You are on page 1of 29

แผนบทเรียน

วิชา
การรบในป่าและภูเขา
แผนบทเรียน

วิชา : การรบในป่าและภูเขา
เวลาในการฝึก : ๒ ชม.
สถานที่ฝึก : พื้นที่รับผิดชอบ
ผู้รับการฝึก : นักเรียนทหารพราน
ผู้ฝึกสอน และผู้ช่วยฝึกสอน : ๑. ส.อ.ธนพนธ์ ลือยศ
๒. ส.ท.สหรัฐ ลาดเลา
คุณสมบัติผู้เข้ารับการฝึก : ผ่านการฝึกบุคคลระดับพื้นฐาน
ผ่านการฝึกเป็นบุคคล และเป็น ชุดปฏิบัติการ
มีความรู้พื้นฐาน (นทล.)
การแต่งกาย : ชุดฝึกพราง รปจ.ของหน่วย พร้อมอาวุธประจากาย
เครื่องช่วยฝึกและอุปกรณ์ : ๑. กระดานไวท์บอร์ด
๒. ปากกาไวท์บอร์ด (แดง,น้าเงิน,เขียว และดา อย่างละ ๑ ด้าม)
๓. อุปกรณ์ทาโต๊ะทราย
หลักฐานอ้างอิง : ๑. รส.๓๑ – ๑๕
๒. รส.๓๑ - ๗๒
แผนบบทเรียน
วิชา การรบในป่าและภูเขา

๑. วัตถุประสงค์การฝึก

กิจเฉพาะ : ๑. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการรบในป่า
๒. ยุทธวิธฝี ่ายตรงข้าม
เงื่อนไข : ๑. ผู้เข้ารับการฝึก แต่งชุดฝึกตาม รปจ.ของหน่วย พร้อมอาวุธประจากาย
มาตรฐาน : ๑. ผู้เข้ารับการฝึกมีความรู้ความเข้าใจ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่การรบในป่าภูเขา
๒. ผู้เข้ารับการฝึกมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ยุทธวิธีฝ่ายตรงข้าม

๒ วัตถุประสงค์ตามลาดับขั้น
๒.๑ วัตถุประสงค์การฝึกตามลาดับขั้นที่ ๑

กิจเฉพาะ : ๑. ผู้เข้ารับการฝึกมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัย ที่มีผลกระทบต่อการรบในป่าภูเขา


เงื่อนไข : ๑. ผู้เข้ารับการฝึกสามารถตอบคาถามความรู้ความเข้าใจในเรื่อง ระเบียบการนาหน่วย ปัจจัย
METT – T แง่คิดทางทหาร OCOKA เกี่ยวกับการรบป่าภูเขา
มาตรฐาน : ๑. การประเมิน / การทาแบบทดสอบ

๒.๑ วัตถุประสงค์การฝึกตามลาดับขั้นที่ ๒
กิจเฉพาะ : ๑. ผูเ้ ข้ารับการฝึกมีความรู้ความเข้าใจสามารถปฏิบัติ ยุทธวิธีฝ่ายตรงข้ามได้อย่างถูกต้อง
เงื่อนไข : ๒. เบิกอุปกรณ์และใช้อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง
มาตรฐาน : ๓. ทดสอบการปฏิบัติ ยุทธวิธีฝ่ายตรงข้ามได้อย่างถูกต้อง

๓.คาแนะนาทางธุระการ
๓.๑ ห้วงเวลาการฝึก :
๓.๒ เวลาที่ใช้ : ๒ ชัว่ โมง
๓.๓ สถานที่ฝึก : สนามฝึก ค่ายรบพิเศษ หนองตะกู จ.นครราชสีมา
๓.๔ ผู้รับการฝึก : อาสาสมัคทหารพราน กองทัพบก
๓.๕ ครูฝึก : ส.อ.ธนพนธ์ ลือยศ
๓.๖ ผูช้ ่วยครูฝึก : ส.ท.สหรัฐ ลาดเลา
๓.๗ หลักฐานอ้างอิง : ๑. คู่มือราชการสนาม (ท.บ.) ว่าด้วยการรบในป่า รส.๓๑ – ๑๕
๒. คู่มือราชการสนาม (ท.บ.) ว่าด้วยการรบในป่ารส. ๓๑ – ๗๒
๔.ลาดับขั้นของการปฏิบัติเวลาที่ใช้
ลาดับขั้น การปฏิบัติ เวลาที่ใช้
๑. ชี้แจงวัตถุประสงค์การฝึก,การฝึกตามลาดับ,กิจเฉพาะ,เงื่อนไข,และมาตรฐาน ๑๕ นาที
การฝึกให้ อส.ทพ.ทราบเบื้องต้น
๒ ครูฝึกทาการสอนตามตามวัตถุประสงค์ตามลาดับที่กาหนด ๓๐ นาที
๓ ครูฝึกทาการฝึกเพื่องหมุนเวียนสถานี ๖๐ นาที
สถานีที่ ๑ การรบในเขตพื้นที่เมือง
สถานีที่ ๒ การรบในป่าภูเขา
๔ ทบทวนหลังการปฏิบัติ ๑๕ นาที
รวมเวลาทั้งสิ้น ๒ ชั่วโมง
๒. ลาดับขั้นตอนการปฏิบัติและการใช้เวลา (ลาดับขั้นการสอน)
การปฏิบัติ เวลาที่
ใช้
กล่าวนา
- การแนะนาตัว กระผม...............................................เป็นครูประจาวิชาการรบในป่าและภูเขา ๓0
สมรรถภาพเป็นเรื่องที่ สาคัญมากต่อกาลังทหารจานวนน้อย หากมีสมรรถภาพสูงก็จะสามารถเอาชนะข้าศึกที่มี นาที
จานวนมากได้ การฝึกเพื่อเพิ่มสรรถภาพ รวมทั้งประสมการณ์ให้กับกาลังพลจึงเป็นเรื่องจาเป็น ของหน่วยทหาร
ทุกหน่วย พื้นที่ประเทศไทย ที่เต็มไปด้วยป่าและภูเขาการนากาลังทหารเข้าปฏิบัติการรบเป็นเรื่องที่ยากมากกว่า
ปกติหลายเท่า ร่วมทั้งการส่งกาลังบารุง ยุทธโธปกรณ์ ในการฝึกปฏิบัติการรบป่าภูเขา จึงเน้นฝึกเกี่ยวกับบุคคล
เพื่อให้เกิดทักษะในการ ปฏิบัติต่างๆ ทางยุทธวิธีและความคุ้นเคยต่อสภาพการรบ

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการรบในป่าภูเขา

๑.ป่า(Jungle)
ป่าหมายถึงพื้นที่ที่ตั้งอยู่ในเขตร้อนและชุ่มชื้นอันเป็นดินแดน ที่ปกคลุมไปด้วยไม้ยืนต้น หรือวัชพืชนานาชนิด
อย่างหนาทึบ อันเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติการทางทหาร และเป็นสิ่งกีด ขวางต่อการคมนาคมทางทหาร
ป่าไม้เขตร้อนในบริเวณป่า เช่นนี้ได้แก่ ป่าดงดิบตามพื้นที่ลุ่มและที่ดอน ป่าไม้ผลัดใบ ป่าชายเลน และทุ่ง
หญ้าเขตร้อน
๒. ป่าดงดิบ

๓. ป่าผลัดใบ
๔. ป่าชายเลน

สภาพป่า
ในตอนนี้จะกล่าวถึงเรื่องสภาพป่า ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญ ที่จะต้องนา มา พิจารณาในการวางแผน (Plan) และทาการ
รบในป่า(Jungle operation) รวมทั้งรายละเอียดในเรื่องภูมิอากาศ ภูมิประเทศ สภาพของพื้นดิน และชีวิตของ
สัตว์ ต่างๆ คาอธิบายในที่นี้มิได้กล่าวรายละเอียดไว้จนหมดสิ้น ถ้าต้ องการทราบ รายละเอียดเพิ่มเติมในพื้นที่ที่
ต้องการเรี ยนรู้ นี้ อาจหาได้จากบทความที่ว่าด้ว ย ภูมิศาสตร์ทางทหารของกรมอุตุนิยม และแผนที่วิเคราะห์
รายละเอียดเกี่ยวกับ ภูมิประเทศทางยุทธวิธีของ ผบ.หน่วย/ผบ.ชป.ทพ. ในการวางแผน (Planning Operation)
ภูมิอากาศและสภาพอากาศ

ภูมิอากาศในป่ าจะแตกต่างกัน ในแต่ล ะพื้นที่ ใกล้ เส้ นศูนย์สูตรทุกฤดูกาลจะคล้ ายคลึ งกัน โดยมีฝนตลอดปี
ห่างจากเส้นศูนย์สูตร โดยเฉพาะในอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต ้จะมีฤดูแลง้และฤดูฝน (มรสุม) ทั้งสองเขต
จะมีอุ ณหภูมิ สู ง (เฉลี่ ย ๗๘ ถึ ง ๙๕ + ดีก รี ฟ าเรนไฮต์ ) มีฝ นตกหนกั (๑๐๐๐ ซม. หรื อ ๔๐๐ +นิ้ว ต่อ ปี )
และมีความชื้นสูง ๙๐ % ตลอดป
สภาพอากาศที่ เ ลวร้ า ย จะมี ผ ลกระทบต่ อ การปฏิ บั ติ ท างยุ ทธวิ ธี ใ นป่ า ผลกระทบของสภาพอากาศ ต่ อ การ
ปฏิบัติการจะได้อธิบายไว้ ตลอดในคู่มือน
ภูมิอากาศในป่า (อุณหภูมิสูง ,ความชื้นสูง,ฝนตกหนกั) มีผลกระทบร้ายแรงต่อ : คน เสื้อผ้า ยุทโธปกรณ์ อาวุธ
ยานพาหนะ การซ่อมบารุง การฝึก ยุทธวิธี

ภูมิประเทศและพืชพรรณไม้
ประเภทของป่า :สภาพแวดล้อมในป่าจะมีทั้ง พืน้ ที่ ป่าทึบ, ทุ่งหญ้า, พท. เพาะปลูกและหนองบึง ป่าจะถูก
แบ่งเป็นป่าดึกดาบรรพ์และป่าเกิดขึ้น ใหม่ ขึ้นอยู่กับภูมิประเทศและพืชพรรณไม้

ป่าดึกดาบรรพ์
เป็นป่าในเขตร้อนจะเรียกชื่อตามประเภทของต้นไม้ที่ขึ้นในป่า โดยแบ่งออกเป็นป่าดิบชื้นและป่าผลัดใบ

ป่าดิบชื้น จะประกอบไปด้วยต้นไม้ใหญ่ ซึ่งแผ่กิ่งก้านทาบทับกันปกคลุมเป็นร่มเงา ๒ - ๓ ชั้น ตั้งแต่ระดับสูง


