อสัตย์สุจริต มีจรรยาบรรณทางวิชาการ
และวิชาชีพ
(2) มีวนิ ัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(3) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
(4) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่นื รวมถึงเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของ
ความเป็นมนุษย์
2.1.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
(1) บรรยายสอดแทรกคาสอนเรื่องคุณธรรม จริยธรรมโดยอาจใช้กรณีตัวอย่าง จาก
เหตุการณ์ใกล้ตัว เช่น ข่าวประจาวัน
(2) ผูส้ อนเป็นแบบอย่างที่ดี โดยให้ความสาคัญและตรวจสอบความตรงต่อเวลา การเข้า
ชั้นเรียนและความซื่อสัตย์ และเคารพกฎเกณฑ์ และสิทธิของตนเองและผูอ้ ื่น
(3) สอดแทรกระเบียบวินัยการเข้าชั้นเรียน การส่งงานให้ตรงเวลา ตามที่ได้รับมอบหมาย
พร้อมทั้งมีการสรุปพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์และแนวทางแก้ไข
(4) สอดแทรกกิจกรรม การมีส่วนร่วม และการทางานเป็นกลุ่ม โดยมอบหมายให้ทางาน
นอกห้องเรียน เพื่อสังเกตพฤติกรรมการทางานร่วมกับผูอ้ ื่น และให้นาเสนอผลงานนอกชั้นเรียน
2.1.3 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
(1) สอบถามนิสิตถึงความเข้าใจหรือความคิดเห็นถึงพฤติกรรมหรือแนวปฏิบัติที่ดีเพื่อ
ส่งเสริมความมีคุณธรรมจริยธรรม
(2) ประเมินพฤติกรรม และตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน การส่งงาน การปฏิบัติตนในชัน้
เรียน การสอบ รวมถึงประเมินจากผลงานของนิสติ
(3) ประเมินจากงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย

2.2 ความรู้
2.2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
(1) มีความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎี ทักษะภาษาญี่ปุ่นในการสื่อสารและ
รับสารในบริบทต่างๆได้อย่างเหมาะสม
(2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และมีความรู้ในแนวกว้างขวางของ
ประเทศญี่ปุ่น เพื่อให้เห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของสิง่ นัน้ ๆ
(3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ได้ศกึ ษา กับความรูใ้ นศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
69

2.2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
(1) บรรยาย มอบหมายงานหรือทดสอบการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการวิเคราะห์ข้อมูล
ตามหลักการของทฤษฎีที่ได้เรียน
(2) สอดแทรกกิจกรรม หรือข่าวสารอันเป็นประโยชน์ตอ่ การให้ความรู้ทางวิชาการที่
สาคัญ เช่น การอภิปรายกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาษาญี่ปุ่น
(3) จัดการเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลาง ผ่านกิจกรรมการเชื่อมโยง
ภาษาญี่ปุ่นกับศาสตร์อ่นื ๆ เช่น การใช้ภาษาญี่ปุ่นอธิบายสถานที่ท่องเที่ยว ในรายวิชาภาษาญี่ปุ่นเพื่อการ
ท่องเที่ยว การสอนทาอาหารด้วยภาษาญี่ปุ่น เป็นต้น
2.2.3 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
ทดสอบความรูค้ วามสามารถ การประยุกต์ใช้และการคิดวิเคราะห์อย่างมีระบบผ่าน
กิจกรรมต่อไปนี้
- การสอบข้อเขียนในการสอบย่อย หรือสอบกลางภาค หรือสอบปลายภาค
- การสอบปากเปล่าในรูปแบบของการนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน บทบาทสมมุติ การ
โต้วาที การอภิปราย การถามตอบ เป็นต้น
- การจัดทารายงานผลการค้นคว้า การนาเสนอผลงาน จัดบอร์ดนิทรรศการ
สัดส่วนการให้คะแนนในแต่ละกิจกรรมข้างต้น ขึ้นอยู่กับธรรมชาติของวิชา และ
วัตถุประสงค์ของรายวิชานั้นๆ และควรพิจารณาการให้คะแนนเนือ้ หา และวิธีการนาเสนอในสัดส่วนที่
เหมาะสมกับประเภท และวัตถุประสงค์ของกิจกรรม

2.3 ทักษะทางปัญญา
2.3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
(1) คิดอย่างมีวิจารณญาณ และอย่างเป็นระบบ
(2) สามารถวิเคราะห์ปัญหารวมทั้งประยุกต์ความรูท้ ักษะ และการใช้เครื่องมือที่
เหมาะสมกับการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
(3) สามารถสืบค้น รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาเพื่อใช้ในการแก้ไข
ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
(4) ใช้ประสบการณ์ทางภาคปฏิบัติมาหาแนวทางใหม่ในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
2.3.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
(1) ฝึกการคิดเพื่อวางแผน การแก้ไขปัญหา โดยจัดรูปแบบการเขียนการสอน โดยเน้น
การอภิปราย การวิเคราะห์กรณีศกึ ษา การเรียนโดยใช้สถานการณ์จาลอง
70

(2) มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นวิเคราะห์ข้อมูล จัดทาเป็นรายงานผลการค้นคว้า


(3) มอบหมายงานโดยมีโจทย์ที่ต้องการคาตอบที่เป็นผลจากการวิเคราะห์ สังเคราะห์
หรือการเปรียบเทียบ มิใช่การท่องจามาตอบเพียงอย่างเดียว
(4) จัดให้นสิ ิตได้ฝึกปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ
2.3.3 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
จัดสัดส่วนคะแนนให้กับเรื่องความสามารถในการสืบค้น คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การ
ประยุกต์ใช้ การใช้หลักตรรกะ การแก้ปัญหา ในการทดสอบหรืองานที่มอบหมายให้นสิ ิต ประเมินจากการ
ฝึกงานในสถานประกอบการ

2.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
2.4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
(1) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายได้ ทั้งภาษาไทย และ
ภาษาญี่ปุ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(2) สามารถวางตัวและแสดงความคิดเห็นพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างเหมาะสม ตาม
บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบ
(3) การมีภาวะความเป็นผู้นา และผู้ตาม สามารถปรับตัวเข้ากับผูอ้ ื่นได้เหมาะสม ทางาน
เป็นกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(4) มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรูท้ ั้งตนเอง และวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
2.4.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
(1) มอบหมายงานกลุ่ม หรืองานที่ตอ้ งมีการติดต่อ ประสานงานกับบุคคลอื่น
(2) จัดหรือส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ให้นิสติ มีส่วนร่วมในการวางแผน
ดาเนินกิจกรรม รวมถึงวิเคราะห์สรุปผลการดาเนินงาน
(3) มอบหมายงานกลุ่ม และให้นิสติ กาหนดบทบาทและหน้าที่ของทีมงานอย่างชัดเจน
และให้นาเสนอผลงานการทางานหน้าชั้นเรียน
(4) มอบหมายงานเดี่ยวหรืองานกลุ่มและกาหนดโจทย์ กติกา และให้ถือปฏิบัติตาม
2.4.3 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
และความรับผิดชอบ
(1) ประเมินจากผลสัมฤทธิ์โครงการหรือกิจกรรม
(2) จัดสัดส่วนคะแนนให้กับเรื่องการทางานเป็นทีม
(3) กาหนดบทลงโทษกรณีเกิดการกระทาที่ผดิ กติกา เช่นการเข้าเรียนสาย การส่งงาน
หลังกาหนด เป็นต้น
71

2.5 ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ


2.5.1 ผลการเรียนรู้ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
(1) มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จาเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทางานที่เกี่ยวข้องกับการใช้
สารสนเทศ และเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
(2) สามารถแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือนาสถิตมิ าประยุกต์ใช้ใน
การแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
(3) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของ
สื่อการนาเสนออย่างเหมาะสม
2.5.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) มอบหมายงานให้นิสติ ศึกษาค้นคว้าและใช้ขอ้ มูลสารสนเทศในการหาข้อมูล
(2) สอนสถิตและระเบียบวิจัยขั้นพืน้ ฐานในรายวิชาระเบียบวิธีวิจัย จัดหรือส่งเสริมการ
เข้าร่วมโครงการอบรมการใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมที่เกี่ยวข้อง
(3) จัดกิจกรรมการนาเสนองานวิจัยหรืองานที่ได้รับมอบหมายจากการสืบค้นข้อมูล
2.5.3 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร
และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) จัดสัดส่วนคะแนนให้กับเรื่องความสามารถในการสืบค้น และการประเมินชิ้นงานที่ได้
จากการศึกษาค้นคว้า
(2) ประเมินความถูกต้องในการใช้สถิตแิ ละการตอบโจทย์ หรือความสามารถในการ
ตีความ ค่าสถิตเิ บือ้ งต้น ในบทความต่างๆหรือจากงานวิจัย
(3) ประเมินผลการนาเสนอข้อมูลที่สืบค้น

2.6 สุนทรียศิลป์
2.6.1 ผลการเรียนรู้ด้านสุนทรียศิลป์
(1) มีความซาบซึง้ ในคุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรม
2.6.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านสุนทรียศิลป์
(1) ให้ความรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมญี่ปุ่น เช่นรายวิชาประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
ญี่ปุ่น รายวิชาวรรณกรรมญี่ปุ่นเบือ้ งต้น และสอดแทรกในรายวิชาอื่นๆ
(2) มอบหมายงานโดยให้นสิ ิตได้สบื ค้น วิเคราะห์ เปรียบเทียบความต่างและความเหมือน
ของวัฒนธรรมไทยและญี่ปุ่น พร้อมทาความเข้าใจในทั้งสองวัฒนธรรม
(3) จัดกิจกรรมในหรือนอกหลักสูตร ส่งเสริมให้นิสติ ได้สัมผัสกับศิลปะญี่ปุ่น
72

2.6.3 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านสุนทรียศิลป์
(1) ให้นสิ ิตได้แสดงความคิดเห็น อภิปราย เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมวัฒนธรรม
(2) ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย

2.7 ทักษะการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาบุคลิกภาพ
2.7.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาบุคลิกภาพ
(1) นิสติ มีสุขนิสัยที่สง่ เสริมต่อการดูแลรักษาสุขภาพ
(2) นิสติ สามารถพัฒนาบุคลิกภาพ และมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม
2.7.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาบุคลิกภาพ
(1) สอดแทรก ทักษะ เทคนิคการพูด พร้อมให้ฝึกปฏิบัติในรายวิชาที่มกี ารสนทนาสื่อสาร
และรายวิชาที่ใช้ในการประกอบวิชาชีพ
(2) มอบหมายงานให้มีการนาเสนอหน้าชั้นเรียนทั้งงานเดี่ยวงานกลุ่ม
(3) จัดกิจกรรมนอกหลักสูตรส่งเสริมบุคลิกภาพ อบรมด้านบุคลิกภาพ
2.7.3 วิธีการวัดและประเมินผลการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาบุคลิกภาพ
(1) ประเมินผลจากการนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และการสอบปากเปล่า
(2) ประเมินจากผลการฝึกงานในสถานประกอบการณ์

3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา
(Curriculum mapping)
ผลการเรียนรู้ในตารางมีความหมายดังนี้
1. คุณธรรม จริยธรรม
(1) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม และซื่อสัตย์สุจริต มีจรรยาบรรณทาง
วิชาการและ วิชาชีพ
(2) มีวนิ ัย และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(3) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
(4) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและ ศักดิ์ศรีของ
ความเป็นมนุษย์

2. ความรู้
(1) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนือ้ หาที่ศึกษา
(2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่
ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
73

(3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศกึ ษากับความรูใ้ นศาสตร์อ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้อง


3. ทักษะทางปัญญา
(1) คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
(2) สามารถวิเคราะห์ปัญหา รวมทั้งประยุกต์ความรูท้ ักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
กับการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
(3) สามารถสืบค้น รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาเพื่อใช้ในการ
แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
(4) ใช้ประสบการณ์ทางภาคปฏิบัติมาหาแนวทางใหม่ในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
(1) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายได้ ทั้งภาษาไทย และ
ภาษาญี่ปุ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(2) สามารถวางตัวและแสดงความคิดเห็นพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างเหมาะสม ตาม
บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบ
(3) การมีภาวะความเป็นผู้นา และผู้ตาม สามารถปรับตัวเข้ากับผูอ้ ื่นได้เหมาะสม ทางาน
เป็นกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(4) มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งตนเอง และวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จาเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทางานที่เกี่ยวข้องกับการใช้
สารสนเทศและเทคโนโลยีส่อื สารอย่างเหมาะสม
(2) สามารถแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือนาสถิติมาประยุกต์ใช้ใน
การแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
(3) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อ
การนาเสนออย่างเหมาะสม
6. สุนทรียศิลป์
(1) มีความซาบซึง้ ในคุณค่าของศิลปะ ดนตรีและวัฒนธรรม
7. ทักษะการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาบุคลิกภาพ
(1) มีสุขนิสัยที่สง่ เสริมต่อการดูแลรักษาสุขภาพ
(2) สามารถพัฒนาบุคลิกภาพ และมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม
75

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)


 ความรับผิดชอบหลัก  ความรับผิดชอบรอง

5.ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง 7.ทักษะการ
4.ทักษะ
ตัวเลข การ 6. ส่งเสริม
1.คุณธรรม ความสัมพันธ์
รายวิชา 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา สื่อสาร และ สุนทรีย สุขภาพและ
จริยธรรม ระหว่างบุคคลและ
การใช้ ศิลป์ พัฒนา
ความรับผิดชอบ
เทคโนโลยี บุคลิกภาพ
สารสนเทศ
(1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (1) (2)
หมวดวิชาศึกษาทั่วไปบังคับ
กลุ่มวิชาภาษา
ทักษะภาษาไทย         
ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน      
ภาษาอังกฤษพัฒนา     
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
อารยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น           
พะเยาศึกษา                
กลุ่มวิชาพลานามัย
กอล์ฟ            
76

5.ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง 7.ทักษะการ
4.ทักษะ
ตัวเลข การ 6. ส่งเสริม
1.คุณธรรม ความสัมพันธ์
รายวิชา 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา สื่อสาร และ สุนทรีย สุขภาพและ
จริยธรรม ระหว่างบุคคลและ
การใช้ ศิลป์ พัฒนา
ความรับผิดชอบ
เทคโนโลยี บุคลิกภาพ
สารสนเทศ
(1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (1) (2)
เกม               
บริหารกาย            
กิจกรรมเข้าจังหวะ             
ว่ายน้า             
ลีลาศ            
ตะกร้อ              
นันทนาการ            -   
ซอฟท์บอล            
เทนนิส             
เทเบิลเทนนิส              
บาสเกตบอล            
แบดมินตัน            
ฟุตบอล              
วอลเลย์บอล            
77

5.ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง 7.ทักษะการ
4.ทักษะ
ตัวเลข การ 6. ส่งเสริม
1.คุณธรรม ความสัมพันธ์
รายวิชา 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา สื่อสาร และ สุนทรีย สุขภาพและ
จริยธรรม ระหว่างบุคคลและ
การใช้ ศิลป์ พัฒนา
ความรับผิดชอบ
เทคโนโลยี บุคลิกภาพ
สารสนเทศ
(1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (1) (2)
ศิลปะการต่อสูป้ ้องกันตัว            
กลุ่มวิชาบูรณาการ
ชีวติ และสุขภาพ          
การจัดการการดาเนินชีวิต                
ทักษะชีวิต                 
หมวดวิชาศึกษาทั่วไปเลือก
กลุ่มวิชาภาษา
ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ             
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
สารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษา
       
ค้นคว้า
ปรัชญาเพื่อชีวิต        
ภาษา สังคมและวัฒนธรรม       
ปริทัศน์ศิลปะการแสดงไทย          
78

5.ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง 7.ทักษะการ
4.ทักษะ
ตัวเลข การ 6. ส่งเสริม
1.คุณธรรม ความสัมพันธ์
รายวิชา 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา สื่อสาร และ สุนทรีย สุขภาพและ
จริยธรรม ระหว่างบุคคลและ
การใช้ ศิลป์ พัฒนา
ความรับผิดชอบ
เทคโนโลยี บุคลิกภาพ
สารสนเทศ
(1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (1) (2)
ดุริยางควิจักษณ์           
ศิลปะในชีวิตประจาวัน            
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
กฎหมายพืน้ ฐานเพื่อคุณภาพชีวติ               
ไทยกับประชาคมโลก       
วิถีไทย วิถีทัศน์               
การเมือง เศรษฐกิจและสังคม             
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม             
คอมพิวเตอร์สารสนเทศขัน้
           
พื้นฐาน
คณิตศาสตร์สาหรับชีวติ ในยุค
           
สารสนเทศ
79

5.ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง 7.ทักษะการ
4.ทักษะ
ตัวเลข การ 6. ส่งเสริม
1.คุณธรรม ความสัมพันธ์
รายวิชา 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา สื่อสาร และ สุนทรีย สุขภาพและ
จริยธรรม ระหว่างบุคคลและ
การใช้ ศิลป์ พัฒนา
ความรับผิดชอบ
เทคโนโลยี บุคลิกภาพ
สารสนเทศ
(1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (1) (2)
ยาและสารเคมีในชีวิตประจาวัน            
อาหารและวิถีชีวิต             
พลังงานและเทคโนโลยีใกล้ตัว                
วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจาวัน             
กลุ่มวิชาบูรณาการ
พฤติกรรมมนุษย์          
หมวดวิชาเฉพาะด้าน
กลุ่มวิชาแกน
ระเบียบวิธีวิจัย            
ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์
เฉพาะ             
กลุ่มวิชาเอก
วิชาเอกบังคับ
ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 1           
80

5.ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง 7.ทักษะการ
4.ทักษะ
ตัวเลข การ 6. ส่งเสริม
1.คุณธรรม ความสัมพันธ์
รายวิชา 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา สื่อสาร และ สุนทรีย สุขภาพและ
จริยธรรม ระหว่างบุคคลและ
การใช้ ศิลป์ พัฒนา
ความรับผิดชอบ
เทคโนโลยี บุคลิกภาพ
สารสนเทศ
(1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (1) (2)
ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 2           
ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 1              
ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 2              
ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 3             
ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 4             
การเขียนภาษาญี่ปุ่นเบือ้ งต้น               
ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 3              
ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 4              
ภาษาญี่ปุ่นขัน้ กลาง 1              
ภาษาญี่ปุ่นขัน้ กลาง 2              
ภาษาศาสตร์ภาษาญี่ปุ่นเบือ้ งต้น              
วิชาเอกเลือก
อักษรญี่ปุ่น              
81

