You are on page 1of 68

โรงเรียนทหารม้า

วิชา สงครามทุ่นระเบิด
รหัสวิชา ๐๑๐๒๐๑๐๗๐๓
หลักสูตร ชั้นนายพัน
แผนกวิชาอาวุธ กศ.รร.ม.ศม.

ปรัชญา รร.ม.ศม.
“ฝึกอบรมวิชาการทหาร วิทยาการทันสมัย ธารงไว้ซึ่งคุณธรรม”
ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์การดาเนินงานของสถานศึกษา เอกลักษณ์ อัตลักษณ์
๑. ปรัชญา
ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหนึ่งในกองทัพบก ที่ใช้ม้าหรือสิ่งกาเนิดความเร็วอื่น ๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่าที่มีความสาคัญ
และจ าเป็ น เหล่ า หนึ่ ง ส าหรั บ กองทหารขนาดใหญ่ เช่ น เดี ย วกั บ เหล่ า ทหารอื่ น ๆ โดยมี คุ ณ ลั ก ษณะ
ที่มีความคล่ อ งแคล่ ว รวดเร็ ว ในการเคลื่ อนที่ อ านาจการยิง รุนแรง และอานาจในการทาลายและข่มขวั ญ
อันเป็นคุณลักษณะที่สาคัญและจาเป็นของเหล่า โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า มีปรัชญาดังนี้
“ฝึกอบรมวิชาการทหาร วิทยาการทันสมัย ธารงไว้ซึ่งคุณธรรม”
๒. วิสัยทัศน์
“โรงเรี ยนทหารม้า ศูน ย์ การทหารม้า เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้วิช าการเหล่ าทหารม้าที่ทันสมัย
ผลิตกาลังพลของเหล่าทหารม้า ให้มีลักษณะทางทหารที่ดี มีคุณธรรม เพื่อเป็นกาลังหลักของกองทัพบก”
๓. พันธกิจ
๓.๑ วิจัยและพัฒนาระบบการศึกษา
๓.๒ พัฒนาคุณภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
๓.๓ จัดการฝึกอบรมทางวิชาการเหล่าทหารม้า และเหล่าอื่นๆ ตามนโยบายของกองทัพบก
๓.๔ ผลิตกาลังพลของเหล่าทหารม้า ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
๓.๕ พัฒนาสื่อการเรียนการสอน เอกสาร ตาราของโรงเรียนทหารม้า
๓.๖ ปกครองบังคับ บัญชากาลังพลของหน่วย และผู้เข้ารับการศึกษาหลักสู ตรต่างๆ ให้อยู่บนพื้นฐาน
คุณธรรม จริยธรรม