๑๐ เมตร จากพื้นดิน ร่มเงานี้จะป้องกันมิให้แสงแดดสาดส่องถึงพื้นดิน ซึ่งเป็นเหตุมิให้เกิดพืชปกคลุมพื้นดิน แต่
จะมีเถาวัลย์หรือราก ในอากาศแขวนอยู่ตามต้นจานวนมาก ประกอบกับความชื้น และพื้นผิวดินที่ลื่นจะทาให้
การจราจรของยานพาหนะยากลาบาก การเคลื่อนที่ด้วยเท้าในป่าดิบชื้นจะมีความง่ายกว่าในป่าชนิดอื่น การตรวจ
การณ์จากทางอากาศเกือบจะเป็นไป ไม่ได้ นอกจากมีการโค่นล้มต้นไม้หรือมีการก่อสร้าง ที่ทาให้เกิดช่องว่างในร่ ม
เงาที่ปกคลุม การตรวจการณ์ทางพื้นดินจะจากัดในระยะ ๕๐ เมตร
ป่าผลัดใบ จะพบในเขตกึ่งเขตร้อนซึ่งมีฤดูฝนและฤดูแล้ง ในฤดูฝนต้นไม้จะมีใบหนาทึบ ในฤดูแล้งใบไม้
จะแห้งตาย ทาให้ต้นไม้ผลัดใบไม่หนาทึบเหมือนป่าดิบชื้นซึ่งทาให้มีฝนและแสงแดดตกถึงพื้นดินก่อให้เกิดพืชคลุ
มดินที่หนาทึบในฤดูฝน ต้นไม้จะมีใบขึ้นเต็มที่ การตรวจการณ์ จากทางอากาศและทางพื้นดินจะถูกจากัด การ
เคลื่อนที่จะยากลาบากกว่าป่า ดินชื้น ในฤดูแล้งจะเกื้อกูลต่อการตรวจการณ์และการจราจร

ป่าดึกดา บรรพ์

ป่าเกิดใหม่
จะพบบริเวณของพื้นที่ของป่าดิบชื้นและป่าผลัดใบและในที่ซึ่งป่าไม้ถูกโค่นล้ม ทิ้งไว้เป็นที่เลื่อนลอยป่าเกิดใหม่จะ
ปรากฏเมื่อพื้นดินถูกแสงแดดส่องถึงทาให้มีวัชพืช หญ้า เฟิร์น ต้นอ้อ ไม้พุ่ม เจริญเติบโต การเคลื่อนที่ด้วยเท้าจะ
ลาบากชักช้า พืชพรรณไม้อาจสูงถึง ๒ เมตร ซึ่งจะจากัดการตรวจการณ์ไปข้างหนา้ ได้เพียงแต่ ๒ - ๓ เมตร
ลักษณะธรรมชาติในป่า

บึงหรือทหี่ล่ม
เป็นลักษณะธรรมชาติที่จะพบเห็นในป่าที่อยู่พื้นที่ตา่ ซึ่งมีน้าขัง จะแบ่งเป็น ๒ ลักษณะคือ บึงป่าโกงกาง และ
บึงต้นจาก

บึงโกงกาง พบในพื้นที่ชายฝั่งซึ่งระดับน้าทะเลมีอิทธิพลต่อการไหลของน้าต้นโกงกางจะเกิดเป็นพุ่มสูง ๑ - ๕ เมตร


มีรากขัดกันเป็นระบบ ทั้งอยู่เหนือและใต้ระดับน้า ซึ่งจากัดการเคลื่อนที่ด้วยเท้าหรือเรือเล็ก การตรวจการณ์
ในบึงโกงกาง ทั้งทางอากาศและทางพื้นดินจะจากัดมาก การปกปิดจะดีเยี่ยม
บึงต้นจากจะปรากฏทั้งในพื้นที่น้าเค็มและน้าจืด การเคลื่อนที่ด้วยเท้า ยานพาหนะ หรือเรือเล็ก จะจากัด
มากเช่นเดียวกับป่าโกงกาง ยกเว้นภายหลังจากการตัดถนน การตรวจการณ์ และ พื้นการยิงจะจากัด กาปกปิด
ทั้งจากการตรวจการณ์ทางพื้นดินและทางอากาศจะดีเยี่ยม

ป่าไผ่
เป็นไม้มีปล้องขนาดจะแตกต่างกันตามประเภทของป่าตลอดทั้งเขตร้อน ป่าไผ่ที่ต้นสูงใหญ่จะเป็นเครื่อง กีดขวาง
ชั้นดีต่อ ยานล้อและสายพานการเคลื่อนที่ของทหารผ่านป่าไผ่จะช้า เหน็ดเหนื่อยและเกิดเสียงดัง ทหารควรจะ
เคลื่อนที่อ้อมผ่านป่าไผ่ถ้าเป็นไปได้

พืน้ ทีก่ ารเกษตร


จะพบเห็นตลอดพื้นที่เขตร้อน มีขนาดตั้งแต่ใหญ่โต มีการจัดการที่ดีจนถึงพื้นที่ทากินขนาดเล็ก ซึ่งเพาะปลูก
ด้วยบุคคลเพียงคนเดียว สามารถแบ่งออกได้เป็น ๓ ประเภท คือ ทุ่งนา พื้นที่เพาะปลูก และไร่เลื่อนลอย

ทุ่งนา เป็นพื้นราบ มีน้าขังเมื่อปลูกข้าว ระบบน้าจะถูกควบคุมด้วยฝายหรือคลองชลประทาน ซึ่งทา ให้การ


เคลื่อนที่ด้วยยานพาหนะยากลาบาก ถึงแม้ทุ่งนาจะแห้งแล้งก็ตาม การปกปิดไม่ดีในทุ่งนา การกาบังจะจากัด
ด้วยคันคลอง รวมทั้งการยิงทางพื้นดิน การตรวจการณ์และพื้นการยิงจะดีมาก การเคลื่อนที่ด้วยเท้าจะยาก
เมื่อทุ่งนาชุ่มชื้นเพราะทหารต้องลุยน้า ซึ่งสูงประมาณ ๒ ฟุต และมีพื้นโคลน

พื้นที่เพาะปลูก และทาไร่เลื่อนลอย
พืน้ ที่เพาะปลูก เป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ ที่ปลูกพืชยืนต้น เช่น ยางพารา มะพร้าว ปกติจะปลูกอย่างมีระเบียบ
และปล่อยให้เติบโตตามธรรมชาติ การเคลื่อนที่ผ่าน โดยปกติจะ ง่าย การตรวจการณ์ตามแนวต้นไม้จะดีมาก
การปกปิดกาบังจะอยู่ด้านหลังต้นไม้ แต่การเคลื่อนที่ของทหารตามแนวของต้นไม้จะเปิดเผยตนเอง
ไร่เลื่อนลอย จะพบเห็นในเขตร้อน เป็นพื้นที่เพาะปลูกขนาดเล็กที่ปลูกต้นไม้อย่าง เร่งด่วน หลังจากใช้พื้น
๑ - ๒ ปี ก็จะถูกละทิ้งเหลือไว้เป็นที่ว่างเปล่าที่จะกลับกลายเป็นป่าเกิดใหม่การเคลื่อนที่ผ่านพื้นที่นี้อาจจะยาก
เนื่องจากไม้ถูกโค่นและไม้พุ่มที่เกิดใหม่
โดยทั่วไปการตรวจการณ์และพื้นการยิงในพื้นที่เพาะปลูกจะมีข้อจากัดน้อยกว่าในป่า ที่ไม่มีพื้นที่เพาะปลูก
อย่างไรก็ตามสิ่งปกปิดกาบังตามธรรมชาติหลายอย่างก็ถูก เคลื่อนย้ายออกไปเพราะการถากถางพื้นที่เพาะปลูกซึ่ง
ทหารจะถูกเปิดเผยตัวในพื้นที่ เหล่านี้

สิ่งมีชชีวิตในป่า
ทหารต้องเข้าใจว่าสภาพแวดล้อมมีผลกระทบต่อทุกคนระดับความเข้มข้นของการฝึกจะทาให้ทหารดารงอยู่และ
ต่อสู้ กับสภาพแวดล้อมที่ยากลาบาก ซึ่งจะเป็นสิ่งกาหนดความสาเร็จหรือความล้มเหลวของหน่วย

การสู้รบในป่า ไม่ใช่สิ่งใหม่ของทหารไทยหรือของข้าศึก ไม่มีใครผูกขาดการรู้วิธีการรบในป่า หน่วยทหารต้อง


ประยุกต์การสู้รบในป่า เมื่อไหร่ที่เราต้องปฏิบัติการต่อกาลังข้าศึกที่ชานาญการรบในป่า เราพบว่าข้าศึกก็เผชิญ
ความ ยากลาบากในการปฏิบัติการเช่นเดียวกับเรา เชลยศึกที่เราจับได้ส่วนใหญ่จะทนทุกข์ทรมานจากการขาด
อาหาร และ ป่วยด้วยโรคมาเลเรีย และทุกคนจะกล่าวว่ากาลังพลในหน่วยเขาทุกคนจะเป็นโรคมาเลเรียและ
เสียชีวิต”
จะมีความกลัวเพียงเล็กน้อยต่อสภาพแวดล้อมในป่า ความกลัวถือว่าเป็นข้าศึกอย่างหนึ่งทหารต้องถูกสอนให้
ควบคุม ความกลัว ทหารที่ถูกครอบคลุมด้วยความกลัวจะมีคุณค่าเพียงเล็กน้อยในทุกสถานการณ์ ทหารต้อง
เรียนรู้ว่าสิ่ง
สาคัญที่สุดจะต้องถูกฝังลึกอยู่ในหัวและใช้ความคิดอย่างสงบในการเผชิญสถานการณ์ เรื่องราวการผจญภัยในป่าที่
ถูกเขียน โดยนักผจญภัยมักจะถูกขยายจนเกินความจริง ที่นักผจญภัยเขียนถึงมักจะมาจากภาพ จินตนาการ
ประชาชนไทยโดยเฉพาะที่เจริญเติบโตอยู่ในเมืองมักจะมีสัญชาติญาณผจญภัยน้อยกว่ารุ่นบรรพบุรุษ และขาดการ
ดูแลตนเองต่อการเผชิญทุกสภาพการณ์ มันอาจจะโง่เกินไปที่จะกล่าวว่า หากได้รับการฝึกที่เหมาะสม ทหารจะ
ไม่ได้รับอันตรายอันใดเลย หากสูญหายไปในป่าของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในทางกลับกันเขาจะมีอันตราย
มากกว่าหากตกอยู่ในพื้นที่ทุรกันดารภายในประเทศตนความแตกต่างจะมีเพียงว่า หากเขาสูญหายไปในประเทศ
ตนเอง จะมีความตื่นตระหนกน้อยกว่าที่สูญหายในต่างประเทศ

อันตรายในป่า
ผลกระทบจากภูมิอากาศ
สภาพอากาศเขตร้อนที่ไม่สะดวกสบายมักจะถูกกล่าวเกินความจริง แต่ความจริงคือ อากาศจะร้อนตลอดเวลา
ในพื้นที่ที่มีความชื้นผลกระทบต่ออากาศร้อนจะเลวร้ายกว่าอากาศแห้ง คนที่มีประสบการณ์การรบในป่าจะรู้สึกว่า
ความอึดอัดของอากาศร้อนในเมืองจะเลวร้ายกว่าสภาพอากาศร้อนในป่า