5.ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง 7.ทักษะการ
4.ทักษะ
ตัวเลข การ 6. ส่งเสริม
1.คุณธรรม ความสัมพันธ์
รายวิชา 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา สื่อสาร และ สุนทรีย สุขภาพและ
จริยธรรม ระหว่างบุคคลและ
การใช้ ศิลป์ พัฒนา
ความรับผิดชอบ
เทคโนโลยี บุคลิกภาพ
สารสนเทศ
(1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (1) (2)
ประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรม
              
ญี่ปุ่น
วรรณกรรมญี่ปุ่นเบื้องต้น              
ภาษาญี่ปุ่นเชิงสังคมและ
            
วัฒนธรรม
ภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ                
การเปรียบเทียบภาษาญี่ปุ่นกับ
            
ภาษาไทย
ภาษาญี่ปุ่นเชิงวิชาการ              
สัทศาสตร์ภาษาญี่ปุ่น             
ภาษาญี่ปุ่นในสถานการณ์ปัจจุบัน              
ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการท่องเที่ยว               
82

5.ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง 7.ทักษะการ
4.ทักษะ
ตัวเลข การ 6. ส่งเสริม
1.คุณธรรม ความสัมพันธ์
รายวิชา 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา สื่อสาร และ สุนทรีย สุขภาพและ
จริยธรรม ระหว่างบุคคลและ
การใช้ ศิลป์ พัฒนา
ความรับผิดชอบ
เทคโนโลยี บุคลิกภาพ
สารสนเทศ
(1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (1) (2)
การสอนภาษาญี่ปุ่นในฐานะ
               
ภาษาต่างประเทศ
การแปลภาษาญี่ปุ่น              
กลุ่มวิชาเลือกเฉพาะสาขา
กลุ่มภาษาจีน
ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 1     
ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 2     
ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 3     
การพัฒนาทักษะการฟัง-การพูด
ภาษาจีน 1
     
การพัฒนาทักษะการฟัง-การพูด
ภาษาจีน 2
     
การพัฒนาทักษะการอ่าน-การ
       
เขียนภาษาจีน 1
83

5.ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง 7.ทักษะการ
4.ทักษะ
ตัวเลข การ 6. ส่งเสริม
1.คุณธรรม ความสัมพันธ์
รายวิชา 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา สื่อสาร และ สุนทรีย สุขภาพและ
จริยธรรม ระหว่างบุคคลและ
การใช้ ศิลป์ พัฒนา
ความรับผิดชอบ
เทคโนโลยี บุคลิกภาพ
สารสนเทศ
(1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (1) (2)
กลุ่มภาษาไทย
ทักษะการรับสารอย่างมีประสิทธิภาพ            
ทักษะการส่งสารอย่างมีประสิทธิภาพ             
วรรณกรรมกับสังคม             
ทักษะการจัดประชุมและฝึกอบรม             
ภาษากับวัฒนธรรม          
ภาษาเพื่องานสื่อสารมวลชน               
กลุ่มภาษาฝรั่งเศส
ภาษาฝรั่งเศส 1     
ภาษาฝรั่งเศส 2     
การฟัง-การพูดภาษาฝรั่งเศส 1     
84

5.ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง 7.ทักษะการ
4.ทักษะ
ตัวเลข การ 6. ส่งเสริม
1.คุณธรรม ความสัมพันธ์
รายวิชา 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา สื่อสาร และ สุนทรีย สุขภาพและ
จริยธรรม ระหว่างบุคคลและ
การใช้ ศิลป์ พัฒนา
ความรับผิดชอบ
เทคโนโลยี บุคลิกภาพ
สารสนเทศ
(1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (1) (2)
การฟัง-การพูดภาษาฝรั่งเศส 2        
การอ่าน-การเขียนภาษาฝรั่งเศส 1         
การอ่าน-การเขียนภาษาฝรั่งเศส 2          
กลุ่มภาษาอังกฤษ
การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเชิง
             
ปฏิบัติ
การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเชิง
             
วิวัฒน์
การอ่านและการเขียนชั้นสูง              
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร                     
ภาษาอังกฤษเพื่อการอภิปราย        
การพูดและการนาเสนอในที่สาธารณะ         
85

5.ทักษะการ
วิเคราะห์เชิง 7.ทักษะการ
4.ทักษะ
ตัวเลข การ 6. ส่งเสริม
1.คุณธรรม ความสัมพันธ์
รายวิชา 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา สื่อสาร และ สุนทรีย สุขภาพและ
จริยธรรม ระหว่างบุคคลและ
การใช้ ศิลป์ พัฒนา
ความรับผิดชอบ
เทคโนโลยี บุคลิกภาพ
สารสนเทศ
(1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (1) (2)
กลุ่มวิชาเลือกเฉพาะสาขา ที่เปิดให้กับหลักสูตรอื่น
ทักษะภาษาญี่ปุ่น 1          
ญี่ปุ่นศึกษา       
ทักษะภาษาญี่ปุ่น 2          
การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 1             
ทักษะภาษาญี่ปุ่น 3          
การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 2             
กลุ่มวิชาการฝึกงาน หรือ สหกิจศึกษา หรือ การศึกษาอิสระ
การศึกษาอิสระ              
การฝึกงาน               
สหกิจศึกษา               
86

หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนิสิต

1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ ในการให้ระดับคะแนน (เกรด)


การวัดผลและการสาเร็จการศึกษาเป็นไปตาม “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยพะเยา ว่าด้วย การศึกษา
ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2553” และที่แก้ไขเพิ่มเติม

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิต
2.1 กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะนิสิตยังไม่สาเร็จการศึกษา
นิสติ สอบวัดความรู้ความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นของคณะศิลปศาสตร์ โดยการทาข้อสอบ
วัดความสามารถที่สาขาวิชาจัดทาขึ้น ก่อนสาเร็จการศึกษา
2.2 กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลังจากนิสิตสาเร็จการศึกษา
(1) ภาวะการได้งานทาของบัณฑิต ประเมินจากบัณฑิตแต่ละรุ่นที่จบการศึกษา ในด้าน
ของระยะเวลาในการหางานทา ความเห็นต่อความรู้ ความสามารถ ความมั่นใจของบัณฑิตในการ
ประกอบการงานอาชีพ
(2) การตรวจสอบจากผู้ประกอบการ โดยการส่งแบบสอบถาม เพื่อประเมินความพึง
พอใจในบัณฑิตที่จบการศึกษาและเข้าทางานในสถานประกอบการต่างๆ หลังจากจบการศึกษาแล้วอย่าง
น้อย 1 ปี

3. เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเป็นไปตาม “ข้อบังคับของมหาวิทยาลัยพะเยา ว่าด้วย
การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2553” และที่แก้ไขเพิ่มเติม
87

หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์

1. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่
1) จัดโครงการปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักสูตร การเป็น
อาจารย์ที่ปรึกษา บทบาทหน้าที่ในฐานะครูผสู้ อน ในฐานะบุคลากรของคณะ ระเบียบและกฎเกณฑ์ที่
เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนและภาระงานของอาจารย์
2) จัดอบรมเพื่อสร้างความรูแ้ ละความเข้าใจเรื่องการพัฒนาหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน
การศึกษาอุดมศึกษา (TQF)
3) จัดทีมอาจารย์พี่เลีย้ งเพื่อให้คาปรึกษาเรื่องการจัดการเรียนการสอน

2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์
2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล
ส่งเสริมให้อาจารย์เข้าร่วมโครงการพัฒนาอาจารย์ของคณะและของมหาวิทยาลัยที่จัดเป็น
ประจาทุกปี เช่น โครงการพัฒนาทักษะการสอนโดยเน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ โครงการการจัดการการเรียนรู้
เพื่อพัฒนาการสอนและการวิจัย เป็นต้น รวมทั้งสนับสนุนการเข้าร่วมการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน ณ
สถาบันอื่น เพื่อพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล
2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่นๆ
(1) ส่งเสริมให้อาจารย์เข้าร่วมการประชุม อบรม สัมมนาทางวิชาการ การนาเสนอ
ผลงานทางวิชาการ ทั้งในและต่างประเทศ
(2) สนับสนุนงบประมาณเพื่อการทาวิจัย และกระตุ้นให้อาจารย์ทุกคนปฏิบัติตามภาระ
งานวิจัยให้ได้ตามเกณฑ์ของคณะและมหาวิทยาลัย
(3) นอกจากภาระงานสอน และภาระงานวิจัย อาจารย์ทุกคนควรได้รับการสนับสนุนให้
ปฏิบัติภารกิจด้านการบริการวิชาการสู่สังคม รวมทั้งภารกิจด้านการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม เพื่อสร้าง
ประโยชน์ทางวิชาการแก่ชุมชน รวมทั้งเป็นการส่งเสริมให้อาจารย์ได้เพิ่มพูนความชานาญในอาชีพของการ
เป็นครูผสู้ อน
(4) สนับสนุนให้อาจารย์ที่ยังไม่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกให้ได้ศึกษาต่อ เพื่อ
เพิ่มศักยภาพทางวิชาการ
(5) จัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องเส้นทางการขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ
(6) สนับสนุนให้อาจารย์ได้ลาเพื่อเพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการ
88

หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร

1. การบริหารหลักสูตร
มีการแต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบหลักสูตร โดยมีหน้าที่เสนอหลักสูตรใหม่ หลักสูตรปรับปรุง
หรือเสนอปิดหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 กรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และการประกันคุณภาพการศึกษา

2. การบริหารทรัพยากร การเรียนการสอน
2.1 การบริหารงบประมาณ
งบประมาณของสาขา คืองบประมาณรายได้ที่คณะจัดสรรมาให้ โดยขึน้ กับจานวนนิสติ
ของสาขา การแบ่งส่วนงบประมาณรายได้เพื่อการบริหารจัดการโครงการและกิจกรรมในคณะ โดยใช้
หลักเกณฑ์ตามที่คณะเป็นผู้กาหนด
2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยู่เดิม
หนังสือ ตารา เอกสารและวารสารตลอดจนสื่อสารศึกษาอื่นๆ ที่ใช้ประกอบการเรียนการ
สอนส่วนใหญ่มีอยู่ในศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษามหาวิทยาลัยพะเยา ห้องหนังสือคณะศิลปศาสตร์
ซึ่งมีรายการที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร จาแนกตามรายการดังต่อไปนี้
2.2.1 ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มีจานวนหนังสือที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ของ
สาขาวิชา ดังต่อไปนี้
ตาราเรียน
ภาษาไทย 378 เล่ม
ภาษาอังกฤษ 2,263 เล่ม
ภาษาญี่ปุ่น 344 เล่ม
ภาษาฝรั่งเศส 104 เล่ม
ภาษาจีน 575 เล่ม
สังคมศาสตร์ 830 เล่ม
การศึกษา 320 เล่ม

ฐานข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
Lexis-Nexis
DAO
Science Direct
89

2.2.2 ห้องหนังสือคณะศิลปศาสตร์ มีจานวนหนังสือที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ของสาขาวิชา


ดังต่อไปนี้
ภาษาไทย ตาราเรียน 192 เล่ม
ภาษาอังกฤษ ตาราเรียน 41 เล่ม
ภาษาญี่ปุ่น ตาราเรียน 2 เล่ม
ภาษาฝรั่งเศส ตาราเรียน 458 เล่ม
ภาษาจีน ตาราเรียน 6 เล่ม
สังคมศาสตร์ ตาราเรียน 171 เล่ม
การศึกษา ตาราเรียน 2 เล่ม

2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม
(1) อาจารย์เสนอรายการหนังสือที่จาเป็นต่อนิสติ ในสาขา ไปยังสาขาวิชาเพื่อพิจารณา
จัดสรรเงินรายได้ส่วนหนึ่งเพื่อการซือ้ หนังสือ และสื่อที่จาเป็น
(2) สาขาวิชาและอาจารย์เสนอรายการหนังสือ วารสาร และสื่อต่างๆไปยังศูนย์บรรณ
สารและสื่อการศึกษา ของมหาวิทยาลัยเพื่อทาการจัดซือ้
(3) คณะจัดสรรเงินรายได้ส่วนหนึ่งเพื่อการซือ้ หนังสือ วารสาร สื่อต่างๆ

2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร
คณะและศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาจัดทาสารวจความพึงพอใจและความต้องการ
หนังสือ วารสาร สื่อต่างๆ จากอาจารย์และนิสติ อย่างสม่าเสมอ และนาความคิดเห็นต่าง ๆ มาใช้ในการ
ปรับปรุงการให้บริการ

3. การบริหารคณาจารย์
3.1 การรับอาจารย์ใหม่
การคัดเลือก แต่งตั้ง และบรรจุอาจารย์ใหม่ต้องผ่านขั้นตอนดังต่อไปนี้
(1) คณะประกาศการรับสมัครโดยระบุคุณสมบัติผู้สมัครตามนโยบายของสาขา คณะ
และมหาวิทยาลัย และตามเกณฑ์ที่ สกอ. กาหนดไว้ หลักฐานประกอบการสมัครให้ชัดเจน ดาเนินการรับ
สมัคร ประกาศรายชื่อผูม้ ีสิทธิ์สอบข้อเขียนและสัมภาษณ์ พร้อมทั้งกาหนดวันสอบให้ชัดเจน
(2) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อทาหน้าที่คัดกรองผู้สมัครเบือ้ งต้น ดาเนินการสอบ
คัดเลือกโดยวิธีการสอบข้อเขียน การสอบสอนและสอบสัมภาษณ์ รวมทั้งรายงานผลการสอบไปยังคณะ
(3) มหาวิทยาลัยเป็นผูพ้ ิจารณาตัดสินผลการคัดเลือก รวมทั้งดาเนินการแต่งตั้ง และ
บรรจุ
90

3.2 การมีส่วนร่วมของคณาจารย์ในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร


(1) อาจารย์ผู้สอนร่วมเสนอและออกความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับแผนงานด้านต่างๆ เช่น
แผนพัฒนา แผนการจัดกิจกรรมและโครงการในที่ประชุมสาขาวิชาได้
(2) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและผู้สอนประชุมร่วมกันเพื่อวางแผนจัดการเรียนการ
สอน ติดตามผลการจัดการเรียนการสอน และนาเสนอผลแก่ที่ประชุมสาขา เพื่อพิจารณาหาแนวทางใน
การปรับปรุงหลักสูตรร่วมกัน

3.3 การแต่งตั้งคณาจารย์พิเศษ
การแต่งตั้งอาจารย์พิเศษมีได้ 2 วิธี คือจ้างรายชั่วโมง และจ่ายค่าตอบแทนตามระเบียบ
กระทรวงการคลัง หรือจ้างเป็นลูกจ้างชั่วคราว จ่ายค่าตอบแทนรายเดือน โดยใช้งบประมาณรายได้ ทั้งนี้
การจ้างลูกจ้างชั่วคราวรายเดือน จะต้องนาผลการคานวณอาจารย์ตอ่ นิสิตตามเกณฑ์ FTES มาพิจารณา
ประกอบด้วย ยกเว้นมีเหตุผลจาเป็นเช่นมีอาจารย์ประจาลาศึกษาต่อหรือลาราชการเพื่อทาผลงานทาง
วิชาการ หรือให้เป็นไปตามความเหมาะสมที่สาขาเห็นควรทั้งนีใ้ ห้มกี ารขอความเห็นชอบจากคณะ

4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน
4.1 การกาหนดคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง
วางแผนอัตราบุคลากรในจานวนที่เหมาะสมที่มีวุฒกิ ารศึกษาอย่างต่าระดับปริญญาตรี
และมีคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งตามความต้องการของคณะศิลปศาสตร์
4.2 การเพิ่มทักษะความรู้เพื่อการปฏิบัติงาน
วางแผนการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน โดยคณะจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนให้
บุคลากรเข้ารับการอบรม ประชุม สัมมนา หรือศึกษาดูงาน ให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับสาระสาคัญ
ของการสนับสนุนการสอนในด้านต่างๆ และเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน

5. การสนับสนุนและการให้คาแนะนานิสิต
5.1 การให้คาปรึกษาด้านวิชาการและอื่นๆแก่นิสิต
(1) สาขาแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อให้คาแนะนาทั้งด้านวิชาการและด้านอื่นๆแก่นสิ ิต
ทุกคน โดยอาจารย์ที่ปรึกษาต้องกาหนดเวลาในการให้คาปรึกษา หรือมีวธิ ีการติดต่อกับนิสติ ในรูปแบบอื่น
โดยต้องแจ้งให้นิสติ ในความดูแลทราบ
(2) อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องกาหนดช่วงเวลาให้นสิ ิตในชัน้ เรียนเข้าปรึกษาได้ (Office
Hours) และแจ้งให้นสิ ิตทราบ
5.2 การอุทธรณ์ของนิสิต
เป็นไปตามข้อบังคับและประกาศของมหาวิทยาลัยพะเยา
91

6. ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต


(1) คณะดาเนินโครงการสารวจความพึงพอใจและความคิดเห็นของผูใ้ ช้บัณฑิตเป็นประจาทุกปี
และเสนอผลการสารวจให้คณะกรรมการประจาคณะและกรรมการสาขาเพื่อพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพ
ของนิสิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน
(2) อาจารย์ประจาหลักสูตรต้องศึกษาและติดตาม สภาพเศรษฐกิจ สังคม และตลาดแรงงาน
และนาข้อมูลมาเป็นพืน้ ฐานในการปรับปรุงหลักสูตรให้มีความทันสมัย
(3) สาขานาข้อคิดเห็นจากสถานประกอบการที่นิสติ ไปฝึกงาน มาพิจารณาจัดทาโครงการและ
กิจกรรมในการพัฒนานิสิต พัฒนาคณาจารย์ รวมทั้งการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร

7. ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators)

ดัชนีบ่งชี้ผลการดาเนินงาน ปืท่ี 1 ปืท่ี 2 ปืท่ี 3 ปืท่ี 4 ปืท่ี 5


1. อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มี
ส่วนร่วมในการ ประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และ     
ทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร
2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่
สอดคล้องกับ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ     
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของ
ประสบการณ์ ภาคสนาม ตามแบบ มคอ.3 และ     
มคอ.4 ก่อนการเปิดหลักสูตร ครบทุกรายวิชา
4. จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
และรายงานผลการ ดาเนินการของประสบการณ์
ภาคสนาม ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน     
30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบ
ทุกรายวิชา
5. จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร
ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดภาค     
การศึกษา
92

