You are on page 1of 61

เอกสารประกอบการเรียนปรับพื้นฐาน

วิชา คณิตศาสตร์
วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส


คำนำ
คู่มือครูเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือสำหรับผู้สอนรำยวิชำคณิตศำสตร์ให้กับนักศึกษำวิทยำลัย
ชุมชน เพื่อกำรพัฒนำศักยภำพของนักศึกษำให้สำมำรถพัฒนำตนด้ำนกำรคิดในเชิงคณิตศำสตร์ ซึ่งเป็นกำร
พัฒ นำควำมสำมำรถทำงกำรคิ ดวิ เ ครำะห์ กำรตัด สิ น ใจที่ อยู่ ภ ำยใต้ข้ อ มูล กำรจัด กระท ำกั บ ข้อ มู ล เพื่ อ
ประกอบกำรคิดและกำรตัดสินใจที่สมเหตุสมผลมีหลักกำร ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ให้กับ
นักศึกษำวิทยำลัยชุมชนให้สำมำรถศึกษำในวิทยำลัยชุมชนได้จนกระทั่งสำเร็จกำรศึกษำ
คู่มือนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทำงหรือทำงเลือกในกำรจัดกำรเรียนกำรสอนให้กับผู้สอนในรำยวิชำคณิต
สำหรับนักศึกษำวิทยำลัยชุมชนทั้ง 19 แห่งทั่วประเทศ ซึ่งผู้สอนสำมำรถปรับประยุกต์กระบวนกำรจัดกำร
เรียนกำรสอนให้สอดคล้องกับธรรมชำติของผู้เรียนที่มีควำมแตกต่ำงกันในแต่ละพื้นที่ได้ตำมควำมเหมำะสม
อย่ำงไรก็ตำมผู้สอนควรคำนึงถึงผลลัพธ์หรือผลกำรเรียนรู้ที่ผู้เรียนจะได้รับจำกกำรจัดกำรเรียนกำรสอนต้องให้
เป็นไปตำมวัตถุประสงค์ที่คณะทำงำนได้ร่วมกันกำหนดไว้

คณะทำงำนพัฒนำศักยภำพผู้เรียน
รำยวิชำคณิตศำสตร์
2

สำรบัญ
หน้ำ
คำนำ 1
วัตถุประสงค์กำรพัฒนำศักยภำพผู้เรียน 3
คำชี้แจง 4
หลักสูตรกำรเรียนรู้ 5
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ 6
สื่อแต่ละรำยวิชำ 14
งบประมำณ 14
เอกสำรประกอบกำรเรียนรู้ 15
หน่วยที่1 ระบบจำนวนจริง 15
หน่วยที่ 2 อัตรำส่วนและร้อยละ 28
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง 35
หน่วยที่ 4 กำรแก้ปัญหำทำงคณิตศำสตร์ 38
หน่วยที่ 5 สถิติเบื้องต้น 43
หน่วยที่ 6 กำรนำเสนอข้อมูลและกำรแปลผลข้อมูล 48
แหล่งเรียนรู้ 53
ข้อเสนอแนะ 53
บรรณำนุกรม 54
คณะทำงำนพัฒนำศักยภำพผู้เรียนรำยวิชำคณิตศำสตร์ 55
3

วัตถุประสงค์กำรพัฒนำศักยภำพผู้เรียน
รำยวิชำคณิตศำสตร์
1. หำผลบวก ผลลบ ผลคูณ และผลหำรของจำนวนจริงได้
2. หำอัตรำส่วน ร้อยละ และนำไปใช้ได้
3. ใช้สมบัติของเลขยกกำลังได้
4. แก้ปัญหำทำงคณิตศำสตร์ได้
5. วิเครำะห์ข้อมูลทำงคณิตศำสตร์ได้
6. นำเสนอข้อมูลและแปลควำมหมำยข้อมูลในรูปแบบต่ำง ๆ ได้
4

คำชี้แจง
เนื้อหำที่ปรำกฏในคู่มือครูเล่มนี้จะช่ว ยสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจให้กับผู้สอน เพื่อให้ทรำบขอบเขต
เนื้อหำ และกระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่ต้องจัดกำรเรียนกำรสอนให้กับนักศึกษำของวิทยำลัยชุมชนทั้ง
19 แห่งให้เป็นไปในทิศทำงเดียวกัน แม้กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนจะแตกต่ำงกันไปบ้ำงตำมลักษณะ
ของผู้เรียน แต่ผลลัพธ์หรือกำรเรียนรู้ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนควรจะต้องสอดคล้องไปตำมวัตถุประสงค์ที่กำหนด
ไว้ข้ำงต้น ทั้งนี้เพื่อเป็นกำรอำนวยควำมสะดวกให้กับครูผู้สอนและเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนำควำมสำมำรถ
ทำงคณิตศำสตร์ได้ด้วยตนเอง จึงได้เพิ่มข้อมูลแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับวิชำคณิตศำสตร์ไว้ในช่วงท้ำยของเนื้อหำใน
เล่มนี้ด้วย
5

หลักสูตรพัฒนำศักยภำพผู้เรียนวิชำคณิตศำสตร์
ชื่อวิชำ คณิตศำสตร์
จำนวน 20 ชั่วโมง
ผลกำรเรียนรู้
ผู้เรียนสำมำรถ
1. หำผลบวก ผลลบ ผลคูณ และผลหำรของจำนวนจริงได้
2. หำอัตรำส่วน ร้อยละ และนำไปใช้ได้
3. ใช้สมบัติของเลขยกกำลังได้
4. แก้ปัญหำทำงคณิตศำสตร์ได้
5. วิเครำะห์ข้อมูลทำงคณิตศำสตร์ได้
6. นำเสนอข้อมูลและแปลควำมหมำยข้อมูลในรูปแบบต่ำง ๆ ได้

คำอธิบำยรำยวิชำ
กำรบวก ลบ คูณ และหำรจำนวนเต็ม เศษส่วน ทศนิยม อัตรำส่วน ร้อยละ เลขยกกำลัง
และควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกำรแก้ปัญหำทำงคณิตศำสตร์ กำรวิเครำะห์ข้อมูล กำรนำเสนอข้อมูล และ
กำรแปลผลข้อมูล
หน่วยที่ สำระกำรเรียนรู้ ชั่วโมงสอน ชั่วโมงสอบ
1 ระบบจำนวนจริง 3 ชม. 30 นำที 30 นำที
- กำรบวก กำรลบ กำรคูณ และกำรหำรจำนวนเต็ม
- กำรบวก กำรลบ กำรคูณ และกำรหำรเศษส่วน
- กำรบวก กำรลบ กำรคูณ และกำรหำรทศนิยม
2 อัตรำส่วนและร้อยละ 1 ชม. 30 นำที 30 นำที
3 เลขยกกำลัง 1 ชม. 30 นำที 30 นำที
4 กำรแก้ปัญหำทำงคณิตศำสตร์ 3 ชม. 30 นำที 30 นำที
5 สถิติเบื้องต้น 2 ชม. 30 นำที 30 นำที
5.1 ข้อมูลสถิติ
5.2 กำรวัดค่ำกลำงข้อมูล
- ค่ำเฉลี่ยเลขคณิต
- ฐำนนิยม
- มัธยฐำน
6 กำรนำเสนอข้อมูลและกำรแปลผลข้อมูล 2 ชม. 30 นำที 30 นำที
ทดสอบหลังเรียน 2 ชม.
6
แผนจัดกำรเรียนรู้
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1 ระบบจำนวนจริง (4 ชั่วโมง)
ผลลัพธ์กำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ กระบวนกำรเรียนรู้ กำรประเมินผล
1. สำมำรถบอกประเภทของจำนวนเต็มได้ 1. ระบบจำนวนเต็ม 1.1 ครูให้ผู้เรียนดูแผนภำพโครงสร้ำงของระบบ ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำแบบฝึกหัด
- จำนวนเต็มบวก จำนวนจริง โดยเน้นอธิบำยเรื่องจำนวนเต็ม เกี่ยวกับประเภทของจำนวนเต็ม
- จำนวนเต็มลบ 1.2 ครูแสดงเส้นจำนวนเพื่อแสดงตำแหน่งของ
- จำนวนเต็มศูนย์ จำนวนเต็มแต่ละชนิด
1.3 ครูอธิบำยวิธีกำรเปรียบเทียบจำนวนเต็ม พร้อม
กับยกตัวอย่ำง และให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัด
2. สำมำรถหำผลบวก ผลลบ ผลคูณ และ 2. กำรบวก กำรลบ กำรคูณ และกำรหำร 2.1 ครูอธิบำยพร้อมกับยกตัวอย่ำงวิธีกำรบวกและ 2.1 ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
ผลหำรของจำนวนเต็มได้ ของจำนวนเต็ม กำรลบจำนวนเต็มโดยใช้เส้นจำนวน และให้ผู้เรียนทำ แบบฝึกหัดเกี่ยวกับกำรบวก กำรลบ
แบบฝึกหัด จำนวนเต็ม
2.2 อธิบำยพร้อมกับยกตัวอย่ำงวิธีกำรคูณและกำร 2.2 ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
หำรจำนวนเต็มและให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดเกี่ยวกับกำรคูณ และกำร
2.3 ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหำเกี่ยวกับควำม หำรจำนวนเต็ม
เชื่อมโยงของแต่ละกำรดำเนินกำร 2.3 ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
2.4 ผู้เรียนทำแบบทดสอบกำรบวก กำรลบ กำรคูณ แบบทดสอบ
และกำรหำรจำนวนเต็ม
3. สำมำรถหำผลบวก ผลลบ ผลคูณ 3. กำรบวก กำรลบ กำรคูณ และกำรหำร 3.1 ครูแสดงตัวอย่ำงของสิ่งของที่สำมำรถแบ่ง 3.1 ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
และผลหำรของเศษส่วนได้ ของเศษส่วน ออกเป็นส่วนย่อย เพื่ออธิบำยควำมหมำยของ แบบฝึกหัดเกี่ยวกับกำรเปรียบเทียบ
เศษส่วน เศษส่วน
3.2 ครูอธิบำยประเภท และวิธีกำรเปรียบเทียบ 3.2 ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
เศษส่วนพร้อมกับยกตัวอย่ำงประกอบ และให้ผู้เรียน แบบฝึกหัดกำรบวกและลบเศษส่วน
ทำแบบฝึกหัด
7
ผลลัพธ์กำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ กระบวนกำรเรียนรู้ กำรประเมินผล
3.3 ครูอธิบำยพร้อมกับใช้สื่อแสดงวิธีกำรบวกและ 3.3 ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
กำรลบเศษส่วน และเชื่อมโยงกำรคำนวณโดยกำรใช้ แบบฝึกหัดเกี่ยวกับกำรคูณและกำรหำร
วิธีกำรคำนวณและให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัด เศษส่วน
3.3 ครูอธิบำยพร้อมกับยกตัวอย่ำงวิธีกำรคูณ และ 3.4 ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
กำรหำรเศษส่วน และให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัด แบบทดสอบ
3.4 ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหำเกี่ยวกับเศษส่วน
3.5 ผู้เรียนทำแบบทดสอบกำรบวก กำรลบ กำรคูณ
และกำรหำรเศษส่วน
4. สำมำรถหำผลบวก ผลลบ ผลคูณ 4. กำรบวก กำรลบ กำรคูณ และกำรหำร 4.1 ครูยกตัวอย่ำงทศนิยม อธิบำยเกี่ยวกับกำรบวก 4.1 ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
และผลหำรของทศนิยมได้ ของทศนิยม และลบ ทศนิยม ร่วมกันสรุปซักถำมข้อสงสัย และ แบบฝึกหัดกำรบวกและลบทศนิยม
ให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัด 4.2 ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
4.2 ผู้เรียนทำแบบทดสอบบวกและลบ ทศนิยม แบบทดสอบกำรบวกและลบทศนิยม
4.3 ครู อธิบำยเกี่ยวกับกำรคูณ หำร ทศนิยม 4.3 ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
ร่วมกันสรุปซักถำมข้อสงสัย และให้ผู้เรียนทำ แบบฝึกหัดกำรคูณและหำรทศนิยม
แบบฝึกหัด 4.4 ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
4.4 ผู้เรียนทำแบบทดสอบกำรบวก กำรลบ กำรคูณ แบบทดสอบ
และกำรหำรทศนิยม
8

หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 2 อัตรำส่วนและร้อยละ (2 ชั่วโมง)

ผลลัพธ์กำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ กระบวนกำรเรียนรู้ กำรประเมินผล


สำมำรถหำอัตรำส่วนและร้อยละได้ อัตรำส่วนและร้อยละ 1. อธิบำยควำมหมำยของอัตรำส่วนพร้อมยกตัวอย่ำง 1. ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
ประกอบ แบบฝึกหัดเรื่องกำรแก้โจทย์ปัญหำ
2. อธิบำยควำมหมำยของอัตรำส่วนที่เท่ำกันพร้อม ระคนทำงคณิตศำสตร์
ยกตัวอย่ำงประกอบและวิธีกำรตรวจสอบอัตรำส่วนที่ 2. ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
เท่ำกัน แบบทดสอบ
3. แบ่งกลุ่มผู้เรียนทำแบบฝึกหัดเรื่องอัตรำส่วน
4. อธิบำยควำมหมำยของสัดส่วนพร้อมยกตัวอย่ำง
ประกอบ
5. อธิบำยควำมหมำยของร้อยละพร้อมยกตัวอย่ำงประกอบ
6. อธิบำยกำรเขียนอัตรำส่วนในรูปร้อยละและกำรเขียน
ร้อยละในรูปอัตรำส่วนพร้อมยกตัวอย่ำงประกอบ
7. แบ่งกลุ่มผู้เรียนทำแบบฝึกหัดเรื่องร้อยละ
8. แบ่งกลุ่มผู้เรียนศึกษำค้นคว้ำบทควำมจำกหนังสื่อ
พิมพ์ อินเตอร์เนต หรือ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง
อัตรำส่วนและร้อยละพร้อมนำเสนอ
9. ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปและซักถำมข้อสงสัย
10. ผู้เรียนทำแบบทดสอบอัตรำส่วนและร้อยละ
9
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 3 เลขยกกำลัง (2 ชั่วโมง)

ผลลัพธ์กำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ กระบวนกำรเรียนรู้ กำรประเมินผล


สำมำรถใช้สมบัติเกี่ยวกับเลขยกกำลังได้ เลขยกกำลัง 1. อธิบำยนิยำมของเลขยกกำลังพร้อมให้ตัวอย่ำง 1. ตรวจควำมถูกต้องจำกแบบฝึกหัด
ประกอบ 2. ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
2. แบ่งกลุ่มผู้เรียนศึกษำสมบัติต่ำงๆของเลขยกกำลัง แบบทดสอบ
3. ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอสมบัติของเลขยกกำลัง
4. ทำแบบฝึกหัด เลขยกกำลัง
5. ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปและซักถำมข้อสงสัย
6. ผู้เรียนทำแบบทดสอบเลขยกกำลัง

หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 4 กำรแก้ปัญหำทำงคณิตศำสตร์ (4 ชั่วโมง)

ผลลัพธ์กำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ กระบวนกำรเรียนรู้ กำรประเมินผล


สำมำรถแก้ปัญหำทำงคณิตศำสตร์ได้ กำรแก้สมกำรตัวแปรเดียว 1. ทบทวนเกี่ยวกับกำรบวก กำรลบ กำรคูณและกำร 1. ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
หำรจำนวนจริง สมกำร อัตรำส่วน ร้อยละ และเลข แบบฝึกหัดเรื่องกำรแก้สมกำรตัวแปร
ยกกำลัง เดียว
2. อธิบำยกำรแก้โจทย์ปัญหำ 2. ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
3. ผู้เรียนร่วมอภิปรำยวิธีกำรได้มำซึ่งคำตอบ แบบทดสอบ
4. ครูยกตัวอย่ำงโจทย์ปัญหำ ให้ผู้เรียนเขียนประโยค
สัญลักษณ์ และหำคำตอบโดยวิธีกำรแก้สมกำร
5. ผู้เรียนทำแบบฝึกหัด
6. ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปและซักถำมข้อสงสัย
7. ผู้เรียนทำแบบทดสอบกำรแก้สมกำร
10
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 5 สถิติเบื้องต้น (3 ชั่วโมง)

ผลลัพธ์กำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ กระบวนกำรเรียนรู้ กำรประเมินผล


สำมำรถหำค่ำกลำงของข้อมูลโดยใช้ควำมรู้ 1. ข้อมูลสถิติ 1. ครูยกตัวอย่ำงข้อมูลทำงสถิติ 1. ตรวจควำมถูกต้องของกำรหำค่ำ
เกี่ยวกับสถิติเบื้องต้น 2. กำรวัดค่ำกลำงของข้อมูล 2. ครูอธิบำยกำรวัดค่ำกลำงของข้อมูล กำรหำ กลำงของข้อมูลจำกกรณีศึกษำ
- ค่ำเฉลี่ยเลขคณิต ค่ำเฉลี่ย ฐำนนิยม มัธยฐำน 2. ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
- ฐำนนิยม 3. ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปและซักถำมข้อสงสัย แบบทดสอบ
- มัธยฐำน 4. ผู้เรียนทำแบบทดสอบสถิติเบื้องต้น

หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 6 กำรนำเสนอข้อมูลและกำรแปลผลข้อมูล (3 ชั่วโมง)


ผลลัพธ์กำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ กระบวนกำรเรียนรู้ กำรประเมินผล
สำมำรถนำเสนอข้อมูลและแปลผลข้อมูล 1. กำรนำเสนอข้อมูล 1. ครูอธิบำยเรื่องกำรนำเสนอข้อมูลและให้นักเรียน 1. ตรวจควำมถูกต้องของกำรหำค่ำ
ได้ 2. กำรแปลผลข้อมูล นำเสนอข้อมูลในรูปแบบต่ำงๆ กลำงของข้อมูลจำกกรณีศึกษำ
2. ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปและซักถำมข้อสงสัย 2. ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
3. ผู้เรียนทำแบบทดสอบกำรนำเสนอข้อมูลและกำร แบบทดสอบ
แปลผลข้อมูล
11
กำรทดสอบหลังเรียน (2 ชั่วโมง)

ผลลัพธ์กำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้ กระบวนกำรเรียนรู้ กำรประเมินผล


1. หำผลบวก ผลลบ ผลคูณ และผลหำร 1. ระบบจำนวนจริง ทดสอบหลังเรียน ตรวจควำมถูกต้องในกำรทำ
ของจำนวนจริงได้ 2. อัตรำส่วนและร้อยละ แบบทดสอบ
2. หำอัตรำส่วน ร้อยละ และนำไปใช้ได้ 3. เลขยกกำลัง
3. ใช้สมบัติของเลขยกกำลังได้ 4. กำรแก้ปัญหำทำงคณิตศำสตร์
4. แก้ปัญหำทำงคณิตศำสตร์ได้ 5. สถิติเบื้องต้น
5. วิเครำะห์ข้อมูลทำงคณิตศำสตร์ได้ 6. กำรนำเสนอข้อมูลและกำรแปลผล
6. นำเสนอข้อมูลและแปลควำมหมำย ข้อมูล
ข้อมูลในรูปแบบต่ำง ๆ ได้
14

สื่อแต่ละรำยวิชำ
- เอกสำรประกอบกำรสอนที่คณะกรรมกำรพัฒนำศักยภำพผลิตขึ้น
- CD ที่คณะกรรมกำรพัฒนำศักยภำพผลิตขึ้น

งบประมำณ
- ค่ำบริหำรจัดกำรคิดเป็นแห่งๆละ 1,000 บำท
- ค่ำตอบแทนผู้สอน ชั่วโมงละ 200 บำท
- ค่ำวัสดุ 200 บำทต่อนักศึกษำ 1 คน
15

เอกสำรประกอบกำรเรียนรู้
หน่วยที่ 1
ระบบจำนวนจริง
ผลลัพธ์กำรเรียนรู้
1. สำมำรถบอกประเภทของจำนวนเต็มได้
2. สำมำรถหำผลบวก ผลลบ ผลคูณ และผลหำรของจำนวนเต็มได้
3. สำมำรถหำผลบวก ผลลบ ผลคูณ และผลหำรของเศษส่วนได้
4. สำมำรถหำผลบวก ผลลบ ผลคูณ และผลหำรของทศนิยมได้

สำระ
1.1 ระบบจำนวน

ระบบจำนวน

จำนวนจริง จำนวนเชิงซ้อน

จำนวนตรรกยะ จำนวนอตรรกยะ

จำนวนเต็ม ไม่ใช่จำนวนเต็ม
(เศษส่วน, ทศนิยม)

จำนวนเต็มลบ จำนวนเต็มศูนย์ จำนวนเต็มบวก


-1, -2, -3,… 0 1, 2, 3,…

a
จำนวนตรรกยะ คือ จำนวนที่เขียนแทนได้ด้วยทศนิยมซ้ำหรือเศษส่วน เมื่อ a และ b เป็นจำนวน
b
เต็มที่ b ≠ 0
3
ตัวอย่ำงของจำนวนตรรกยะ เช่น 4 , 3.2 , -1 , , 0.3151515… , 6.451 เป็นต้น
7
a
จำนวนอตรรกยะ คือ จำนวนที่ไม่สำมำรถเขียนแทนได้ด้วยทศนิยมซ้ำหรือเศษส่วน เมื่อ a และ b
b
เป็นจำนวนเต็มที่ b ≠ 0
ตัวอย่ำงของจำนวนอตรรกยะ เช่น 0.31516561458… , 5 , π เป็นต้น
16

จำนวนเต็ม ประกอบด้วย จำนวนเต็มลบ ศูนย์ และจำนวนเต็มบวก


จำนวนเต็มบวก ได้แก่ 1, 2, 3, 4,…
จำนวนเต็มลบ ได้แก่ -1, -2, -3, -4,…
ศูนย์ ได้แก่ 0

สำมำรถเขียนจำนวนเต็มแทนบนเส้นจำนวนได้ดังนี้

-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5

บนเส้นจำนวนนี้ จำนวนเต็มที่อยู่ทำงขวำของ 0 เป็นจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มที่อยู่ทำงซ้ำยของ 0


เป็นจำนวนเต็มลบ และจำนวนที่อยู่ทำงขวำจะมำกกว่ำจำนวนที่อยู่ทำงซ้ำยเสมอ ดังนั้น 4 มำกกว่ำ 2 ,
0 มำกกว่ำ -1 , -2 มำกกว่ำ -5

ค่ำสัมบูรณ์และจำนวนตรงข้ำม
ค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มใด ๆ หมำยถึง ระยะห่ำงจำกจำนวนนั้นถึง 0 และจะมีค่ำเป็นบวกเสมอ
สัญลักษณ์แทนค่ำสัมบูรณ์ คือ
ตัวอย่ำง 5 = 5
5 = 5
8 = 8
จำนวนที่อยู่คนละข้ำงของ 0 บนเส้นจำนวน และมีค่ำสัมบูรณ์เท่ำกัน เรียกว่ำ จำนวนตรงข้ำม

ถ้ำ a เป็นจำนวนเต็มใด ๆ จำนวนตรงข้ำมของ a เขียนแทนด้วย -a

ตัวอย่ำง -2 เป็นจำนวนตรงข้ำมของ 2
2 เป็นจำนวนตรงข้ำมของ -2

1.2 กำรบวกและกำรลบจำนวนเต็ม
กำรบวกจำนวนเต็ม
1. กำรบวกจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวก ให้นำค่ำสัมบูรณ์มำบวกกันแล้วตอบเป็นจำนวนเต็ม
บวก เช่น 4 + 3 = 7
17

2. กำรบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ ให้นำค่ำสัมบูรณ์มำบวกกันแล้วตอบเป็นจำนวนเต็ม
ลบ เช่น (-4 )+ (-3) = -7 (ค่ำสัมบูรณ์ของ - 4 คือ 4 ,ค่ำสัมบูรณ์ของ - 3 คือ 3 นำค่ำสัมบูรณ์มำบวก
กันได้ 4 + 3 = 7 แต่ตอบเป็นจำนวนเต็มลบ จึงได้ -7)
3. กำรบวกจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบ ให้นำจำนวนที่มีค่ำสัมบูรณ์มำกกว่ำเป็นตัวตั้ง แล้ว
ลบด้วยจำนวนที่มีค่ำสัมบูรณ์น้อยกว่ำ ผลลัพธ์ที่ได้เป็นจำนวนเต็มบวกหรือจำนวนเต็มลบตำมจำนวนที่มีค่ำ
สัมบูรณ์มำกกว่ำ เช่น
1) 7 + (-2) = 5 (7 เป็นตัวตั้ง ลบด้วย 2 เท่ำกับ 5 ตอบเป็นจำนวนเต็มบวกตำม
จำนวนที่มีค่ำสัมบูรณ์มำกกว่ำ)
2) 2 + (-7) = -5 (7 เป็นตัวตั้ง ลบด้วย 2 เท่ำกับ 5 แต่ตอบเป็นจำนวนเต็มลบ
ตำมจำนวนที่มีค่ำสัมบูรณ์มำกกว่ำ)

กำรลบจำนวนเต็ม ใช้หลักกำรบวกตำมวิธีกำรดังนี้

ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จำนวนตรงข้ำงของตัวลบ

ตัวอย่ำง 1) 9 - 5 = 9 + (-5)
= 4
2) 9 - (-5) = 9 + 5
= 14
3) -9 - 5 = -9 + (-5)
= -14
4) -9 - (-5) = -9 + 5
= -4

1.3 กำรคูณและกำรหำรจำนวนเต็ม
กำรคูณจำนวนเต็ม มีหลักกำรพิจำรณำ ดังนี้
กำรคูณ ผลลัพธ์
1. จำนวนเต็มบวก x จำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มบวก
2. จำนวนเต็มลบ x จำนวนเต็มลบ จำนวนเต็มบวก
3. จำนวนเต็มบวก x จำนวนเต็มลบ จำนวนเต็มลบ
4. จำนวนเต็มลบ x จำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ
18

ตัวอย่ำง 1) 10 x 4 = 40
2) (-10) x (-4) = 40
3) 10 x (-4) = -40
4) (-10) x 4 = -40

กำรหำรจำนวนเต็ม กำรหำรจำนวนเต็มด้วยจำนวนเต็มอำจเป็นกำรหำรลงตัวหรือเป็นกำรหำรไม่ลงตัวก็ได้
กำรหำรจำนวนเต็มด้วยจำนวนเต็ม เรำอำศัยกำรคูณตำมข้อตกลงดังนี้

ตัวตัง้
= ผลหำร
ตัวหาร
จะได้
ตัวหำร x ผลหำร = ตัวตั้ง

ตัวอย่ำง จงหำผลหำร
20 หำตัวคูณ 4 แล้วได้ 20
1)
4
วิธีทำ 4 x 5 = 20
20
ดังนั้น = 5
4
42
2) หำตัวคูณ 6 แล้วได้ 42
6
วิธีทำ 6 x 7 = 42
42
ดังนั้น = 7
6

หลักกำรพิจำรณำผลหำร
กำรหำร ผลลัพธ์
1. จำนวนเต็มบวก  จำนวนเต็มบวก จำนวนบวก
2. จำนวนเต็มลบ  จำนวนเต็มลบ จำนวนบวก
3. จำนวนเต็มบวก  จำนวนเต็มลบ จำนวนลบ
4. จำนวนเต็มลบ  จำนวนเต็มบวก จำนวนลบ
19

10
ตัวอย่ำง 1) = 5
2
2) (-10)  (-2) = 5
3) (-10)  2 = -5
10
4) = -5
2
1.4 กำรบวกและกำรลบเศษส่วน
a
เศษส่วน หมำยถึง จำนวนที่เขียนแทนด้วย โดยที่ a และ b เป็นจำนวนเต็มและ b  0
b
1 3 2 9
เรียก a ว่ำ “ตัวเศษ” และเรียก b ว่ำ “ตัวส่วน” เช่น , , ,  เป็นต้น
4 7 5 14
เศษส่วน แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ
1 3
1. เศษส่วนแท้ หมำยถึง เศษส่วนที่มี ตัวเศษ น้อยกว่ำ ตัวส่วน เช่น , เป็นต้น
4 7
8 13
2. เศษส่วนเกิน หมำยถึง เศษส่วนที่มี ตัวเศษ มำกกว่ำ ตัวส่วน เช่น , เป็นต้น
3 4
3. เศษส่วนจำนวนคละ หมำยถึง กำรเขียนเศษส่วนเกินให้อยู่ในรูปของกำรบวกกันของจำนวนเต็ม
2 1
และเศษส่วนแท้ เช่น 2 , 3 เป็นต้น
3 4

เศษส่วนที่เท่ำกัน วิธีกำรหำเศษส่วนที่เท่ำกันทำได้ 2 วิธี


1. กำรคูณด้วยจำนวนเดียวกันทั้งเศษและส่วน
1
ตัวอย่ำง จงหำเศษส่วนที่เท่ำกับ
4
1x 2 2
วิธีทำ =
4x2 8
1x 3 3
=
4x3 12
1x 4 4
=
4x4 16
1 2 3 4
ดังนั้น เศษส่วนที่เท่ำกับ ได้แก่ , ,
4 8 12 16
20

2. กำรหำรด้วยจำนวนเดียวกันทั้งเศษและส่วน
90
ตัวอย่ำง จงหำเศษส่วนที่เท่ำกับ
50
90  10 9
วิธีทำ =
50  10 5
90  5 18
=
50  5 10
90  2 45
=
50  2 25
90 9 18 45
ดังนั้น เศษส่วนที่เท่ำกับ ได้แก่ , ,
50 5 10 25
กำรเปรียบเทียบเศษส่วน สำมำรถพิจำรณำได้ด้วยวิธีดังนี้
1. ถ้ำตัวส่วนเท่ำกันให้นำเศษมำเปรียบเทียบกันได้เลย
3 1
เช่น 
4 4
2 6

7 7
2. ถ้ำตัวส่วนไม่เท่ำกันต้องทำส่วนให้เท่ำกันก่อนจึงจะนำตัวเศษมำเปรียบเทียบกันได้
2 3
เช่น 
4 8
2 2x 2 4
เนื่องจำก = =
4 4x2 8
และ 43
2 3
ดังนั้น 
4 8
3. ตรวจสอบได้ด้วยวิธีกำรคูณไขว้
2 4
ตัวอย่ำง จงเปรียบเทียบเศษส่วน และ
7 11
2 4
วิธีทำ จะได้ 2 x 11  4 x 7
7 11
22  28
2 4
ดังนั้น 
7 11
21

กำรบวกและกำรลบเศษส่วน มีหลักกำรดังนี้
1. พิจำรณำตัวส่วนว่ำเท่ำกันหรือไม่
2. ถ้ำตัวส่วนเท่ำกันให้นำตัวเศษมำบวกหรือลบกันได้เลย
3. ถ้ำตัวส่วนไม่เท่ำกันให้ทำตัวส่วนให้เท่ำกัน แล้วจึงนำตัวเศษมำบวกหรือลบกัน

ตัวอย่ำง
2 1
1) จงหำผลลัพธ์ของ +
4 6
2 1 2 x 3 1x 2
วิธีทำ + = +
4 6 4 x 3 6x 2
6 2
= +
12 12
62
=
12
8
=
12
2
=
3
3 2
2) จงหำผลลัพธ์ของ -
4 5
3 2 3x 5 2 x 4
วิธีทำ - = -
4 5 4 x 5 5x 4
15 8
= -
20 20
15  8
=
20
7
=
20
22

1.5 กำรคูณและกำรหำรเศษส่วน
กำรคูณเศษส่วน

กำรคูณเศษส่วน ให้นำตัวเศษคูณกับตัวเศษ และนำตัวส่วนคูณกับตัวส่วน


ตัวอย่ำง
8 1 8 x1
1) x =
5 6 5x 6
8
=
30
4
=
15

23 5 2 x 3x 5
2)       =
36 7 3x 6 x 7
30
=
126
5
=
21

กำรหำรเศษส่วน
กำรหำรเศษส่วนสองจำนวนใด ๆ ทำได้โดยคูณเศษส่วนที่เป็นตัวตั้งด้วย ส่วนกลับของเศษส่วนที่เป็น
ตัวหำร

ให้ a , b , c และ d แทนจำนวนใด ๆ โดยที่ b  0 และ d  0 จะได้


a c a d
 = x
b d b c
2 4 2 6
ตัวอย่ำง  = x
5 6 5 4
12
=
20
3
=
5
23

1.6 กำรบวกและกำรลบทศนิยม
ทศนิยม หมำยถึง กำรเขียนตัวเลขแทนจำนวนที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม โดยใช้สัญลักษณ์ “ . ” แยก
จำนวนเต็มกับทศนิยม
ตัวอย่ำง 512.8649
512 คือ จำนวนเต็ม มีค่ำเท่ำกับ 512 (ห้ำร้อยสิบสอง)
8
8 คือ ทศนิยมตำแหน่งที่ 1 มีค่ำเท่ำกับ 0.8 หรือ
10
6
6 คือ ทศนิยมตำแหน่งที่ 2 มีค่ำเท่ำกับ 0.06 หรือ
100
4
4 คือ ทศนิยมตำแหน่งที่ 3 มีค่ำเท่ำกับ 0.004 หรือ
1000
9
9 คือ ทศนิยมตำแหน่งที่ 4 มีค่ำเท่ำกับ 0.0009 หรือ
10000
กำรเปรียบเทียบทศนิยม
1. ให้พิจำรณำเปรียบเทียบจำนวนเต็มก่อน
2. พิจำรณำตัวเลขโดดในตำแหน่งเดียวกัน โดยเริ่มจำกตำแหน่งที่ 1, 2, 3, … ตำมลำดับ
ตัวอย่ำง 1) 2.841  7.1396
2) 6.512  6.247

กำรบวกและกำรลบทศนิยม มีหลักกำรดังนี้
1. วำงจุดทศนิยมของจำนวนที่ต้องกำรบวกหรือลบให้ตรงกัน
2. บวกหรือลบเลขโดดในแต่ละตำแหน่งโดยใช้หลักกำรเช่นเดียวกับกำรบวกหรือกำรลบจำนวนเต็ม
ตัวอย่ำง 1) จงหำผลบวกของ 32.841 + 5.376
วิธีทำ 32.841
+
5.376 กำรเติม 0 ต่อท้ำยทศนิยม
38.217 จะไม่ทำให้คำ่ นั้นปลี่ยนแปลง
เช่น 3.5 = 3.50 = 3.500

2) จงหำผลลบของ 45.24 - 13.725


วิธีทำ 45.240
-
13.725
31.515
24

1.7 กำรคูณและกำรหำรทศนิยม
กำรคูณทศนิยม มีหลักกำรดังนี้
1. นำจำนวนสองจำนวนมำคูณกันเช่นเดียวกับกำรคูณจำนวนเต็ม โดยไม่ต้องคำนึงถึงจุดทศนิยม
2. จำนวนตำแหน่งทศนิยมของผลคูณ จะเท่ำกับผลบวกของจำนวนตำแหน่งทศนิยมของตัวตั้งกับ
ตัวคูณ เช่น ตัวตั้งเป็นทศนิยม 2 ตำแหน่ง ตัวคูณเป็นทศนิยม 3 ตำแหน่ง ดังนั้น ผลคูณที่
ได้จะเป็นจำนวนที่มีทศนิยม 5 ตำแหน่ง
3. กำรวำงตำแหน่งจุดทศนิยมให้เริ่มนับจำกขวำมือไปซ้ำยมือ