ความประหลาดก็คืออากาศหนาวในเขตร้อนจะรู้สึกทรมานมากกว่าอากาศร้อน ทั้งที่อุณหภูมิต่ามากไม่เคยปรากฏ
แต่ความหนาวเย็นทั้งกลางวันและกลางคืนเป็นเรื่องธรรมดา ป่าบางพื้นที่ในฤดูหนาวตอนกลางคืนจะหนาวจน
ต้องนอนคลุมผ้าห่ม

ฤดูฝนในหลายพื้นที่ของเขตร้อน จะมีปริมาณฝนตกมากกว่าปริมาณฝนตกทั้งหมดในเขตอบอุ่น

ภายหลังฝนตกในเขตร้อนมักจะมีท้องฟ้าโปร่งใสและการพยากรณ์ฝนตกจะมีความแน่นอนยกเว้นในพื้นที่ที่มี
ฝนตกตลอดเวลาในฤดูฝนและจะมีไม่กี่วันที่ท้องฟ้ามืดครึ้มโดยไม่มีแสงอาทิตย์

ประชาชนที่อาศัยในเขตร้อนมักจะวางแผนทากิจกรรมภายในบ้านระหว่างฝนตกหรืออากาศร้อนหลังจากมี
ความคุ้นเคยชาวบ้านในเขตร้อนจะชอบสภาพอากาศที่คงที่มากกว่าอากาศที่เปลี่ยนแปลงบ่อยในเขตหนา

แมลง
ยุงที่เป็นพาหะนาเชื้อมาเลเรียอาจจะเป็นแมลงที่อันตรายที่สุดในเขตร้อน ทหารอาจติดเชื้อได้หากไม่ระมัดระวัง
การป้องกันมาเลเรียจะรวมถึง

• กินยาแดปโซนและคลอโรควินพรีมาควิน
• ใช้ยาทากันแมลง
• สวมเสื้อผ้าปกปิดร่างกายทุกส่วน
• ใช้ตาข่ายหรือมุ้งครอบตัวเมื่อมีโอกาส
• หลีกเลี่ยงพื้นที่มาเลเรียชุกชุมหากเป็นไปได้
• ยุงมักจะปรากฏตอนหัวค่าและรุ่งสาง ทหารต้องระมัดระวังในห้วงเวลาดังกล่าว เชื้อมาเลเรีย
• จะปรากฏในพื้นที่ชุกชุนมากกว่าในป่าที่ไม่มีมนุษย์อาศัย ดังนั้นทหารต้องระมัดระวังเมื่อปฏิบัติ
• การรอบหมู่บ้าน ยาทากันยุงอาจจะช่วยให้หายจากอาการคัน ตัวต่อและผึ้งจะมีอยู่แทบทุกที แต่มันจะต่อยเมื่อ
รัง ถูกรบกวน เมื่อมีการกระทบกระแทกรังผึ้งหรือรังต่อ ทหารต้องรีบกระจายออกจากพื้นที่แล้ว รวมพลใหม่ ณ.
จุดนัดพบครั้งสุดท้ายในกรณีโดนต่อย ยาทาสามารถช่วยได้ บางพื้นที่จะมีแมลงหวี่ ซึ่งมักจะมาตอมส่วนของ
ร่างกายที่อยู่นอกเสื้อผ้า ระหว่างอากาศร้อนโดยเฉพาะบริเวณที่มีเหงื่อ ซึ่งจะก่อความราคาญแต่จะหยุดรบกวน
เมื่อเหงื่อแห้ง ตะขาบยักษ์และแมลงป่อง เมื่อถูกต่อยจะทา ให้ เจ็บปวดแต่ไม่ถึงตาย ตะขาบและแมลงป่องชอบ
อยู่ในที่มืดดังนั้นจะต้องเขย่าผ้าห่ม ก่อนเขา้นอนตอน กลางคืน และเพื่อให้แน่ใจก่อนแต่งกายว่าจะไม่มีตะขาบและ
แมลงป่องอาศัยอยู่ แมลงมุมมักจะพบเสมอ ในป่า หากถูกกัดจะมีความเจ็บปวดที่ไม่มาก มดจะเป็นอันตรายต่อ
ผู้บาดเจ็บที่นอนอยู่บนพื้นและไม่ สามารถขยับตัวได้ทหารที่บาดเจ็บควรจะวางไว้ในบริเวณที่ไม่มีมด

เห็บ
มักจะเห็นอยู่ทั่วไปตามป่า โดยเฉพาะพื้นที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และคาบสมุทรมาเลย์ โดยมากมักอาศัยอยู่
ตามพื้นที่หล่มลาห้วย และป่าชุ่มชื้นเห็บไม่มีพิษแต่รอยกัดจะลามเป็นแผลติดเชื้อหากไม่รักษาอย่างเหมาะสม รอย
กัดขนาดเล็กอาจติดเชื้อกลายเป็นแผลเป็นทหารที่ปฏิบัติการในป่าควรหมั่นตรวจหาเห็บตามร่างกาย
และขจัดมันออกไปก่อนที่มันจะกัดหากถูกเห็บกัดอย่ารีบดึงออกเพราะมนั อาจฝังเขี้ยวไว้ภายในผิวหนัง เห็บจะ
คลายตัวออกหากเราแตะด้วยยาขับแมลง ยาเส้นชุบน้า ก้นบุหรี่ที่ติดไฟ ถ่านติดไฟ หรือหยดด้วย แอลกอฮอล ์
๒ - ๓ หยดใช้ผ้าคาดส่วนปลายขากางเกงป้องกันเห็บมิให้ไต่เข้าไปในซอกรองเท้าบูต ปลายขากางเกงควรจะหยด
ใส่เข้าไปใน รองเทา้บูทให้มดิ ชิด

งู
ทหารในป่าอาจจะเห็นงูบ่อย ๆ งูมักจะพยายามหนีมนุษย์หากไม่ถูกจู่โจม งูมักจะกัด หากทหารก้าวเหยียบงูโดย
บังเอิญ หรือรบกวน มนั ในโอกาสที่ทหารเดินเทา้ไปตามเส้นทางหรือลาน้าจะต้องใช้ความระมัดระวัง
เพื่อป้องกันงูกัด
ข้อควรระวงั#หากถูกงูกัดต้องให้การรักษาแบบถูกงูพิษกัดทั้งสิ้น

จระเข้
จระเข้เป็นสัตว์เลื้อยคลานกินเนื้อที่อาศัยในเขตร้อน มักอาศัยตามแม่น้าและบึง ป่าในเอเชีย มักจะมีจระเข้
อาศัยอยู่แต่จะมีจระเข้จานวน น้อยที่ถูกยืนยันว่าโจมตีมนุษย์ก่อน หากไม่ไปรบกวนมัน

สัตว์ป่า
สัตว์ป่ามักจะพยายามหนีมนุษย์ ยกเว้นเมื่อเผชิญหน้ากระชั้นชิดในทันทีทันใด โดยเฉพาะสัตว์เพศเมียที่มีลูก
อ่อนจะอันตรายมาก ป่าใน เกาะสุมาตรา บาหลี บอร์เนียว เอเชียตะวันออกเฉลียงใต้และพม่า จะมีเสือ
เสือดาว ช้างและควายป่า ปกติแล้วสัตว์เหล่านี้จะไม่ โจมตีมนุษย์หากไม่ถูกรังควานหรือบาดเจ็บ
ต้นไม้มีพิษ
มีต้นไม้และเถาวัลย์มีพิษหลายชนิดในป่า ทหารต้องเรียนรู้และจดจาให้ได้ เพื่อจะได้ไม่ไปสัมผัสแตะต้องมัน
พืชมีพิษสามารถ หลีกเลี่ยงได้โดยการเอาแขนเสื้อลงปกปิดร่างกายและสวมถุงมือเมื่อเข้าปฏิบัติการ

สุขภาพและอนามัย
ด้วยภูมิอากาศในเขตร้อนและการขาดแคลนเครื่องสุขภัณฑ์จะเพิ่มโอกาสให้ทหารติดเชื้อ การต่อสู้เชื้อโรคต้อง
อาศยัการมีอนามัยที่ดี และเวชกรรมป้องกัน สงครามในอดีต เชื้อโรคได้รับการบันทึกว่าเป็นตัวก่อให้เกิดการ
บาดเจ็บล้มตายในเปอร์เซนต์สูง

ก่อนเข้าไปในป่า ผู้น้าต้อง
ให้เวลากาลังพลปรับสภาพความคุ้นเคย
อย่าจากัดจานวนน้าดื่มของทหาร (เป็นสิ่งสาคัญมากที่จะทดแทนของเหลวในร่างกายที่สูญเสียไปทางเหงื่อ)
แนะนาทหารถึงแหล่งแพร่เชื้อโรค แมลงพาหะมาเลเรีย,ไขเ้หลือง,โรคไทฟอยด์,บิดและตับอักเสบ เกิดจากสาเหตุ
อาหารสกปรกและ น้าดื่มมีเชื้อโรค
เชื้อโรคในน้า
น้าเป็นสิ่งสาคัญในป่าและพบได้ง่าย อย่างไรก็ดี น้าจากแหล่งธรรมชาติควรจะถูกพิจารณาว่าเป็นน้าติดเชื้อหรือ
มีพิษ ทหารจะต้องถูก แนะนาถึงวิธีการทาน้าให้บริสุทธิ์ การติดเชื้อโรคร้ายแรงเช่น บิด มักจะพบในน้าที่
ไม่บริสุทธิ์ เชื้อโรคในน้าชนิดอื่น เช่น ฝี,แผลเปื่อยเน่า มักเกิดจากสาเหตุที่บาดแผลถูกน้าที่ไม่สะอาด
ทหารสามารถป้องกันอันตรายจากเชื้อโรคในน้าโดย
ดื่มน้าจากแหล่งจ่ายน้าของทหารช่าง
ใช้น้าฝน อย่างไรก็ตาม ควรจะกักน้าฝนไว้หลังจากที่ฝนตก 15 – 30 นาที ซึ่งความไม่บริสุทธิ์ของน้าจะถูก
ชะล้างออกจากใบไม้ก่อนที่จะบรรจุ ในภาชนะเก็บเพื่อให้แน่ใจว่าน้าบริสุทธิ์
ประกันว่าน้าที่ดื่มมีความบริสุทธิ์
อย่าใช้น้าที่ไม่ผ่านการกรอง
ใช้เสื้อผ้าปกคลุมร่างกายทุกส่วน เมื่อข้ามลาน้า
โรคเชื้อรา
เชื้อโรคมีสาเหตุมาจากการไม่รักษาสุขภาพของบุคคล สภาพแวดล้อมในป่าจะอานวยต่อการแพร่เชื้อแบคทีเรีย
และฟังก์ไจต่อผิวหนัง แบคทีเรีย และฟังก์ไจเป็นพืชขนาดเล็กมากและเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
ภายใต้สภาพร้อนชื้นในป่า ผิวหนังที่ชุ่มเหงื่อจะล่อแหลมต่อการติดเชื้อ โรค ผิวหนังต่อไปนี้เกิดจากสาเหตุ
ที่ผิวหนังเปียกชื้นเป็นเวลานาน