ดัชนีบ่งชี้ผลการดาเนินงาน ปืท่ี 1 ปืท่ี 2 ปืท่ี 3 ปืท่ี 4 ปืท่ี 5


6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตาม
มาตรฐานผล การเรียนรูท้ ี่กาหนดใน มคอ.3 และ
    
มคอ.4 อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิด
สอนในแต่ละปีการศึกษา
7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
กลยุทธ์การสอน หรือ การประเมินผลการเรียนรู้
   
จากผลการประเมิน การดาเนินงานที่รายงานใน
มคอ.7 ปีที่แล้ว
8. อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ
    
หรือคาแนะนาด้านการจัดการเรียนการสอน
9. อาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนาในด้าน
    
วิชาการและวิชาชีพอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
10. จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน
ได้รับการพัฒนาวิชาการและ/หรือวิชาชีพไม่นอ้ ย
    
กว่าร้อยละ 50 ของบุคลากรสายสนับสนุนทั้งหมด
ต่อปี
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/
บัณฑิตใหม่ที่มตี ่อ คุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อย  
กว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีตอ่
บัณฑิตใหม่เฉลี่ยไม่ น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 
5.0
93

หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของหลักสูตร

1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน
1.1 การประเมินกลยุทธ์การสอน
(1) คณะจัดทาโครงการประเมินการสอนของอาจารย์ทุกคน โดยนิสติ เป็นผู้ประเมิน
จากนั้นคณะแจ้งผลการประเมินให้อาจารย์ทราบโดยวิธีลับ
(2) อาจารย์ทุกท่านจัดทาแผนพัฒนาการสอนของตนเอง หลังจากทราบผลประเมิน และ
เสนอต่อคณะกรรมการประจาคณะทราบ
(3) คณาจารย์ควรพิจารณาเข้าร่วมโครงการพัฒนาอาจารย์ที่คณะจัดทาเป็นประจาทุกปี
ในแต่ละโครงการอาจารย์ควรประเมินความรูค้ วามสามารถของตนเองก่อนและหลังเข้ารับการอบรม
(4) วิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของนิสติ เพื่อปรับกลยุทธการสอนให้เหมาะสมกับนิสติ โดย
อาจารย์ผู้สอนแต่ละท่าน
1.2 การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน
(1) คณะจัดทาโครงการประเมินการสอนของอาจารย์ทุกคน โดยมีหัวข้อการประเมิน
ทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน โดยให้นสิ ิตเป็นผู้ประเมิน จากนั้นคณะแจ้งผลการ
ประเมินให้อาจารย์ทราบโดยวิธีลับ
(2) อาจารย์นาผลประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน มาปรับปรุง
ต่อไป

2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม
2.1 แต่งตัง้ คณะกรรมการประเมินหลักสูตรที่ประกอบด้วยนิสติ ปัจจุบัน อาจารย์ประจาหลักสูตร
อาจารย์ผู้สอน ผู้รับผิดชอบสถานประกอบการฝึกงาน ผูใ้ ช้บัณฑิตและ/หรือผูม้ ีสว่ นได้เสียอื่นๆ และ
ผูท้ รงคุณวุฒิเป็นผูป้ ระเมิน
2.2 คณะกรรมการประเมินหลักสูตรดาเนินการประมวลหลักสูตรทั้งระบบโดยการประเมิน
เอกสารหลักสูตร กระบวนการใช้หลักสูตร สัมฤทธิผลของหลักสูตร จากนั้นนาผลการประเมินมาประมวล
และนาไปประกอบการพิจารณาปรับปรุงหลักสูตรต่อไป พร้อมกับรับฟังความคิดเห็นจากกรรมการที่
ปรึกษาภาคประชาชน กรรมการประจาคณะ คณะกรรมการตรวจผลการประเมินตนเองด้านคุณภาพ
การศึกษา และกรรมการผูว้ ิพากษ์หลักสูตรทั้งภายในและภายนอกสถาบัน
2.3 สรุปผลการประเมินหลักสูตรในภาพรวมและให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงหรือพัฒนา
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
94

3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร
คณะศิลปศาสตร์กาหนดให้ใช้ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ในการประเมินผลการ
ดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร โดยยึดตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2555
และตัวบ่งชีท้ ี่กาหนดของหลักสูตร โดยผู้ที่ทาหน้าที่ประเมินคือ คณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และ
คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในคณะ

4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง
(1) คณะกรรมการประเมินหลักสูตร สรุปผลการประเมินหลักสูตรและจัดทาเป็นรายงานเพื่อ
เสนอต่อมหาวิทยาลัย
(2) จัดประชุมนาเสนอผลการประเมินหลักสูตร อาจารย์ประจาหลักสูตร อาจารย์ประจา
อาจารย์พิเศษ นิสติ และบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอนเพื่อรับทราบ ตรวจสอบผลการดาเนิน
หลักสูตรและระดมข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/ พัฒนาหลักสูตรและแผนกลยุทธ์การสอน
(3) จัดเตรียมงบประมาณเพื่อจัดทาโครงการปรับปรุงหลักสูตรและขออนุมัติดาเนินโครงการ
ปรับปรุงหลักสูตร และดาเนินการจัดทาร่างหลักสูตรให้มีความทันสมัยและมีคุณภาพ และเป็นไปตาม
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา และเกณฑ์ที่ สกอ. กาหนด
(4) ปรับปรุง/ พัฒนาหลักสูตรและแผนกลยุทธ์การสอนตามผลการประเมินหลักสูตร ความ
ต้องการของผู้ใช้นโยบายของมหาวิทยาลัย และตอบสนองกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
ภาคผนวก ก

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยพะเยา
ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2553
ภาคผนวก ข

ตารางเปรียบเทียบหลักสูตรเก่าและหลักสูตรปรับปรุง
108

ตารางเปรียบเทียบโครงสร้างหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 และหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555

หลักสูตร หลักสูตร
หมวดวิชา เกณฑ์ สกอ. ปรับปรุง ปรับปรุง
พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2555
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 30 30
1.1 วิชาศึกษาทั่วไปบังคับ 21 21
1.2 วิชาศึกษาทั่วไปเลือก 9 9
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 84 หน่วยกิต 99 84
2.1 กลุ่มวิชาแกน 6 6
2.2 กลุ่มวิชาเอก 69 54
2.2.1 วิชาเอกบังคับ 60 36
2.2.2 วิชาเอกเลือก 9 18
2.3 กลุ่มวิชาเลือกเฉพาะสาขา 18 18
2.4 กลุ่มวิชาการฝึกงาน
6 6
สหกิจศึกษา และการศึกษาอิสระ
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 6 6
รวม (หน่วยกิต) ไม่น้อยกว่า 120 135 120
109

ตารางเปรียบเทียบรายละเอียดหลักสูตรปรับปรุง พ. ศ. 2551 และหลักสูตรปรับปรุง พ. ศ. 2555


สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
วิชาศึกษาทั่วไปบังคับ
กลุ่มวิชาภาษา 9 หน่วยกิต
001103 ทักษะภาษาไทย 3(3-0) 001103 ทักษะภาษาไทย 3(3-0-6)
Thai Language Skills Thai Language Skills
001111 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(3-0) 001111 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(3-0-6)
คงเดิม
Fundamental English Fundamental English
001112 ภาษาอังกฤษพัฒนา 3(3-0) 001112 ภาษาอังกฤษพัฒนา 3(3-0-6)
Developmental English Developmental English
กลุ่มวิชาสังคมศึกษา 3 หน่วยกิต
001134 อารยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิน่ 3(3-0) 003134 อารยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิน่ 3(3-0-6)
ปรับรหัสวิชา
Civilization and Local Wisdom Civilization and Indigenous Wisdom
003136 พะเยาศึกษา 3(2-2-5)
Phayao Studies
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์โบราณคดี พลวัต
ทางสังคม การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและ
วัฒนธรรมของจังหวัดพะเยาตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง การวิเคราะห์
แนวโน้มการพัฒนาด้านต่าง ๆ ในอนาคต ภายใต้บริบท รายวิชาใหม่
โลกาภิวัตน์และประชาคมอาเซียน
History, archeology, social dynamics, politics,
economics and culture from the past to present,
factors influencing the changes, analytical study of
the sustainable development in the future ;
globalization and ASEAN communities context
กลุ่มวิชาพลานามัย 1 หน่วยกิต บังคับเลือก 1 หน่วยกิต
001150 กอล์ฟ 1(0-2) 004150 กอล์ฟ 1(0-2-1)
Golf Golf
001151 เกม 1(0-2) 004151 เกม 1(0-2-1)
Game Game
001152 บริหารกาย 1(0-2) 004152 บริหารกาย 1(0-2-1)
Body Conditioning Body Conditioning
ปรับรหัสวิชา
001153 กิจกรรมเข้าจังหวะ 1(0-2) 004153 กิจกรรมเข้าจังหวะ 1(0-2-1)
Rhythmic Activities Rhythmic Activities
001154 ว่ายน้า 1(0-2) 004154 ว่ายน้า 1(0-2-1)
Swimming Swimming
001155 ลีลาศ 1(0-2) 004155 ลีลาศ 1(0-2-1)
Ballroom Dance Ballroom Dance
110

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
001156 ตะกร้อ 1(0-2) 004156 ตะกร้อ 1(0-2-1)
Takraw Takraw
001157 นันทนาการ 1(0-2) 004157 นันทนาการ 1(0-2-1)
Recreation Recreation
001158 ซอฟท์บอล 1(0-2) 004158 ซอฟท์บอล 1(0-2-1)
Softball Softball
001159 เทนนิส 1(0-2) 004159 เทนนิส 1(0-2-1)
Tennis Tennis
001160 เทเบิลเทนนิส 1(0-2) 004160 เทเบิลเทนนิส 1(0-2-1) ปรับรหัสวิชา
Table Tennis Table Tennis
001161 บาสเกตบอล 1(0-2) 004161 บาสเกตบอล 1(0-2-1)
Basketball Basketball
001163 ฟุตบอล 1(0-2) 004163 ฟุตบอล 1(0-2-1)
Football Football
001164 วอลเลย์บอล 1(0-2) 004164 วอลเลย์บอล 1(0-2-1)
Volleyball Volleyball
001165 ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว 1(0-2) 004165 ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว 1(0-2-1)
Art of Self Defense Art of Self Defense
กลุ่มวิชาบูรณาการ 8 หน่วยกิต
001171 ชีวติ และสุขภาพ 005171 ชีวติ และสุขภาพ 3(3-0-6)
3(3-0)
Life and Health Life and Health
001172 การจัดการการดาเนินชีวติ 005172 การจัดการการดาเนินชีวติ 3(2-2-5)
3(2-2) ปรับรหัสวิชา
Living Management Living Management
001173 ทักษะชีวติ 2(1-2) 005173 ทักษะชีวติ 2(1-2-3)
Life Skills Life Skills
วิชาศึกษาทั่วไปเลือก ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาภาษา
001113 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3(3-0) 001113 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3(3-0-6)
คงเดิม
English for Academic Purposes English for Academic Purposes
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
001121 สารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษา 3(3-0) 002121 สารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษา 3(3-0-6)
ค้นคว้า ค้นคว้า
Information Science for Study and Research Information Science for Study and Research ปรับรหัสวิชา
001122 ปรัชญาเพื่อชีวติ 3(3-0) 002122 ปรัชญาเพื่อชีวิต 3(3-0-6)
Philosophy for Life Philosophy for Life
001123 ภาษา สังคมและวัฒนธรรม 3(3-0) 002123 ภาษา สังคมและวัฒนธรรม 3(3-0-6) ปรับรหัสและ
Language, Society and Culture Language Society and Culture ชื่อวิชา
001124 ปริทัศน์ศิลปะการแสดงไทย 3(3-0) 002124 ปริทัศน์ศิลปะการแสดงไทย 3(3-0-6)
ปรับรหัสวิชา
Thai Performing Arts Thai Performing Arts
111

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
001125 ดุรยิ างควิจักขณ์ 3(3-0) 002125 ดุรยิ างควิจักขณ์ 3(3-0-6)
Music Appreciation Music Appreciation
ปรับรหัสวิชา
001126 ศิลปะในชีวิตประจาวัน 3(3-0) 002126 ศิลปะในชีวิตประจาวัน 3(3-0-6)
Arts in Daily Life Arts in Daily Life
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
001131 กฎหมายพืน้ ฐานเพื่อคุณภาพชีวิต 3(3-0) 003131 กฎหมายพืน้ ฐานเพื่อคุณภาพชีวิต 3(3-0-6)
ปรับรหัสวิชา
Fundamental Laws for Quality of Life Fundamental Laws for Quality of Life
001132 ไทยกับประชาคมโลก 3(3-0) 003132 ไทยกับประชาคมโลก 3(3-0-6) ปรับรหัสและ
Thai State and the World Community Thai and the World Community ชื่อวิชา
001133 วิถีไทย วิถีทัศน์ 3(3-0) 003133 วิถีไทย วิถีทัศน์ 3(3-0-6)
ปรับรหัสวิชา
Thai Way and Vision Thai Way and Vision
001135 การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม 3(3-0) 003135 การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม 3(3-0-6) ปรับรหัสและ
Politics, Economy and Society Politics Economy and Society ชื่อวิชา
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
001140 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม 3(3-0) 006140 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
Man and Environment Man and Environment
001141 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน 3(3-0) 006141 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน 3(2-2-5)
Introduction to Computer Information Science Introduction to Computer Information Science
001142 คณิตศาสตร์สาหรับชีวติ ในยุค 3(3-0) 006142 คณิตศาสตร์สาหรับชีวติ ในยุค 3(3-0-6)
สารสนเทศ สารสนเทศ
Mathematics for Life in the Information Age Mathematics for Life in the Information Age ปรับรหัสวิชา
001143 ยาและสารเคมีในชีวิตประจาวัน 3(3-0) 006143 ยาและสารเคมีในชีวิตประจาวัน 3(3-0-6)
Drugs and Chemicals in Daily Life Drugs and Chemicals in Daily Life
001144 อาหารและวิถีชวี ติ 3(3-0) 006144 อาหารและวิถีชวี ติ 3(3-0-6)
Food and Life Style Food and Life Style
001145 พลังงานและเทคโนโลยีใกล้ตัว 3(3-0) 006145 พลังงานและเทคโนโลยีใกล้ตัว 3(3-0-6)
Energy and Technology Around Us Energy and Technology Around Us
001245 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจาวัน 3(3-0) 006245 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจาวัน 3(3-0-6) ปรับรหัสวิชา
Science in Everyday Life Science in Daily Life และชื่อวิชา
กลุ่มวิชาบูรณาการ
001170 พฤติกรรมมนุษย์ 3(3-0) 005170 พฤติกรรมมนุษย์ 3(3-0-6)
ปรับรหัสวิชา
Human Behavior Human Behavior
112

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
หมวดวิชาเฉพาะด้าน 99 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะด้าน 84 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาแกน 6 หน่วยกิต กลุ่มวิชาแกน 6 หน่วยกิต
205200 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร1
3(3-0) ปิดรายวิชา
English for Communication I
205201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2
3(3-0) ปิดรายวิชา
English for Communication II
146200 ภาษาอังกฤษเพือ่ วัตถุประสงค์เฉพาะ 3(3-0-6)
English for Specific Purposes
ภาษาอังกฤษในบริบทที่เฉพาะเจาะจงโดยใช้ทักษะการ
ฟัง พูด อ่าน และเขียน โดยเพิ่มหัวข้อและประเด็นการพูดและการ
เขียนที่มีความเกี่ยวข้องกับศาสตร์ที่นสิ ิตกาลังศึกษาให้มีความ
สอดคล้องกับคาศัพท์
English in more specific contexts through listening,
speaking, reading, and writing skill with additions of various
speaking and writing topics
143398 ระเบียบวิธีวิจัย 3(3-0-6)
รายวิชาใหม่
Research Methodology
ความหมาย ความสาคัญ ประเภทการวิจัย ปัญหาและ
สมมุติฐานการวิจัย ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง เครื่องมือการวิจัย
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล จรรยาบรรณ
นักวิจัย การเขียนโครงร่างและรายงานการวิจัย
Meaning, significance, types, problem, and hypothesis
of research, population and sample, research tools, methods of
data collection and data analysis, ethics of researcher, proposal
and research report writing
กลุ่มวิชาเอก 54 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเอก 54 หน่วยกิต
207101 ภาษาญี่ปุ่น 1 3(2-2) 143101 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 1 3(2-2-5)
Japanese l Basic Japanese l
แนะนาตัวอักษรญี่ปุ่น ได้แก่ ฮิรางานะ และคา ภาษาญี่ปุ่นชัน้ ต้น การอ่านและเขียนอักษรฮิรางานะ คา
ตาคานะเพื่อเป็นพืน้ ฐานในการเรียนรู้คาศัพท์ประมาณ300 ตาคานะ และตัวอักษรคันจิพ้ืนฐานทีจ่ าเป็นในชีวิตประจาวันจานวน
คา ฝึกการออกเสียงภาษาญีป่ ุ่นได้อย่างถูกต้องและชัดเจน 100 ตัว คาศัพท์จานวน 700 คา และรูปประโยคพืน้ ฐานที่ใช้ใน
ปรับรหัส ชื่อ
พร้อมกับศึกษาโครงสร้างประโยคภาษาญี่ปุ่นขัน้ พืน้ ฐานซึง่ ชีวติ ประจาวัน 50 รูปประโยค
วิชา และ
สามารถนาไปใช้ในการแนะนาตัว และสนทนาทักทายใน Basic Japanese; reading and writing Hiragana,
คาอธิบาย
ชีวติ ประจาวันได้ นอกจากนีย้ ังมีการแนะนาวิธีการเขียนและ Katakana, 100 practical Kanji, 700 basic vocabularies and 50
รายวิชา
อ่านตัวอักษรคันจิประมาณ130ตัว basic sentence patterns in daily life
Study 3 types of Japanese characters ;
Hiragana, Katakana and around 130 Kanji characters
including around 300 daily-used vocabularies. Practice
how to correctly pronounce Japanese phonetics and study
113