ตัวอย่ำง 1) จงหำผลคูณของ 2.15 x 5.2


วิธีทำ 215
x
52
430
+
1075
11180
ดังนั้น 2.15 x 5.2 = 11.180 = 11.18

2) จงหำผลคูณของ 2.15 x 20
วิธีทำ 215
x
20
000
+
430
4300
ดังนั้น 2.15 x 20 = 43.00 = 43

กำรหำรทศนิยม มีหลักกำรดังนี้
1. กำรหำรทศนิยมด้วยจำนวนเต็ม ถ้ำตัวหำรเป็นจำนวนเต็ม ให้ใช้วิธีกำรเช่นเดียวกับกำรหำร
จำนวนเต็มด้วยจำนวนเต็ม โดยให้ใส่จุดทศนิยมของผลหำรให้ตรงกับตัวตั้ง
2. กำรหำรทศนิยมด้วยทศนิยม ถ้ำตัวหำรเป็นทศนิยม ให้ทำตัวหำรเป็นจำนวนเต็มก่อน โดยนำ
10, 100, 1000, …(ขึ้นอยู่กับจำนวนตำแหน่งทศนิยม) มำคูณทั้งตัวตั้งและตัวหำร จำกนั้นจึงใช้
วิธีกำรเช่นเดียวกับกำรหำรจำนวนเต็มด้วยจำนวนเต็ม
25

แบบฝึกหัด
หน่วยที่ 1

1. จงยกตัวอย่ำงจำนวนตรรกยะมำ 5 จำนวน
2. จงยกตัวอย่ำงจำนวนอตรรกยะมำ 5 จำนวน
3. จงหำจำนวนตรงข้ำมของจำนวนต่อไปนี้
1) 7 2) -2.4
3) -10 4) 5.6
5) 3 6) - 52
7
4. จงหำค่ำสมบูรณ์ของจำนวนต่อไปนี้
1) 14 2) 4
3
3) -10 4) 7.5
5) -(-5.6) 6) -(-(-8)
5. จงหำผลลัพธ์
1) -6 + (-7) 2) (-6) + 7
3) 6 + (-19) 4) 12 + (-20)
5) (-12) + (-8) 6) -15 + (-13)
7) -5 + 7 8) -15 + 6
9) 45 - 18 10) 120 - 65
11) 3 – 8 12) 7 - (-8)
13) -6 – 7 14) -12 - (-7)
15) 6 - (-19) 16) 16 - (-10)
17) (-8) - (-17) 18) -15 – 6
19) -5 – 7 20) 10 – (-7-(-5))
21) -10 - (-8) 22) -(-6 + (-4) - 5) + (-15 – 4)
6. จงหำผลลัพธ์
1) (-6)(-7) 2) 12 x (-8)
3) (7)(-6) 4) (-5)(9)
5) (-12)(-8)(-5) 6) (-10)(4)(-5)
7) (6)(-2)(-5)(3) 8) 24  6
9) (-90)  (-6) 10) (-92)  4
26

11) 70  (-5) 12) 352  8


13) -(-56)  (-7) 14) 63  (-(-9))
15) (28)(11) 16) (-18)(-9)( 15)
(7) (6)(-5)(-3 )
17) (-35)(245) (72)(0) 18) (-21)(48)( 5)(-1)(-1) (-1)(-1)(- 1)
(12)(-15)( -3) (-49)(-18) (-9)
7. จงหำผลลัพธ์
1) (-6 + 8)(-7) 2) 2(-4) + 8
3) (-7-5) + (-6) 4) (-5)(9) - 9
5) 3(-12 + 12) + (-7-5) 6) (-10 + 5) - 4(-5)
7) 2(6 - 8) - 3(-2+5) 8) ((-10 + 5) – 4)(-5)
9) -(5  (-2))  (3)(-2) 10) 4(-7 - 3)  (-5)(-4  8)
(-3) 2(12 - 7)
8. จงหำเศษส่วนที่เท่ำกับเศษส่วนที่กำหนดให้ต่อไปนี้ มำ 5 จำนวน
1) 1 2) 2
2 3

3) 1 4) 2
3 5
9. จงใส่เครื่องหมำย  หรือ  หรือ  ในช่อง  ให้ถูกต้อง
1) 3 6 2) 7 3
5 10 9 5

3) 2 5 4) 4 48
5 7 7 84

5) 2 7 6) 6 8
3 9 8 12

7) 3 4 8) 18 1
7 9 36 2

9) 5 4 10) 5 3
6 5 15 9

10. จงหำผลลัพธ์
1) 2 + 6 2) 4
+ 6
10 10 5 10

3) 2
+ 5 4) 4
+ 48
5 7 7 84

5) 2
- 7 6) 6
- 8
3 9 8 12

7) 3
- 4 8) 18
- 1
7 9 36 2
27

9) 23 - 4 10) 3
1
+ 1 12
6 6 4

11) 4 - 4 12) 4
-3
3 5

11. จงหำผลลัพธ์
1) 1  3 2) 1 3

2 5 6 5

3) 5 15
 4) 13 3

6 18 5 7

5) 8 3
 6) 5 12

9 4 6 7

7) 4 1
 8) 2
1
3 2 6

9) 2
7 10) 3 4 6
 
3 7 9 2

11) 1 1
1 3 12)  4  15  8 
      
3 2  10  20  12 
12. จงหำผลลัพธ์
1) 1  3 2) 1 3

2 5 6 5

3) 5 15
 4) 13 3

6 18 5 7

5) 8 3
 6) 5 12

9 4 6 7

7) 4 1
 8) 2
1
3 2 6

9) 2
7 10) 3 4 6
 
3 7 9 2

11) 1 1
1 3 12)  4  15 
    
3 2  10  20 
 8
 
 12 
13. จงใส่เครื่องหมำย  หรือ  ในช่อง  ให้ถูกต้อง
1) 5.465 3.789 2) 2.594 4

3) 3.563 3.5432 4) 0.21 0

5) 1.56 -2.438 6) -4.57 -2.789


28

14. จงหำผลลัพธ์
1) 3.471 + 5.312 2) 2.581 + 5.34

3) 5.7125 + 2.5645 4) 0.357 + 2.743

5) 3 + 4.65 6) 5.0124 + 10.11155

7) 6.358 + 3.6420 8) 15.71 + 2.5453

9) 5.7005 + 25.64502 10) 6.52 + 152

15. จงหำผลลัพธ์
1) 5.47 - 3.31 2) 7.856 - 4.34

3) 5.712 - 2.5645 4) 0.357 - 2.743

5) 4.65 - 3 6) 10.1125 - 5.0124

7) 6.358 - 3.6420 8) 15.71 - 2.5453

9) 25.64502 - 5.7005 10) 152 - 6.52

16. จงหำผลลัพธ์
1) 2.56  10 2) 3.16  0.20

3) 0.05  0.007 4) 2.4037  0.0001

5) 0.003  22.2222 6) 1.11  5000

7) 0.0004  0.0000025 8) 0.000001  0.0001

9) 0.050  0.0070 10) 3.16  2000


29

หนังสืออ่ำนเพิ่มเติม

หนังสือสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำนคณิตศำสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1


หนังสือสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำนคณิตศำสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2
หนังสือเรียน คณิตศำสตร์ พื้นฐำน ม.2 เทอม 2 (หลักสูตรฯ 2544) ผู้แต่ง : รศ.ดร.นพพร
แหยมแสง และคณะ
หนังสือคณิตคิดเป็น ม.1-2-3 ตอน จำนวนเต็ม ผู้แต่ง : สุวร กำญจนมยูร
หนังสือคณิตคิดเป็น ตอน บวก ลบ คูณ หำร เศษส่วน ผู้แต่ง : สุวร กำญจนมยูร
หนังสือคณิตคิดเป็น ตอน บวก ลบ คูณ หำร เศษส่วน ผู้แต่ง : สุวร กำญจนมยูร

แหล่งค้นคว้ำเพิ่มเติม
http://www.ipst.ac.th/smath/
30

หน่วยที่ 2
อัตรำส่วนและร้อยละ

ผลลัพธ์กำรเรียนรู้
1. สำมำรถหำอัตรำส่วนและร้อยละได้
สำระ
2.1 อัตรำส่วน

อัตรำส่วน เป็นควำมสัมพันธ์ที่แสดงกำรเปรียบเทียบสองปริมำณ ซึ่งมีหน่วยเดียวกันหรือหน่วยต่ำงกันก็ได้

a
อัตรำส่วนของปริมำณ a ต่อปริมำณ b เขียนแทนด้วย a : b หรือ เรียก “a ว่ำ จำนวนแรก
b
หรือ จำนวนที่หนึ่งของอัตรำส่วน” และเรียก “b ว่ำ จำนวนหลัง หรือ จำนวนที่สองของอัตรำส่วน”
อัตรำส่วน a ต่อ b จะพิจำรณำเฉพำะกรณีที่ a และ b เป็นจำนวนบวกเท่ำนั้น
ตัวอย่ำง
- ในหมู่บ้ำนแห่งหนึ่งมีผู้ประกอบอำชีพทำนำ 45 คน ค้ำขำย 17 คน เขียนเป็นอัตรำส่วนได้คือ
45 : 17
- ค่ำลงทะเบียนเรียนของนักศึกษำวิทยำลัยชุมชนต่อ 1 ภำคเรียน เป็นเงิน 500 บำท เขียนเป็น
อัตรำส่วนได้คือ 1 : 500
- นักศึกษำสำมำรถใช้คอมพิวเตอร์ได้ครั้งละ 2 ชั่วโมง เขียนเป็นอัตรำส่วนได้คือ 1 : 2

2.2 อัตรำส่วนที่เท่ำกัน
กำรทำอัตรำส่วนให้เท่ำกับอัตรำส่วนที่กำหนดให้ เป็นไปตำมหลักกำรหำอัตรำส่วนที่เท่ำกัน ดังนี้
หลักกำรคูณ เมื่อคูณแต่ละจำนวนในอัตรำส่วนใดด้วยจำนวนเดียวกันโดยที่จำนวนนั้นไม่เท่ำกับศูนย์
จะได้อัตรำส่วนใหม่ที่เท่ำกับอัตรำส่วนเดิม
ตัวอย่ำง จงหำอัตรำส่วนที่เท่ำกับอัตรำส่วน 4 : 6 มำอีก 3 อัตรำส่วน โดยใช้หลักกำรคูณ
4 4x2 8
วิธีทำ 4 : 6 = = =
6 6x 2 12
4 4x3 12
4 : 6 = = =
6 6x 3 18
31

4 4x4 16
4 : 6 = = =
6 6x 4 24
ดังนั้น อัตรำส่วนที่เท่ำกับ 4 : 6 คือ 8 : 12, 12 : 18 และ 16 : 24

หลักกำรหำร เมื่อหำรแต่ละจำนวนในอัตรำส่วนใดด้วยจำนวนเดียวกันโดยที่จำนวนนั้นไม่เท่ำกับศูนย์
จะได้อัตรำส่วนใหม่ที่เท่ำกับอัตรำส่วนเดิม
ตัวอย่ำง จงหำอัตรำส่วนที่เท่ำกับอัตรำส่วน 81 : 45 มำอีก 2 อัตรำส่วน โดยใช้หลักกำรหำร
วิธีทำ 81 : 45 = 81 = 81  3 = 27
45 45  3 15
81 : 45 = 81 = 81  9 = 9
45 45  9 5
ดังนั้น อัตรำส่วนที่เท่ำกับ 81 : 45 คือ 27 : 15, และ 9 : 5