๔. วัตถุประสงค์ของสถานศึกษา
๔.๑ เพื่อพัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ให้กับ
ผู้เข้ารับการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๔.๒ เพื่อพัฒนาระบบการศึกษา และจัดการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ให้มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
๔.๓ เพื่อดาเนิ นการฝึกศึกษา ให้ กับนายทหารชั้นประทวน ที่โรงเรียนทหารม้าผลิต และกาลังพลที่เข้ารับ
การศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถตามที่หน่วย และกองทัพบกต้องการ
๔.๔ เพื่อพัฒนาระบบการบริหาร และการจัดการทรัพยากรสนับสนุนการเรียนรู้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
๔.๕ เพื่อพัฒนาปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน เอกสาร ตารา ให้มีความทันสมัยในการฝึกศึกษาอย่างต่อเนื่อง
๔.๖ เพื่อพัฒนา วิจัย และให้บริการทางวิชาการ ประสานความร่วมมือ สร้างเครือข่ายทางวิชาการกับ
สถาบันการศึกษา หน่วยงานอื่นๆ รวมทั้งการทานุบารุงศิลปวัฒธรรม
๕. เอกลักษณ์
“เป็ น ศูน ย์ กลางแห่ งการเรี ย นรู้ ทางวิช าการ และผลิ ตกาลั งพลเหล่ าทหารม้าอย่างมีคุณภาพเป็นการ
เพิ่มอานาจกาลังรบของกองทัพบก”
๖. อัตลักษณ์
“เด่นสง่าบนหลังม้า เก่งกล้าบนยานรบ”
คานา
เอกสารตาราฉบับนี้ แผนกวิชาอาวุธ กองการศึกษา โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า ได้
รวบรวมและเรียบเรียงจัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการเรียนการสอนหลักสูตรตามแนวทางรับราชการของโรงเรียนทหารม้า
ศูนย์การทหารม้า ซึ่งมีเนื้อหาวิชาอาวุธ ทุกชนิดที่มีใช้ในเหล่าทหารม้า ประกอบด้วย วิชา อาวุธขนาดเล็ก, วิชา
อาวุธประจาหน่วย, วิชา เครื่องยิงลูกระเบิด, วิชา หลักยิงเครื่องยิงลูกระเบิด, วิชา อาวุธ และยุทธภัณฑ์ยาน
เกราะ และวิชา สงครามทุ่นระเบิด
แผนกวิชาอาวุธ กองการศึกษา โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสาร
ต าราฉบั บ นี้ จ ะเป็ น ประโยชน์ แ ก่ นั ก เรี ย นหรื อ ท่ า นผู้ อ่ า น และหากมี ข้ อ สงสั ย หรื อ มี ค วามประสงค์ ที่ จ ะให้
ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไขกรุณาระบุ หน้า ข้อ บรรทัด ตามที่ปรากฏในเอกสารตารานี้ และขอความ
กรุณาให้เหตุผลหรือมีหลักฐานอ้างอิง ประกอบเพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ โดยส่งไปที่ แผนกวิชาอาวุธ
กองการศึกษา โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า ค่ายอดิศร ตาบลปากเพรียว อาเภอเมือง จังหวัดสระบุรี
๑๘๐๐๐
แผนกวิชาอาวุธ กศ.รร.ม.ศม.
สารบัญ
วิชา สงครามทุ่นระเบิด หน้า
1. วัตถุระเบิดทางทหาร …………………………………………………..……………….…… 1
2. ข้อระมัดระวังความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้วัตถุระเบิด………………………… 7
3. เครื่องมือในการระเบิดและเครื่องประกอบ................................................. 10
4. ระบบการจุดระเบิด (FIRING SYSTEM)……………………………………………… 12
5. ทุ่นระเบิด………..…………………………………………………………………………….… 14
6. กับระเบิด………………………………………………………………………………….……. 24
7. ทุ่นระเบิดและกับระเบิดของต่างประเทศ……………………………………….…… 29
8. การบันทึกสนามทุ่นระเบิดป้องกันตนแบบเร่งด่วน……………………………….. 37
9. การตรวจค้นและรื้อถอน……………………………………………………..……………. 44
10. ลูกระเบิดขว้าง……………………………………………………………………….……… 53