โรคน้ากัดเท้าเชื้อโรคจะอยู่ตามหุบเขา ร่องห้วย หรือลาคลองที่ทหารลุยข้ามและเดินบนพื้นแข็งสลับไปมา


ฝ่าเท้าจะเปลี่ยนเป็นสีขาวเกิดรอย ย่นบนผิวฝ่าเท้า การเดินจะก่อให้เกิดความเจ็บปวดที่ฝ่าเท้า แผลเสียดสีที่ง่าม
ขาหนีบ มักจะเกิดขึ้นเมื่อทหารต้องลุยน้าในระดับเอว ซึ่งกางเกง จะเปียกชื้นเป็นชั่วโมง พื้นที่ง่ามขาหนีบจะเป็น
สีแดงและแสบ เมื่อถูกสัมผัสเพียงเบาเบา

โรคผิวหนังทั้งหมดจะรักษาได้โดยทาให้ผิวหนังแห้ง

เพือ่ ป้องกันโรคเชื้อราทหารควรจะ

อาบน้าบ่อยบ่อย ตากร่างกายให้แห้งโดยลมเป่าหรือตากแดดให้บ่อยครั้งเมื่อมีโอกาส

สวมเสื้อผ้าที่แห้ง สะอาด และหลวมพอเหมาะ

อย่านอนขณะสวมชุดที่เปียกชื้นสกปรก ทหารควรมีเสื้อผ้าส ารองที่แห้ง 1 ชุดเพื่อใส่นอน เสื้อผ้าสกปรกถึงแม้ยัง


เปียกชื้นก็ ควรจะสวมอีกครั้งในตอนเช้า การปฏิบัติเช่นนี้ไม่เพียงแต่จะป้องกันเชื้อราแบคทีเรียและโรคน้า
กัดเท้า แต่จะป้องกัน ความหนาวเย็น และทาให้ทหารมีโอกาสพักผ่อนดีกว่า

• อย่าสวมชุดชั้นในระหว่างฝนตกชุดชั้นในจะแห้งช้ากว่าชุดฝึก และเป็นสาเหตุให้เกิดแผลรอยเสียดสีที่ขาหนีบ
• ถอดรองเทา้และนวดเทา้เสมอเมื่อมีโอกาส
• ใช้ผงโรยเท้า โรยเท้า ถุงเทา้ในทุกโอกาส
• นาถุงเท้าไปหลายคู่และเปลี่ยนอยู่เสมอ
• ตัดผมให้สั้นตลอดเวลา

การบาดเจ็บจากความร้อน
ผลจากอุณหภูมิสูง มีความชื้นมากขาดการไหลเวียนของอากาศและความเหนื่อยล้าของร่างกาย ทหารต้องได้รับ
การฝึกเพื่อ ป้องกันอันตรายจากความร้อน
การบาดเจ็บจากความร้อนป้องกันได้โดย
ดืม่ น้ามาก ๆ
เติมเกลือเพิ่มเติมลงไปในอาหารและน้าเคลื่อนที่ให้ช้าลง

ชนพื้นเมือง
• เช่นเดียวกับทุกภูมิภาคในโลก ป่ามักมีชนเผ่าพื้นเมืองอาศัยอยู่ ทหารควรจะรับทราบว่าชนพื้นเมืองเหล่านั้น
จะกลับกลายเป็นศัตรูได้ หากได้รับการปฏิบัติที่ไม่เหมาะสม
• เพื่อป้องกันความขัดแย้ง ผู้นาควรจะให้ทหารปฏิบัติ
• นับถือในความเป็นส่วนตัวและทรัพย์สินของชนพื้นเมือง
• สงัเกตในประเพณีวัฒนธรรมและข้อห้าม
• อย่าเข้าไปในบ้านชนกลุ่มน้อยโดยมิได้รับเชิญ
• อย่าเด็ดผลไม้หรือตัดต้นไม้ โดยมิได้รับอนุญาตจากเจ้าของ
• ปฏิบัติต่อชนพื้นเมืองเหมือนเพื่อน

แง่คิดทางทหาร(OCOKA) ๓๐นาที
๑.การตรวจการณ์ และพื้นที่การยิง (Observationand Filed of Fire)
• ๑.๑ การตรวจการณ์ ในป่าย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะพฤกษชาติยอดไม้ของป่าฝนชุกในแถบร้อน
ซึ่งประกอบด้วยต้นไม้ที่มีอายุมากนั้น หนามากจนบังแสงแดดและลดการตรวจการณ์ทางพื้นดินให้เหลือเพียง
ประมาณ ๒๐ – ๓๐ เมตรเท่านั้น ในป่าผลัดใบแถบร้อน ป่าเกิดใหม่ขึ้น พันกันระเกะระกะจะจากัดการ
ตรวจการณ์ทางพื้นดินให้เหลือเพียง ๕ เมตร
• ข.ยอดของสันเขา และเนิน ช่วยให้ทาการตรวจการณ์ดีขึ้นเล็กน้อย
• ๑.๒ พืน้ ที่การยิง • ก.ในป่าที่มีพฤกษาชาติขึ้นหนาย่อมีพื้นยิงเลว เพราะพื้นยิง (รวมถึงย่านกระสุนกวาดของอาวุธ
กล) ถูกจากัดให้เหลือ ๕ – ๓๐ เมตร
• ข.ยอดไม้ที่หนาทึบของป่า เป็นเครื่องสกัดสะเก็ดระเบิดได้ดีที่สุด
• ๒.การกาบังและการซ่อนพราง (Coverand Concealment)
• การกาบัง • ต้นไม้ในป่าส่วนมากมักไม่แผ่กิ่งก้านออกเป็นบริเวณกว้าง ในป่าที่มีต้นไม้ขนาดใหญ่ขึ้นอยู่ต้นไม้
แต่ละต้นมักขึ้นห่างกัน เครื่องกาบังที่ดีในป่า
คือ บริเวณที่ผิวพื้นไม่สม่าเสมอ เช่น ห้วยลึก ทางน้าไหล และก้อนหินขนาดใหญ่

การซ่อนพราง • พื้นที่ในป่าให้การซ่อนพรางจากการตรวจการณ์ทางอากาศและทางพื้นดินได้ดียิ่ง การใช้เทคนิค


การพรางที่ถูกวิธี การซ่อนพราง หน่วยทหารและอุปกรณ์ต่างๆ ให้รอดพ้นจากการตรวจจับด้วยเครื่องมือตรวจทุก
ชนิด ย่อมกระทาได้ในป่าทุกแบบ
• เครื่องกีดขวาง(Obstacles)
• ปกติป่าเป็นเครื่องกีดขวางอยู่แล้ว สิ่งที่กีดขวางการเคลื่อนย้าย ได้แก่ วัชพืชที่รกทึบความลึก ทางน้าไหลที่ถูก
น้าเซาะ เขาและหน้าผาที่ สูงชัน แม่น้าที่กว้างและลึก และลาธารที่น้าไหลแรงจนข้ามไม่ได้ การนาเครื่องกีดขวาง
ที่สร้างขึ้นมาใช้ประกอบกับสภาพป่าซึ่งเป็น เครื่องกีดขวางตามธรรมชาติทาได้ง่ายมาก
• ลักษณะภูมิประเทศที่สาคัญ (Key Terrain)
• ลักษณะภูมิประเทศที่สาคัญในป่าประกอบด้วย ถนน เส้นทาง แม่น้าที่เรือผ่านได้ พื้นที่สูง และภูมิประเทศอื่นๆที่
ช่วยให้กระทาการ เคลื่อนย้ายการส่งกาลังเพิ่มเติม และการส่งกลับโดยเร็ว
• แนวทางการเคลื่อนที่ (AvanuesOFApproach)
• การเคลื่อนที่ผ่านป่านั้นช้าและลาบากมาก หน่วยทหารอาจต้องตัดไม้เล็กๆที่ ขึ้นทึบและขวางทางเดินตลอดเวลา
หรือต้องเดินอ้อม บริเวณที่เป็นเลน ตม ซึ่งไม่สามารถเดินผ่านได้ส่วนมากการเดินตามเส้นทางต้องเดินเป็นขบวน
ด้วยความเร็วไม่เกิน ๑.๕ กม./ชม. การ เดินทางตามแนวสันเขาสะดวกกว่าเดินตามหุบเขาซึ่งต้องข้าม
ลาธารและลาห้วยที่มีอยู่มาก แต่ต้นไม้ที่ขึ้นบนแนวสันเขามักมีรากไม่ แข็งแรง และเนื่องจากบริเวณผิวพื้นมีการ
ระบายนาได้ดี
• การเลือกเส้นทางเคลื่อนที่ต้องขึ้นอยู่กับรายละเอียดในการลาดตระเวนพื้นที่ปฏิบัติการ การเลือกเส้นทางดังกล่าว
นายทหารฝ่ายการ ข่าวกรองต้องพิจารณาว่าไม่มีสิ่งใดมาขัดขวางการเคลื่อนที่ขอฝ่ายเรา
รูป OCOKA

การปฏิบัติการรบในป่า
• ในการรบในป่านั้นต้องนาเอาหลักการรบมาตรฐานและที่ใช้กันอยู่ทั่วไปในปัจจุบันนี้มา ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม
กับสภาพแวดล้อมที่เป็นป่าโดยเปลี่ยนแปลงแก้ไขหลักการต่างๆ เฉพาะเท่าที่มีความจาเป็นจะต้องให้กับสภาพป่า
เท่านั้น การปฏิบัติการรบในป่าเป็นการ ปฏิบัตกิ ารที่มีลกัษณะพิเศษคือ ทา การดา เนินกลยุทธได้อย่างจากัด การ
ปฏิบัติการต่างๆที่ มีทัศนวิสัยเลวมาก และมีความยากลา บากในเรื่องการจดัการสนับสนุนด้านการส่งกาลัง
บารุง ในพื้นที่ภูมิประเทศที่เป็นป่านั้นโดยทั่วไปแล้วมักจะมีความจา เป็นต้องใช้การ ปฏิบัติการรบพิเศษต่างๆ
เช่น การลาดตระเวน การปฏิบัติการต่างๆ ที่ออกไปจากฐาน ปฏิบัติการข้างหน้า การซุ่มโจมตี และการรบประชิด
ในรูปแบบอื่นๆ เป็นต้น