กำรตรวจสอบกำรเท่ำกันของอัตรำส่วนโดยใช้กำรคูณไขว้
หลักกำร
ถ้ำ a b c และ d เป็นจำนวนใด ๆ แล้ว
1. ถ้ำ a x d = b x c แล้ว a
b
= dc
2. ถ้ำ a x d ≠ b x c แล้ว a
b

c
d
จำกหลักกำรข้ำงต้น สรุปได้ต่อไปอีกว่ำ
ถ้ำ a
b
= dc แล้ว a x d = b x c

ตัวอย่ำง จงตรวจสอบว่ำอัตรำส่วนในแต่ละข้อต่อไปนี้เท่ำกันหรือไม่
1) 2
6
และ 15
45

2) 3
7
และ 6
10
15
วิธีทำ 1) จำกกำรคูณไขว้ 2
6 45
จะได้ 2 x 45 = 90
6 x 15 = 90
ดังนั้น 2 x 45 = 6 x 15
แสดงว่ำ 2
6
= 15
45
32

2) จำกกำรคูณไขว้ 3
7
6
10
จะได้ 3 x 10 = 30
7 x 6 = 42
ดังนั้น 3 x 10 ≠ 7 x 6
แสดงว่ำ 3
7

6
10

2.3 สัดส่วน

สัดส่วน คือ ประโยคที่แสดงกำรเท่ำกันของอัตรำส่วนสองอัตรำส่วน

5 10
ตัวอย่ำง 
6 12

ในกรณีที่มีตัวแปรหรือตัวที่ไม่ทรำบค่ำอยู่ในสัดส่วน สำมำรถหำค่ำตัวแปรนั้นได้โดยใช้หลักกำรของ
กำรหำอัตรำส่วนที่เท่ำกัน

ตัวอย่ำง จงหำค่ำของ a ในสัดส่วน 3


5
= a
20
วิธีทำ เนื่องจำก 3
5
= 3x 4
5x 4
= 12
20

จะได้ 12
20
= a
20
ดังนั้น a = 12

ตัวอย่ำง จงหำค่ำของ y ในสัดส่วน 27


18
= 9
y
27  3
วิธีทำ เนื่องจำก 27
18
= 18  3
= 9
6
จะได้ 9
6
= 9
y
ดังนั้น y = 6
T 2
ตัวอย่ำง จงหำค่ำของ T ในสัดส่วน =
15 5
T 2
วิธีทำ จำกกำรคูณไขว้
15 5
จะได้ T x 5 = 2 x 15
2 x15
จะได้ T =
5
33

ดังนั้น T = 6
2.4 ร้อยละ

ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ เป็นอัตรำส่วนแสดงกำรเปรียบเทียบปริมำณใดปริมำณหนึ่งต่อ 100

ตัวอย่ำง 1) ร้อยละ 60 หรือ 60% หมำยถึง 60 : 100 หรือ 60


100
9
2) ร้อยละ 9 หรือ 9% หมำยถึง 9 : 100 หรือ
100

กำรเขียนอัตรำส่วนในรูปร้อยละ

กำรเขียนอัตรำส่วนใดให้อยู่ในรูปร้อยละ จะต้องเขียนอัตรำส่วนนั้น
ให้อยู่ในรูปที่มจี ำนวนหลังของอัตรำส่วนเป็น 100

ตัวอย่ำง จงเขียนอัตรำส่วนต่อไปนี้ในรูปร้อยละ
4 4 x 20
1) = = 80%
5 5x 20
1 1x 25
2) = = 25%
4 4 x 25
0.25 0.25x100 25
3) 0.25 = = = = 25%
1 1x100 100

1.5 1.5x100 150


4) 1.5 = = = = 150%
1 1x100 100

กำรเขียนร้อยละในรูปอัตรำส่วน

กำรเขียนร้อยละให้เป็นอัตรำส่วน ทำได้โดยเขียนเป็นอัตรำส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100


34

ตัวอย่ำง จงเขียนร้อยละต่อไปนี้ในรูปอัตรำส่วน
33
33% =
100
6 3
6% = =
100 50
0.1 1
0.1% = =
100 1000
210 21
210% = =
100 10

ตัวอย่ำง 50% ของ 8 มีค่ำเท่ำไร


50
วิธีทำ จำก 50% =
100
50 A
จะได้ =
100 8
จำกกำรคูณไขว้ จะได้ 50 x 8 = A x 100
50 x 8
= A
100
4 = A
ดังนั้น 50% ของ 8 มีค่ำเท่ำกับ 4

*******************
35

แบบฝึกหัด
หน่วยที่ 2

1. จงเขียนอัตรำส่วนจำกข้อควำมต่อไปนี้
1) สมุด 6 เล่ม รำคำ 28 บำท
2) เสื้อตัวละ 199 บำท
3) ข้ำวหอมมะลิ 5 กิโลกรัม รำคำ 179 บำท
4) กุหลำบ 3 ดอก รำคำ 10 บำท
5) รถยนต์แล่นได้ระยะทำง 36 กิโลกรัม ในเวลำ 4 ชั่วโมง
6) 1 กิโลเมตร มี 1000 เมตร
7) หนึ่งสัปดำห์มี 7 วัน
8) น้ำตำลหนึ่งโหลรำคำ 130 บำท
2. จงหำอัตรำส่วนที่เท่ำกับอัตรำส่วนที่กำหนดให้มำข้อละ 4 อัตรำส่วน
1) 2 2) 4
10 5

3) 5 4) 4
7 7

5) 2 6) 6
3 8

7) 4 8) 1
9 2

3. จงหำค่ำของตัวแปรจำกสัดส่วนต่อไปนี้
1) 2 A 2) 5 Y
= =
3 6 10 30
3) 2 R 4) T 3
= =
4 6 10 2
5) B 3 6) 3 6
= =
5 15 4 P
7) 4 : 7 = X : 28 8) N : 12 = 3 : 6
36

4. จงเขียนอัตรำส่วนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปร้อยละ
1) 22 2) 3
25 4
3) 4 4) 7
5 50
5) 8 6) 3
20 2
7) 13 8) 32
10 40

5. จงเขียนร้อยละต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอัตรำส่วน
1) 25% 2) 30%

3) 20% 4) 50%

5) 75% 6) 60%

7) 80% 8) 40%

6. จงหำผลลัพธ์
1) 50% ของ 8 2) 30% ของ 40

3) 20% ของ 15 4) 25% ของ 60

5) 75% ของ 4 6) 60% ของ 80

7) 80% ของ 500 8) 40% ของ 20

7. ร้ำนค้ำแห่งหนึ่งประกำศลดรำคำสินค้ำ 10% ถ้ำสินค้ำรำคำ 160 บำท ร้ำนค้ำจะลดรำคำให้กี่บำท


8. ร้ำนค้ำแห่งหนึ่งประกำศลดรำคำสินค้ำร้อยละ 25 หำกลูกค้ำซื้อสินค้ำตั้งแต่ 500 บำทขึ้นไป ถ้ำนำย
ก ซื้อสินค้ำในรำคำ 1000 บำท จะต้องจ่ำยเงินจริงกี่บำท
9. ในถุงใบหนึ่งมี ส้ม 5 ผล มังคุด 12 ผล และน้อยหน่ำ 3 ผล มีส้มคิดเป็นร้อยละเท่ำไรของผลไม้ในถุงนี้
10. ลุงชมมีบุตรชำย 2 คน บุตรสำว 3 คน ลงชุมมีบุตรสำวคิดเป็นร้อยละเท่ำไร
37

หนังสืออ่ำนเพิ่มเติม
หนังสือสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำนคณิตศำสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2
หนังสือเรียน เทคนิคกำรเรียนคณิตศำสตร์ : อัตรำส่วนและร้อยละ ผู้แต่ง : พรรณี ศิลปวัฒนำนันท์

แหล่งค้นคว้ำเพิ่มเติม
http://www.ipst.ac.th/smath/
http://www.trueplookpanya.com
38

หน่วยที่ 3
เลขยกกำลัง

ผลลัพธ์กำรเรียนรู้
สำมำรถใช้สมบัติเกี่ยวกับเลขยกกำลังได้
สำระ

ถ้ำ a เป็นจำนวนใด ๆ และ n เป็นจำนวนเต็มบวก


an = a  a  a…  a
n ตัว

3.1 กำรหำคำตอบของเลขยกกำลัง
ตัวอย่ำง จงหำคำตอบของเลขยกกำลังต่อไปนี้
1. 23 = 2  2  2 = 8
2. 54 = 5  5  5  5 = 625
4
3. (-5) = (-5)  (-5)  (-5)  (-5) = 625
4. -(54) = -(5  5  5  5) = -625
5. (-2)3 = (-2)  (-2)  (-2) = -8
6. -(23) = -(2  2  2) = -8

3.2 กำรเขียนจำนวนในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์
ในกำรเขียนตัวเลขแทนจำนวนที่มีค่ำมำก เช่น 41,900,000,000,000,000,000 หรือจำนวนที่มีค่ำน้อย
เช่น 0.00000000000000017 จะยืดยำวไม่สะดวก และยุ่งยำกในกำรเขียนและกำรอ่ำน เรำอำจใช้เลขยก
กำลังเขียนแทนจำนวนต่ำง ๆ เหล่ำนี้ในรูปของ A  10n เมื่อ 1  A  10 และ n เป็นจำนวนเต็ม ค่ำ
ของ A มีค่ำตั้งแต่ 1 ถึง 9.9999…

จำนวนที่เขียนในรูปของ A  10n เมื่อ 1  A  10 และ n เป็นจำนวนเต็ม เรียกว่ำ สัญกรณ์


วิทยำศำสตร์
39

กำรเขียนจำนวนที่มีค่ำมำกในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์
ตัวอย่ำง จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์
1. 4,000,000 = 4  1,000,000
= 4  106
2. 3,740,000,000 = 374  10,000,000
= 3.74  100  10,000,000
= 3.74  1,000,000,000
= 3.74  109

กำรเขียนจำนวนที่มีค่ำน้อยในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์
ตัวอย่ำง จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์
1. 0.0000004 = 4  0.0000001
= 4  10-7
2. 0.000067 = 6.7  0.00001
= 6.7  10-5
3. 0.0000678 = 6.78  0.00001
= 6.78  10-5

ตัวอย่ำง จงหำค่ำของจำนวนในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์ต่อไปนี้
1. 4.18  108 = 4.18  100,000,000
= 418,000,000
2. 6  10-5 = 6  0.00001
= 0.00006

********************
40

แบบฝึกหัด
หน่วยที่ 3

1. จงหำคำตอบของเลขยกกำลังต่อไปนี้
1) 33 2) 34
3) -(4)3 4) (-4)3
5) (-3)4 6) -(34)
2. จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์
1) 500000000 2) 72400000000000
3) 3146000000000000 4) 65000000000000000
5) 87193000000 6) 0.00000415
7) 0.0000005167 8) 0.0000000000067
9) 0.0000000000000999 10) 0.000000000000001755
3. จงหำค่ำของจำนวนต่อไปนี้
1) 9.1  104 2) 6.18  107
3) 8.325  108 4) 5.25  1010
5) 4.8  1015 6) 5.2  10-5
7) 6.67  10-4 8) 8.432  10-7
9) 2.3476  10-10 10) 3.4  10-13
41

หนังสืออ่ำนเพิ่มเติม
หนังสือสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำนคณิตศำสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1
หนังสือคณิตสำระ ม.ต้น :เลขยกกำลัง สมกำรกำลังสอง พำรำโบลำ (ชุดควำมรู้เพื่อชุมชน เล่มที่ 144)
ผู้แต่ง : ธนกำญจน์ ภัทรำกำญจน์
หนังสือเทคนิคกำรเรียนคณิตศำสตร์ เลขยกกำลัง ผู้แต่ง : พรรณี ศิลปวัฒนำนันท์
หนังสือคณิตสำระ ม.ต้น: เลขยกกำลัง สมกำรกำลังสอง พำรำโบลำ ผู้แต่ง : ธนกำญจน์ ภัทรำกำญจน์

แหล่งค้นคว้ำเพิ่มเติม
http://www.ipst.ac.th/smath/
http://www.chontech.ac.th/~relat/sara/html/numberup.html
42