---------------------------------------
-1-
วิชา สงครามทุ่นระเบิด
1. วัตถุระเบิดทางทหาร
1. กล่าวทั่วไป
วิชาการใช้วัตถุระเบิดและการทาลายด้วยดินระเบิดนั้น ถือว่าเป็นวิชาสาคัญประการหนึ่งเพราะว่าใน
การยุทธ์ทุกครั้งจะขาดเสียมิได้ การทาลายอาจจะนาชัยชนะมาสู่ท่านได้ในบทเรียนนี้ท่านจะได้ศึกษาคุณสมบัติ
ของดินระเบิดหลักทางทหาร, การเตรียมการ และการใช้ดินระเบิด
นิยาม วัตถุระเบิดเป็นสสารชนิดหนึ่ง ซึ่งจะเกิดปฏิกิริยาทางเคมีเมื่ อได้รับความร้อน การเสียดสี การ
กระทบกระแทก หรื อได้รับ แรงกระตุ้น เตือนเริ่มแรกอย่างเหมาะสม ทาให้ เกิดเป็นสารอย่างใหม่ขึ้น หรือ
กลายเป็นแก๊สจานวนมาก ๆ เราแยกชนิดของวัตถุร ะเบิดเป็น วัตถุระเบิดแรงต่า และวัตถุระเบิดแรงสูง ด้วย
ความเร็วในการระเบิด (เป็นฟุต หรือ เมตรต่อวินาที) ซึ่งผลจากการระเบิดนี้เป็นลักษณะพิเศษของวัตถุระเบิด
แต่ละชนิด
ก. วัตถุระเบิดแรงต่่า วัตถุระเบิดแรงต่าเกิดจากการเผาไหม้จากของแข็งไปเป็นแก๊สอย่างช้า ๆ
สม่าเสมอ (อัตราเร็วในการระเบิดตั้งแต่เริ่มต้นจนถึง 400 เมตร หรือ 1,312 ฟุต/วินาที) และจากผลการระเบิด
หรือลุกไหม้ดังกล่าวนี้ จึงทาให้ได้ประโยชน์ในการผลักดัน ทาให้แตกร้าว การใช้วัตถุระเบิดแรงต่าในทางทหารที่
นับว่าเป็นหลัก คือ การใช้เป็นดินขับในลูกกระสุนและใช้สาหรับ เป็นไส้ชนวน เช่น ชนวนฝักแคเวลา (ดินควัน
น้อย, ดินดา)
ข. วัตถุระเบิดแรงสูง เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของวัตถุระเบิดเป็นแก๊สอย่างรวดเร็ว ในอัตรา 1,000
เมตร/วินาที (3,280 ฟุต/วินาที) ถึง 8,500 เมตร/วินาที (27,880 ฟุต/วินาที) ผลจากการระเบิดของวัตถุระเบิด
แรงสูงสามารถให้ผลจากการระเบิดที่แน่นอน วัตถุระเบิดแรงสูงนี้ใช้บรรจุเป็นดินระเบิดแท่ง,บรรจุในทุ่นระเบิด,
กระสุนปืนใหญ่ และในลูกระเบิดต่าง ๆ
ผลที่เกิดจากการระเบิด วัตถุระเบิดมิได้ก่อให้เกิดการระเบิดหรือการทาลายอย่างรุนแรงเพียงอย่างเดียว
แต่ยังมีลักษณะพิเศษคือ แรงดันและพลังงานที่เกิดขึ้นนี้จะทาให้เกิดการตัด การแตกหัก ซึ่งอานาจในการทาลาย
ของดินระเบิดแต่ละชนิดไม่เท่ากัน เช่น TNT มีอัตราเร็วในการระเบิด 6,900 เมตร/วินาที มีตัวเปรียบเทียบเท่ากับ
1.00 แต่คอมโปซิชัน ซี-4 มีอัตราเร็วในการระเบิด 8,040 เมตร/วินาที และมีตัวเปรียบเทียบ 1.34
คุณลักษณะพิเศษของวัตถุระเบิดทางทหาร
วัตถุระเบิดที่ใช้ในกิจการทหาร มีลักษณะและคุณสมบัติที่แน่นอนดังนี้ .-
1. ผลิตจากวัตถุดิบที่หาง่าย และราคาถูก
2. ทนต่อการสั่นสะเทือน การเสียดสี และสามารถประกอบในการจุดระเบิดได้ง่าย
3. มีขีดความสามารถในการทาลายอย่างเพียงพอตามความเหมาะสม
4. มีคุณสมบัติที่ทนต่อทุกสภาพภูมิอากาศในระหว่างอุณหภูมิ - ถึง
5. มีความแน่นมาก (ต่อหนึ่งหน่วยน้าหนัก)

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (วัตถุระเบิดทางทหาร, ข้อระมัดระวังฯ, เครือ่ งประกอบฯ และระบบการจุดระเบิด)