ปัจจัยที่มีผลกระทบกระเทอืนต่อการปฏิบัติการรบในป่า
ปัจจัยที่มีผลกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติการรบในป่า
METT-T
• ๑.ภารกิจ (MISSION) เนื่องจากการปฏิบัติการรบในป่านั้นมีความยากลาบากในเรื่องการบังคับบัญชา การ
ควบคุม และการ ติดต่อสื่อสาร การปฏิบัติการรบในป่าจึงมีความจาเป็นต้องมีการวางแผน (Plan) แบบรวมการ
และปฏิบัตกิ ารแบบแยกการ ผบช. ทุกระดับชั้นจะต้องใช้คาสั่งแบบบ่งภารกิจในลักษณะที่ให้หน่วยรองมีเสรี
ในการปฏิบัติอย่างสูงสุดและที่สาคัญที่สุดก็คือ ต้อง ให้เจ้าหน้าที่ทุกคนมีความเข้าใจในภารกิจนั้นเป็นอย่างดี
• ๒.ข้าศึก (ENERMY) ผบช.ย่อมจะมีความต้องการทราบข่าวสารเกี่ยวกับ S-A-L-U-T-E ของขา้ศึก เช่น ขนาด (S)
,การปฏิบัตกิ าร ต่างๆ (A) ,ที่ตั้ง (L) ,หน่วย/กองกาลัง (U) ,เวลา (T) เป็นต้นได้อย่างถูกต้องและทันเวลาเพื่อให้ตน
สามารถทาการประมาณขีด ความสามารถและวิเคราะห์จุดอ่อนของข้าศึกได้อย่างต่อเนื่อง
• ๓.ภูมิประเทศและลมฟ้าอากาศ (Terrain and Weather)
• ๓.๑.ภูมิประเทศ (Terrain) • ปัจจัยในการเลือกภูมิประเทศ/แง่คิดทางทหาร (OCOKA)
• ๓.๑.๑.การตรวจการณ์และพื้นที่การยิง (O)
• ในป่าทึบย่อมจะมีต้นไม้เตี้ยๆซึ่งขึ้นใต้ต้นไม้ใหญ่เป็นเครื่องจากัดการตรวจการณ์และพื้นที่การยิง
• ๓.๑.๒.การกาบังและการซ่อนพราง
(C) • ใบไม้ที่หนาแน่นจะให้การซ่อนพรางจากการตรวจการณ์ทางพื้นดินได้เป็นอย่างดี(รูปภาพ)
• ๓.๑.๓.เครื่องกีดขวาง (O)
• ภายในภูมิประเทศที่เป็นป่าแบบต่างๆ มักจะมีเครื่องกีดขวางตามธรรมชาติอยู่มากมาย เช่น ต้นไม้ล้ม ,เถาวัลย์
และรากไม้
• ๓.๑.๔.ภูมิประเทศที่สาคัญ (K)
• ภูมิประเทศสาคัญในพื้นที่ภูมิประเทศที่เป็นป่านั้นได้แก่ ทางเดิน ถนน สะพาน ลา ธาร แต่อย่างไรก็ตามที่สูงก็
ยังคงมีฐานะให้ เลือกเป็นภูมิประเทศที่สาคัญอยู่ แต่จะมีเหตุผลการใช้ที่เปลี่ยนแปลงไปตามที่ ผบช.ตัดสินใจ
• ๓.๑.๔.แนวทางการเคลื่อนที่ (A)
• เส้นทางที่เหมาะสมต่างๆ ถ้าจะหาให้มีลักษณะต่างๆครบถ้วนทั้งในเรื่อง O –C –O –K –A ที่ดีที่สุดนั้น(ไม่มี)จึงจา
เป็นต้องยอมเลือกใช้เส้นทางที่มีลักษณะไม่ครบถ้วนสมบูรณ์บ้าง เพราะว่าป่าย่อมมีเส้นทางต่างๆให้เลือกใช้ได้
อย่างจากัด
• ๒.ลมฟ้าอากาศ(Weather)
• ๒.๑.โดยทั่วไปแล้วในพื้นที่ภูมิประเทศที่เป็นป่าย่อมจะเชื่อถือการพยากรณ์ลมฟ้าอากาศได้เพราะว่าจะมีฤดูกาล
หลักๆอยู่เพียง ๒ ฤดูกาล เช่น ฤดูฝน และฤดูแล้ง
• ๒.๒.ในระหว่างฤดูฝนอาจจะมีทัศนวิสัยจากัดมากเพราะไม่เพียงแต่จะเป็นฝนกาลังตกเท่านั้น หมอกลงอย่าง
หนาแน่นจึงเป็นอุปสรรคใน การปฏิบัติภารกิจต่างๆ
• ๒.๓.การไม่มีลมพัดเป็นผลดีต่อการใช้ควัน เช่นการรับ –ส่ง อากาศยาน หรือการรับ สป.ต่างๆ
• ๒.๔.ในพื้นที่ภูมปิ ระเทศที่เป็นป่าเขานั้นในบางครั้งอุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลง แต่ในพื้นที่ป่าอื่นๆอาจมีการ
เปลี่ยนแปลงน้อย
• ๒.๕.ขีดความสามารถในการจราจรย่อมจะแตกต่างออกไปตามที่ตั้งของภูมิประเทศที่เป็นป่านั้น

๓.กาลังที่มีอยู่ (Troop)
• ๓.๑.ย่อมไม่มีแผนการใดที่จะทาได้ตรงกับข้อเท็จจริงเสมอไป หรือไม่มีการปฏิบัติการใดที่ปฏิบัติลงไป
โดยไม่มีการพิจารณาถึงขีดความสามารถของกาลังรบที่มีอยู่เสียก่อน
๒.ขีดความสามารถของหน่วยกาลังรบหนึ่งๆ นั้นย่อมขึ้นอยู่กับ
• ๒.๑ จานวนของหน่วยต่างๆ
• ๒.๒ แบบของหน่วยต่างๆ
• ๒.๓ สภาพการฝึก
• ๒.๔ ขวัญ
• ๒.๕ กาลังคนและยุทโธปกรณ์
• ๒.๖ การปฏิบัติงานในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต
• ๒.๗ ที่ตั้งและการวางกาลัง
• ๒.๘ สภาพของการ ซบร.และการส่งกาลัง
• ๒.๙ ความพอเพียงของการสนับสนุนการรบและการสนับสนุนการช่วยรบ
• ๒.๑๐ ความชานิชานาญของ ผบช.ทุกระดับชั้น

ขีดจากัดทางด้านยุทธการ
• ในการรบในป่านั้นหน่วยกาลังรบต่างๆ อาจมีความจาเป็นต้องทาการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วจากป่าเก่าแก่ผ่านเข้า
ไปในป่าที่เกิดใหม่ ไปจนถึงพื้นที่ที่มีการเพาะปลูกก็ได้ดังนั้นจึงจาเป็นต้องมีความอ่อนตัวให้มากในเรื่องการใช้
ความคิด การวางแผน การจัดก าลัง การใช้ ยุทโธปกรณ์และยุทธวิธี ในบางครั้งอาจมีความจาเป็นต้องใช้การ
ควบคุมบังคับบัญชาแบบแยกการโดยกาหนดให้หน่วยเข้าประจาที่ตั้ง ณ ตาบลที่ควบคุมได้โดยง่าย ในบางโอกาส
ผู้นาหน่วยทหารขนาดเล็กต่างๆ อาจจะต้องปฏิบัติการโดยใช้ความริเริ่มของตนเองเป็น เวลานานๆ หน่วยต่างๆ
จะต้องระลึกอยู่เสมอว่าข้าศึกอาจจะเข้าใจโจมตีทั้งทางอากาศและทางพื้นดินอย่างฉับพลันเมื่อไรก็ได้ หน่วยที่ เข้า
ทาการสู้รบในป่ามักจะต้องปฏิบัติการโดยใช้สรรพกาลังที่มีอยู่ในหน่วยของตนมากกว่าในการปฏิบัติในพื้นที่ภูมิ
ประเทศแบบอื่น จึงต้องได้รับการจัดกาลังให้มีความสมดุลย์ให้มากพอที่จะสามารถพัฒนาหน่วยของตนให้มีความ
คล่องตัวและอานาจการยิงอยู่ในระดับ ที่มีประสิทธิภาพได้ตลอดเวลาโดยไม่ต้องรับการสนับสนุนจากหน่วยเหนือ
การที่หน่วยจะมีขีดความสามารถดังกล่าวนี้ได้นั้นส่วน ใหญ่แล้วย่อมขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ในเรื่องการติดต่อสื่อสาร
การซ่อมบารุง และวินัย ป่าย่อมจะท าให้เกิดมีขีดจากัดในแนวทางการ ปฏิบัติการรบในเรื่องต่อไปนี้ คือ

ก.หน่วยกาลังรบต่างๆ จะต้องทาการเคลื่อนที่ไปคนละเส้นทาง
• ข.สามารถจะนาเอายุทโธปกรณ์หนักและอาวุธสนับสนุนต่างๆไปใช้ได้น้อยมาก
• ค.การควบคุมกระทาได้อย่างยากลาบากและจะต้องกระทาแบกแยกการ
• ง.ในขณะที่เคลื่อนที่จะต้องใช้กว้างด้านแคบและระยะเคียงน้อย
• จ.ในการเข้าตีต้องมอบหมายที่หมายจากัดไว้หลายๆ แห่ง
• ฉ.การรักษาทิศทางเคลื่อนที่กระทา ได้ด้วยความยากลา บาก
• ช.มาตรการเกี่ยวกับการรักษาความเงียบและการรักษาความปลอดภัยจะมีความสาคัญเพิ่มมากขึ้น

การเตรียมการเพื่อทาการรบ
• ในการรบในป่านั้นหน่วยต่างๆทุกหน่วยลงไปจนถึงชุดยิงต่างๆควรจะได้มีการ จัดทาระเบียบปฏิบัติประจาไว้
อย่างละเอียดและมีการซักซ้อมการฝึกทาการรบ ด้วยในระเบียบปฏิบัติประจาที่กล่าวนี้อาจประกอบด้วยเรื่องต่างๆ
ดังต่อไปนี้คือ การจัดกาลังเพื่อทาการรบ ระเบียบการส่งกาลัง การจัดทาที่พักแรมและที่พักกาบัง อัตราความเร็ว
ในการเดิน และการใช้รูปขบวนต่างๆ สาหรับการฝึกทาการรบนั้น ควรจะกระทา เฉพาะการปฏิบัติที่จะต้องนา ไป
ใช้ในเหตุการณ์ที่มีการปะทะกับ ข้าศึกอย่างฉับพลัน การเข้าประจาฐานลาดตระเวน การเข้าประจาที่มั่นตั้งรับ
และ การใช้การติดต่อสื่อสารแบบไม่ใช้เสียง
ขัน้ การนาหน่วย ประมาณสถานการณ์ ปัจจัย (METT-T)
๑.รับภารกิจ *วิเคราะห์ภารกิจ *ภารกิจ MISSION
๒.ออกคาสั่งเตือน *วิเคราะห์สถานการณ์ *ขา้ศึก ENEMY
๓.ทาแผนขั้นต้น *พัฒนาหนทางการปฏิบ้ัติ *ภูมิประเทศ TERRAIN
๔.การเคลื่อนย้าย *วิเคราะห์หนทางปฏิบัติ (OCOKA)
๕.การลาดตระเวน *เปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ *กาลังพล TROOPS
๖.ทา แผนสมบูรณ์ *ตกลงใจ *เวลา TIME
๗.ออกคาสั่งปฏิบัติการ
๘.กากับดูแล

ลว.ปฏิบัติตามแผนขั้นต้น ข่าวสารที่ได้มาน ามาท าแผนให้รัดกุมสอดคล้องกับปัจจัย METT-T และการประมาณ