หน่วยที่ 4
กำรแก้ปัญหำทำงคณิตศำสตร์

ผลลัพธ์กำรเรียนรู้
สำมำรถแก้ปัญหำทำงคณิตศำสตร์ได้

สำระ
ปัญหำทำงคณิตศำสตร์ หมำยถึง สถำนกำรณ์ที่เกี่ยวกับคณิตศำสตร์ซึ่งเผชิญอยู่และต้องกำรค้นหำ
คำตอบ โดยที่ยังไม่รู้วิธีกำรหรือขั้นตอนที่จะได้คำตอบของสถำนกำรณ์นั้นในทันที
กำรแก้ปัญหำทำงคณิตศำสตร์ หมำยถึง กระบวนกำรในกำรประยุกต์ควำมรู้ทำงคณิตศำสตร์
ขั้นตอน / กระบวนกำรแก้ปัญหำ ยุทธวิธีแก้ปัญหำ และประสบกำรณ์ที่มีอยู่ไปใช้ในกำรค้นหำคำตอบของ
ปัญหำทำงคณิตศำสตร์
กระบวนกำรแก้ปัญหำ ตำมแนวคิดของวิลสันและคณะ
ขั้นที่ 1 ทำควำมเข้ำใจปัญหำ
ขันที
้ ่ 2 วางแผนแก้ ปัญหา
ขันที
้ ่ 3 ดาเนินการตามแผน
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผล
ยุทธวิธีแก้ปัญหำ
1. กำรค้นหำแบบรูป
2. กำรสร้ำงตำรำง
3. กำรเขียนภำพหรือแผนภำพ
4. กำรแจงกรณีที่เป็นไปได้ทั้งหมด
5. กำรคำดเดำและตรวจสอบ
6. กำรทำงำนแบบย้อนกลับ
7. กำรเปลี่ยนมุมมอง
8. กำรแบ่งเป็นปัญหำย่อย
9. กำรให้เหตุผลทำงตรรกศำสตร์
10. กำรให้เหตุผลทำงอ้อม
11. กำรเขียนสมกำร
ซึ่งในกำรแก้ปัญหำทำงคณิตศำสตร์ ในกำรพัฒนำศักยภำพของนักศึกษำ จะเน้นยุทธวิธีกำร
แก้ปัญหำ แบบกำรเขียนสมกำร
43

4.1 สมกำร

สมกำร หมำยถึง ประโยคสัญลักษณ์ที่มีเครื่องหมำย =

ตัวอย่ำง
1. 30 + 12 = 40 + 2 (เป็นสมกำร)
2. 3a - 5 = 7 (เป็นสมกำร)
3. 4ก - 12  35 (ไม่ใช่สมกำร)
4. a - 5 = z (เป็นสมกำร)
5. 6c + 15 (ไม่ใช่สมกำร)

4.2 สมกำรที่เป็นจริง

สมกำรที่เป็นจริง หมำยถึง สมกำรที่มีจำนวนที่อยู่ทำงซ้ำยของเครื่องหมำย = กับจำนวนที่อยู่ทำงขวำเท่ำกัน

ตัวอย่ำง ข้อใดคือสมกำรที่เป็นจริง
1. 7 + 5 = 14 - 2
2. 15  3 = 10 + 2
3. 6  8 = 48
4. 10 - 3 = 8
ตอบ ข้อ 1 และ 3 คือสมกำรที่เป็นจริง

4.3 สมกำรที่มีตัวไม่ทรำบค่ำ
1. สมกำรที่มีตัวอักษรหรือสัญลักษณ์อื่นที่ใช้แทนจำนวนอยู่ด้วย เรียกว่ำ สมกำรที่มีตัวไม่ทรำบค่ำ
หรือ สมกำรที่มีตัวแปร
2. ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์อื่นที่ใช้แทนจำนวนในสมกำร เรียกว่ำ ตัวไม่ทรำบค่ำ หรือ ตัวแปร
44

ตัวอย่ำง สมกำรในข้อใดมีตัวไม่ทรำบค่ำ
1. 30 + 12 = 40 + 2
2. 3a - 5 = 7
3. a - 5 = z
ตอบ ข้อ 2 และ 3 มีตัวไม่ทรำบค่ำ

4.4 กำรแก้สมกำร

กำรแก้สมกำร คือ กำรหำค่ำของตัวแปรหรือตัวไม่ทรำบค่ำในสมกำรเพื่อทำให้สมกำรเป็นจริง

กำรแก้สมกำรจะใช้สมบัติกำรเท่ำกันเกี่ยวกับกำรบวก กำรลบ กำรคูณ และกำรหำร ดังนี้


ให้ a , b และ c แทนจำนวนใด ๆ
1. จำนวนที่เท่ำกันสองจำนวน เมื่อนำจำนวนอีกจำนวนหนึ่งมำบวก ผลบวกย่อมเท่ำกัน
ถ้ำ a = b แล้ว a + c = b + c (สมบัติกำรเท่ำกันเกี่ยวกับกำร
บวก)
2. จำนวนที่เท่ำกันสองจำนวน เมื่อนำจำนวนอีกจำนวนหนึ่งมำลบ ผลลบย่อมเท่ำกัน
ถ้ำ a = b แล้ว a - c = b - c (สมบัติกำรเท่ำกันเกี่ยวกับกำรลบ)
3. จำนวนที่เท่ำกันสองจำนวน เมื่อนำจำนวนอีกจำนวนหนึ่งมำคูณ ผลคูณย่อมเท่ำกัน
ถ้ำ a = b และ c  0แล้ว a  c = b  c (สมบัติกำรเท่ำกันเกี่ยวกับกำร
คูณ)
4. จำนวนที่เท่ำกันสองจำนวน เมื่อนำจำนวนอีกจำนวนหนึ่งมำหำร ผลหำรย่อมเท่ำกัน
ถ้ำ a = b และ c  0แล้ว a  c = b  c (สมบัติกำรเท่ำกันเกี่ยวกับกำรหำร)
ตัวอย่ำง
1. จงแก้สมกำร y - 5 = 12
วิธีทำ Y - 5 + 5 = 12 + 5
Y = 17 (สมบัติกำรเท่ำกันเกี่ยวกับกำรบวก)
2. จงแก้สมกำร b + 4 = 26
วิธีทำ b + 4 - 4 = 26 - 4
b = 22 (สมบัติกำรเท่ำกันเกี่ยวกับกำรลบ)
45

3. จงแก้สมกำร = 9
วิธีทำ ×3 = 9 ×3
X = 27 (สมบัติกำรเท่ำกันเกี่ยวกับกำรคูณ)
4. จงแก้สมกำร 3y = 24
วิธีทำ =
y= 8 (สมบัติกำรเท่ำกันเกี่ยวกับกำรหำร)

ตัวอย่ำง กำรแก้สมกำรโดยกำรย้ำยข้ำง
1. จงแก้สมกำร z - 6 = 17
วิธีทำ z = 17 + 6
z = 23
2. จงแก้สมกำร E + 12 = 40
วิธีทำ E = 40 - 12
E = 28
3. จงแก้สมกำร = 8

วิธีทำ X = 86
X = 48
4. จงแก้สมกำร 5T = 50
วิธีทำ T =

T = 10
5. จงแก้สมกำร 5Y + 4 = 39
วิธีทำ 5Y = 39 - 4
5Y = 35
Y =
Y = 7
46

4.5 กำรเปลี่ยนโจทย์ปัญหำให้อยู่ในรูปสมกำร

1. กำนดำมีอำยุ พ ปี อรกัญญำมีอำยุมำกกว่ำกำนดำ 7 ปี ถ้ำอรกัญญำมีอำยุ 15 ปี


แล้วกำนดำมีอำยุเท่ำไร
สมกำรคือ พ + 7 = 15

2. ฤดีมำศมีเงิน W บำท พิภัทรำมีเงินเป็น 3 เท่ำของฤดีมำศ ถ้ำพิภัทรำมีเงิน 3,900 บำท


แล้วฤดีมำศจะมีเงินกี่บำท
สมกำร 3 x W = 3,900

3. พ่อมีเงิน D บำท แบ่งให้ลูก 3 คน ๆ ละเท่ำ ๆ กัน ถ้ำลูกแต่ละคนได้รับเงินคนละ


800 บำท พ่อมีเงินกี่บำท
สมกำร D ÷ 3 = 800

4. นนทวิชสอบได้ ก คะแนน วิชุดำสอบได้คะแนนน้อยกว่ำนนทวิชอยู่ 9 คะแนน ถ้ำวิชุ


ดำสอบได้ 85 คะแนน นนทวิชสอบได้กี่คะแนน
สมกำร ก - 9 = 85
47

แบบฝึกหัด
หน่วยที่ 4
1. ข้อใดเป็นสมกำร
1) 15 + 7 = 25 2) 14 + 5  15 - 2
3) 10  5  2 4) 40  4 = 16 - 6
5) 20 x 4  100 6) 20 - 5  8
7) 19 - 7 = 20 - 8 8) 17 + 3  4 x 4
9) 27  30  10 10) A  5 = 6
2. ข้อใดเป็นสมกำรที่เป็นจริง
1) 50 - 34 = 20 + 3 2) 30  6 = 10  2
3) 14 + 6 = 20  2 4) 12 x 4 = 40 + 8
5) 15 + 7 = 25 6) 40  4 = 16 - 6
7) 19 - 7 = 20 - 8 8) A  5 = 6
3. จงแก้สมกำร
1) X + 20 = 35 2) Y - 5 = 13
3) 8  A = 24 4) b  12 = 5
5) 40 = 5 + ส 6) 15 = ก - 21
7) 32 = T  4 8) 6 = s  5
9) 2B - 4 = 10 10) X
+ 3 = 14
2
11) 2 d 12) 3X
= 4 - 2 = 7
5 2
48

หนังสืออ่ำนเพิ่มเติม
หนังสือสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำนคณิตศำสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1
หนังสือคณิตศำสตร์แฟนตำซี ล.7 ตอนกองทัพแมลงสมกำร ผู้แต่ง: Grimnamu

แหล่งค้นคว้ำเพิ่มเติม
http://www.ipst.ac.th/smath/
http://www.nangnong.com/chonlada/kaejodpunha.htm
http://edltv.thai.net
49

หน่วยที่ 5
สถิติเบื้องต้น
ผลลัพธ์กำรเรียนรู้
สำมำรถหำค่ำกลำงของข้อมูลโดยใช้ควำมรู้เกี่ยวกับสถิติเบื้องต้น
สำระ
5.1 ข้อมูลสถิติ
ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องต่ำงๆ ที่สนใจศึกษำ โดยอำจเป็นตัวเลข ข้อควำม และ
สัญลักษณ์ต่ำงๆ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่
1. ข้อมูลเชิงปริมำณ (Quantitative data) เป็นข้อมูลที่สำมำรถวัดค่ำได้ว่ำมำกหรือน้อยเพียงใด แสดง
ในลักษณะของตัวเลข และสำมำรถนำมำ บวก ลบ คูณ หำร ได้ เช่น อำยุ น้ำหนัก ส่วนสูง รำยได้ เป็นต้น
2. ข้อมูลเชิงคุณภำพ (Qualitative data) เป็นข้อมูลที่อยู่ในรูปของข้อควำม ไม่สำมำรถระบุได้ว่ำมำก
หรือน้อยเพียงใด จึงไม่สำมำรถแสดงออกมำในรูปของตัวเลขได้ เช่น ชื่อ – นำมสกุล เพศ เชื้อชำติ ศำสนำที่นับ
ถือ บ้ำนเลขที่ เบอร์โทรศัพท์ เป็นต้น

5.2 วิธีกำรเก็บรวบรวมข้อมูล
ต้องกระทำอย่ำงมีหลักเกณฑ์ และเหมำะสม เพื่อที่จะได้ข้อมูลที่ดี น่ำเชื่อถือ ทั้งนี้ต้องอำศัยกำร
วำงแผนล่วงหน้ำอย่ำงรอบคอบ โดยทั่วๆไป อำจแบ่งวิธีเก็บรวบรวมข้อมูลออกได้เป็น 4 วิธี ตำมลักษณะ
ของวิธีกำรที่ปฏิบัติ ดังนี้
1. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลจำกทะเบียนประวัติ
2. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลจำกกำรสำรวจ
3. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลจำกกำรทดลอง
4. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลจำกกำรสังเกต

5.3 กำรวัดค่ำกลำงของข้อมูล
กำรวัดค่ำกลำงของข้อมูล เป็นวิธีกำรประมำณลักษณะทั่วไปของข้อมูลเมื่อต้องกำรทรำบว่ำค่ำของ
ข้อมูลส่วนใหญ่ มีแนวโน้มเข้ำสู่ค่ำใด ซึ่งอำจแสดงได้ด้วยตัวเลขจำนวนเดียวค่ำหนึ่งที่ใช้เป็นตัวแทนของกลุ่ม
ข้อมูลเหล่ำนั้น มีวิธีกำรหำได้หลำยวิธีต่ำง ๆ กัน ดังนี้
5.3.1 ฐำนนิยม (Mode)
ฐำนนิยม คือ ค่ำที่เกิดขึ้นบ่อย หรือซ้ำกันมำกที่สุด หรือค่ำที่มีควำมถี่มำกที่สุด
เขียนสัญลักษณ์แทนด้วย Mo
ตัวอย่ำง จงหำฐำนนิยมของข้อมูลต่อไปนี้ 3 , 3 , 6 , 4 , 5 , 3 , 5
50

3 มีควำมถี่เท่ำกับ 2
4 มีควำมถี่เท่ำกับ 1
5 มีควำมถี่เท่ำกับ 3
6 มีควำมถี่เท่ำกับ 1
ดังนั้น ฐำนนิยมของข้อมูลชุดนี้ คือ 3
ตัวอย่ำง จงหำฐำนนิยมของข้อมูลต่อไปนี้ 7 ,4 ,6 ,8 ,8 ,3 ,2 ,9
วิธีทำ 2 มีควำมถี่เท่ำกับ 1
3 มีควำมถี่เท่ำกับ 1
4 มีควำมถี่เท่ำกับ 1
6 มีควำมถี่เท่ำกับ 1
7 มีควำมถี่เท่ำกับ 1
8 มีควำมถี่เท่ำกับ 2
9 มีควำมถี่เท่ำกับ 1
ดังนั้น ฐำนนิยมของข้อมูลชุดนี้ คือ 8
ตัวอย่ำง จงหำฐำนนิยมของข้อมูลต่อไปนี้ 10, 14, 12, 10, 11, 13, 12, 14, 12, 10
วิธีทำ 10 มีควำมถี่เท่ำกับ 3
11 มีควำมถี่เท่ำกับ 1
12 มีควำมถี่เท่ำกับ 3
13 มีควำมถี่เท่ำกับ 1
14 มีควำมถี่เท่ำกับ 2
ดังนั้น ฐำนนิยมของข้อมูลชุดนี้ คือ 10 และ 12
ตัวอย่ำง ฐำนนิยมของควำมนิยมเลือกซื้อสีของรถยนต์
จำกกำรสำรวจควำมนิยมเลือกซื้อสีรถยนต์จำกศูนย์ตัวแทนจำหน่ำยรถยนต์ในกรุงเทพมหำนคร 7
ยี่ห้อ โดยให้ตัวแทนจำหน่ำยรถยต์และยีห้อบอกสีที่มียอดขำยมำกที่สุดเพียงรำยกำรเดียว โดยข้อมูลดังตำรำง

ตำรำง ควำมนิยมเลือกซื้อสีรถยนต์ 7 ยี่ห้อ


ยีห้อรถยนต์ ฮอนด้ำ ฟอร์ด มำสด้ำ โตโยต้ำ นิสสัน อีซูซุ เชฟโรเลต
สี ขำว สีส้ม เขียว ขำว บอร์นเงิน ขำว ดำ

จำกตำรำงมีผู้ตอบมำกที่สุด คือ สีขำวเป็นสีที่มียอดขำยมำกที่สุด จึงเป็นสีที่มีคนนิยมมำกที่สุด


ดังนั้นค่ำฐำนนิยมคือ สีขำว
51

5.3.2 มัธยฐำน (Median)


มัธยฐำน คือ คะแนนหรือข้อมูลที่อยู่ตรงกลำง เมื่อเรียงลำดับข้อมูลจำกน้อยไปมำก หรือมำก
ไปน้อยแล้ว ค่ำมัธยฐำนจะแบ่งข้อมูลออกเป็น 2 ส่วนเท่ำ ๆ กัน คือ จะมีจำนวนข้อมูลที่มำกกว่ำค่ำมัธยฐำน
เท่ำกับจำนวนข้อมูลที่น้อยกว่ำมัธยฐำน เขียนสัญลักษณ์แทนด้วย Med
- ถ้ำจำนวนข้อมูลเป็นเลขคี่ มัธยฐำน คือ ค่ำที่อยู่ตรงกลำง
- ถ้ำจำนวนข้อมูลเป็นเลขคู่ มัธยฐำน คือ ค่ำที่ตรงกลำง 2 ค่ำ รวมกันแล้วหำรด้วย 2

ตัวอย่ำง จงหำค่ำมัธยฐำนของข้อมูลต่อไปนี้
1) 2 8 3 9 6 2 4
เรียงคะแนนจำกน้อยไปหำมำก 2 2 3 4 6 8 9
มัธยฐำน คือ 4

2) 9 4 6 5 4 8 3 9
เรียงคะแนนจำกน้อยไปหำมำก 3 4 4 5 6 8 9 9
มัธยฐำน คือ = (N +1)/2 = (5 + 6) / 2 = 11 / 2 = 5.5

ตัวอย่ำง จงหำค่ำมัธยฐำนของข้อมูลต่อไปนี้
14 13 18 16 15 19 20
เรียงคะแนนจำกน้อยไปหำมำก 13 14 15 16 18 19 20
หำตำแหน่งมัธยฐำน = (N +1)/2 = (7+1)/2 = 4
ตำแหน่งที่ 4 ตรงกับคะแนน 16 ดังนั้นค่ำมัธยฐำน เท่ำกับคะแนน 16
5.3.3 ค่ำเฉลี่ย (Mean)
ค่ำเฉลี่ย คือ ค่ำที่ได้จำกกำรนำข้อมูลทั้งหมดมำรวมกัน แล้วหำรด้วยจำนวนข้อมูลทั้งหมด
ค่ำเฉลี่ย เขียนสัญลักษณ์แทนด้วย X

X
∑X
n
เมื่อ x คือ ค่ำเฉลี่ย
X คือ ผลรวมของข้อมูลทั้งหมด
n คือ จำนวนข้อมูลทั้งหมด
ตัวอย่ำง ข้อมูลไม่มีกำรแจกแจงควำมถี่
1) จงหำค่ำเฉลี่ยของข้อมูลต่อไปนี้ 9 4 5 4 8
52
9 45 48
X  30  6
5 5
2) จงหำค่ำเฉลี่ยของข้อมูลต่อไปนี้ 2 8 9 6 2

28962
X   27
 5.4
5 5

ตัวอย่ำง ข้อมูลต่อไปนี้แสดงรำยได้ (บำท) ต่อเดือนของพนักงำนบริษัทแห่งหนึ่ง จำนวน 8 คน


14,500 10,700 12,900 16,000 14,100 13,800 12,500 13,500
จงหำรำยได้เฉลี่ยของพนักงำนบริษัทกลุ่มนี้
รำยได้เฉลี่ยของพนักงำน = 14,500 +10,700 +12,900 +….+13,500
8
= 13,500 บำท

ค่ำเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (Weighted mean) เป็นค่ำเฉลี่ยที่ได้จำกกำรให้ควำมสำคัญกับแต่ละหน่วยในชุดข้อมูล


แตกต่ำงกัน เขียนสัญลักษณ์แทนด้วย x w
xw 
 wx
x
เมื่อ xw คือ ค่ำเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก
 wx คือ ผลรวมของผลกำรสังเกตคูณด้วยน้ำหนักที่ถ่วงตำมลำดับ
w คือ ผลรวมของน้ำหนัก
ตัวอย่ำง กำรคำนวณเกรดเฉลี่ย (GPA)
เกรดเฉลี่ย = ผลคูณระหว่ำงเกรดกับจำนวนหน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิตทั้งหมด

วิชำ เกรด จำนวนหน่วยกิต เกรด x หน่วยกิต


คณิตศำสตร์ 4 3 12
ภำษำไทย 3 3 9
ภำษำอังกฤษ 4 2 8
สังคมศึกษำ 2 3 6
วิทยำศำสตร์ 0 2 0
รวม 13 35
เกรดเฉลี่ย (GPA) = 35 = 2.69
13
53

แบบฝึกหัด
หน่วยที่ 5

1. จงหำค่ำฐำนนิยม มัธยฐำน และค่ำเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลต่อไปนี้


1.1) 12 15 13 10 15 12 18 13 13 17
1.2) 2 2 3 9 9 9 8 16 2 13 2 4 2
1.3) 50 56 25 42 69 74 63 48
1.4) 7 8 9 10 11 12 13 7 14 15 8 16 17 8 18 19 20
1.5) 15 18 10 14 5 12 18 8 10

2. จำกผลกำรเรียนต่อไปนี้
ระดับผลกำรเรียน
วิชำ หน่วยกิต
อรวรำ อรอุษำ อรอนงค์ อรชร
ภำษำไทย 2 B C+ A A
ภำษำอังกฤษ 3 A A C+ B
คณิตศำสตร์ 3 C A B B+
วิทยำศำสตร์ 2 B+ B A C

2.1) จงหำระดับผลกำรเรียนเฉลี่ยของนักเรียนทั้ง 4 คน
2.2) ใครเรียนเก่งที่สุด
54

หนังสืออ่ำนเพิ่มเติม

หนังสือสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำนคณิตศำสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5


หนังสือคณิตศำสตร์แฟนตำซี ล.7 ตอนกองทัพแมลงสมกำร ผู้แต่ง: Grimnamu
หลักสถิติ. ผู้แต่ง: กัลดร.กัลยำ วำนิชบัญชำ
เอกสำรกำรสอนชุดวิชำ สถิติธุรกิจและกำรวิเครำะห์เชิงปริมำณ หน่วยที่ 1 – 8 ผู้แต่ง :
มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช สำชำวิชำวิทยำกำรจัดกำร
สถิติธุรกิจ ผู้แต่ง: รศ.ดร. สรชัย พิศำลบุตร
เอกสำรกำรสอนชุด วิชำ 30205 คณิตศำสตร์และสถิติ ผู้แต่ง: มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช.
สำขำวิชำวิทยำกำรจัดกำร

แหล่งค้นคว้ำเพิ่มเติม
http://www.ipst.ac.th/smath/
55

หน่วยที่ 6
กำรนำเสนอข้อมูลและกำรแปลผลข้อมูล

ผลลัพธ์กำรเรียนรู้
สำมำรถนำเสนอข้อมูลและแปลผลข้อมูลได้
สำระ
6.1 กำรนำเสนอข้อมูล
กำรนำเสนอข้อมูล ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมำได้ ที่ยังไม่มีกำรจัดกระทำใดๆ เรียกว่ำ “ข้อมูลดิบ” ซึ่ง
จะต้องนำมำจัดระเบียบให้อยู่ในรู ปแบบที่ง่ำยต่อควำมเข้ำใจ สะดวก รวดเร็ว สำมำรถมองเห็นภำพรวมได้ใน
ระดับหนึ่ง โดยมีวิธีกำรหลำยรูปแบบ ในที่นี้จะกล่ำวถึงเฉพำะกำรนำเสนอข้อมูลในรูปของตำรำงแจกแจง
ควำมถี่ และแผนภูมิ
6.1.1 ตำรำง
เป็นวิธีกำรนำเสนอข้อมูลที่ได้รับควำมนิยมมำกเพรำะนำเสนอข้อมูลได้กระชับและได้ใจควำมครอบคลุม
ผู้อ่ำนสำมำรถเปรียบเทียบตัวเลขจำกตำรำงชัดเจนและยังสำมำรถนำข้อมูลไปสร้ำงรูปแบบกำรนำเสนอข้อมูลอื่น
ๆ อีกได้
ตำรำง จำนวนนักศึกษำวิทยำลัยชุมชน ปีกำรศึกษำ 2551 จำแนกตำมสำขำวิชำ
สำขำวิชำ จำนวน ร้อยละ
กำรบัญชี 32 22.22
กำรพัฒนำชุมชน 27 18.75
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 40 27.78
กำรศึกษำปฐมวัย 45 31.25
รวม 144 100
56