-2-
6. สามารถใช้ใต้น้าและที่ที่มีอากาศชื้น
7. มีพิษน้อย (ก่อนทาให้ระเบิด) เมื่อเก็บรักษา, จับถือ และระเบิด
8. มีขนาดรูปร่างเหมาะสมในการบรรจุ เก็บรักษา ขนย้าย จับถือ และขนส่งโดยหน่วยทหาร
9. มีอานาจมาก
2. ชนิดของดินระเบิด
2.1 ดินระเบิด TNT (TRINITROTOLUENE) เป็นดินระเบิดแรงสูง ผลิตออกมาเป็น 3 ขนาด คือ ¼, ½
และ 1 ปอนด์ (ขนาด ¼ ปอนด์ มีความมุ่งหมายใช้ในการฝึกเพื่อให้เกิดความคุ้นเคย)
การใช้ ใช้ในการทาลายกิจการทหารทั่วๆ ไปอย่างกว้างขวาง
ในเขตการรบด้านหน้า ใช้สาหรับงานระเบิดตัดให้ขาด และระเบิดแตกหัก
การจุดระเบิดอาจจุดระเบิดด้วยเชื้อปะทุชนวน เชื้อปะทุไฟฟ้า ชนวนฝักแคระเบิด หรือ เครื่องจุดชนวนถ่วงเวลา
2.2 ดินระเบิดเทตตริตอล (TETRYTOL) เป็นดินระเบิดแรงสูง ใช้ทาดินระเบิดแท่ง มีความไวในการ
ระเบิด และความแรงในการระเบิด มากกว่า TNT. แต่เปราะแตกหักง่าย ทาขึ้นเป็น 2 แบบ คือ.
1. ดินระเบิดพวง M1 (M1 CHAIN DEMOLITION BLOCK)
ดินระเบิดพวง M1 หนักแท่งละ 2 ½ ปอนด์ ร้อยผ่านด้วยชนวนฝักแค
ระเบิด จานวน 8 แท่ง บรรจุในถุงย่าม ใช้ในกิจการระเบิดจะใช้ทั้งพวง
หรื อแบ่ งใช้ต ามจ านวนดิน ระเบิ ด ก็ได้ การจุ ดระเบิดเช่น เดียวกับ ดิ น
ระเบิด TNT
2. ดินระเบิดแท่ง M2 (M2 DEMOLITION BLOCK) คล้ายดินระเบิด
พวง M1 เว้นแต่มีรูเสียบเชื้อปะทุแต่ละข้าง รอบ ๆ รูเสียบเชื้อปะทุมีดินขยาย
การระเบิด (ดินระเบิดเทตตริล) การใช้คงเช่นเดียวกับดินระเบิดพวง M1 ซึ่งใช้
ในการระเบิดตัด, ระเบิดแตกหัก
2.3 ดินระเบิดคอมโปซิชัน (COMPOSITION) เป็นดินระเบิดแรงสูง
1. ดินระเบิดแท่ง M3 (2 ¼ ปอนด์, คอมโปซิชั่น C2 หรือ C3)
ห่อหุ้มด้วยกระดาษสีน้าตาล ไม่มีรูเสียบเชื้อปะทุดินระเบิดสีเหลือง มีลักษณะ
อ่อนตัว เพราะว่าความเป็นพลาสติกและมีอานาจสูงจึงเหมาะที่จะใช้ในการระเบิดตัดเหล็กและเป้าหมายที่มี
รูปร่างไม่สม่าเสมอ
2. ดินระเบิดแท่ง M5A1 (2½ ปอนด์, คอมโปซิชั่น C4) ห่อหุ้มด้วย
พลาสติกสีขาวมีรูเสียบเชื้อปะทุหนึ่งด้าน ดินระเบิดทั้งแท่งสามารถแบ่งใช้ได้
โดยแกะพลาสติกออก การใช้สามารถใช้งานได้ทุกแบบโดยเฉพาะในการ
ระเบิดตัด และแตกหัก เพราะสามารถปั้นได้และมีอานาจสูงจึงเหมาะในการระเบิดตัดเหล็ก และเป้าหมายที่มี
รูปร่างไม่เรียบสม่าเสมอ