สถานการณ์ ซึ่งอาจเป็นเหตุให้มีการเปลี่ยนแปลง/ภารกิจ

การปฏิบัติการรบในลักษณะอื่น
• การลาดตระเวน
• กล่าวทั่วไป ในการรบทุกแบบนั้นถือว่าการลาดตระเวนมีความสาคัญแต่อย่างไรก็ตามการลาดตระเวนจะมี
ความสาคัญมาก ขึ้นในสภาพภูมิประเทศที่เป็นป่าโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เป็นการต่อต้านกาลังรบแบบกองโจรเทคนิค
ของการลาดตระเวนในป่า ก็คงไม่มีหลักการใดๆ แตกต่างกันออกไปจากเทคนิคการลาดตระเวนตามธรรมดาแต่
เนื่องจากในป่ามีลักษณะภูมิประเทศ ,วัชพืช และยุทธวิธีที่กองโจรในป่าใช้ แตกต่างกันกับในพื้นธรรมดาอยู่บ้าง จึง
เป็นการสมควรที่จะต้องมีการดัดแปลงแก้ไข เทคนิค และวิธีการลาดตระเวนให้แตกต่างกับหลักฐานบ้าง
• แบบและภารกิจ หน่วยลาดตระเวนมีอยู่ ๒ ชนิด คือ หน่วยลาดตระเวนหาข่าวและหน่วยลาดตระเวนรบ
โดยทั่วไปแล้วชื่อ ของหน่วยลาดตระเวน โดยทั่วไปแล้วชื่อของหน่วยลาดตระเวนก็ย่อมจะเป็นที่บ่งให้ทราบถึง
ภารกิจดีอยู่แล้ว หน่วย ลาดตระเวนต่างๆนั้นถือว่าเป็นแหล่งข่าวสาร ซึ่งมีหน้าที่รายงานข่าวสารทั้งปวงเกี่ยวกับภูมิ
ประเทศและขา้ศึกที่ได้พบเห็น สาหรับหน่วยลาดตระเวนรบนั้นมักจะถือว่าเป็นแหล่งข่าวสารที่ดีและควรซักถาม
หน่วยลาดตระเวนอย่างละเอียดในทุกครั้ง ที่กลับมา จากการปฏิบัติภารกิจด้วยเรื่องราวเกี่ยวกับที่มั่นของข้าศึก ,
เส้นทาง ,เครื่องกีดขวาง ,ลักษณะภูมิประเทศหรือ เหตุการณ์ที่สาคัญๆ และที่ผิดปกติอื่นๆ ในป่านั้นย่อมจะไม่
สามารถปฏิบัติภารกิจข่าวกรองได้อย่างละเอียดเพราะว่าการได้รับ ข่าวสารที่ถูกต้องจากแหล่งข่าวอื่นๆกระทาได้
ด้วยความยากลาบาก

๑.หน่วยลาดตระเวนหาข่าว ตามปกติแล้วหน่วยลาดตระเวนหาข่าวในป่าไม่ควรจะมีกาลังมาก เกินกว่า ๖ นาย


เพราะว่าจะมีความลาบากในการเคลื่อนที่อย่างเงียบๆ ผ่านเข้าไปในป่าทึบ การที่มี กาลังทหารมากกว่านี้อาจจะ
เป็นสาเหตุทาให้เกิดเสียงดังซึ่งจะทาให้ข้าศึกมีโอกาสตรวจค้นได้ ง่ายขึ้นเนื่องจากว่าหน่วยลาดตระเวนหาข่าว
มักจะไม่ค่อยได้ทราบข่าวสารเกี่ยวกับภูมิประเทศ และบางทีทหารทุกนายก็ไม่มีความคุ้นเคยกับพื้นที่ปฏิบัติการ ถ้า
สามารถกระทาได้ก็ควรจะจัด หน่วยลาดตระเวนหาข่าวแยกออกไปจากหน่วยลาดตระเวนรบ เพราะจะทาให้หน่วย
ลาดตระเวน รบได้ประโยชน์เนื่องจากจะทาให้ทหารบางนายเกิดความคุ้นเคยกับภูมิประเทศในบริเวณนั้นได้
•๒.หน่วยลาดตระเวนรบ (ลว.ซุ่มโจมตี ,ลว.ตีโฉบฉวย,การปฏิบัติฉบั พลนั) ในการปฏิบัติการรบ ในป่าอาจจะ
มอบหมายให้หน่วยลาดตระเวนรบปฏิบัติภารกิจเฉพาะได้ดังต่อไปนี้ คือ
• (ก) เข้าตีฐานลาดตระเวนของขา้ศึก
• (ข) ทาลาย จับหรือยึดทหาร ยุทโธปกรณ์ สถานที่ตั้งต่างๆ และพืชไร่ของข้าศึก
• (ค) ไล่ติดตามหน่วยทหารของข้าศึกหลักจากที่หน่วยทหารขนาดใหญ่ทาการเข้าตีแล้ว
• (ง) จัดการระวังป้องกัน
• (จ) ซุ่มโจมตีกาลังส่วนต่างๆ ของข้าศึก
• (ฉ) ข่มหรือขัดขวางพื้นที่เพื่อป้องกันไม่ให้กาลังส่วนต่างๆของข้าศึกติดต่อกับประชาชนพลเรือนได้
• (ช) รวบรวมข่าวสาร
• (ซ) ตรวจค้นพื้นที่ที่กาหนดให้
• (ด) ติดตั้งเครื่องมือเฝ้าตรวจทางพื้นดินแบบที่ไม่ต้องใช้เจ้าหน้าที่เฝ้าเพื่อการเฝ้าตรวจในขั้นต่อไป ในพื้นที่แห่งใด
แห่งหนึ่ง
• ๓.อิทธิพลของภูมิประเทศที่เป็นป่าที่มีต่อการลาดตระเวน สภาพป่าในลักษณะต่างๆย่อมมีผล กระทบกระเทือน
ต่อการปฏิบัติการลาดตระเวน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่างๆ เหล่านี้ ได้แก่ วัชพืช ลักษณะอากาศ ลมฟ้าอากาศ
และสัตว์ป่า ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ย่อมจะเป็นเครื่องจากัดระยะทาง ความเร็ว และขอบเขตของการปฏิบัติการ
ลาดตระเวนอย่างมาก

กองทัพบก คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การรบบนภูเขา MOUNTAIN OPERATION ( รส.๓๑ – ๗๒ )


ยุทธวิธี
• การปฏิบัติการในภูมิประเทศที่เป็นภูเขาก็ใช้หลักการทางยุทธวิธีเดียวกันกับการปฏิบัติการใน ภูมิประเทศอื่นๆ
• ก. ในภูมิประเทศที่เป็นภูเขาสลับซับซ้อน ย่อมจากัดต่อการใช้หน่วยขนาดใหญ่ การกระจาย กาลังกระทาได้ไม่
สะดวกและจากัดหน่วยข้างเคียงมักไม่สามารถให้การช่วยเหลือซึ่งกันและ กันได้ การใช้กาลังอย่างฉับพลัน และ
อาจหาญ โอกาสที่จะลวงข้าศึกกมีมาก
• ข. ชป.ทพ.สามารถป้องกันขัดขวาง รบกวน หรือจากัดการเคลอื่นที่ของกาลังขนาดใหญ่ของ ข้าศึกไว้ได้ เพื่อว่า
เมือ่ ทาการรบขั้นแตกหัก กาลังฝ่ายข้าศึกจะได้กระจัดกระจายยออกไป และ ถูกบีบบังคับให้ทาการรบในสภาพที่ไม่
เกื้อกูล
• ค. ชป.ทพ.ต้องเตรียมให้พร้อมกับการที่จะรบได้บนพื้นที่แคบ และคดเคี้ยวทางเดินบนเส้นทาง ทีล่ าดชันและลื่น
หุบเขา และหน้าผา

• ง.ปกติรถถังก็มีบทบาทในการสนับสนุนการปฏิบัติการรบนภูขา การใช้อาวุธหนัก และปืนใหญ่ สนามจะถูก


จากัดด้วยขนาดและน้าหนัก เนื่องจากมีพื้นที่การยิงที่ยากลาบากในการตรวจการณ์ อันเนื่องจากสภาพอากาศเลว
และภูมิประเทศสลับ ชป.ทพ.จึงมีความสาคัญที่สุดที่จะต้อง รับภาระอันหนักนี้ การรบประชิดเท่านั้นจะประสบชัย
ชนะ ถ้ารบแบบอื่นจะพบกับความพ่ายแพ้
• จ.จุดสาคัญของการรบบนภูเขา คือ ความสูง ที่ตั้งยิงและที่ตรวจการณ์ซึ่งอยู่บนที่สูงและ สามารถครอบคลุมพื้นที่
ข้างล่างได้เกือบทั้งหมด การใช้สันเขาทาการรบจะเป็นการได้เปรียบต่อ ข้าศึกที่อยู่ขา้ งล่าง
• ฉ.ทั้งฝ่ายเราและฝ่ายข้าศึกสามารถคาดหมายการใช้อาวุธนิวเคลียร์ในการปฏิบัติการบนภูเขาได้ การให้หน่วย
ทหารภาคพื้นดิน รีบใช้อาวุธชนิดนี้อย่างทันทีกระทาได้ยาก เพาะภูมิประเทศ สลับซับซ้อน หน่วยที่ทาการเข้าตี
หรทอ ตั้งรับอาจใช้ อานาจการระเบิดทั้งชั้นผิวนี้หรือต่ากว่า ทาลายเส้นทางคมนาคม ที่มีอยู่เพียง ๒ –๓ เส้น
(แต่ไม่คุ้ม)
การเคลอื่นย้ายและการเดิน
เทคนิคการเดิน
• ก.หน่วยทหารที่ได้เรียนรู้ถึงเทคนิคการเดินอย่างแท้จริงในภูมิประเทศที่เป็นภูเขาแล้วย่อมสามารถเดินทางได้ไกล
กว่าพวก ที่ยังไม่ได้รับการฝึกมาก่อนมาก ข้อพิจารณาประการแรกก็คือ ให้ปฏิบัติภารกิจสาเร็จด้วยการออม
กาลังและมีประสิทธิภาพ ในการรบ ทหารแต่ละคนต้องเดินด้วยจังหวะก้าวที่สม่าเสมอ ลดความเร็วตามความชัน
ของลาด นอกจากข้อจากัดทาง ลักษณะภูมิประเทศแล้ว ความเร็วในการเดินยังลดลงเนื่องจากกระแสลม ฝน
ความร้อนที่สูงจัดและหมอกอีกด้วย เมื่อทาการไต่ลาด ต้องรักษาความยาวของก้าวปกติไว้ด้วย เมื่อพบสิ่งกีดขวาง
ก็เดินอ้อมไปและเดินให้เต็มฝ่าเท้า ต้องหลีกเลี่ยงการ เดินด้วยการใช้ปลายเท้าเหยียบลงไป งอเข่าทั้งสองเล็กน้อย
และเหยียบลงไปยังที่ที่เห็นว่ามั่นคงด้วยความระมดัระวังเมื่อ ต้องเดินผ่านลาดชันที่มีพื้นดินอ่อนนุ่นควรใช้เท้า
กระแทกลงไปยังพื้นที่ที่จะเหยียบเสียก่อนและพยายามใช้ระโยชน์จาก ธรรมชาติด้วยการเหยียบบนโขดหินที่
ค่อนข้างแบนราบ ซึ่งเกิดอยู่ตามธรรมชาติเมื่อต้องเดินผ่านลาดชันที่มีพื้นดินแข็ง ควร วางเท้าให้ราบติดกับพื้นให้
ข้อเท้าไปตามลาด อย่าเดินเหยียบไปบนท่อนไม้ เศษไม้หรือก้อนหินเล็กๆ เมื่อเดินขึ้นลาดชัน ความเร็วในการเดิน
อาจเปลี่ยนแปลงไปตั้งแต่ ๔๐ ถึง ๘๕ ก้าว ต่อนาที ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสูงเป็นส่วนใหญ่
• ข .สาหรับในพื้นที่ขรุขระหรือวางเท้ายาก ควรเว้นระยะต่อไปประมาณ ๒ เมตร เพื่อให้สามารถจัดระยะก้าว
ของตนไว้และดารงการเคลื่อนที่ไว้ไม่ให้มีการหยุดชะงักโดยการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วในการเดินของส่วนหน้า
เพื่อเป็นการออมกาลังเมื่อ เดินขึ้นเขาควรเดินในแบบคดเคี้ยวไปมาจะดีกว่าเดินตัดตรงไปยังยอดเขา