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
basic structural patterns used to introduce oneself and in
daily conversations.
207102 ภาษาญี่ปุ่น 2 3(2-2) 143102 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 2 3(2-2-5)
Japanese ll Basic Japanese ll
ศึกษาโครงสร้างประโยคภาษาญี่ปุ่นขัน้ พืน้ ฐาน ภาษาญี่ปุ่นชัน้ ต้น การอ่านและเขียนตัวอักษรคันจิ
ในระดับที่สูงขึน้ โดยเน้นการผันคากริยา คาคุณศัพท์และ จานวน 200 ตัว คาศัพท์จานวน 1,000 คา และรูปประโยคที่ใช้ใน
คานามเป็นรูปต่างๆพร้อมกับเสริมสร้างทักษะด้านการฟัง ชีวติ ประจาวัน 80 รูปประโยค เทียบเท่าระดับในการสอบวัดระดับ
พูด อ่าน และเขียน อีกทั้งเรียนรู้คาศัพท์เพิ่มประมาณ 300 ภาษาญี่ปุ่น ระดับเอ็น5 ปรับรหัส
คา เรียนวิธีการเขียนและอ่านตัวอักษรคันจิเพิ่มประมาณ150 Basic Japanese; reading and writing 200 kanji, 1,000 ชื่อวิชา และ
ตัว vocabularies and 80 sentence patterns in daily life in Japanese คาอธิบาย
Study basic structural patterns of the Language Proficiency Test -N5 level รายวิชา
Japanese language at a higher level, emphasizing on the
conjugation of various forms of verbs, adjectives and
nouns. Strengthen listening, speaking, reading and
writing skills and study additional 300 vocabularies and
around 150 kanji characters.
207151 วัฒนธรรมญี่ปุ่น 3(3-0)
ปิดรายวิชา
Japanese Culture
207201 ภาษาญี่ปุ่น 3 3(3-0) 143201 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 3 3(2-2-5)
Japanese lll Basic Japanese lll
ศึกษาโครงสร้างประโยคภาษาญี่ปุ่นที่ซับซ้อน ภาษาญี่ปุ่นชัน้ ต้น การอ่านและเขียนตัวอักษรคันจิ400
เรียนรู้การใช้คาศัพท์เพิ่มเติมอีกประมาณ 500คา พร้อมกับ ตัว คาศัพท์จานวนทัง้ สิ้น 1,500 คา และรูปประโยคที่ใช้ใน ปรับรหัส
ฝึกทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นทัง้ สี่ด้านทีส่ ามารถนาไป ชีวติ ประจาวันรวม 120 รูปประโยค ชื่อวิชา และ
ประยุกต์ใช้ในการสนทนากับชาวญี่ปนุ่ ในชีวติ ประจาวันได้ Basic Japanese : reading and writing 400 kanji, คาอธิบาย
Study complex structural patterns of the 1,500 vocabularies and 120 sentence patterns in daily life รายวิชา
Japanese language. Practice the four language skills
which can be applied in daily conversation with Japanese
people and study additional 500 vocabularies.
207202 ภาษาญี่ปุ่น 4 3(2-2) 143202 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 4 3(2-2-5)
Japanese lV Basic Japanese lV
ศึกษาโครงสร้างประโยคภาษาญี่ปุ่นที่ซับซ้อน ภาษาญี่ปุ่นชัน้ ต้น การอ่านและเขียนตัวอักษรคันจิ 500
ยิ่งขึน้ ศึกษาภาษาสุภาพ และเรียนรู้คาศัพท์เพิ่มประมาณ ตัว คาศัพท์และรูปประโยคที่ใช้ในชีวิตประจาวัน รวมคาศัพท์ ปรับรหัส
500คา ตลอดจนเสริมสร้างทักษะการฟังและสนทนา ประมาณ 2,000 คา รูปประโยคจานวน 150 รูปประโยค เทียบเท่า และ
ภาษาญี่ปุ่นในชีวิตประจาวันและสามารถสนทนาโต้ตอบ ระดับในการสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่น ระดับเอ็น4 คาอธิบาย
Study more complex structural patterns of Basic Japanese; reading and writing 500 kanji, 2,000 รายวิชา
the Japanese language. Study how to use polite forms vocabularies and 150 sentence patterns in daily life in JLPT-N4
(Keigo) and strengthen listening and speaking skills in level
order to engage in a conversation in daily life.
114

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
207231 การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 1 3(2-2) 143211 ภาษาญี่ปุ่นเพือ่ การสื่อสาร 3 3 (2-2-5)
Japanese Conversation l Japanese for Communication lll
ศึกษา ฝึกฝนและทดลองใช้ทกั ษะการสนทนา ทักษะการสื่อสาร การฟังและพูดภาษาญี่ปุ่นขัน้ ต้น การ
ด้านต่างๆ ได้แก่การตอบรับการสนทนา การยืนยัน การถาม ใช้ประโยคที่ซับซ้อนขึน้ ในการสนทนาโต้ตอบในชีวติ ประจาวันใน
ซ้า การแสดงท่าทีลังเลที่จะพูดบางอย่าง เพื่อให้นิสิต หัวข้อที่หลากหลาย การอ่านบทความสั้น
สามารถสนทนาเรื่องราวทั่วไปในชีวติ ประจาวันขั้นพื้นฐานได้ Communication skills, speaking and listening basic Japanese,
Study and practice various aspects of using more complex sentence patterns in daily life conversation in
Japanese conversation skills such as; how to respond, various situations, reading short passage
how to confirm, how to ask back and how to express your
hesitation in saying something, in order to have a basic
conversation in daily life.
ปรับรหัส
207232 การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 2 3(2-2) 143212 ภาษาญี่ปุ่นเพือ่ การสื่อสาร 4 3 (2-2-5)
ชื่อ และ
Japanese Conversation ll Japanese for Communication lV คาอธิบาย
ศึกษาและฝึกการใช้สานวนใหม่ๆด้านทักษะการ ทักษะการสื่อสาร การฟังและพูดภาษาญี่ปุ่นขัน้ ต้น การ รายวิชา
สนทนา ได้แก่ การตอบรับการสนทนา การยืนยัน การถาม เลือกใช้ศัพท์และสานวนที่ถกู ต้องในการสนทนาและการโต้ตอบใน
ซ้า รวมทั้งการเปลี่ยนสานวนพูดโดยยังคงความหมายของ ชีวติ ประจาวันในหัวข้อทีห่ ลากหลาย ภาษาสุภาพ การอ่านบทความ
ประโยคเดิม ฝึกการซักถามและดาเนินการสนทนากับคู่ สั้น
สนทนา เพื่อให้นิสิตสามารถอธิบายและแสดงความคิดเห็น Communication skills, speaking and listening basic
เกี่ยวกับสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวได้ Japanese, using proper words and expressions in conversation
Study and practice new expressions and asking-answering in various situations of daily life
emphasizing on the speaking skill such as; how to conversation, polite Japanese (keigo), reading short passage
respond, how to confirm, how to ask back, how to
paraphrase and so on including how to ask questions and
carry on a conversation to explain and express as opinion
about one’s surrounding.
207241 การอ่านภาษาญี่ปุ่น 1 3(2-2)
ปิดรายวิชา
Japanese Reading l
207301 ภาษาญี่ปุ่น 5 3(2-2) 143301 ภาษาญี่ปุ่นชั้นกลาง 1 3(2-2-5)
Japanese V Intermediate Japanese l
ศึกษารูปประโยคภาษาญี่ปนุ่ ชั้นกลางโดยเน้น ภาษาญี่ปุ่นชัน้ กลาง เน้นทักษะการอ่านและเขียน
การศึกษาความแตกต่างของโครงสร้างประโยคที่มีความ บทความสัน้ ศึกษาอักษรคันจิ 600 ตัว คาศัพท์ 2,500 คา และรูป
ปรับรหัส ชื่อ
คล้ายคลึงกัน และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่าง ประโยคจานวน 250 รูปประโยค
และ
เหมาะสม ตลอดจนเรียนรู้คาศัพท์เพิม่ ประมาณ 500คา Intermediate Japanese; reading and writing short
คาอธิบาย
Study Japanese structure at the intermediate passages, 500 kanji, 2,500 vocabularies and 250 sentence
รายวิชา
level, emphasizing on the differences between sentence patterns
whose meaning are similar in order to be able to properly
adapt it for daily usage. Study additional 500
vocabularies.
115

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
207302 ภาษาญี่ปุ่น 6 3(2-2) 143302 ภาษาญี่ปุ่นชั้นกลาง 2 3(2-2-5)
Japanese Vl Intermediate Japanese ll
ศึกษารูปประโยคภาษาญี่ปนุ่ ชั้นกลางที่ซับซ้อน ภาษาญี่ปุ่นชัน้ กลาง อ่านทาความเข้าใจบทความ การ
ปรับรหัส ชื่อ
โดยเน้นเรื่องความหมายหน้าที่ และวิธีการใช้หลักไวยากรณ์ สนทนาหัวข้อที่เกี่ยวกับชีวติ ประจาวัน อักษรคันจิ 700 ตัว คาศัพท์
และ
นั้นๆ 4,000 คา และรูปประโยค 300 รูปประโยค เทียบเท่าระดับในการ
คาอธิบาย
Study complex structural patterns of the สอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่น ระดับเอ็น3
รายวิชา
Japanese language at the intermediate level, emphasizing Intermediate Japanese; reading various kinds of
on understanding the meaning, function and grammatical essay, everyday life conversation, 700 kanji, 4,000 vocabularies
rules. and 300 sentence patterns in JLPT-N3 level
207311 การเขียนภาษาญี่ปุ่น 1 3(2-2) 143203 การเขียนภาษาญี่ปุ่นเบือ้ งต้น 3(2–2-5)
Japanese Writing 1 Basic Japanese Writing
ศึกษาและฝึกการเขียนภาษาญี่ปุ่นได้อย่าง หลักการเขียนภาษาญีป่ ุ่น การเขียนเรียงความ ปรับรหัส ชื่อ
ถูกต้องสละสลวย สามารถเขียนประโยคที่กระชับได้ใจความ ภาษาญี่ปุ่นที่ถูกต้องตามรูปแบบ ในหัวข้อที่เกี่ยวกับชีวติ ประจาวัน และ
และเหมาะสมกับสถานการณ์โดยใช้ภาษาเขียนได้ เน้นการใช้ศัพท์และสานวนที่เหมาะสม คาอธิบาย
Study and practice how to correctly and Principles of Japanese writing; writing Japanese รายวิชา
elegantly write Japanese language. Practice writing short essays in correct format about daily life with emphasis on using
sentences that are appropriate to the given situation. appropriate vocabulary and expressions
207312 การเขียนภาษาญี่ปุ่น 2 3(2-2)
Japanese Writing 2
207321 ประวัติวรรณคดีญี่ปุ่น 3(3-0)
History of Japanese Literature
207331 การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 3 3(2-2)
Japanese Conversation 3
ปิดรายวิชา
207332 การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 4 3(2-2)
Japanese Conversation 4
207341 การอ่านภาษาญี่ปุ่น 2 3(2-2)
Japanese Reading 2
207342 การอ่านภาษาญี่ปุ่น 3 3(2-2)
Japanese Reading 3
207351 ระบบเสียงภาษาญี่ปุ่น 3(3-0) 143421 สัทศาสตร์ภาษาญี่ปุ่น 3(2-2-5)
Japanese Phonology Japanese Phonetic
ศึกษาเสียงและระบบเสียงในภาษาญีป่ ุ่น ฝึก เสียง และระบบเสียงในภาษาญี่ปุ่น เสียงสระ เสียง
การถ่ายทอดเสียงด้วยสัญลักษณ์ทางสัทอักษร รวมทัง้ ฝึก พยัญชนะ อวัยวะ การออกเสียง คาเทียบคู่ หน่วยเสียง หน่วยเสียง ปรับรหัส
การฟังเสียง การออกเสียงอย่างถูกต้องโดยเฉพาะเสียงที่ ย่อย กฎการเปลี่ยนแปลงเสียง โครงสร้างพยางค์ การลงเสียงหนัก และ
ออกเสียงยากสาหรับคนไทย เบา และทานองเสียง คาอธิบาย
Study Japanese phonetics and phonology Japanese sounds and their systems; the topics of รายวิชา
including how to transcribe sounds into phonetic symbols. vowels, consonants, organs of speech, minimal pairs,
Practice listening and pronouncing Japanese sounds phonemes, allophones, rules of sound change, syllable structures,
correctly, especially those that are difficult for Thai People. stress, and intonation
116

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
207401 ภาษาญี่ปุ่น 7 3(2-2) 143401 ภาษาญี่ปุ่นเชิงวิชาการ 3(2-2-5)
Japanese 7 Academic Japanese
ศึกษารูปประโยคภาษาญี่ปนุ่ ขั้นกลางที่ซับซ้อน การใช้ภาษาญี่ปุ่นเกี่ยวกับหัวข้อเชิงวิชาการ การฟังจับ ปรับรหัส ชื่อ
ยิ่งขึน้ เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในบริบทต่างๆได้อย่างเหมาะสม ใจความการนาเสนอผลงาน การจดบันทึก การเตรียมการ ทักษะ วิชา และ
Study more complex structural patterns of การนาเสนอผลงาน การซักถาม ด้วยภาษาญี่ปุ่น คาอธิบาย
the Japanese language at the intermediate level in order Japanese on academic topics, listening comprehension รายวิชา
to be able to apply them properly in various contexts. presentations, note taking, preparing presentation, presentation
skills, question and answer session in Japanese
207421 วรรณกรรมญี่ปุ่นเบื้องต้น 3(3-0) 143341 วรรณกรรมญี่ปุ่นเบื้องต้น 3(3-0-6)
Introduction to Japanese Literature Introduction to Japanese Literature
ศึกษาวรรณกรรมญี่ปุ่นขั้นพื้นฐาน ศึกษาหลัก ประวัติวรรณคดีญี่ปุ่น ในสมัยโบราณ เฮอัน คามาคุระ มุ ปรับรหัส
เฉพาะของวรรณกรรมญี่ปุ่นในแต่ละยุคสมัย โรมาจิ เอโดะ วรรณกรรมญี่ปุ่นที่ขนึ้ ชื่อ วรรณกรรมญี่ปุ่นในแต่ละ และ
Study the background of Japanese ยุคสมัย คาอธิบาย
literature, especially the characteristic of Japanese Background of Japanese literature in ancient Japan, รายวิชา
literature in each period. Heian, Kamakura, Muromachi, Edo, well-known Japanese
literature, Japanese literature in each period
207422 วรรณคดีญี่ปุ่น 3(3-0)
Japanese Literature
207431 การสนทนาญี่ปุ่น 5 3(2-2)
Japanese Conversation 5
ปิดรายวิชา
207432 การสนทนาภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ 3(2-2)
Japanese Conversation for Business
207441 การอ่านภาษาญี่ปุ่น 4 3(2-2)
Japanese Reading 4
207451 ภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ 3(2-2) 143361 ภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ 3(2-2-5)
Business Japanese Business Japanese
ศึกษาถึงประเพณีปฏิบัติ และการใช้ภาษา ประเพณีปฏิบัติและการใช้ภาษาในทางธุรกิจของญี่ปุ่น
ปรับรหัส
ในทางธุรกิจของญี่ปุ่น โดยเน้นการฝึกฝนการใช้ศัพท์ทาง การใช้ศัพท์ทางธุรกิจด้านต่างๆ การใช้ภาษาญี่ปุ่นในการทางาน
และ
ธุรกิจในแง่การใช้งานด้านต่างๆ Traditional manners and use of language in Japanese
คาอธิบาย
Study traditional manners and the use of business environment, use of vocabulary in various business
รายวิชา
language in the Japanese business environment aspects, using Japanese in working
emphasizing on the use of vocabularies in various
business aspects.
207452 ภาษาญี่ปุ่นเพือ่ การท่องเที่ยว 3(2-2) 143461 ภาษาญี่ปุ่นเพือ่ การท่องเที่ยว 3(2–2-5)
Japanese for Tourism Japanese for Tourism ปรับรหัส
ศึกษาศัพท์เฉพาะรวมทั้งสานวนที่ใช้ในการ ศัพท์เฉพาะรวมทั้งสานวนที่ใช้ในการท่องเที่ยว การใช้ และ
ท่องเที่ยว รวมทั้งการใช้ภาษาญี่ปุ่นรูปสุภาพซึง่ มัคคุเทศก์ใช้ ภาษาญี่ปุ่นรูปสุภาพ งานบริการท่องเที่ยว ตลอดจนแนะนาสถานที่ คาอธิบาย
ในงานบริการท่องเที่ยว ตลอดจนแนะนาสถานที่ท่องเที่ยว ท่องเที่ยวสาหรับนักท่องเที่ยวชาวญีป่ ุ่น รายวิชา
สาหรับนักท่องเที่ยวชาวญี่ปนุ่ Japanese specific terms and expressions in tourism
117