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (วัตถุระเบิดทางทหาร, ข้อระมัดระวังฯ, เครือ่ งประกอบฯ และระบบการจุดระเบิด)


-3-
3. ดินระเบิดแท่ง M112 (1 ¼ ปอนด์, คอมโปซิชั่น C4) คือ ดินระเบิดคอมโปซิชัน C4 โดยการแบ่ง
M5A1 ออกเป็น 2 แท่งๆ ละ 1 ¼ ปอนด์ ห่อหุ้มด้วยกระดาษไมลาฟิล์ ม
ด้ า นหนึ่ ง จะมี เ ทปกาวแบบพิ เ ศษซึ่ ง ปิ ด ด้ ว ยกระดาษ สามารถติ ด กั บ
เป้าหมายที่ราบเรียบ และเป้าหมายที่มีผิวพื้นแห้ง (อุณหภูมิต้องสูงกว่าจุดเยือกแข็ง 32º F, 0°C) สีของ
กระดาษที่ห่อหุ้มช่วยในการพรางได้เป็นอย่างดี
2.4 ดินระเบิดแท่ง M118 ( PETN 2 ปอนด์) M118 หรือ ดินระเบิดแผ่น ใน 1 แท่งประกอบด้วยดิน
ระเบิดแท่ง ขนาด 1/2 ปอนด์ ห่อหุ้มด้วยกระดาษพลาสติก ข้างหนึ่งของ
ดินระเบิดจะมีเทปกาวแบบพิเศษ การใช้ ใช้ในการระบิดตัด โดยเฉพาะ
เป้าหมายที่เป็นเหล็ก มีความอ่อนตัวทาให้แนบเข้ากับเป้าหมายที่มีรูปร่าง
ไม่สม่าเสมอ แต่ไม่เหมาะสาหรับในงานระเบิดขนาดใหญ่ เพราะราคาแพง
2.5 ดินระเบิด M186 (แบบม้วน) เหมือนดินระเบิด M118 แต่เป็นม้วนมีความยาว 50 ฟุต แต่ละฟุตจะมี
ดินระเบิดหนักประมาณ ½ ปอนด์ ในแต่ละม้วนจะมีเชื้อปะทุชนวน
จานวน 15 ดอก และถุงผ้าพร้อมสายหิ้ว การใช้จะเหมือนกับดินระเบิด
M118 มีแถบกาวสาหรับยึดติดกับเป้าหมายแต่แถบกาวจะไม่สามารถติด
กับพื้นผิวที่เปียกหรือเป็นน้าแข็งได้ การตัดใช้งานต้องใช้มีดมีคมตัดและ
ห้ามฉีก
