You are on page 1of 12

คําชี้แจงการใช้ คู่มือครู

สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)ได้พิจารณาเห็นว่า เพื่อให้จดั การ


เรี ยนการสอนคณิ ตศาสตร์ ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและบรรลุมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้วดั ที่กาํ หนดไว้
ในหลักสู ตรครบถ้วนทั้งสามด้าน ได้แก่ ด้านความรู ้ ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ และ
ด้านคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิ ยม จึงได้จดั ทําคู่มือครู ซึ่ งเสนอแนะแนวการจัดกิจกรรมการเรี ยนการ
สอนไว้โดยละเอียด เพื่อใช้ควบคู่กบั หนังสื อเรี ยนรายวิชาเพิ่มเติมคณิ ตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
ดังนั้นครู ควรศึกษาคู่มือครู ให้เข้าใจถ่องแท้ ควรทดลองปฏิบตั ิกิจกรรมเพื่อให้เกิ ดความพร้ อมในการ
สอนก่อนเข้าสอนทุกบทเรี ยน และดําเนิ นกิจกรรมตามที่เสนอแนะไว้ ครู อาจปรับเปลี่ยนกิจกรรมและ
วิธีจดั กิจกรรมการเรี ยนการสอนได้ตามความเหมาะสมโดยคํานึงถึงศักยภาพของนักเรี ยนเป็ นสําคัญ
คู่มือครู ของแต่ละบทประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
1. ชื่อบท ระบุจาํ นวนชัว่ โมงที่ใช้ในการเรี ยนการสอนของแต่ละบทไว้โดยประมาณ ครู อาจ
ยืดหยุน่ ได้ตามที่เห็นสมควร
2. สาระการเรียนรู้ ในแต่ละบทเรี ยนจะระบุสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ตามที่ปรากฏอยูใ่ น
หนังสื อหลักสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้นพืน้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๐ เพื่อความสะดวกของครู ในการ
ตรวจสอบความสอดคล้องและครอบคลุมของหลักสูตรสถานศึกษา
3. จุดประสงค์ ประจําบท ครู ตอ้ งคํานึ งถึงเสมอว่าจะต้องจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้นักเรี ยน
บรรลุจุดประสงค์ประจําบทตามที่กาํ หนด เพื่อการวัดและประเมินผลหลังจบการเรี ยนการสอน
4. แนวทางในการจัดการเรียนรู้ ในแต่ละหัวข้อเรื่ องของบทเรี ยนประกอบด้วยหัวข้อดัง
ต่อไปนี้
1) จุดประสงค์ จุดประสงค์ของการสอนในแต่ละหัวข้อนี้จดั เป็ นตัวชี้วดั ของแต่ละ
หัวข้อระบุไว้เพื่อให้ครู คาํ นึงถึงเสมอว่าจะต้องจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้นกั เรี ยนมี
ความรู ้และมีความสามารถตรงตามจุดประสงค์ที่วางไว้ ซึ่งจะต้องเกิดขึ้นระหว่าง
เรี ยนหรื อดําเนินกิจกรรม ครู ตอ้ งประเมินผลให้ตรงตามจุดประสงค์และใช้วิธีการ
ประเมินผลที่หลากหลายเพือ่ ให้มีผลบรรลุมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้วดั
การประเมินผลที่หลากหลายอาจเป็ นการสังเกต การตอบคําถาม การทํา
แบบฝึ กหัด การทําใบกิจกรรม หรื อการทดสอบย่อย จุดประสงค์ใดที่ครู เห็นว่า
นักเรี ยนส่ วนใหญ่ยงั ไม่ผา่ น ในชัว่ โมงต่อไปครู ควรนําบทเรี ยนนั้นมาสอนซ่อม
เสริ มใหม่

2) ข้ อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เป็ นส่ วนสําคัญของคู่มือครู