หลักการทางยุทธวิธี
• ก.เนื่องจากมีความคล่องตัวมาก มีกาลังของตนเองและมีความอ่อนตัว ชป.รพศ.จึงมีบทบาทสาคัญในการ
ปฏิบัติการบนภูเขามาก หน่วยทหารขนาดเล็ก (นทล.) ต้องมีความสามารถในการปฏิบัตกิ ารรบเมื่อแยกไปจาก
ความควบคุม ทหารแต่ละคนต้องไว้ใจได้และมีความริเริ่ม เมื่อต้องแยกตัวเองออกไปจากหน่วยเหนือ
• ข.ในภูมิประเทศอื่นๆ ชป.รพศ. ใช้อานาจการยิงและการดาเนินกลยุทธอย่างไรก็ดี หลักการเหล่านี้ค่อนข้าง
แตกต่างไปจากการรบบนภูเขา โดยทั่วไปแล้ว ผลการยิงมีน้อยกว่าในภูมิประเทศทั่วๆไป ทั้งนี้เพราะภูมิประเทศ
แถบภูเขาอานวยประโยชน์ในการกาบังตามธรรมชาติ เช่น ก้อนหิน หรือหน้าผา การดาเนินกลยุทธ กระทาได้ไม่
สะดวก เนื่องจากความยากลาบากในการเดินในภูมิประเทศ และหวังพึงอานาจการยิงสนับสนัน จากหน่วย
ข้างเคียงไม่ใคร่ได้ การเคลื่อนที่ก็มักจะกระทาได้ในแบบการแทรกซึมเขา้ไปทีละคน หรือวิ่งโผกัน ไปทีละกลุ่มเป็น
ระยะทางสั้นๆ

ปัจจัยต่างๆ อันเกี่ยวกับการใช้อาวุธ

• ในการใช้อาวุธจะต้องนาปัจจัยต่างๆ ต่อไปนี้มาพิจารณาด้วย
• ก.การยิงข้ามศรีษะและการยิงระยะไกลย่อมใช้ได้มากขึ้น เนื่องจากความแตกต่างในเรื่องความสูงและสามารถ
ตรวจการณ์เห็นได้ดี
• ข.ความลาดของภูมิประเทศย่อมทาให้การกะระยะคลาดเคลื่อนไปมาก ผู้ตรวจการณ์ที่อยู่บนที่สูง มองกะระยะลง
มา ข้างล่างมักจะได้สั้นกว่าความเป็นจริงและเมื่อมองจากที่ตาไปยังที่สูงก็มักจะ กะระยะเกินกว่าระยะจริง
• ค.ความชันของลาดเขา และความไม่สม่าเสมอของภูมิประเทศจะทาให้อานาจการยิงกราดของอาวุธกล
ได้ผลน้อย และ ย่านกระสุนตกก็จากัด
• ง.เนื่องจากมีที่อับกระสุนมาก อาวุธที่มีมุมยิงสูงจึงเพิ่มความสาคัญมากขึ้น รวมทั้งลูกระเบิดขว้างและลูกระเบิดยิง
จาก ปืนเล็ก
• จ.ความยากลาบากในการลาเลียงกระสุนทาให้ผู้บังคับบัญชาต้องกาชับทหารในเรื่องการประหยัดกระสุนมาก
• ฉ.การช่วยเหลือซึ่งกันและกันจากลักษณะภูมิประเทศแห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่งนั้นกระทาได้สะดวก ถ้ามีการ
ตรวจการณ์ดี
ลูกระเบิด
• เครื่องยิงจรวดและลูกระเบิดขว้างใช้้ได้ผลดีเป็นพิเศษในการรบ บนภูเขา ในการรบด้วยวิธีรุกเครื่องยิงจรวดจะ
ช่วยเสริมการยิงโดย การเล็งจาลองไปยังที่มั่นเปิดได้ดีเยี่ยม ทั้งเครื่องยิงจรวดและลูก ระเบิดขว้างยังใช้้ในการรบ
ด้วยวิธีรับได้ผลดีอีกด้วยแต่ในภูมิ ประเทศที่มีก้อนหินอยู่ทั่วไปจะทาให้รัศมีการระเบิดลดลงและ สิ้นเปลืองกระสุน
มาก ทหารจะต้องระวังในการขว้างลูกระเบิด ขว้างขึ้นบนภูเขา ซึ่งลูกระเบิดนั้นอาจกลิ้งกลับลงมาก่อนระเบิด

การไต่เขาทางทหาร
• ความสาคัญ
• การไต่เขาทางทหารนั้นนามาซึ่งวิธีการที่จะนาไปใช้ในภูมิประเทศที่มีภูเขา สลับซับซ้อนในภูมิประเทศเช่นนี้มี
อุปสรรคอยู่ ๓ ประการ คือ ข้าศึกภูเขา และลมฟ้า อากาศอุปสรรคต่างๆ เหล่านี้เราสามารถที่จะขจัดได้ด้วยการใช้
เทคนิคและเจ้าหน้าที่ที่ มีความชานาญในการใช้เครื่องมือเครื่องใช้ในการไต่เขาเป็นพิเศษ
• ประโยชน์
• ทหารที่ได้รับการฝึกในเรื่องการไต่เขาทางทหารมาแล้วอย่างชานาญ ย่อมมี ความสามารถที่จะปฏิบัติภารกิจที่
สาคัญในภูมิประเทศทุรกันดารได้หลายอย่างเช่น เป็นพลนาทางผู้ตรวจการณ์ พลลาดตระเวน ส่วนป้องกันและร่วม
ในส่วนโจมตี

เทคนิคเบื้องต้น
• การเดินบนภูเขา
• การเดินบนภูเขานั้นแบ่งออกเป็น ๔ ประเภทด้วยกัน โดยถือเอาลักษณะของพื้นดินที่จะ เดินเป็นหลักเทคนิค
ต่างๆ เหล่านี้ประกอบด้วยหลักต่างๆ ซึ่งจะต้องปฏิบัตติ าม เพื่อที่จะ ลดกาลังที่จะต้องใช้และเวลาที่เสียไปให้
น้อยลง ซึ่งได้แก่ รักษาให้น้าหนักตัวทิ้งลง ตรงๆ บนเท้าทั้งสองเสมอ และพื้นรองเท้าต้องวางบนพื้นดิน สิ่งเหล่านี้
เราอาจปฏิบัติ ตามได้โดยง่ายด้วยการเดินก้าวสั้นๆและจังหวะช้าๆ สม่าเสมอ ไม่ควรเดินขึ้นเขาที่มีมุม สูงชันมาก
จนเกินไป รวมทั้งไม่ให้มีร่องรอยแม้เพียงเล็กน้อยปรากฏบนพื้นดินหรือบน เนิน อย่างไรก็ตามร่องรอยเล็กๆเหล่านี้
อาจเป็นประโยชน์ในการเดินของคนอื่นๆ ได้ ด้วยการเดินซ้ารอยเดิ
• การเดินบนพื้นแข็ง
โดยทั่วไปพื้นแข็งถือว่าเป็นพื้นที่มีการจับตัวของดินแน่นซึ่งไม่แยกออก จากกันได้เนื่องจากน้าหนักก้าวของตัวคน
เมื่อจะเดินขึ้นเขาเมื่อมีพื้นแข็งหลักต่างๆ เบื้องต้นควร จะนามาใช้ดังนี้ คือ ทุกๆ ก้าวที่เดินต้องเกร็งเข่าไว้เพื่อยึด
กล้ามเนื้อขาลาดที่สูงชันจะต้องออ้มไป และถ้าจาเป็นจริงๆ ก็ให้ไต่เป็นรูปเลี้ยวไปเลี้ยวมาดีกว่าไต่ขึ้นไปตรงๆ เมื่อ
จะวกกลับจากการ อ้อมครั้งหนึ่งๆ ควรกระทาโดยก้าวออกไปในทิศทางใหม่ให้ปลายเท้าหันขึ้นไปข้างบนอันเป็น
การป้องกันมิให้เท้าไขว้กัน ซึ่งอาจทรงตัวไว้ไม่อยู่ก็ได้ ในการเดินอ้อมเขาให้ดินเต็มฝ่าเท้าการ เดินแต่ละก้าวให้บิด
ข้อเท้า ให้ปลายเท้าหันออกจากเขา สาหรับการเดินในทางแคบอาจใช้ก้าว แบบก้างปลาก็ได้ คือหันปลายเท้าทั้ง
สองข้างขึ้นข้างบนแล้วใช้หลักการอื่นๆ ที่ใช้มาแล้วเข้าช่วย ประกอบ ส่วนการลงเขาก็สามารถกระทาได้ง่ายๆ โดย
การลงมาตรงๆโดยไม่ต้องอ้อมต้องให้ หลังตรงอยู่เสมอ และเข่างอเพื่อให้สามารถรับอาการกระแทกของก้าวแต่ละ
ก้าวได้ ต้องจาไว้ เสมอว่าต้องให้น้าหนักตัวลงตรงๆ บนเท้าทั้งสองและเท้าทั้งสองต้องวางราบไปกับพื้นดิน การ
เดินโดยโน้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย และเดินด้วยท่าปกติจะทาให้การลงเขาสะดวกขึ้น

รูปภาพ
• ข.ลาดเข้าที่มีหญ้าปกคลุม ในภูมิประเทศที่เป็นภูเขาซึ่งมีหญ้าขึ้นปกคลุม ตามลาดเขานั้น ตามปกติจะมีหญ้าขึ้น
เป็นหย่อมๆ มากกว่าที่จะขึ้น ติดเป็นพึดไป ฉะนั้นการขึ้นเขาประเภทนี้ จะเห็นได้ว่าเมื่อนาเอาหลกัการที่ กล่าว
มาแล้วข้างต้นมาใช้แล้วจะได้ผลดียิ่งขึ้น เมื่อเราก้าวเหยียบไปทาง ตอนบนของหย่อมหญ้า ซึ่งเป็นที่ราบเรียบกว่า
พื้นที่ตอนล่าง ส่วนเวลาลง เขาวิธีที่ดีที่สุดคือ การเดินอ้อม แต่บางครั้งก็อาจใช้วิธีก้าวเขย่ง การก้าว แบบนี้เป็นการ
ก้าวที่ใช้เท่าที่อยู่ข้างล่างรับน้าหนักตัวไว้ทั้งหมด ส่วนเท้า หลังใช้เพื่อสาหรับการทรงตัวเท่านั้น ซึ่งยังมีประโยชน์ใน
การลงเขาที่มี พื้นดินแข็ง และมีหินกับกรวดปนกันอีกด้วย