2.6 ไดนาไมท์ทางทหาร เอ็ม 1 (MILITARY DYNAMITE M1) ไดนาไมท์ทางทหาร M1 มีขนาด ½
ปอนด์ ห่อหุ้มด้วยกระดาษฉาบพาราฟิน มีขนาดเส้น ผ่าศูนย์กลาง 1 ¼ นิ้ว ยาว 8 นิ้ว
ดินระเบิดชนิดนี้มีความไวในการระเบิดต่า ในการใช้จะต้องอัดลงไปในรูปิดให้แน่นไม่ให้
มีช่องว่างเพื่อผลในการทาลาย ใช้ในงานช่างทั่วไป ในแหล่งหิน แหล่งดิน จุดระเบิดด้วย
เชื้อปะทุชนวน เชื้อปะทุไฟฟ้า และฝักแคระเบิด
2.7 ดินระเบิดแอมโมเนียมไนเตรท 40 ปอนด์ หรือดินระเบิดหลุม (AMMONIUM NITRATE)
1. คุณลักษณะ แอมโมเนียมไนเตรท ขนาด 40 ปอนด์ เปลือกเป็นโลหะทรงกระบอก
บรรจุแอมโมเนียมไนเตรท 30 ปอนด์ เป็นดินระเบิดหลัก และมีดินระเบิด TNT 10 ปอนด์
เป็นดินขยายการระเบิดอยู่ตรงกลางบริเวณที่เสียบเชื้อปะทุ มีรูสาหรับเสียบเชื้อปะทุ 2 รู รู
หนึ่งสาหรับเสียบเชื้อปะทุชนวน M7 หรือ เชื้อปะทุไฟฟ้า M6 อีกรูหนึ่งสาหรับร้อยฝักแค
ระเบิดผ่านและผูกเงื่อนที่ปลายชนวนฝักแคระเบิด หมุดระหว่างรูเสียบเชื้อปะทุทั้งสองสาหรับ
ผูกฝักแคเวลา สายไฟเชื้อปะทุไฟฟ้าหรือฝักแคระเบิดให้ติดแน่น ห่วงโลหะที่อยู่ด้านบนดิน
ระเบิดใช้สาหรับร้อยเชือกหย่อนดินระเบิดลงไปในหลุม
2. การใช้ แอมโมเนียมไนเตรทมีอัตราความเร็วในการระเบิดต่า ดังนั้นจึงไม่เหมาะต่อการใช้ในการ
ระเบิดตัดและระเบิดแตกหัก อย่างไรก็ตามผลของการระเบิ ดก่อให้เกิดแรงดันของแก๊สทาให้เกิดการผลักดัน
หรือการอุ้มยกซึ่งทาให้เหมาะสาหรับงานทาหลุมและคู ดินระเบิดแท่งแอมโมเนียมไนเตรท 40 ปอนด์ ได้