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
Study Japanese specific terms and business, the use of polite expressions by tour guide, main
expressions used in tourism business, emphasizing on the touristic spots for Japanese tourists
use of polite expressions often used by tour guides.
Introduce main touristic spots for Japanese tourists
especially those in the lower northern region of Thailand
207453 ภาษาญี่ปุ่นเชิงสังคมและวัฒนธรรม 3(2-2) 143351 ภาษาญี่ปุ่นเชิงสังคมและวัฒนธรรม 3(2-2-5)
Japanese : Social and Cultural Analysis Japanese Language in Social and Cultural
ศึกษาเชิงวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง Aspects
ภาษาญี่ปุ่นกับสังคมและวัฒนธรรมเพื่อให้สามารถนา ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาญี่ปุ่นกับสังคมและ
ภาษาญี่ปุ่นไปใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับกาลเทศะ วัฒนธรรม การใช้ภาษาญี่ปุ่นสุภาพ (เคโกะ) การคานึงถึงมารยาทใน
Study and analyze the relation between ระบบสังคมญี่ปุ่น การใช้เคโกะในวงการธุรกิจ
Japanese language and Japanese society and culture in Relation between Japanese language and Japanese
order to use Japanese language correctly and property in society, culture, using of polite Japanese; Keigo (Honorific word)
each situation. with Japanese social custom, using Keigo in business
207454 ระบบวากยสัมพันธ์ภาษาญี่ปุ่น 3(3-0)
ปิดรายวิชา
Japanese Syntax
207461 การแปลภาษาญี่ปุ่น 3(2-2) 143471 การแปลภาษาญี่ปุ่น 3(2-2-5)
Japanese Translation Japanese Translation
ศึกษาหลักการแปลและฝึกการแปลประโยค หลักการแปล และการฝึกแปลประโยคและบทความใน ปรับรหัส
และบทความทัง้ จากภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และการแปล หัวข้อต่างๆ การแปลล่ามในหัวข้อเกีย่ วกับชีวติ ประจาวัน จาก และ
จากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องสละสลวย ภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่น และจากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย คาอธิบาย
Study principles of translation and practice Principle of translation, translation document and รายวิชา
how to correctly and beautiful translate sentences and articles in various topics, interpretation in daily life conversation
articles both from Thai to Japanese and vice versa. from Thai to Japanese and vice versa
207462 การแปลล่ามภาษาญี่ปุ่น 3(2-2)
ปิดรายวิชา
Japanese Interpretation
207471 การสอนภาษาญี่ปุ่นในฐานะ 143462 การสอนภาษาญี่ปุ่นในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ 3(2-2) ภาษาต่างประเทศ 3(2-2-5)
Teaching Japanese as a Foreign Teaching Japanese As a Foreign Language
Language หลักการสอนภาษาญีป่ ุ่นชั้นต้น การฝึกการสอนโดยวิธี
ศึกษาหลักการสอน การใช้สื่อการสอนและ ตรง การวางแผนการสอน การสอนแบบฟัง-พูด
ปรับรหัส
วิธีการสอนภาษาญี่ปุ่นในฐานะภาษาต่างประเทศ พร้อมทั้ง Principles of teaching basic Japanese, teaching basic
และ
ฝึกการวางแผนการเรียนการสอน และการปฏิบัติการสอน Japanese in direct method, making a teaching plan, teaching in a
คาอธิบาย
จริง ตลอดจนฝึกทาแบบทดสอบเพื่อใช้ในการวัดและ classroom by audio-lingual method
รายวิชา
ประเมินผล
Study principles of teaching, how to use
teaching materials and how to teach Japanese as a
second language. Practice making a teaching in a
classroom including creating an exercise to assess and
118

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
evaluate learners’ performance.
143111 ภาษาญี่ปุ่นเพือ่ การสื่อสาร 1 3 (2-2-5)
Japanese for Communication I
ทักษะการออกเสียงภาษาญี่ปุ่น การฟังและพูดสนทนา
แบบสั้น การสนทนาและการโต้ตอบในห้องเรียน การแนะนาตัวเอง
การอธิบายลักษณะบุคคล สิง่ ของและสถานที่ การบอกและการถาม
เวลา การนับจานวน การใช้คากริยารูปต่างๆในการพูดเกี่ยวกับ
ตนเอง
Japanese pronunciation, listening-speaking short
conversation, conversation and questioning-answering in
classroom context, self introduction, description persons things
and places, telling and asking time, ordinal number, using various
forms of verbs to talk about themselves
143112 ภาษาญี่ปุ่นเพือ่ การสื่อสาร 2 3 (2-2-5)
Japanese for Communication II
ทักษะฟังและพูดภาษาญีป่ ุ่นขั้นต้น การสนทนาและการ
โต้ตอบในชีวติ ประจาวันอย่างง่าย การขอร้อง การชักชวน การขอ
อนุญาต การห้ามปรามตักเตือน การบอกและการถามวิธกี ารในการ
กระทาสิ่งใดสิง่ หนึง่ การถามและแสดงความคิดเห็น
Basic Japanese speaking and listening skills,
conversation and asking-answering in daily life, request, รายวิชาใหม่
invitation, asking for permission, prohibition and caution, telling
and asking how to do something, asking and expressing opinions
143321 ภาษาศาสตร์ภาษาญี่ปุ่นเบือ้ งต้น 3(3-0-6)
Introduction to Japanese Linguistic
ความรู้พ้นื ฐานเกี่ยวกับภาษาญีป่ ุ่น ระบบเสียง สัทวิทยา
ภาษาญี่ปุ่น หน่วยคา วากยสัมพันธ์ภาษาญี่ปุ่น และระบบ
ความหมาย ทฤษฎีภาษาศาสตร์เพื่อใช้ในการศึกษาวิเคราะห์
ภาษาญี่ปุ่น
Basic knowledge of Japanese linguistics; Japanese
phonology, morphology, syntax, semantics
143322 อักษรญี่ปุ่น 3(3-0-6)
Japanese Characters and Letters
ตัวอักษรที่ใช้ในภาษาญี่ปุ่น ตัวอักษรคันจิ ตัวอักษรคานะ
วิวัฒนาการของอักษรคันจิ วิธกี ารอ่านคันจิแบบต่างๆ ส่วนประกอบ
อนุมูลของตัวคันจิ ลาดับเส้นและการนับเส้นตัวอักษรคันจิ ตารางคัน
จิที่ใช้ในปัจจุบัน วิวัฒนาการของอักษรคานะ อักขรวิธีญปี่ ุ่น
Letters and characters in Japanese; Kanji and Kana,
development of Kanji, various styles of reading Kanji, radical of
Kanji, stroke order and stroke counting of Kanji, Kanji table for
119

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
public use, development of Kana, orthography in Japanese
143331 ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมญี่ปุ่น 3(3-0-6)
History and Culture of Japan
ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น ยุคสมัยที่มคี วามโดดเด่นทาง
วัฒนธรรม ยุคนารา เฮอัน คามาคุระ มุโรมาจิ เอโดะ เมจิ โชวะ
ความสัมพันธ์ของประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม
ประเพณี ชีวติ ความเป็นอยู่ แนวคิดของชาวญี่ปุ่น
History of Japan, Japanese culture, periods of
important culture; Nara, Heian, Kamakura, Muramachi, Edo,
Meiji, Showa , relations between history and culture, tradition,
ways of life, Japanese ways of thinking
143371 การเปรียบเทียบภาษาญี่ปุ่นกับ
ภาษาไทย 3(2-2-5)
Japanese-Thai Contrastive Study
การค้นคว้าวิเคราะห์และเปรียบเทียบภาษาญี่ปุ่นกับ
ภาษาไทย ในหัวข้อต่างๆ ระบบเสียง คา ประโยค ความหมาย และ
การใช้ภาษา ของทัง้ สองภาษา
Research, analysis and comparison between Thai and
Japanese languages on various topics; sound system, word,
sentence, meaning and using
รายวิชาใหม่
143452 ภาษาญี่ปุ่นในสถานการณ์ปัจจุบัน 3(2-2-5)
Japanese in Current Affairs
สถานการณ์ปัจจุบันของญี่ปนุ่ สังคม เศรษฐกิจ การอ่าน
และการฟังสื่อภาษาญี่ปุ่น ข่าว สารคดี อินเทอร์เน็ต สิ่งพิมพ์ ศัพท์
เฉพาะทาง และทักษะการสืบหาข้อมูลภาษาญี่ปนุ่
Current affair of Japan; society, economy, reading
and listening Japanese media; news, documentary, internet,
printed matter, Japanese technical terms, Japanese information
retrieval skills
- กลุ่มวิชาเลือกเฉพาะสาขา 18 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาเลือกเฉพาะสาขา 18 หน่วยกิต
กลุ่มภาษาอังกฤษ กลุ่มภาษาอังกฤษ
205111 การฝึกอ่าน 3(3-0) 146111 การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ
Reading Practice เชิงปฏิบัติ 3(2-2-5)
ศึกษาหลักการอ่านและฝึกอ่านภาษาอังกฤษ Practical Reading and Writing
ปรับรหัสและ
ประเภทต่างๆด้วยความเข้าใจและรวดเร็ว รวมทั้งฝึกอ่าน หลักเบือ้ งต้นการอ่าน การเขียน ปัญหาในการอ่านและ
คาอธิบาย
หนังสือนอกเวลา การเขียน ระดับ คา วลี อนุประโยค ประโยคประเภทต่างๆ การอ่าน
รายวิชา
Students study reading techniques and เพื่อวิเคราะห์ประโยคที่ไม่สมบูรณ์ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน
practice reading passages of different types, including การแบ่งประโยค การเขียนตามหลักการเกี่ยวกับการเขียนเบือ้ งต้น
external books. Basic principle of reading and writing, problems in
120

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
reading and writing at lexical level, types of phrases, clauses and
sentence, reading focusing on problems on incomplete sentences,
the use of punctuation marks, writing following the basic principle
205121 การเขียนขั้นพื้นฐาน 3(3-0)
ปิดรายวิชา
Basic Writing
205131 ทักษะการพูดขั้นพื้นฐาน 3(2-2) 146131 ภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร 3(2-2-5)
Basic Oral Skills English for Communication
ฝึกการออกเสียงภาษาอังกฤษและเน้นเสียง การฟัง-พูด ภาษาอังกฤษ การออกเสียงสระ พยัญชนะ
หนักเบาในคาและในประโยค ฝึกการฟังและการสนทนา การเน้นเสียงในระดับคาและระดับประโยค การทาความเข้าใจบท
ปรับรหัส ชื่อ
อย่างง่ายๆ สนทนา การฟังเพื่อจับคาสาคัญ รายละเอียด และใจความสาคัญ
และอธิบาย
Students practice oral-aural skills with และพูดโต้ตอบบทสนทนาอย่างเหมาะสม
รายวิชา
emphasis on basic stress patterns of words and sentences Listening and speaking in English, vowel and
and practice listening and speaking simple dialogues. consonant sounds, stress patterns and intonation in both word
and sentence levels, understanding conversational language in
words, details, and gist, making response to the conversation in
proper way
205222 การเขียนย่อหน้า 3(3-0) 146112 การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ
Paragraph Writing เชิงวิวัฒน์ 3(3-0-6)
ฝึกการเขียนย่อหน้าประเภทต่างๆเพือ่ สื่อ Progressive Reading and Writing ปรับรหัส ชื่อ
ความหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ฝึกการเขียนที่มีประโยค การอ่านเพื่อความเข้าใจและการวิเคราะห์ การเขียนใน และอธิบาย
ใจความหลักและประโยคสนับสนุน โดยใช้คาเชื่อมโยง ระดับประโยค ย่อหน้า ความเรียงเชิงแสดงความคิดเห็น ความเรียง รายวิชา
ความคิดที่เหมาะสม เชิงพรรณนา ความเรียงเชิงอภิปราย ความเรียงแบบเล่าความ ความ
Students practice writing different types of เรียงเชิงประเมินค่า
paragraphs for a meaningful communication and writing Reading for comprehension and analysis, writing
sentences containing main clauses as well as subordinate sentences paragraph, persuasive, comparison and contrast
clauses with proper discourse connectors. essay, descriptive essay definition essay narrative essay
evaluation essay
205232 การสนทนา 3(2-2)
Conversation
ปิดรายวิชา
205381 การแปลเบือ้ งต้น 3(3-0)
Introduction to Translation
146211 การอ่านและการเขียนขัน้ สูง 3(3-0-6)
Advance Reading and Writing
การอ่านเพื่อวิเคราะห์ การอ่านบทความทางวิชาการ
การทบทวนวรรณกรรม การสังเคราะห์ข้อมูล การเขียนอ้างอิง การ
เขียนบรรณานุกรม การเขียนโน้ตย่อ การเขียนบทความ การเขียน รายวิชาใหม่
รายงานการวิจัย
Analytical reading, reading academic article,
literature review, synthesizing data, writing citation, writing
references, writing note-taking, writing article, writing research
121

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
report
146231 ภาษาอังกฤษเพือ่ การอภิปราย 3(2-2-5)
English for Discussion
ปรับรหัสและ
การอภิปรายในหัวข้ออภิปรายที่หลากหลาย การให้
คาอธิบาย
ข้อมูลสนับสนุนความคิดเห็น การใช้คาศัพท์และโครงสร้างที่ถกู ต้อง
รายวิชาจาก
เหมาะสม
รายวิชา
Discussion of various topics, giving evidence to
205333 เดิม
support one’s own idea, using appropriate vocabulary and
structure
146232 การพูดและการนาเสนอในที่สาธารณะ 3(2-2-5)
Public Speaking and Presentation
ความสาคัญ ประเภทของการพูดในทีส่ าธารณะ
หลักการพูดในที่สาธารณะ วิธีการนาเสนอ การเรียบเรียงความคิด ปรับรหัสและ
การนาเสนอผลงานทางวิชาการ การนาเสนอทางธุรกิจ การโต้วาที คาอธิบาย
การกล่าวสุนทรพจน์ การพูดแบบฉับพลัน การใช้สื่อนาเสนออย่างมี รายวิชาจาก
ประสิทธิภาพ การวิเคราะห์ผู้ฟัง
รายวิชา
Importance, types of public speaking, principles of 205333 เดิม
public speaking, procedures of giving presentation, idea
organization, academic presentation, business presentation,
debating, giving speech, impromptu speaking, using medias for
effective presentation, audience analysis
กลุ่มภาษาจีน กลุ่มภาษาจีน
206111 ภาษาจีน 1 3(2-2) 142111 ภาษาจีนเพื่อการสือ่ สาร 1 3(2-2-5)
Chinese 1 Chinese for Communication I
ศึกษาระบบเสียงภาษาจีนกลาง การออกเสียง ทักษะพื้นฐาน 4 ทักษะของภาษาจีน พูด ฟัง เขียน อ่าน
ให้ถูกต้องโดยใช้ระบบ PINYIN ศึกษาศัพท์ตา่ งๆเกี่ยวกับสิง่ การออกเสียงภาษาจีนตามระบบสัทอักษรภาษาจีน Chinese
ใกล้ตัวผู้เรียนในชีวติ ประจาวันประมาณ 300คา ฝึกสนทนา Phonetic Alphabet (CPA) (PINYIN) ทักษะการเขียนตัวอักษรจีนอย่าง
ง่ายๆที่ใช้อยู่เสมอในชีวิตประจาวัน ฝึกทักษะการเขียน ถูกต้องตามระบบการเขียนอักษรจีนแบบบรรจง ศัพท์พื้นฐานต่าง ๆ
ปรับรหัส ชื่อ
ตัวอักษรจีนเบือ้ งต้น ตลอดจนศึกษาเกี่ยวกับไวยากรณ์ เกี่ยวกับสิ่งใกล้ตัวและคาศัพท์ที่ใช้ในชีวิตประจาวันประมาณ 300
และ
เบือ้ งต้นของภาษาจีน ชนิด หน้าที่ของคา และโครงสร้าง คา สนทนาขั้นพื้นฐาน ไวยากรณ์จนี พืน้ ฐาน
คาอธิบาย
ประโยคที่ไม่ซับซ้อน Four basic skills of Chinese including speaking listening
รายวิชา
The Mandarin Phonological system, PINYIN reading and writing, Chinese Pronunciation with Chinese
system, is used to study the pronunciation of about 300 phonological system (CHINESE PHONETIC ALPHABET), Chinese
words in everyday life, the basic Chinese grammar, part character systematically writing skills, 300 of daily-life words
of speech and syntax, to practice the speaking skills for and expressions, basic conversation and Chinese grammar
everyday conversation and the writing of elementary
Chinese alphabet.
122

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
206112 ภาษาจีน 2 3(2-2) 142112 ภาษาจีนเพือ่ การสื่อสาร 2 3(2-2-5)
Chinese 2 Chinese for Communication II
ศึกษาศัพท์ในชีวิตประจาวันเพิ่มขึน้ 400 ฝึก คาศัพท์ในชีวิตประจาวันประมาณ 400 คา การออก
สนทนาบทสนทนาที่ยากขึน้ ศึกษาการผูกประโยคพืน้ ฐาน เสียงในระดับคาหลายพยางค์ วลี และระดับประโยค ไวยากรณ์จนี
แบบต่างๆ ในภาษาจีน รวมทั้งศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับ พืน้ ฐานระดับประโยค โครงสร้างประโยคแบบต่าง ๆ ประโยคที่ใช้
ส่วนเติมเต็มของประโยค และการใช้คาบุพบท กริยาช่วย ประโยคภาคแสดงเป็นกริยาวลี ประโยคภาคแสดงเป็น
Development of 400 daily-life words, คุณศัพท์วลี ประโยคภาคแสดงเป็นนามวลี โครงสร้างประโยค
Practice in more difficult conversation. Study of basic คาถามแบบต่าง ๆ การใช้คาบอกตาแหน่ง การบอกเวลา วันเดือนปี
Chinese syntax as well as details in complete sentence การใช้กริยาช่วยต่าง ๆ หน่วยคาไวยากรณ์ที่แสดงความสมบรูณ์ของ
and preposition use. การกระทา การเขียนอักษรจีน
400 daily-life words and expressions, pronunciation
in level of multi-syllable words, phrases and sentences, basic
grammar of sentence structures. the sentences with verb
complement, the sentences with adjective complement, the
sentence with noun complement, the structure of interrogative
sentences, the use of prepositions, telling the time and date, use
of auxiliary verbs, the functional words, writing of Chinese ปรับรหัส ชื่อ
characters และ
206221 การฟัง-การพูดภาษาจีน 1 3(2-2) 142121 การพัฒนาทักษะการฟังและการ คาอธิบาย
Chinese Listening and Speaking 1 พูดภาษาจีน 1 3(2-2-5) รายวิชา
ฝึกฟัง และพูดบทสนทนาในชีวติ ประจาวันอย่าง Chinese Listening and Speaking I
ง่ายๆ โดยเน้นที่การออกเสียงให้ชัดเจนถูกต้อง และสามารถ การฟัง และการพูดบทสนทนาภาษาจีนใน
พูดตอบโต้ได้ ชีวติ ประจาวันอย่างง่าย ๆ การออกเสียงให้ชัดเจนถูกต้อง และการ
Practice listening to and speaking simple พูดโต้ตอบ
dialogues in everyday life with emphasis on clear and Listening and speaking Chinese in simple dialogues
accurate pronunciation and ability to converse in Chinese for daily life, pronunciation, and ability for inquiring and
answering
206231 การอ่าน-การเขียนภาษาจีน 1 3(2-2) 142231 การพัฒนาทักษะการอ่านและการ
Chinese Reading and Writing 1 เขียนภาษาจีน 1 3(2-2-5)
เสริมสร้างทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีน Chinese Reading and Writing Development I
โดยฝึกให้อ่านและเขียนประโยคและบทสนทนาสั้นๆ ทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีนขนาดสั้นที่ใช้ใน
Improve reading and writing skills in Chinese ชีวติ ประจาวันทั่วไป บันทึกประจาวัน นิทาน จดหมาย แนะนาตนเอง
by practicing reading and writing short sentences and ประวัติส่วนตัว บัตรเชิญ ประกาศ โฆษณา
dialogues. Reading and writing skills in Chinese in term of diary;
stories, letters, self introduction, resume, invitation card,
announcement, advertisement
142211 ภาษาจีนเพือ่ การสื่อสาร 3
Chinese for Communication III
รายวิชาใหม่
คาศัพท์ในชีวิตประจาวันและศัพท์เฉพาะต่าง ๆ
ประมาณ 500 คา การใช้คาบอกจานวนเงิน ส่วนขยายภาคแสดง
123