6.1.2 แผนภูมิแท่ง
แผนภูมิชนิดนี้แสดงด้วยรูปแท่งสี่เหลี่ยม ซึ่งอำจเขียนอยู่ในแนวนอน หรือแนวตั้งก็ได้ ควำมสูงหรือ
ควำมยำวของแท่งจะแทนจำนวนควำมถี่หรือร้อยละของจำนวนตัวเลขที่ต้องกำรจะนำเสนอ ควำมกว้ำงจะต้อง
เท่ำกันทุกแท่ง ระยะระหว่ำงแท่งควรจะเท่ำกัน หรืออำจจะเขียนติดกันก็ได้ ในกรณีที่มีข้อมูลหลำยประเภท
ในแผนภูมิเดียวกันควรจะระบำยสีแท่ง หรือใช้สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมำยอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ให้แทนข้อมูลที่ต่ำง
พวกกัน ดูต่ำงกัน และควรจะเขียนกำกับไว้ด้วยว่ำสัญลักษณ์แต่ละอย่ำงนั้นหมำยถึงอะไร
จำนวน
50
45
40
35
30
25
20
15
10
5
0 สาขาวิชา
การบัญชี การพัฒนาชุมชน คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การศึกษาปฐมวัย

รูปที่ 1 แผนภูมิแสดงจำนวนนักศึกษำจำแนกตำมสำขำวิชำ
6.1.3 กรำฟเส้นหรือกรำฟหลำยเหลี่ยมแห่งควำมถี่
กำรเขียนกรำฟหลำยเหลี่ยมแห่งควำมถี่นั้นทำได้โดยดัดแปลงจำกแผนภูมิแท่ง โดยกำรลำกเส้นเชื่อมต่อ
ระหว่ำงจุดกลำงของด้ำนบนในแผนภูมิแท่งแต่ละแท่ง ในกรณีที่ต้องกำรแสดงข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดในแผนภูมิเดียวกัน
ควรเขียนเส้นให้มีลักษณะต่ำงกัน และเขียนกำกับไว้ด้วยว่ำเส้นชนิดใดแทนอะไร

50
45
40
35
30
25
20
15
10
5
0 สาขาวิชา

การบัญชี การพัฒนาชุมชน คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การศึกษาปฐมวัย

รูปที่ 2 กราฟแสดงจานวนนักศึกษาจาแนกตามสาขาวิชา
57

6.1.4 แผนภูมิรูปภำพ
ใช้ภำพหรือสัญลักษณ์แทนสิ่งที่ต้องกำรเสนอ จำกตัวอย่ำง เป็นแผนภูมิรูปภำพที่แสดงให้เห็นถึงกำร
แจกแจงของจำนวนนักศึกษำในแต่ละสำขำ

สำขำวิชำ แทน 10 คน
กำรบัญชี 

กำรพัฒนำชุมชน 
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 
กำรศึกษำปฐมวัย 

รูปที่ 3 แผนภูมิแสดงจำนวนนักศึกษำจำแนกตำมสำขำวิชำ

6.1.5 แผนภูมิวงกลมหรือแผนภูมิกง
แผนภูมิชนิดนี้เหมำะสำหรับกำรเสนอตัวเลขเป็นร้อยละ โดยกำรแบ่งมุมที่จุดศูนย์กลำงของวงกลม
360 องศำ ออกเป็น 100 ส่วน ดังตัวอย่ำง
ตำรำง จำนวนนักศึกษำวิทยำลัยชุมชน ปีกำรศึกษำ 2551 จำแนกตำมสำขำวิชำ
สำขำวิชำ จำนวน ร้อยละ
กำรบัญชี 15 10.00
กำรพัฒนำชุมชน 30 20.00
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 45 30.00
กำรศึกษำปฐมวัย 60 40.00
รวม 150 100

การบัญชี
10%

การศึกษาปฐมวัย การพัฒนาชุมชน
40% 20%

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
30%
รูปที่ 4 แผนภูมิแสดงจำนวนนักศึกษำวิทยำลัยชุมชน ปีกำรศึกษำ 2551
58

แบบฝึกหัด
หน่วยที่ 6

1. จงนำเสนอข้อมูลต่อไปนี้ในรูปตำรำง, แผนภูมิแท่ง, กรำฟเส้น, แผนภูมิรูปภำพ และแผนภูมิวงกลม

ผลไม้ จำนวน (ตัน)


มังคุด 15
เงำะ 25
ทุเรียน 10
รวม 50

ปริมำณ (กรัม) 2. แผนภูมิแท่งเปรียบเทียบส่วนประกอบของนมชนิดต่ำง ๆ

ชนิดของนม

1. นมชนิดใดมีโปรตีนมำกที่สุด
2. จำกแผนภูมิแท่งตอบคำถำมต่อไปนี้
1.นมชนิดใดมีโปรตีนเท่ำกับไขมัน
2. นมชนิดใดมีไขมันน้อยที่สุด
3. นมข้นหวำนมีโปรตีนมำกกว่ำนมเปรี้ยวเท่ำใด
4. นมชนิดใดมีไขมันมำกที่สุด
59

แผนภูมิรูปวงกลมแสดงค่ำใช้จ่ำยของพุดซ้อน ในเวลำ 1 เดือน พุดซ้อนมีรำยได้ 18,500 บำท

3. จำกแผนภูมิแท่งตอบคำถำมต่อไปนี้
1. พุดซ้อนจ่ำยค่ำเช่ำบ้ำนจำนวนกี่บำท
2. แต่ละเดือนพุดซ้อนจ่ำยค่ำอำหำรกี่บำท
3. พุดซ้อนจ่ำยค่ำเครื่องนุ่งห่มมำกกว่ำฝำกธนำคำรกี่บำท

หนังสืออ่ำนเพิ่มเติม

หนังสือสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำนคณิตศำสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5


หนังสือคณิตศำสตร์แฟนตำซี ล.7 ตอนกองทัพแมลงสมกำร ผู้แต่ง: Grimnamu
หลักสถิติ. ผู้แต่ง: กัลดร.กัลยำ วำนิชบัญชำ
เอกสำรกำรสอนชุดวิชำ สถิติธุรกิจและกำรวิเครำะห์เชิงปริมำณ หน่วยที่ 1 – 8 ผู้แต่ง :
มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช สำชำวิชำวิทยำกำรจัดกำร
สถิติธุรกิจ ผู้แต่ง: รศ.ดร. สรชัย พิศำลบุตร
เอกสำรกำรสอนชุด วิชำ 30205 คณิตศำสตร์และสถิติ ผู้แต่ง: มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช.
สำขำวิชำวิทยำกำรจัดกำร
หนังสือ หนังสือยอดคณิตศำสตร์ เรื่อง สถิติและควำมน่ำจะเป็น ชั้นประถมศึกษำปีที่ 4-6 ผู้แต่ง:
ฝ่ำยวิชำกำร พีบีซี

แหล่งค้นคว้ำเพิ่มเติม
http://www.ipst.ac.th/smath/
60

แหล่งเรียนรู้
ห้องสมุดวิทยำลัยชุมชน
เว็บไซด์เพื่อกำรพัฒนำทักษะทำงคณิตศำสตร์ ดังนี้
www.kanid.com
www.ipst.ac.th/smath/
www.ipst.ac.th/smath/
www.nangnong.com/chonlada/kaejodpunha.htm
www.chontech.ac.th/~relat/sara/html/numberup.html
http://edltv.thai.net
http://www.trueplookpanya.com

ข้อเสนอแนะ
เพื่อให้เกิดกำรเรียนรู้และพัฒนำทักษะทำงคณิตศำสตร์ให้ได้ผลเป็นที่พอใจ ผู้ สอนต้องส่งเสริมและ
สร้ำงแรงจูงใจให้ผู้เรียนมีควำมสนใจและต้องกำรพัฒนำทักษะทำงคณิตศำสตร์ด้วยตนเองอย่ำงต่อเนื่อง ขยัน
หมั่นฝึกฝนทำโจทย์ แก้ปัญหำทำงคณิตศำสตร์อย่ำงหลำกหลำย ไม่ท้อแท้หมดกำลังใจกับกำรแก้โจทย์ปัญหำ
ทำงคณิตศำสตร์ที่มีควำมยำก กรณีมีเฉลยควรแนะนำผู้เรียนไม่ให้ดูเฉลยก่อนได้ทดลองทำด้วยตนเองอย่ำงเต็ม
กำลังควำมสำมำรถ
61

บรรณำนุกรม

หนังสือสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำนคณิตศำสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1


หนังสือสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำนคณิตศำสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2
หนังสือเรียน คณิตศำสตร์ พื้นฐำน ม.2 เทอม 2 (หลักสูตรฯ 2544) ผู้แต่ง : รศ.ดร.นพพร แหยม
แสง และคณะ
หนังสือคณิตคิดเป็น ม.1-2-3 ตอน จำนวนเต็ม ผู้แต่ง : สุวร กำญจนมยูร
หนังสือคณิตคิดเป็น ตอน บวก ลบ คูณ หำร เศษส่วน ผู้แต่ง : สุวร กำญจนมยูร
หนังสือคณิตคิดเป็น ตอน บวก ลบ คูณ หำร เศษส่วน ผู้แต่ง : สุวร กำญจนมยูร
หนังสือสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำนคณิตศำสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5
หนังสือคณิตศำสตร์แฟนตำซี ล.7 ตอนกองทัพแมลงสมกำร ผู้แต่ง: Grimnamu
หลักสถิติ. ผู้แต่ง: ดร.กัลยำ วำนิชบัญชำ
เอกสำรกำรสอนชุดวิชำ สถิติธุรกิจและกำรวิเครำะห์เชิงปริมำณ หน่วยที่ 1 – 8 ผู้แต่ง :
มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช สำชำวิชำวิทยำกำรจัดกำร
สถิติธุรกิจ ผู้แต่ง: รศ.ดร. สรชัย พิศำลบุตร
เอกสำรกำรสอนชุด วิชำ 30205 คณิตศำสตร์และสถิติ ผู้แต่ง: มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช.
สำขำวิชำวิทยำกำรจัดกำร
หนังสือ หนังสือยอดคณิตศำสตร์ เรื่อง สถิติและควำมน่ำจะเป็น ชั้นประถมศึกษำปีที่ 4-6 ผู้แต่ง:
ฝ่ำยวิชำกำร พีบีซี
หนังสือสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำนคณิตศำสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2
หนังสือเรียน เทคนิคกำรเรียนคณิตศำสตร์ : อัตรำส่วนและร้อยละ ผู้แต่ง : พรรณี ศิลปวัฒนำนันท์
62

คณะทำงำนพัฒนำศักยภำพผู้เรียนรำยวิชำคณิตศำสตร์

1. ดร.กรรณิกำ สุภำภำ ผู้อำนวยกำรวิทยำลัยชุมชนตรำด(รก.)


2. นำงอัญญำ ทวีโครต ครูชำนำญกำรพิเศษ วิทยำลัยชุมชนมุกดำหำร
3. นำยเผด็จ เปล่งปลั่ง ครู คศ.1 วิทยำลัยชุมชนสมุทรสำคร
4. นำงสำวมะลิวรรณ โคตรศรี ครู คศ.1 วิทยำลัยชุมชนบุรีรมั ย์
5. นำงสำวฌำณิญำ จินดำมล ครูผู้ช่วย วิทยำลัยชุมชนตรำด
6. นำงสำวนิพัทธำ เอี่ยมใบพฤกษ์ ครูผู้ช่วย วิทยำลัยชุมชนตรำด

You might also like