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (วัตถุระเบิดทางทหาร, ข้อระมัดระวังฯ, เครือ่ งประกอบฯ และระบบการจุดระเบิด)


-4-
ออกแบบมาเพื่อเป็นดินระเบิดมาตรฐานในการทาหลุมเนื่องจากปริมาณของดินระเบิดมีเป็นจานวนมาก จึงอาจ
นาไปใช้ในการทาลายอาคารและป้อมค่ายและการระเบิดทาลายตอม่อสะพาน
3. ประโยชน์ ขนาด และ รูปร่าง ของดินระเบิดชนิดนี้ เหมาะในการทาหลุมระเบิดและราคาก็ไม่แพง
กว่าดินระเบิดชนิดอื่น ๆ
4. ขีดจากัด แอมโมเนียมไนเตรทดูดความเปียกชื้นได้ง่าย ทาให้ยากในการจุดระเบิดต้องตรวจตราให้
แน่นอนว่าไม่มีน้าเข้าไปในดินระเบิดและรูเสียบเชื้อปะทุ มิฉะนั้นแล้วจะทาให้ดินระเบิดไม่ระเบิด แอมโมเนียม
ไนเตรทจะต้องจุดระเบิดด้วยการจุดระเบิดคู่เสมอ
2.8 ดินระเบิดหลุม 40 ปอนด์ รุ่นใหม่ (CRATERING, NEW VERSIONS) รูปร่าง, ขนาด และความมุ่ง
หมายในการใช้เหมือนเดิม แต่เปลี่ยนดินระเบิดหลักที่บรรจุภายในเป็นดินระเบิด
คอมโปซิชั่น H 6 ซึ่งมีอานาจการระเบิดมากกว่า และเปียกชื้นได้ยากกว่าดินระเบิด
แอมโมเนียมไนเตรท น้าหนักดินระเบิด H 6 ที่บรรจุภายในประมาณ 40 ปอนด์
สาหรับการจุดระเบิดให้จุดด้วยระบบคู่เสมอ ข้างดินระเบิดแท่งจะมีคาแนะนาในการ
จุด (การจุดต้องจุดด้วยระบบคู่ โดยการใช้ชนวนฝักแคระเบิดประกอบกับดินระเบิด M112 เต็มแท่ง
จานวน 2 แท่ง ร้อยด้วยเงื่อนขมวด จานวน 8 ชั้น)
2.9 ดินระเบิดเชฟชาร์จ (SHAPED CHARGES) หรือ ดินระเบิดโพรง
ดินระเบิดเชฟชาร์จ ใช้ในการปฏิบัติการทางทหาร บรรจุด้วยดินระเบิดแรงสูงในรูปทรงกระบอก ปลาย
ด้านหนึ่งเป็นรูปกรวยครึ่งซีกใช้วางเข้ากับวัสดุเพื่อเจาะทะลุทะลวงโลหะ คอนกรีต ดิน หรือ วัสดุชนิดอื่น ๆ ไม่
สามารถใช้ ใ ต้น้ าได้ ในการทาลายจะให้ ได้ ผ ลสู งสุ ดจะต้ อ งตั้ งบนขาตั้ ง มาตรฐาน ซึ่ง มีร ะยะแน่ นอนจาก
เป้าหมาย ในการจุดระเบิดไม่จาเป็นจะต้องใช้จุดด้วยการจุดระเบิดคู่
1. ดินระเบิดเชฟชาร์จ 15 ปอนด์ M2A3 ดินระเบิดชนิดนี้บรรจุด้วยดิน
ระเบิดคอมโปซิชั่น บี 9 ½ ปอนด์ และ มีดินระเบิดเพนโทไลท์ 50 – 50 หนัก 2
ปอนด์ เป็นดินขยายการระเบิดบรรจุในไฟเบอร์ ซึ่ งป้องกันการเปียกชื้นได้ มีขาตั้ง
เป็นรูปทรงกระบอกทาด้วยไฟเบอร์
2. ดินระเบิดเชฟชาร์จ 15 ปอนด์ M2A4 ดินระเบิดชนิดนี้ได้พัฒนาใช้ดิน
ระเบิ ด ที่มี ความไวในการระเบิ ด จากการยิง ด้ว ยปื นน้ อยกว่ าแบบ M2A3, M2A4
เหมือนกับ M2A3 ในการประกอบและการทาแต่ผิด กันในขนาดของดินขยายการ และ
วัสดุดังต่อไปนี้.- ดินขยายการระเบิด เพ็นโทไลท์ 50 – 50 เป็นดินระเบิดคอมโปซิชั่น เอ
3 หนัก 50 กรัม ดินระเบิดหลัก คอมโปซิชั่น บี ได้บรรจุเพิ่มมากขึ้น ซึ่งน้าหนักรวมทั้ง
หมดแล้วก็จะเท่ากับแบบ M2A3

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (วัตถุระเบิดทางทหาร, ข้อระมัดระวังฯ, เครือ่ งประกอบฯ และระบบการจุดระเบิด)