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
หน่วยคาไวยากรณ์ที่ใช้เชื่อมภาคแสดงกับส่วนขยายภาคแสดง การ
ซ้าคาคุณศัพท์พยางค์เดี่ยวและสองพยางค์ หน่วยคาที่แสดงการ
ดาเนินต่อเนื่องไปของภาคแสดง หน่วยคาไวยากรณ์ที่แสดงการเน้น
ประสบการณ์ การซ้าคากริยาสองพยางค์ ประโยคที่ภาคแสดงมี
หลายกริยาวลี การใช้คาบุพบทต่าง ๆ ที่สาคัญ รวมทั้งคาเชื่อมของ
ประโยคความซ้อน
500 daily-life words and technical terms. Chinese
currency, the complement modification, functional words for
complement and complement modification, the reduplication of
monosyllabic and dissyllabic adjectives, indication words in
progressive aspect, the particle emphasizing on past experience,
the reduplication of dissyllabic verbs, the sentence with several
verb complements, prepositions and conjunctions used in complex
sentence
142231 การพัฒนาทักษะการอ่าน-การ 3(2-2-5)
เขียนภาษาจีน 1
Chinese Reading and Writing Development I
ทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีนขนาดสั้นที่ใช้ใน
ชีวติ ประจาวันทั่วไป บันทึกประจาวัน นิทาน จดหมาย แนะนาตนเอง รายวิชาใหม่
ประวัติส่วนตัว บัตรเชิญ ประกาศ โฆษณา
Reading and writing skills in Chinese in term of diary;
stories, letters, self introduction, resume, invitation card,
announcement, advertisement
กลุ่มภาษาไทย กลุ่มภาษาไทย
208201 การอ่าน 3(2-2)
Reading
208202 การอ่านเชิงวิจารณ์ 3(3-0)
Critical Reading
208211 การพูด 3(2-2)
Speech Training
ปิดรายวิชา
208211 การเขียน 3(2-2)
Writing
208222 การสรุปความ 3(2-2)
Summarization
208223 การเขียนเพือ่ การสื่อสาร 3(3-0)
Writing for Communication
144111 ทักษะการรับสารอย่างมีประสิทธิภาพ 3(2-2-5)
Effective information Receiving Skills รายวิชาใหม่
ทฤษฎีการสื่อสาร หลักการ กลวิธี รูปแบบ การฟังและ
124

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
การอ่านประเภทต่างๆ การวิเคราะห์วินิจ วิจารณ์และประเมินค่า
Theory of communication, the principles, strategies,
and feature of listening and reading in a variety patterns,
analysis, interpretation, criticism and evaluation
144112 ทักษะการส่งสารอย่างมีประสิทธิภาพ 3(2-2-5)
Effective information Transferring Skills
ทฤษฎีการสื่อสาร หลักการ กลวิธี รูปแบบ การพูด
และการเขียนประเภทต่างๆ การพัฒนาบุคลิกภาพในการพูดและการ
พัฒนาทักษะการเขียน
The theory of communication, the principle, strategy
and format of speaking and writing in a variety of patterns,
personality development in speaking, writing skills
144439 วรรณกรรมกับสังคม 3(3-0-6)
Literary works and Society
ลักษณะสังคมไทย ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมกับ
สังคม วัฒนธรรม สังคมและการเมืองในวรรณกรรมไทย อิทธิพล
ของวรรณกรรมและสังคมที่มีตอ่ กัน
Thai society, correlation between Thai literature and
society, culture, society and politic in Thai literature, the impacts
between literature and society
144442 ทักษะการจัดประชุมและฝึกอบรม 3(3-0-6)
รายวิชาใหม่
Meeting and Seminar setting skill
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประชุมและฝึกอบรม หลักการ
จัดการประชุมและฝึกอบรม บทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้อง การ
ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในการจัดประชุมและฝึกอบรม
Introduction to conference and training, principle of
conference and training setting, roles and responsibilities of all
parties involved, use of language for communication in
conference and training
144443 ภาษากับวัฒนธรรม 3(3-0-6)
Thai Language and Culture
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมในแง่มุมต่างๆ
ภาษาไทยกับความเชื่อ ค่านิยม โลกทัศน์ การใช้ภาษาไทยในปริบท
ของวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงของภาษาในปริบทของวัฒนธรรม
Correlations between language and culture in
different aspects such as Thai language and beliefs, popularities,
vision, use of Thai language in cultural context, changing of
language in cultural context
125

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
144444 ภาษาเพื่องานสื่อสารมวลชน 3(3-0-6)
Language for Mass Communication
ความรู้เกี่ยวกับงานสื่อสารมวลชน ลักษณะภาษาที่ใช้
สื่อสารในงานสื่อสารมวลชนประเภทต่างๆ หลักการเขียนและพูดใน
รายวิชาใหม่
งานสื่อสารมวลชน
General knowledge of mass communication,
Characteristics of languages used in mass communications,
principles of writing and speaking in mass communication works
กลุ่มภาษาพม่า ปิดกลุ่มวิชา
กลุ่มภาษาฝรั่งเศส กลุ่มภาษาฝรั่งเศส
219103 ภาษาฝรั่งเศส 1 3(2-3) ภาษาฝรั่งเศส 1
French 1 French I
ฝึกฝนทักษะด้านต่าง ๆ ในการใช้ภาษาฝรั่งเศส ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวัน ทักษะ
ได้แก่ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ศึกษา การฟัง การพูด การอ่าน การเขียนไวยากรณ์ฝรั่งเศสเบื้องต้น
ไวยากรณ์ โดยเน้นโครงสร้างประโยคที่ไม่ซับซ้อน โครงสร้างประโยคที่ไม่ซับซ้อน
Practice in listening, speaking, reading and French for daily communicative skills, listening,
writing skills in using French with a study of grammar speaking, reading and writing skills, elementary French grammar,
focusing on the structure of simple sentence. simple sentence structure
214104 ภาษาฝรั่งเศส 2 3(2-3)
French 2 French II
ฝึกฝนทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารจาก ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสารในสถานการณ์ตา่ งๆ
โครงสร้างประโยคที่ซับซ้อนขึน้ เน้นการใช้ภาษาใน ไวยากรณ์ฝรั่งเศส โครงสร้างประโยคที่ซับซ้อน ระดับภาษาฝรั่งเศส
สถานการณ์ตา่ งๆ ที่แตกต่างกัน
A continuation of French1 with practice of French for communication in various situations, French ปรับรหัส
skills in using French for communication using more grammar, complex sentence structure, different levels of French และ
complex sentence structures focusing on using language language คาอธิบาย
in a variety of situation. รายวิชา
219121 การฟัง-การพูดภาษาฝรั่งเศส 1 2(1-2)
French Listening and Speaking 1 French Listening and Speaking I
พัฒนาทักษะในการฟัง และการพูดสนทนาใน การฟังและการพูดในสถานการณ์ตา่ งๆ ใน
ชีวติ ประจาวัน การพูดโต้ตอบเพื่อเสนอและแลกเปลี่ยนความ ชีวติ ประจาวันการฟังภาษาฝรั่งเศสจากบทสนทนาและข่าว การพูด
คิดเห็น แสดงความคิดเห็น สัทศาสตร์ฝรั่งเศสและการออกเสียง สัทอักษร
Development of listening and speaking skills IPA
for everyday conversation with discussion to present and Listening and speaking in various situations in daily
exchange ideas. life, Listening skill based on conversation and report, expressing
an opinion, French phonetics and pronunciation, phonetic
transcription of IPA.
219231 การอ่าน-การเขียนภาษาฝรั่งเศส 1 3(3-0) 145121 การอ่าน-การเขียนภาษาฝรั่งเศส 1
French Reading and Writing 1 French Reading and Writing I
ศึกษาหลักการอ่านและฝึกอ่านบทความภาษา การอ่านข่าว บทความขนาดสั้น เรื่องสั้น การอ่านเพื่อ
126

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
ฝรั่งเศสประเภทต่าง ๆ โดยเน้นการวิเคราะห์โครงสร้างและ ความเข้าใจ การเขียนเรียงความขนาดสั้นในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับ
ตีความหมายเพื่อให้เข้าใจเนือ้ หาและใจความที่สาคัญ ฝึก ชีวติ ประจาวัน
การเขียนจดหมาย และเรียงความขนาดสั้น Reading news, short article, short story, reading for
Study reading techniques and practice comprehension, writing short composition in various contexts in
reading French passages of different types focusing on daily life
structural analysis and interpretation to understand
content and important meaning. Practice in letters and
short compositions in French.
219270 สัทศาสตร์ภาษาฝรั่งเศส 3(2-2)
ปิดรายวิชา
French Phonetics
219222 การฟัง-การพูดภาษาฝรั่งเศส 2 2(1-2) 145112 การฟัง-การพูดภาษาฝรั่งเศส 2 3(2-2-5)
French Listening and Speaking 2 French Listening and Speaking II
พัฒนาทักษะในการสื่อสารจากกการฟัง การ การฟังภาษาฝรั่งเศสจากข่าว บทสนทนาในบริบทต่างๆ
เล่าเรื่อง การสรุปและการแสดงความคิดเห็นจากสื่อต่าง ๆ ภาพยนตร์และสื่อต่างๆ การจับใจความ การเล่าเรื่อง และการ
Development of communicative skills in แสดงความคิดเห็น
listening, retelling, summarizing and expressing opinions Listening French report and conversation in various
about stimuli presented through various instructional contexts, cinema and authentic document, summarizing, retelling
media. and expressing opinions
219232 การอ่าน-การเขียนภาษา 3(3-0)
145122 การอ่าน-การเขียนภาษาฝรั่งเศส 2 ปรับรหัส
ฝรั่งเศส 2 French Reading and Writing II และ
การอ่านบทความภาษาฝรั่ง เศสที่มีเนื้อหาเชิง วิช าการ คาอธิบาย
French Reading and Writing 2
รายวิชา
พัฒนาทักษะการอ่านบทความภาษาฝรั่งเศสใน วรรณกรรม การวิเคราะห์ บทอ่าน การอ่านเพื่อมุ่งประสิทธิผล การ
ระดับที่สูงขึน้ เน้นความสามารถในการจับประเด็น การลาดับ เขียนเรียงความขนาดสั้นที่มีเนือ้ หาเชิงวิชาการ
ความคิด การวิเคราะห์โครงสร้างของบทอ่าน ฝึกการเขียน Reading academic French texts, literature, text
รายงานและเรียงความ analysis, effective reading, writing short academic compositions
Development of reading of French texts at a
more complex language level, emphasizing the ability to
make conclusions, sequence of thought, analyzing
relationships among the parts of texts, practice in reports
and compositions.
219261 อารยธรรมฝรั่งเศส 1 3(3-0)
French Civilization
219311 การแปลภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้น 3(3-0)
Introduction to French Translation
ปิดรายวิชา
219344 ภาษาฝรั่งเศสด้านการท่องเที่ยว 1 3(3-0)
French for Tourism 1
219345 ภาษาฝรั่งเศสด้านการท่องเที่ยว 2 3(3-0)
French for Tourism 2
กลุ่มภาษาเกาหลี ปิดกลุ่มวิชา
127

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
กลุ่มภาษาเวียดนาม ปิดกลุ่มวิชา
กลุ่มวิชาเลือกเฉพาะสาขา ที่เปิดให้กับหลักสูตรอื่น
207281 ทักษะภาษาญี่ปุ่น 1 3(2-2) 143381 ทักษะภาษาญี่ปุ่น 1 3(2-2-5)
Japanese Skills 1 Japanese Skills 1
แนะนาตัวอักษรฮิรางานะและคาตาคานะ ฝึก อักษรฮิรางานะและคาตาคานะ การออกเสียง
การออกเสียงภาษาญี่ปุ่นได้อย่างถูกต้องและชัดเจน พร้อม ภาษาญี่ปุ่น โครงสร้างประโยคภาษาญี่ปุ่นขั้นพื้นฐานสาหรับการ
กับศึกษาโครงสร้างประโยคภาษาญีป่ ุ่นขั้นพื้นฐาน ซึง่ แนะนาตัวและสนทนาทักทายในชีวิตประจาวัน
สามารถนาไปใช้ในการแนะนาตัวและสนทนาทักทายใน Introduction to Japanese characters; Hiragana and
ชีวติ ประจาวันได้ Katakana, pronunciation in Japanese, basic Japanese structure for
Introduce Japanese characters; Hiragana and self introducing and conversation in daily life
Katakana. Practice how to pronounce sounds in the
Japanese language correctly and study basic Japanese
structure to be able introduce oneself and have a
conversation in daily life.
207282 ทักษะภาษาญี่ปุ่น 2 3(2-2) 143383 ทักษะภาษาญี่ปุ่น 2 3(2-2-5) ปรับรหัส
Japanese Skills 2 Japanese Skills II และ
ศึกษาโครงสร้างประโยคภาษาญี่ปุ่นขัน้ พืน้ ฐาน โครงสร้างประโยคภาษาญีป่ ุ่นขั้นพื้นฐานในระดับที่ คาอธิบาย
ในระดับที่สูงขึน้ พร้อมกับการฝึกทักษะภาษาญีป่ ุ่นทั้งสี่ด้าน สูงขึน้ ทักษะภาษาญี่ปุ่นทั้งสีด่ ้าน การฝึกทักษะการฟังและการพูด รายวิชา
โดยเน้นการฝึกทักษะการฟังและการพูด Basic Japanese structure at a higher level, 4 skills of
Study basic Japanese structure at a higher Japanese language emphasizing on listening and speaking skills
level and practice 4 skills of Japanese language
emphasizing and speaking skills.
207381 ทักษะภาษาญี่ปุ่น 3 3(2-2) 143481 ทักษะภาษาญี่ปุ่น 3 3(2-2-5)
Japanese Skills 3 Japanese Skills III
ศึกษาโครงสร้างประโยคภาษาญี่ปุ่นที่มีความ โครงสร้างประโยคภาษาญีป่ ุ่นที่มคี วามซับซ้อน ทักษะ
ซับซ้อน พร้อมกับฝึกทักษะภาษาญี่ปนุ่ ทั้งสี่ด้านโดยเน้นการ ภาษาญี่ปุ่นทั้งสี่ดา้ น ทักษะการฟังและการพูด
ฝึกทักษะการฟังและการพูด Complex structure of Japanese language and practice
Study complex structure of Japanese in the four language skills emphasizing on listening and speaking
language and practice the four language skills skills
emphasizing on listening and speaking skills.
207382 ทักษะภาษาญี่ปุ่น 4 3(2-2)
ปิดรายวิชา
Japanese Skills 4
207383 การฝึกฟังพูดภาษาญี่ปุ่น 1 3(2-2) 143384 การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 1 3(2-2-5)
Oral Japanese Practice 1 Japanese Conversation I
ฝึกทักษะการฟังและการพูดบทสนทนา ทักษะการฟังและการพูดบทสนทนาภาษาญี่ปุ่นใน ปรับรหัส
ภาษาญี่ปุ่นในชีวิตประจาวัน โดยเน้นการออกเสียงให้ชัดเจน ชีวติ ประจาวัน การออกเสียงและการโต้ตอบบทสนทนาภาษาญี่ปุ่น และ
ถูกต้องและสามารถโต้ตอบสนทนากับชาวญี่ปุ่นในหัวข้อที่ Listening and speaking skills in daily-life คาอธิบาย
กาหนดได้ conversations, pronunciation and conversation in Japanese รายวิชา
Practice listening and speaking skills in daily-
life conversations emphasizing on correct pronunciation
128

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
and the ability to carry on a conversation with Japanese
people in given topics.
207383 การฝึกฟังพูดภาษาญี่ปุ่น 2 3(2-2) 143482 การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 2 3(2-2-5)
Oral Japanese Practice 2 Japanese Conversation II
ฝึกทักษะการฟังและการพูดบทสนทนาใน ทักษะการฟังและการพูดบทสนทนาในชีวติ ประ- จาวัน
ชีวติ ประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเลือกใช้ การใช้ถ้อยคาและสานวนตามสถานการณ์ตา่ งๆ
ปรับรหัส
ถ้อยคาและสานวนที่ถกู ต้องเหมาะสมกับสถานการณ์และ Listening and speaking skills in daily-life
และ
เป็นธรรมชาติ conversations, words and expressions in different situations
คาอธิบาย
Practice listening and speaking skills in daily-
รายวิชา
life conversations in order to be able to listen to and speak
Japanese efficiently, emphasizing on how to select words
and expressions that are natural and appropriate to given
situations.
143382 ญี่ปุ่นศึกษา 3(3-0-6)
Japanese Studies
ความรู้พ้นื ฐานเกี่ยวกับประเทศญี่ปุ่น ประวัติศาสตร์
รายวิชาใหม่
ภูมิศาสตร์ สังคม การเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรม
Basic knowledge about Japan; history, geography,
society, politic, economy and culture
กลุ่มวิชาการศึกษาอิสระและการฝึกงาน 6 หน่วยกิต กลุ่มวิชาการฝึกงาน หรือ สหกิจศึกษา หรือ การศึกษาอิสระ 6 หน่วยกิต
207491 การฝึกงาน 6 หน่วยกิต 143498 การฝึกงาน 6 หน่วยกิต
Professional Training Professional Training
ฝึกปฏิบัติงานในหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน การฝึกปฏิบัติ เรียนรู้ เพิ่มพูนประสบการณ์และทักษะใน
โดยได้รับความเห็นชอบจากมหาวิทยาลัย งานที่เกี่ยวข้องกับประเทศญี่ปุ่น หรืองานที่ใช้ภาษาญี่ปุ่นในสถาน
Professional training in government service or ประกอบการ องค์กรภาครัฐหรือเอกชน
an private sector with the approval of the university. Training, learning, gaining experience, improving
working skills in relation with Japan or using Japanese in private
or government sectors ปรับรหัส
207498 การศึกษาอิสระ 6 หน่วยกิต 143497 การศึกษาอิสระ 6 หน่วยกิต และ
Independent Study Independent Study คาอธิบาย
ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และนาเสนอผลงานใน การค้นคว้า การรวบรวมข้อมูล การวิจัย การวิเคราะห์ รายวิชา
รูปแบบของรายงาน การเขียนรายงาน การนาเสนอ และการอภิปราย ในหัวข้อที่
Independent study on a topic and present the เกี่ยวข้องกับประเทศญี่ปุ่น วัฒนธรรมญี่ปุ่น หรือภาษาญี่ปุ่น การ
study in form of a report. นาเสนอผลงานด้วยภาษาญี่ปุ่น
Studying, collecting data, researching, analyzing,
report writing, presenting and discussing in topics of Japan,
Japanese culture, Japanese language and presentation in
Japanese
129