ครู ควรศึกษาและทําความเข้าใจควบคูก่ บั หนังสื อเรี ยน เพื่อเตรี ยมจัดกิจกรรม
การเรี ยนการสอนให้สอดคล้องกับจุดประสงค์และเหมาะสมกับความสามารถของ
นักเรี ยน
5. เฉลยแบบฝึ กหัดและกิจกรรม แบบฝึ กหัดและคําถามในกิจกรรมที่มีลกั ษณะเป็ นปัญหาชวนคิด
ในหนังสื อเรี ยนทุกข้อมีคาํ ตอบให้ บางข้อมีเฉลยแนวคิดเพิ่มเติมไว้ให้เพื่อเป็ นแนวทางหนึ่งในการหา
คําตอบ บางข้อมีหลายคําตอบแต่ให้ไว้เป็ นตัวอย่างเพียงหนึ่งคําตอบ ทั้งนี้เพราะแบบฝึ กหัดที่ให้นกั เรี ยน
ทํา ได้สอดแทรกปั ญหาที่เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนคิดอย่างหลากหลาย การให้เหตุผลหรื อคําอธิบายของ
นักเรี ยนอาจแตกต่างจากที่เฉลยไว้ ในการตรวจแบบฝึ กหัดครู ควรพิจารณาอย่างรอบคอบ ยอมรับคําตอบ
ที่เห็นว่ามีความถูกต้องและเป็ นไปได้ที่แตกต่างไปจากที่เฉลยไว้ให้น้ ี
6. กิจกรรมเสนอแนะ มีหลายลักษณะอาจเป็ นกิจกรรมเพือ่ นําเข้าสู่เนื้อหาสาระ เสริ มเนื้อหา
สาระหรื อกิจกรรมพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์เพื่อให้ครู เลือกใช้ ในแต่ละกิจกรรมครู
อาจปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับเวลาและความสามารถของนักเรี ยน
ก่อนดําเนินกิจกรรม ครู ควรสนทนากับนักเรี ยนด้วยบรรยากาศที่เป็ นกันเอง เพื่อให้เกิดความ
เข้าใจและมองเห็นแง่มุมต่าง ๆ ของกิจกรรมที่จะทํา ไม่ควรด่วนอธิบายหรื อชี้นาํ แนวคิด ขณะทํา
กิจกรรมครู ตอ้ งส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย ตลอดจนฝึ กฝนให้
นักเรี ยนรู ้จกั วิเคราะห์ ตัดสิ นใจและหาข้อสรุ ป
7. แบบฝึ กหัดเพิม่ เติม ในบางบทเรี ยนได้เตรี ยมแบบฝึ กหัดเพิ่มเติมไว้ให้ครู เลือกหรื อปรับใช้

คําแนะนําการใช้ หนังสื อเรียนรายวิชาเพิม่ เติมคณิตศาสตร์

หนังสื อเรี ยนรายวิชาพื้นฐานคณิ ตศาสตร์ ประกอบด้วย


1. เนือ้ หาสาระ ในการนําเสนอเนื้อหาสาระของแต่ละบทเรี ยน ได้คาํ นึงถึงการเชื่อมโยงความรู ้ใหม่
กับความรู ้พ้นื ฐานเดิมของนักเรี ยน โดยพยายามใช้ตวั อย่างจากชีวิตจริ งและความรู ้จากศาสตร์อื่น
ประกอบการอธิบายเพื่อให้ได้ขอ้ สรุ ปเป็ นความรู ้ใหม่ต่อไป
2. ตัวอย่ าง มีไว้เสริ มความเข้าใจในเนื้อหาสาระและการนําไปใช้
3. แบบฝึ กหัดท้ ายหัวข้ อ แบบฝึ กหัดที่นาํ เสนอไว้มีหลายลักษณะ คือฝึ กทักษะการคิดคํานวณ แก้
โจทย์ปัญหา ฝึ กวิเคราะห์ ให้เหตุผล และฝึ กหาข้อสรุ ปเพื่อนําไปสู่การสร้างข้อความคาดการณ์
4. ปัญหาชวนคิดหรือเรื่องน่ ารู้ เป็ นโจทย์ปัญหาหรื อสถานการณ์กระตุน้ ให้นกั เรี ยนได้ใช้ความรู ้ที่
เรี ยนมาเพือ่ แก้ปัญหาหรื อหาข้อสรุ ปใหม่

เพื่อให้เกิดประสิ ทธิภาพสู งสุ ดในการใช้หนังสื อเรี ยน ครู ควรปฏิบตั ิดงั นี้


1. ศึกษาเนือ้ หาสาระและวิธีนําเสนอควบคู่กบั กิจกรรมของแต่ละเรื่ องที่เสนอแนะไว้ในคู่มือครู ให้
เข้าใจอย่างถ่องแท้
2. ทําแบบฝึ กหัดท้ายหัวข้อและแสวงหาวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการหาคําตอบ โดยเฉพาะอย่างยิง่
ข้อที่มีวิธีคิดหรื อคําตอบที่หลากหลาย
3. วางแผนการจัดการเรี ยนรู ้ตลอดภาคเรี ยนให้ครอบคลุมทุกเนื้อหาสาระและเหมาะสมกับเวลา
4. ในการสอนเนื้อหาสาระแต่ละเรื่ องไม่ควรด่วนบอกนักเรี ยนทันที ควรใช้วิธีการสอนผ่านกิจกรรม
หรื ออภิปรายโต้ตอบ เพื่อให้นกั เรี ยนสรุ ปความคิดรวบยอดด้วยตนเองเท่าที่จะสามารถทําได้
5. สร้างสถานการณ์หรื อโจทย์ที่สอดคล้องกับเนื้อหาสาระในบทเรี ยนเพิม่ เติมจากสิ่ งที่อยูใ่ กล้ตวั หรื อ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้นกั เรี ยนมีความเข้าใจในเนื้อหาสาระมากขึ้นและสามารถเชื่อมโยงความรู ้
ต่าง ๆ เป็ นแนวทางในการประยุกต์ต่อไป

กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ
รายวิชาเพิม่ เติมคณิตศาสตร์ เล่ ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2

บทที่ เรื่อง จํานวนชั่วโมง

1 สมบัติของเลขยกกําลัง 14

2 พหุ นามและเศษส่ วนของพหุนาม 18

3 การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่ วนและร้อยละ 16

4 การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิ ต 12

รวม 60
สารบัญ
หน้ า
ประกาศกระทรวงฯ
คํานํา
คําชี้แจง
คําชี้แจงการใช้คู่มือครู ก
กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ ง
บทที่ 1 สมบัติของเลขยกกําลัง 1
สาระการเรี ยนรู ้ 1
จุดประสงค์ประจําบท 1
แนวทางในการจัดการเรี ยนรู ้ 2
1.1 สมบัติของเลขยกกําลัง 2
จุดประสงค์ 2
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 2
ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน 2
1.2 การดําเนินการของเลขยกกําลัง 3
จุดประสงค์ 3
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 3
ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน 3
1.3 สมบัติอื่น ๆ ของเลขยกกําลัง 4
จุดประสงค์ 4
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 4
ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน 4
เฉลยแบบฝึ กหัดและกิจกรรม 33
กิจกรรมเสนะแนะ แบบฝึ กหัดเพิ่มเติมและคําตอบ 33
บทที่ 2 พหุนามและเศษส่ วนของพหุนาม 38
สาระการเรี ยนรู ้ 38
จุดประสงค์ประจําบท 38
แนวทางในการจัดการเรี ยนรู ้ 39
2.1 ทบทวนพหุ นาม 39
จุดประสงค์ 39
ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน 39
2.2 การคูณพหุนาม 40
จุดประสงค์ 40
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 40
ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน 40
2.3 การหารพหุนาม 41
จุดประสงค์ 41
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 41
ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน 41
2.4 เศษส่ วนของพหุ นาม 42
จุดประสงค์ 42
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 42
ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน 42
2.5 การคูณและการหารเศษส่ วนของพหุนาม 43
จุดประสงค์ 43
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 43
ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน 43
2.6 การบวกและการลบเศษส่ วนของพหุนาม 43
จุดประสงค์ 43
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 43
ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน 43
เฉลยแบบฝึ กหัดและกิจกรรม 44
กิจกรรมเสนอแนะ แบบฝึ กหัดเพิ่มเติมและคําตอบ 68
บทที่ 3 การประยุกต์ เกีย่ วกับอัตราส่ วนและร้ อยละ 78
สาระการเรี ยนรู ้ 78
จุดประสงค์ประจําบท 78
แนวทางในการจัดการเรี ยนรู ้ 79
3.1 การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่ วน 79
จุดประสงค์ 79
ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน 79
3.2 การประยุกต์เกี่ยวกับร้อยละ 80
จุดประสงค์ 80
ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน 80
3.3 การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่ วนและร้อยละ 81
จุดประสงค์ 81
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 81
ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน 81
เฉลยแบบฝึ กหัดและกิจกรรม 84
กิจกรรมเสนอแนะ แบบฝึ กหัดเพิม่ เติมและคําตอบ 108
บทที่ 4 การประยุกต์ ของการแปลงทางเรขาคณิต 125
สาระการเรี ยนรู ้ 125
จุดประสงค์ประจําบท 125
แนวทางในการจัดการเรี ยนรู ้ 126
4.1 การประยุกต์ของการเลื่อนขนาน 126
จุดประสงค์ 126
ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน 126
4.2 การประยุกต์ของการสะท้อน 129
จุดประสงค์ 129
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 129
ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน 129
4.3 การประยุกต์ของการหมุน 130
จุดประสงค์ 130
ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน 130
4.4 เทสเซลเลชัน 131
จุดประสงค์ 131
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 131
ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน 131
เฉลยแบบฝึ กหัดและกิจกรรม 132
กิจกรรมเสนอแนะ และคําตอบ 143
คณะกรรมการจัดทําสื่ อการเรี ยนการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 151

You might also like