• ค.ลาดเขาที่เต็มไปด้วยหินและกรวด ลาดเขาชนิดนี้ประกอบด้วยก้อนหินเล็ก และก้อนกรวดซึ่ง รวมตัวกันอยู่ใต้


ก้อนหินตามสันเขาและหน้าผา ขนาดของหินหรือกรวดนี้มีตั้งแต่ขนาดเท่าเม็ด ทรายจนถึงขนาดกาปั้นคน บางครั้ง
จะมีหลายๆ ขนาดปนกันอยู่ แต่ตามปกติมักจะมีก้อนหินหรือ กรวดขนาดเดียวกันแทบทั้งสิ้นการขึน้ ลาดชนิดนี้ลา
บากมาก และเหน็ดเหนื่อยที่สุด ถ้าหลีกเลี่ยง ได้ก็ควรหลีกเลี่ยง ต้องใช้หลักการทัง้ หมดหรือหลักการของการขึน้
เขาที่มีพนื้ แข็ง แต่ทุกๆ ก้าวที่ กระทาลงไปนั้นต้องกระทาด้วยความระมดัระวังมิฉะนั้นเท้าจะลื้นไถลลงมาเมื่อ
น้าหนักตัวกดลง ถ้าจะให้ดีแล้วควรใช้ปลายเท้าบนและส้นเท้าล่างยันลงไปให้มั่นคงก่อนจะวางน้าหนักตัวลงไปใน
เวลาลงก็ลงาเป็นเส้นตรงซึ่งเป็นวิธีที่ดีที่สุด (ดูรูปที่ ๒) โดยประการที่สาคัญจะต้องใช้ปลายเท้าจิก หลังต้องตรง
และหัวเข่างอ เรามักจะยั้งตัวไม่ค่อยอยู่จนกลายเป็นวิ่งลงเสมอ ฉะนั้นจึงระวังไม่ให้ เป็นเช่นนี้และไม่ให้เสียการ
ทรงตัว วิธีการควบคุมตัวที่ดีคือ โน้มตัวลงมาข้างหน้าเล็กน้อยเมื่อ จะต้องเดินอ้อมลาดเขาชนิดนี้ และต้องการให้
อยู่ในระยะเดิม ควรใช้วิธีเดินด้วยการก้าวเขย่ง
การตรวจการณ์
• ก.ตามปกติแล้วที่ตรวจการณ์ควรอยู่ ณ จุดที่สูงที่สุดเท่าที่จะทาได้ อย่างไรก็ตามต้อง ระวังอย่าให้ที่ตรวจการณ์
อยู่สูงเกินไปจนถูกเมฆหรือหมอก บดบังการตรวจการณ์เสีย ควรใช้ผู้ตรวจการณ์หน้าอย่างน้อย ๒ คนต่อ ๑
กองร้อย ป. ในภูมิประเทศที่เป็นป่าทึบ ผู้ตรวจการณ์หน้า (ผตน.) และนายทหารติดต่อควรมีพลวางสายติดไปด้วย
เพื่อใช้ไต่ ต้นไม้ละวางสาย
• ข.เพื่อที่จะให้ผู้ตรวจการณ์ขึ้นไปถึงที่ตรวจการณ์ที่ดีที่สุดได้ พวกนี้ต้องมีคุณสมบัติใน การไต่เขาเพื่อการโจมตีได้ดี
ผู้ตรวจการณ์หน้าและนายทหารติดต่อ และเจ้าหนา้ที่ใน ชุดทุกคนซึ่งได้รับการฝึกเรื่องการไต่เขาต่อหน้าข้าศึก
มาแล้วย่อมสามารถไต่ขึ้นหรือ ลงภูเขาที่มีความสลับซับซ้อนได้

การปฏิบัติการรบด้วยรุกในพื้นที่ปา่ ภูเขา
• ข้อพิจารณาทั่วไป
• ก.หน่วยทหารแบบใดๆ ก็ตามที่จะปฏิบัติการรบด้วยวิธีรุกในพื้นที่ป่าภูเขา จะต้องมีการจัดกาลังเพื่อทาการรบ
เสียใหม่ เพื่อให้สามารถนาเอาขีดความสามารถของกาลังส่วนต่างๆ ของหน่วยนั้นทั้งหมดมาใช้ให้เกิดประโยชน์
สูงสุด หลักการรบ ด้วยวิธีรุกต่างๆ กัน นั้นสามารถนามาประยุกต์ใช้ได้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมป่าภูเขา
• ข.ลักษณะการปฏิบัติการรบในพื้นที่ป่าภูเขานั้น โดยปกติแล้วจะเป็นการปฏิบัติการในบริเวณพื้นที่สูง ตามยอด
เขา, สันเขา ที่อยู่เหนือหุบเขา,ช่องเขาเป็นส่วนใหญ่ หลักการที่สาคัญก็คือ การปฏิบัติการจะต้องพยายามให้อยู่ใน
ลักษณะจากที่สูงกว่า ไปยังจุดหรือตาบลที่สูงกว่า ไปยังจุดหรือตาบลที่ต่ากว่า การโอบเป็นรูปแบบของกลยุทธที่
สมควรจะนามาใช้มากกว่าวิธี อื่น การโอบทางดิ่ง (เคลื่อนที่ทางอากาศ หรือส่งทางอากาศ) และการแทรกซึมเป็น
เทคนิคที่นา มาใช้เสมอ
• ค.ในการเข้าตีจะต้องพยายามเข้าตีต่อจุดอ่อน หรือจุดล่อแหลมของฝ่ายข้าศึก สาหรับที่มั่นข้าศึกซึ่งดัดแปลง
แข็งแรงใน พื้นที่ป่าภูเขานั้น ควรดาเนินการโดยวิธีตัดขาด และแยกที่มั่นนั้นให้อยู่โดดเดี่ยวจากกาลังข้าศึกส่วนอื่น
ซึ่งสามารถ ช่วยเหลือสนับสนุนได้ การโดดเดี่ยวที่มั่นในลักษณะนี้ ยังสามารถใช้หน่วยโอบทางดิ่งหรือแทรกซึมเข้า
ไปปิดลอ้ม หรือ ใช้การยิงสนับสนุนประกอบกับการวางเครื่องกีดขวางตามช่องทางสาคัญ (สนามทุ่นระเบิด,กับ
ระเบิด) ก็ได้
• ง.ที่ตั้งทางการส่งกาลังบารุงของข้าศึก ถือว่าเป็นที่หมายที่เหมาะสมอย่างยิ่งที่ฝ่ายเราจะเข้าตีด้วยเหตุผลที่ว่าใน
พื้นที่ป่าภูเขานั้น การ ส่งกาลังบารุง ย่อมจะเป็นปัจจัยชี้ความเป็นความตายของหน่วยต่างๆ
ถ้าปัจจัยเหล่านี้ได้เสียไปจากการกระทาของฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด ก็จะ เกิดการเสียเปรียบอย่างใหญ่หลวงมีผลกระทบ
ต่อการพ่ายแพ้เป็นส่วนรวม
• จ.การโจมตีหรือการปฏิบัติการทางลึกต่อเป้าหมาย ที่อยู่นอกพื้นที่ปฏิบัติการรบ ในดินแดนของฝ่ายข้าศึก
จาเป็นจะต้องจะต้องได้มี การปฏิบัติ ทั้งนี้เพื่อป้องกันการเพิ่มเติมกาลังของฝ่ายข้าศึกเข้ามาในพื้นที่การรบการ
ปฏิบัติในหัวข้อนี้จะสอดคล้องประสานกับการ ตัดขาด และโดดเดี่ยวกาลังข้าศึกในพื้นที่การรบ
• ฉ.เนื่องจากพื้นที่ดาเนินกลยุทธ์ในป่าภูเขามักจะมีอย่างจากัด ดังนั้น การลวง/แสดงลวงจึงเป็นวิธีที่มีประโยชน์
อย่างยิ่ง ที่จะทาให้ฝ่าย ข้าศึกต้องมีการเคลื่อนย้ายกาลังกองหนุน หรือกาลังเพิ่มเติมเสียแต่เนิ่นซึ่งจะอานวย
ประโยชน์ต่อฝ่ายเราในทิศทางเข้าตีหลัก โดยที่ ข้าศึกได้เคลื่อนย้ายกองหนุน หรือกาลังเพิ่มเติมเสียแต่เนิ่นซึ่งจะ
อานวยประโยชน์ต่อฝ่ายเราในทิศทางเข้าตีหลักโดยที่ขา้ ศึกได้ เคลื่อนย้ายกองหนุน หรือกาลังเพิ่มเติมไปไว้ในพื้นที่
อื่นเสียแล้ว หรือมิฉะนั้นก็เปิดเผยตนเองให้ฝ่ายเราทาลายลงได้ล่วงหน้าโดยการ โจมตีทางลึกที่ได้เตรียมไว้ ด้วยผล
ดังนี้ฝ่ายเราก็จะสามารถรวมอานาจกาลังรบ ณ บริเวณที่หมายแตกหัก ซึ่งกาหนดไว้ได้
• หมายเหตุ จะต้องจดจาไว้เสมอว่า ในการปฏิบัติการลวง/แสดงลวงนั้นจะต้องเป็นเรื่อง/เหตุการณ์ที่ฝ่ายข้าศึก
พร้อมที่จะเชื่อว่า จะเป็นจริงตามนั้น หรือเชื่อว่าฝ่ายเราจะปฏิบัติเช่นนั้นอยู่แล้ว และอาศัยการลวง/แสดงลวงเป็น
เครื่องยืนยัน ความเชื่อของข้าศึก ในเหตุการณ์ดังกล่าว การลวง/แสดงลวงในเรื่อง/เหตุการณ์ที่เป็นเรื่องตรงข้าม
กันเลย หรือเป็นเรื่องใหม่ โดยสิ้นเชิงแล้วเป็นการ ยากที่ข้าศึกจะหลงเชื่อได้ เช่น ฝ่ายเราจะเข้าตี แต่ไปลวงว่าฝ่าย
เราจะร่นถอยดังนี้ ข้อมูลอื่นๆ มักจะไม่เพียงพอที่จะให้ข้าศึกเชื่อ ได้ และการลวงก็จะล้มเหลว ที่จริงควรจะทาให้
ข้าศึกเชื่อไปเลยว่า ฝ่ายเราจะเข้าตีจริงๆ แต่ลวงในช่วงเวลา และตาบลที่จะเข้าตี ดังนี้ เป็นต้น

You might also like