สาระที่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
ปรับปรุง
143499 สหกิจศึกษา 6 หน่วยกิต
Co-operative Education
การปฏิบัติงาน เรียนรู้ เพิ่มพูนประสบการณ์และทักษะ
ในงานที่เกี่ยวข้องกับประเทศญี่ปุ่น หรือภาษาญี่ปุ่นในฐานะพนักงาน
รายวิชาใหม่
ฝึกหัดในสถานประกอบการ องค์กรภาครัฐหรือเอกชน
Working, learning, gaining experience, improving
working skills in relation with Japan or Japanese as an apprentice
in private or government sectors
130

ตารางเปรียบเทียบแผนการศึกษา
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 และหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555

แผนการศึกษาปี พ.ศ. 2551 แผนการศึกษาปี พ.ศ. 2555


ชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 1
ภาคการศึกษาต้น ภาคการศึกษาต้น
001111 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(3-0) 001111 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3(3-0-6)
001171 ชีวติ และสุขภาพ 3(3-0) 005171 ชีวติ และสุขภาพ 3(3-0-6)
001171 ทักษะชีวติ 3(2-2) 005173 ทักษะชีวติ 2(1-2-3)
001xxx กลุ่มวิชาพลานามัย 1(0-2) 143101 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 1 3(2-2-5)
207101 ภาษาญี่ปุ่น 1 3(2-3) 143111 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 1 3(2–2-5)
004xxx กลุ่มวิชาพลานามัย 1(x-x-x)
รวม 12 หน่วยกิต รวม 15 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย ภาคการศึกษาปลาย
001103 ทักษะภาษาไทย 3(3-0) 001103 ทักษะภาษาไทย 3(3-0-6)
001112 ภาษาอังกฤษพัฒนา 3(3-0) 001112 ภาษาอังกฤษพัฒนา 3(3-0-6)
001171 อารยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิน่ 3(3-0) 003134 อารยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิน่ 3(3-0-6)
207102 ภาษาญี่ปุ่น 2 3(2-3) 143102 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 2 3(2-2-5)
207101 วัฒนธรรมญี่ปุ่น 3(3-0) 143112 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 2 3(2–2-5)
รวม 15 หน่วยกิต รวม 15 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 2
ภาคการศึกษาต้น ภาคการศึกษาต้น
001xxx วิชาศึกษาทั่วไปเลือก 3(x-x) 005172 การจัดการการดาเนินชีวติ 3(2-2-5)
001xxx วิชาศึกษาทั่วไปเลือก 3(x-x) 143201 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 3 3(2-2-5)
205200 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 3(3-0) 143211 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 3 3(2-2-5)
207201 ภาษาญี่ปุ่น 3 3(2-2) 00xxxx วิชาศึกษาทั่วไปเลือก 3 (x–x-x)
207201 การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 1 3(2-2) 00xxxx วิชาศึกษาทั่วไปเลือก* 3 (x–x-x)
xxxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3(x-x) * 001113 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3(3-0-6)
รวม 18 หน่วยกิต รวม 15 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย ภาคการศึกษาปลาย
001xxx วิชาศึกษาทั่วไปเลือก 3(x-x) 143202 ภาษาญี่ปุ่นขั้นต้น 4 3(2-2-5)
001172 การจัดการการดาเนินชีวิต 3(2-2) 143203 การเขียนภาษาญีป่ ุ่นเบือ้ งต้น 3(2-2-5)
205201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 3(3-0) 143212 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 4 3(2-2-5)
207202 ภาษาญี่ปุ่น 4 3(2-2) 146204 ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ 3(3-0-6)
207232 การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 2 3(2-2) 00xxxx วิชาศึกษาทั่วไปเลือก 3(x–x-x)
207241 การอ่านภาษาญี่ปนุ่ 1 3(2-2)
xxxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3(x-x)
รวม 21 หน่วยกิต รวม 15 หน่วยกิต
131

แผนการศึกษาปี พ.ศ. 2551 แผนการศึกษาปี พ.ศ. 2555


ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 3
ภาคการศึกษาต้น ภาคการศึกษาต้น
207301 ภาษาญี่ปุ่น 5 3(2-2) 143301 ภาษาญี่ปุ่นขั้นกลาง 1 3(2-2-5)
207311 การเขียนภาษาญีป่ ุ่น 1 3(2-2) 143321 ภาษาศาสตร์ภาษาญี่ปุ่นเบือ้ งต้น 3(3-0-6)
207331 การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 3 3(2-2) 143398 ระเบียบวิจัย 3(3-0-6)
207341 การอ่านภาษาญี่ปนุ่ 2 3(2-2) 143xxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
xxxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3(x-x) xxxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3(x-x-x)
xxxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3(x-x) xxxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3(x-x-x)
xxxxxx วิชาเลือกเสรี 3(x-x)
รวม 21 หน่วยกิต รวม 18 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย ภาคการศึกษาปลาย
207302 ภาษาญี่ปุ่น 6 3(2-2) 143302 ภาษาญี่ปุ่นขั้นกลาง 2 3(2-2-5)
207312 การเขียนภาษาญีป่ ุ่น 2 3(2-2) 143xxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
207332 การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 4 3(2-2) 143xxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
207342 การอ่านภาษาญี่ปนุ่ 3 3(2-2) xxxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3(x-x-x)
xxxxxx วิชาเอกเลือก 3(x-x) xxxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3(x-x-x)
xxxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3(x-x) xxxxxx วิชาเลือกเสรี 3(x-x-x)
xxxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3(x-x)
รวม 21 หน่วยกิต รวม 18 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 4 ชั้นปีท่ี 4
ภาคการศึกษาต้น ภาคการศึกษาต้น
207401 ภาษาญี่ปุ่น 7 3(2-2) 143xxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
207431 การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 5 3(2-2) 143xxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
207441 การอ่านภาษาญี่ปนุ่ 4 3(2-2) 143xxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
207461 การแปลภาษาญี่ปุ่น 3(2-2) xxxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3(x-x-x)
xxxxxx วิชาเอกเลือก 3(x-x) xxxxxx วิชาเลือกเฉพาะสาขา 3(x-x-x)
xxxxxx วิชาเอกเลือก 3(x-x) xxxxxx วิชาเลือกเสรี 3(x-x-x)
xxxxxx วิชาเลือกเสรี 3(x-x)
รวม 21 หน่วยกิต รวม 18 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย ภาคการศึกษาปลาย
207491 การฝึกงาน 6 หน่วยกิต 143497 การศึกษาอิสระ 6 หน่วยกิต
หรือ หรือ
207498 การศึกษาอิสระ 6 หน่วยกิต 143498 การฝึกงาน 6 หน่วยกิต
หรือ
143499 สหกิจศึกษา 6 หน่วยกิต
รวม 6 หน่วยกิต รวม 6 หน่วยกิต
ภาคผนวก ค

คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร
ภาคผนวก ง

รายงานการประชุมวิพากษ์หลักสูตร
135

คณะศิลปศาสตร์
การประชุมพัฒนาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชา ภาษาญี่ปุ่น ครั้งที่ ๑
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๕
วัน อังคาร ที่ ๒๒ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เวลา ๑๕.๐๐ น.
ณ ห้อง B๒๐๒ อาคารเรียนรวม มหาวิทยาลัยพะเยา
***************************************************************************
รายงานการประชุม
รายนามผู้เข้าประชุม
๑. นายอิทธิพล บัวย้อย ประธานกรรมการ
๒. Mr. Hiroyuki Tanaka รองประธานกรรมการ
๓. Mr. Toshiaki Kanaya กรรมการ
๔. Miss Yukako Hayakawa กรรมการ
๕. นายพงษ์พิชญ์ จิตรภิมลภัทร กรรมการ
๖. นางสาวโขมพัฒน์ ประวัง เลขานุการ

รายนามผู้ลาประชุม
๑. Mr. Daisuke Kikuchi เนื่องจากลาพักผ่อน

เริ่มประชุม เวลา ๑๕.๐๐ น.

ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
๑.๑ ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
๑.๑.๑ วัตถุประสงค์ของการประชุม
เพื่อดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา
ภาษาญี่ปุ่น ให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF)

มติที่ประชุม รับทราบ
136

ระเบียบวาระที่ ๒ พิจารณาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น


เลขานุการนาเสนอหลักสูตรฯ ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๕๑ เพื่อที่ประชุมพิจารณา

มติที่ประชุม คณะกรรมการ ฯ พิจารณาแล้วมีมติดังนี้


๑. ควรปรับรายวิชาของภาษาญี่ปุ่น โดยคานึงถึงความสมดุลของจานวนหน่วย
กิตทั้ง๔ชั้นปี
๒. การเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นชั้นต้น(ขั้นพื้นฐาน) ควรจัดให้สนิ้ สุดในชั้นปีที่ ๑-
๒ ชั้นปีที๓่ -๔ ควรจัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาญี่ปุ่นสายอาชีพเพิ่มมากกว่าหลักสูตรเดิม และควร
เป็นแบบวิชาเลือกที่นสิ ิตสามารถเลือกได้ตามความสนใจ
๓. ควรเพิ่มรายวิชาภาษาญี่ปุ่น ในชั้นปีที่ ๑ ภาคการศึกษาต้น จากเดิมที่มเี พียง
๑รายวิชา
๔. เพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้ การเรียนการสอน
ภาษาญี่ปุ่นชั้นต้น(ปีที่๑-๒) ควรให้อาจารย์ชาวญี่ปุ่นเจ้าของภาษาเป็นผู้จัดการเรียนการสอน และใน
ภาษาญี่ปุ่นชั้นกลาง-สูง(ปีที่๓-๔) ที่จาเป็นต้องมีการอธิบาย และร่วมวิเคราะห์นั้น ควรให้อาจารย์ชาวไทย
เป็นผู้จัดการเรียนการสอน
๕. รายวิชาภาษาญี่ปุ่นสายอาชีพ ที่จะจัดในชั้นปี่ที่๓และ๔นั้น ควรแบ่งเป็น ๓
กลุ่มอาชีพใหญ่ๆ คือ กลุ่มล่ามนักแปลในสายงานธุรกิจ, กลุ่มสายงานเกี่ยวกับการท่องเที่ยว และกลุ่ม
ศึกษาต่อหรือสอนภาษาญี่ปุ่น
๖. รายละเอียดและรายวิชาสายอาชีพนัน้ ให้คณะกรรมการฯแต่ละคนคิด และ
ร่วมพิจารณาในการประชุมครั้งที่๒ ในวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๓.๐๐น.

ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องอื่น ๆ
ไม่มี

ปิดการประชุม เวลา ๑๙.๓๐ น.

(นางสาวโขมพัฒน์ ประวัง)
เลขานุการ
ผูจ้ ดบันทึกและตรวจรายงานการประชุม
137

คณะศิลปศาสตร์
การประชุมพัฒนาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชา ภาษาญี่ปุ่น ครั้งที่ ๒
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๕
วัน ศุกร์ ที่ ๒๕ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เวลา ๑๓.๐๐ น.
ณ ห้อง B๒๐๒ อาคารเรียนรวม มหาวิทยาลัยพะเยา
***************************************************************************
รายงานการประชุม
รายนามผู้เข้าประชุม
๑. นายอิทธิพล บัวย้อย ประธานกรรมการ
๒. Mr. Hiroyuki Tanaka รองประธานกรรมการ
๓. Mr. Toshiaki Kanaya กรรมการ
๔. Miss Yukako Hayakawa กรรมการ
๕. นายพงษ์พิชญ์ จิตรภิมลภัทร กรรมการ
๖. นางสาวโขมพัฒน์ ประวัง เลขานุการ

รายนามผู้ลาประชุม
๑. Mr. Daisuke Kikuchi เนื่องจากลาพักผ่อน

เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๐๐ น.

ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
๑.๑ ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
๑.๑.๑ วัตถุประสงค์ของการประชุม
เพื่อดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา
ภาษาญี่ปุ่น ให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF)

มติที่ประชุม รับทราบ
138

ระเบียบวาระที่ ๒ พิจารณาหลักสูตรฯ
เลขานุการนาเสนอมติที่ประชุมครั้งที่๑ เพื่อที่ประชุมพิจารณา

มติที่ประชุม คณะกรรมการ ฯ พิจารณาแล้วมีมติดังนี้


๑. รายวิชาเอกบังคับ ในชั้นปีที่๑-๒ ควรเป็นรายวิชาที่เน้นการอ่าน-เขียน และ
ฟัง-พูด สองรายวิชาควบคู่กันไป และในปีที่๒ ภาคการศึกษาปลาย ควรมีวิชาการเขียน เพื่อเป็นการ
ทบทวนศัพท์ รูปประโยคที่เรียนในชัน้ ต้น และได้เรียนรู้หลักการเขียนไปในตัว
๑. รายวิชาเอกเลือก กลุ่มเกี่ยวกับธุรกิจ ได้จัดให้มี ภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ,การแปล
ล่ามภาษาญี่ปุ่น,การแปลภาษาญี่ปุ่น และภาษาญี่ปุ่นปัจจุบัน (ตามหลักสูตรฯปัจจุบัน)
๒. รายวิชาเอกเลือก กลุ่มเกี่ยวกับการท่องเที่ยว ได้จัดให้มี ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการ
ท่องเที่ยว และภาษาญี่ปุ่นเชิงสังคมและวัฒนธรรม(การแปลล่ามภาษาญี่ปุ่น,การแปลภาษาญี่ปุ่น)
๓. รายวิชาเอกเลือก กลุ่มเกี่ยวกับการสอนหรือศึกษาต่อ ได้จัดให้มี ภาษาญี่ปุ่น
ระดับสูง, สัทศาสตร์ภาษาญี่ปุ่น,ภาษาญี่ปุ่นเชิงวิชาการ,การเปรียบเทียบภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย และ
การสอนภาษาญี่ปุ่นในฐานะภาษาต่างประเทศ
๔. รายวิชาเอกเลือก กลุ่มญี่ปุ่นศึกษา คือ ประวัติวรรณคดีญี่ปุ่น ประวัติศาสตร์
และวัฒนธรรมญี่ปุ่น วรรณกรรมญี่ปุ่นเบื้องต้น รวมวิชาเอกเลือกทั้งหมด ๑๔ รายวิชา รวม ๔๒ หน่วยกิต
๕. รายวิชาโท กลุ่มวิชาภาษาญี่ปุ่น และชื่อภาษาอังกฤษของรายวิชา ให้พิจารณา
ในการประชุมพัฒนาหลักสูตรฯ ครั้งที๓ ่ ในวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๔ เวลา๑๓.๐๐น.

ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องอื่น ๆ
การวิพากษ์หลักสูตรจากผู้ทรงคุณวุฒิ อ.สุวพรรณ ครุฑเมือง และ ดร.โสภา
มาสึนาริ อาจารย์ประจาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรนัน้ เนื่องด้วย
ภารกิจของทางผู้ทรงคุณวุฒิทาให้ไม่สามารถร่วมประชุมพัฒนาหลักสูตรฯ ณ มหาวิทยาลัยพะเยาได้
จึงจะเดินทางไปพบผูท้ รงคุณวุฒิเพื่อขอวิพากษ์หลักสูตรในภายหลัง

ปิดการประชุม เวลา ๑๖.๐๐ น.

(นางสาวโขมพัฒน์ ประวัง)
เลขานุการ
ผูจ้ ดบันทึกและตรวจรายงานการประชุม
139

คณะศิลปศาสตร์
การประชุมพัฒนาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชา ภาษาญี่ปุ่น ครั้งที่ ๓
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๕
วัน ศุกร์ ที่ ๑ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ เวลา ๑๓.๐๐ น.
ณ ห้อง B๒๐๒ อาคารเรียนรวม มหาวิทยาลัยพะเยา
***************************************************************************
รายงานการประชุม
รายนามผู้เข้าประชุม
๑. นายอิทธิพล บัวย้อย ประธานกรรมการ
๒. Mr. Hiroyuki Tanaka รองประธานกรรมการ
๓. Mr. Toshiaki Kanaya กรรมการ
๔. Miss Yukako Hayakawa กรรมการ
๕. นายพงษ์พิชญ์ จิตรภิมลภัทร กรรมการ
๖. นางสาวโขมพัฒน์ ประวัง เลขานุการ

รายนามผู้ลาประชุม
๑. Mr. Daisuke Kikuchi เนื่องจากลากิจส่วนตัว

เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๐๐ น.

ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
๑.๑ ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
๑.๑.๑ วัตถุประสงค์ของการประชุม
เพื่อดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา
ภาษาญี่ปุ่น ให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF)

มติที่ประชุม รับทราบ
140

ระเบียบวาระที่ ๒ พิจารณาหลักสูตรฯ
เลขานุการนาเสนอมติที่ประชุมพัฒนาหลักสูตรครั้งที่๒ เพื่อที่ประชุมพิจารณา

มติที่ประชุม คณะกรรมการ ฯ พิจารณาแล้วมีมติดังนี้


สรุปข้อเสนอแนะจากอ.สุวพรรณ ครุฑเมือง และ ดร.โสภา มาสึนาริ อาจารย์
ประจาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
๑. ในหมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป คาว่า อย่างน้อย.. อาจเปลี่ยนเป็น ไม่น้อยกว่า..
๒. ควรปรับปรัชญาให้ดูกระชับ และไม่ใช่การอธิบาย
๓. วัตถุประสงค์ ควรเพิ่มเติมด้าน การใช้ระบบสารสนเทศ
๔. ในส่วนของแผนพัฒนาปรับปรุง ช่องตัวบ่งชี้ กับหลักฐาน ตามเกณฑ์ที่ สกอ.
กาหนดจะเป็นช่องเดียวกัน และในการเขียนกลยุทธ์ และตัวบ่งชี้/หลักฐาน ควรระบุให้ชัดเจนว่า ตัวบ่งชี/้
หลักฐานตัวนีเ้ ป็นของกลยุทธ์ข้อใด
๕. ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล ข้อการพัฒนาคุณลักษณะ
พิเศษ ควรระบุไม่เกิน ๓ คุณลักษณะ และต้องเป็นคุณลักษณะที่นอกจากความคาดหวังที่สถาบัน คณะ
หรือภาควิชามีอยู่แล้ว
๖. จากข้อเสนอแนะเกี่ยวกับรายวิชา ที่ว่าเนื่องจากในข้อ 1.2 ความสาคัญ เขียน
ว่า มีความเป็นเลิศทางวิชาการ ๔ทักษะ คือ ฟัง พูด อ่าน เขียน แต่โครงสร้างรายวิชาของเอกบังคับมี
รายวิชาเกี่ยวกับการเขียนมีเพียง ๑ รายวิชาเท่านั้นดังนั้น การใส่ไว้เพียง 1 รายวิชา จะสามารถทาให้นสิ ิตมี
ความเป็นเลิศด้านนีไ้ ด้หรือไม่นั้น
ทางสาขาภาษาญี่ปุ่นได้ปรับตามข้อเสนอแนะ และในข้อเสนอแนะที่ ๖นั้น ทาง
สาขาฯ ได้แสดงในคาอธิบายรายวิชาในทุกรายวิชาในวิชาเอกบังคับ ว่ามีการฝึกทักษะทั้ง ๔ ไปพร้อมกัน

ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องอื่น ๆ
ไม่มี

ปิดการประชุม เวลา ๑๕.๐๐ น.

(นางสาวโขมพัฒน์ ประวัง)
เลขานุการ
ผูจ้ ดบันทึกและตรวจรายงานการประชุม
141

ข้ อเสนอแนะ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น หลักสูตรปรั บปรุ ง 2555
(มหาวิทยาลัยพะเยา)
ส่ วนที่ 1
หมวดที่ 1 ข้ อมูลทั่วไป
หน้ า 3 -4
คาว่า อย่างน้ อย.. อาจเปลี่ยนเป็ น ไม่น้อยกว่า..

หมวดที่ 2 ข้ อมูลเฉพาะของหลักสูตร
หน้ า 11
1.1 ปรัชญา
ข้ อเสนอแนะ เสนอตัดตังแต่
้ ย่อหน้ าที่ 2 ที่วา่ ภาษาญี่ปนเป็ ุ่ นเครื่ องมือ........ในการพัฒนาประเทศ
ต่อไป
สาเหตุที่เสนอตัดก็เพราะว่า ในหัวข้ อปรัชญาไม่นา่ จะต้ องมีการอธิบายที่มากขนาดนี ้
1.3 วัตถุประสงค์
ข้ อเสนอแนะ ควรเพิ่มเติมด้ าน การใช้ ระบบสารสนเทศ(สามารถดูเอกสารกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552ประกอบได้ หน้ า 19) ซึง่ อาจเพิ่มเป็ นดังนี ้ก็ได้
ตัวอย่าง 1.3.4 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถในการค้ นหาและใช้ เทคนิคทางคณิตศาสตร์ และสถิติที่
เหมาะสมมาใช้ ตลอดจนสามารถเลือกใช้ กลไกที่เหมาะสมในการสื่อผลการวิเคราะห์/เรี ยนรู้ได้

หน้ า 12
ข้ อเสนอแนะ
1. มีคาถามว่า ช่องตัวบ่งชี ้ กับหลักฐาน ทางมหาวิทยาลัยให้ แยกช่องกันหรื อเปล่า
ถ้ าไม่มี ก็ขอเสนอแนะว่า ตามเกณฑ์ที่ สกอ.กาหนดมา เขาจะกาหนด ไว้ ชอ่ งเดียวกัน
2. การเขียนกลยุทธ์ และตัวบ่งชี ้/หลักฐาน ควรระบุให้ ชดั เจนว่า ตัวบ่งชี ้/หลักฐานตัวนี ้เป็ นของกลยุทธ์
ข้ อใด
ตัวอย่าง (เป็ นตัวอย่างของระดับ ปริญญาโท)
แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตัวบ่ งชี ้
1. มีการปรับปรุงหลักสูตร 1.1 รวบรวมติดตามผลการ 1.1.1 ร้ อยละของบัณฑิตระดับ
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ประเมินคุณภาพของหลักสูตร ปริญญาโทที่ได้ งานทาและการ
142

แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตัวบ่ งชี ้


สาขาวิชาญี่ปนศึ
ุ่ กษาให้ เข้ าสู่ รวมทุก 5 ปี ในด้ านความพึง ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
มาตรฐาน TQF ภายในเวลา 5 ปี พอใจ และภาวะการได้ งาน 1.1.2 ร้ อยละของบัณฑิตระดับ
ทาของบัณฑิต ปริญญาโท ที่ได้ รับเงินเดือนเริ่มต้ น
เป็ นไปตามเกณฑ์
1.1.3 ระดับความพึงพอใจของ
นายจ้ าง ผู้ประกอบการ และผู้ใช้
บัณฑิต
1.2.1 รายงานผลการประชุม
คณะกรรมการของหลักสูตร

1.2 มีการประชุมคณะกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ปรึกษาจาก
ภายนอกเพื่อรับฟั งความคิดเห็น

2. ปรับปรุงปั จจัยสนับสนุนการ 2.1 สารวจความต้ องการของนิสิต 2.1.1 จานวนครัง้ ในการสารวจไม่


เรี ยนการสอน และผู้สอน น้ อยกว่า 1 ครัง้ /ปี
2.1.2 รายงานการสารวจแสดง
ข้ อมูลอย่างน้ อย 3 ประเด็น คือ
-รูปแบบและลักษณะของปั จจัย
สนับสนุนที่เป็ นที่ต้องการ
-ปั ญหา อุปสรรค และข้ อเสนอแนะใน
การจัดการและการใช้ ปัจจัยสนับสนุน
อย่างมีประสิทธิภาพ
-ความเป็ นไปได้ ในการพัฒนา/ปรับปรุง
ปั จจัยสนับสนุนตามข้ อเสนอแนะ
2.1.3 ผลสารวจอยู่ในเกณฑ์ดี-ดีมาก
2.2.1 จานวนอุปกรณ์ที่จดั สรร / ปี
143

แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตัวบ่ งชี ้


2.2 จัดหาและจัดสรรเงินทุนเพื่อ
ปรับปรุงปั จจัยสนับสนุนการเรี ยน
การสอน

3. มีศกั ยภาพในการศึกษา 3.1 รายวิชาต่างๆเน้ นให้ นิสิตลง 3.1.1 รายชื่อวิชา คาอธิบายรายวิชา ที่
ค้ นคว้ าวิจยั และมีความ มือปฏิบตั /ิ ค้ นคว้ า ปรากฎในหลักสูตร
เชี่ยวชาญในศาสตร์ ที่เรี ยน 3.1.2 ผลการประเมินการสอนอาจารย์
ประจาวิชา

3.2 ให้ นิสิตเข้ าร่วมงานวิชาการ เอกสารแสดงการเข้ าร่วมงานวิชาการ


ระดับชาติ หรื อนานาชาติทกุ ปี ระดับชาติ หรื อนานาชาติ ไม่น้อยกว่า
กึ่งหนึง่ ของจานวนนิสิตระดับปริญญา
โทในปี นันๆ้

4. ภาษาอังกฤษและภาษาญี่ปนดี
ุ่ 4.1 ให้ นิสิตเข้ าร่วมฝึ กอบรม เอกสารแสดงการเข้ าร่วมงานฝึ กอบรม
ภาษาอังกฤษที่จดั โดยคณะฯ ภาษาอังกฤษที่จดั โดยคณะฯ
มหาวิทยาลัย หรื อหน่วยงาน มหาวิทยาลัย หรื อหน่วยงานภายนอก
ภายนอก ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึง่ ของจานวนนิสิต
ระดับปริญญาโทในปี การศึกษานันๆ ้

4.2 ให้ นิสิตเข้ าร่วมนาเสนอ มีนิสิตระดับปริญญาโทที่ได้ รับการ


ผลงานทางวิชาการโดยปากเปล่า ตอบรับให้ เข้ าร่วมนาเสนอผลงานทาง
หรื อตีพิมพ์ผลงานในระดับ วิชาการโดยปากเปล่า หรื อตีพิมพ์
นานาชาติ ผลงานในระดับนานาชาติอย่างน้ อย 1
คน
5.มีจิตสาธารณะ สาขาวิชาฯ จัดสัมมนาโดยนิสิตมี เอกสารการเข้ าร่วมการจัดสัมมนา เช่น
ส่วนร่วม รายชื่อคณะการดาเนินการ ฯลฯ
144

หมวดที่ 4 ผลการเรี ยนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล


หน้ า40
1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษ
ข้ อเสนอแนะ ตามแบบฟอร์ มที่เคยได้ รับมามีการระบุด้วยว่า ไม่เกิน 3 คุณลักษณะ และต้ องเป็ น
คุณลักษณะที่นอกจากความคาดหวังที่สถาบัน คณะ หรื อภาควิชามีอยูแ่ ล้ ว ดังนัน้ ในคุณลักษณะข้ อแรกที่
สาขาฯเขียนมานัน( ้ ความรู้ในศาสตร์ และทักษะภาษาญี่ปน) ุ่ เป็ นสิ่งที่สาขาฯได้ กาหนดไว้ ในหน้ า 11
วัตถุประสงค์ ข้ อ 1แล้ ว จึงเห็นควรว่า ควรจะตัดทิ ้งหรื อไม่

หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา
หน้ า 56
2.2.2 .2 วิชาโทภาษาไทย
ข้ อเสนอแนะ ยังขาดรายละเอียดในส่วนนี ้

หน้ า 57
2.2.2.5 วิชาโทภาษาอังกฤษ
ข้ อเสนอแนะ ยังขาดรายละเอียดในส่วนนี ้

หน้ า 61

3. การบริหารคณาจารย์
3.1 การรับอาจารย์ ใหม่
ข้ อเสนอแนะ อาจเขียนโดยรวมดังนี ้
มีการคัดเลือกอาจารย์ใหม่ตามระเบียบและหลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยโดยอาจารย์ใหม่
จะต้ องมีวฒ ุ ิการศึกษาและคุณสมบัติตามที่คณะ สาขาวิชา และ กบม. มหาวิทยาลัยกาหนด

ส่วนที่ 2 ข้ อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักสูตร

หน้ า 17
ตรวจสอบ ตารางหน่วยกิตว่าถูกต้ องหรื อไม่ เพราะ ในข้ อ 2. หมวดวิชาเฉพาะด้ าน จานวนหน่วยกิต
84 หน่วยกิต แต่เมื่อรวมเฉพาะช่องนี ้ได้ เพียง 78 หน่วยกิต
145

หน้ า 17
คาว่า คณะศิลปะศาสตร์ มีสระ อะปรากฏอยู่ด้วย ตรวจสอบทุกครัง้ ที่ปรากฏคานี ้ ซึง่ จะเริ่มตังแต่
้ หน้ า
17 เป็ นต้ นไปที่เขียนผิด

หน้ า 21
ตรวจสอบ จานวนหน่วยกิตของ กลุม่ วิชาเอก ที่ปรากฏหน้ า 21 กับตารางหน่วยกิตรวม หน้ า 17 ไม่
ตรงกัน กล่าวคือ หน้ า 17 เป็ น 54หน่วยกิต แต่ หน้ า 21 เป็ น 60 หน่วยกิต

ข้ อเสนอแนะเกี่ยวกับรายวิชา
เนื่องจากในข้ อ 1.2 ความสาคัญ เขียนไว้ วา่
.....มีความเป็ นเลิศทางวิชาการ....4ทักษะ คือ ฟั ง พูด อ่าน เขียน .......
แต่เนื่องจากเมื่อศึกษาโครงสร้ างรายวิชาของเอกบังคับแล้ ว รายวิชาเกี่ยวกับการเขียนมีเพียง 1 รายวิชาเท่านัน้
ดังนัน้ การใส่ไว้ เพียง 1 รายวิชา จะสามารถทาให้ นิสิตมีความเป็ นเลิศด้ านนี ้ได้ หรื อไม่

ดร.โสภา มะสึนาริ
สาขาวิชาภาษาญี่ปนุ่ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

นางสุวพรรณ ครุฑเมือง
สาขาวิชาภาษาญี่ปนุ่ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ภาคผนวก จ

ประวัติและผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจาหลักสูตร
147

ประวัติและผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจาหลักสูตร
1. นางสาวณภัทร แสนโภชน์*
ประวัติการศึกษา
M.A. (International Communication) Aichi University, Japan 2555
ศศ.บ. (ภาษาญี่ปุ่น) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2548
ประวัติการสอน
2549-2552 มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา
2553-ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา
รายวิชาที่สอน
ภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ ( Business Japnaese)
ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการท่องเที่ยว ( Japanese for Tourism)
ระบบเสียงภาษาญี่ปุ่น ( Japanese Phonology)
วัฒนธรรมญี่ปุ่น (Japanese Culture)
ญี่ปุ่นศึกษา ( Japanese Studies)
การอ่านญี่ปุ่น1 ( Japanese Reading1)
การอ่านญี่ปุ่น3 ( Japanese Reading3 )
ทักษะภาษาญี่ปุ่น 1 (Japanese Skills 1)
ทักษะภาษาญี่ปุ่น 3 (Japanese Skills 3)
ภาษาญี่ปุ่น 3 (Japanese 3)
148

2. นางสาวพิรดา โตนชัยภูมิ
ประวัติการศึกษา
ศศ.บ. (ภาษาญี่ปุ่น) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2550
ประวัติการสอน
2551-2552 มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา
2553-ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา
รายวิชาที่สอน
ภาษาญี่ปุ่น 1 (Japanese 1)
ภาษาญี่ปุ่น 2 (Japanese 2)
ภาษาญี่ปุ่น 3 (Japanese 3)
ภาษาญี่ปุ่น 5 (Japanese 5)
ภาษาญี่ปุ่น 6 (Japanese 6)
ภาษาญี่ปุ่น 7 (Japanese 7)
ทักษะภาษาญี่ปุ่น 1 (Japanese Skill 1)
ภาษาญี่ปุ่นเชิงสังคมและวัฒนธรรม (Japanese Language in Social and Cultural Aspects)
การสอนภาษาญี่ปุ่นในฐานะภาษาต่างประเทศ (Teaching Japanese as a Foreign Language)
149

3. นางสาวพันธุ์พิชชา ปัญญาฟู
ประวัติการศึกษา
ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์) มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2548
นศ.บ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2548
ศศ.บ. (ภาษาญี่ปุ่น) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2546
ประวัติการสอน
2547-2548 โรงเรียนพร้าววิทยาคม
2548-2549 โรงเรียนเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลาพูน
2551-2552 มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา
2553-ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา
รายวิชาที่สอน
ภาษาญี่ปุ่น 3 (Japanese 3)
ภาษาญี่ปุ่น 4 (Japanese 4)
ทักษะภาษาญี่ปุ่น 2 (Japanese Skills 2)
ทักษะภาษาญี่ปุ่น 3 (Japanese Skills 3)
วัฒนธรรมญี่ปุ่น (Japanese Culture)
150

4. นายอิทธิพล บัวย้อย
ประวัติการศึกษา
ศศ.บ. (ภาษาญี่ปุ่น)เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยนเรศวร 2543
ประวัติการสอน
2552-2553 มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา
2553-ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา
รายวิชาที่สอน
ทักษะภาษาญี่ปุ่น 1 (Japanese Skills I)
ประวัติวรรณคดีญี่ปุ่น (History of Japanese Literature)
ภาษาญี่ปุ่น 4 (Japanese IV)
ภาษาญี่ปุ่น 5 (Japanese V)
ภาษาญี่ปุ่น 6 (Japanese VI)
การสอนภาษาญี่ปุ่นในฐานะภาษาต่างประเทศ
(Teaching Japanese as a Foreign Language)
การแปลภาษาญี่ปุ่น (Japanese Translation)
151

5. Mr. Hiroyuki Tanaka *


ประวัติการศึกษา
M.A. (Japanese Linguistics) Reitaku University, Japan 2552
B.A. (Economics) Waseda University, Japan 2520
ประวัติการสอน
2550-2552 โรงเรียนภาษาญี่ปุ่นARC Academy Japanese Language School (Tokyo)
หลักสูตรภาษาญี่ปุ่นชั้นกลาง และชั้นสูง
2552-ปัจจุบัน สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
รายวิชาที่สอน
ภาษาญี่ปุ่น 1 (Japanese 1)
ภาษาญี่ปุ่น 2 (Japanese 2)
การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 1 (Japanese Conversation 1)
การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 2 (Japanese Conversation 2)
การสนทนาภาษาญี่ปุ่น 4 (Japanese Conversation 4)
การเขียนภาษาญี่ปุ่น 2 (Japanese Writing 2)
การสอนภาษาญี่ปุ่นในฐานะภาษาต่างประเทศ
(Teaching Japanese as a Foreign Language )

* อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร
ภาคผนวก ฉ

ภาระการสอนของอาจารย์ประจาหลักสูตรและอาจารย์ประจา
153

ตารางแสดงภาระการสอนของอาจารย์ประจาหลักสูตรและอาจารย์ประจา

เลขบัตร ตาแหน่ง ภาระการสอน


ลา
ชื่อ – สกุล ประจาตัว ทาง ชั่วโมง / ปีการศึกษา
ดับ
ประชาชน วิชาการ 2555 2556 2557 2558 2559
1 นางสาวพันธุ์พิชญา 35011003 -
420 420 420 420 420
ปัญญาฟู xxxxx
Mr. Hiroyuki TH5885
2* - 448 448 448 448 448
Tanaka Xxx
3 นางสาวโขมพัฒน์ 15603000
- 420 420 420 420 420
ประวัง xxxxx
4 นายณัฐกร คาปวน 35013002
- 420 420 420 420 420
xxxxx
5* นางสาวณภัทร 35011003
- 420 420 420 420 420
แสนโภชน์ xxxxx
นายพงษ์พิชญ์ 16799001
6 - 420 420 420 420 420
จิตรภิมลภัทร xxxxx
นางสาวพิรดา 11014990
7 - 420 420 420 420 420
โตนชัยภูมิ xxxxx
นายอิทธิพล 35011003
8 - 420 420 420 420 420
บัวย้อย xxxxx
Mr.Toshiaki
9 TZ0227xxx - 448 448 448 448 448
Kanaya

* อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร

You might also like