-5-
3. ดินระเบิดเชฟชาร์จ 40 ปอนด์ M3 ดินระเบิดชนิดนี้บรรจุด้วยดินระเบิด คอมโป
ซิชั่น บี ประมาณ 28.3 ปอนด์ และมีดินระเบิดเพ็นโทไลท์ 50 – 50 เป็นดินขยายการระเบิด
มีเปลือกเป็นโลหะมีขาตั้งที่กาหนดระยะทาด้วยโลหะเช่นเดียวกัน
4. ดินระเบิดเชฟชาร์จ 40 ปอนด์ M3A1 ดินระเบิดนี้ได้พัฒนาใช้ดินระเบิดที่มีความ
ไวในการระเบิดจากการยิงด้วยปืนน้อยกว่า แบบ M3, M3A1 เหมือนกับ M3 ในการประกอบ
และการทาแผ่ติดกันในขนาดของดินขยายการระเบิด และวัสดุดังนี้ .- ดินขยายการระเบิดเพ็น
โทไลท์ 50 – 50 เปลี่ยนเป็นดินระเบิดคอมโปซิชั่น เอ 3 หนัก 50 กรัมดินระเบิดหลัก คอมโป
ซิชั่น บี ได้บรรจุเพิ่มขึ้นซึ่งน้าหนักรวมแล้วเท่ากับแบบ M 3
5. ดินระเบิดเชฟชาร์จ MK74, MOD1 เป็นดินระเบิดเชฟชาร์จขนาดเล็ก ใช้กับ
หน่วยทาลายล้างวัตถุระเบิด
6. การใช้ ดินระเบิดเชฟชาร์จในการเจาะทะลุทะลวงพื้นดิน แผ่นโลหะกาแพงอิฐก่อ
คอนกรีต พื้นผิวถนนทุกชนิด ผลการทาลายทะลุทะลวง ขึ้นอยู่กับขนาดชนิดของวัสดุนั้น ๆ
7. ข้อระมัดระวังพิเศษ การที่จะใช้ดินระเบิดชนิดนี้ให้ได้ผลต้องปฏิบัติดังนี้.-
7.1 จุดกึ่งกลางของดินระเบิดต้องอยู่เหนือเป้าหมาย
7.2 ใช้แกนของดินระเบิดอยู่ในแนวเดียวกับรูที่ต้องการเจาะ
7.3 จะต้องใช้ขาตั้งมาตรฐาน เพราะระยะของขาตั้งเป็นระยะที่ได้ผลในการทะลุทะลวงดีที่สุด
7.4 ต้องแน่ใจว่าไม่มีสิ่งหนึ่งสิ่งใดมาขวางกั้นระหว่างดินระเบิดกับเป้าหมาย
2.10 ดินระเบิดบังกาโลตอร์ปิโด M1A1 และ M1A2
1. คุณลักษณะ ดินระเบิดชนิดนี้ประกอบด้วย
บังกาโลตอร์ปิโด 10 ท่อน แต่ละท่อนห่อหุ้มด้วยโลหะ
ยาว 1.50 เมตร และมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 1/8 นิ้ว และ
มีรูเสียบเชื้อปะทุทั้งสองข้างแบบ M1A1 บรรจุด้วยดิน
ระเบิดอมาตอล และมีดินระเบิด TNT. 4 นิ้ว เป็นดิน
ขยายการระเบิ ด ที่ ป ลายทั้ ง สองด้ า น แบบ M1A2
เหมือนกับ M1A1 แต่ผิดกันที่ดินระเบิดหลักใช้ดินระเบิด คอมโปซิชั่น บี และดินขยายการระเบิดใช้ดินระเบิด
คอมโปซิชั่น เอ 3 มีรูเสียบเชื้อปะทุทั้งสองด้าน สามารถใช้จุกเกลียวมาตรฐานได้แต่ละชุดจะมีปลอกข้อต่อและ
มีหัวครอบ
2. การใช้บังกะโลตอร์ปิโด ใช้ในการกวาดล้างเครื่องกีดขวางประเภทลวดหนามและสนามทุ่นระเบิด
บังกะโลตอร์ปิโดสามารถกวาดล้างเครื่องกีดขวางประเภทลวดหนามเป็นเส้นทางเดินได้กว้าง 3-4 เมตร ถ้าเป็น
สนามทุ่นระเบิดสามารถระเบิดทุ่นระเบิดสังหารบุคคล และทุ่นระเบิดดักรถถังที่อยู่ใกล้ให้ระเบิดขึ้นได้ ด้วย
และยังสามารถกวาดล้างป่าทึบและป่าไผ่ได้ (สาหรับทุ่นระเบิดดักรถถังและสังหารบุคคล จะได้ ช่องทางกว้าง
ประมาณ 1 เมตร จาก FM 5 – 25, 1986)

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (วัตถุระเบิดทางทหาร, ข้อระมัดระวังฯ, เครือ่ งประกอบฯ และระบบการจุดระเบิด)


-6-
3. การประกอบ ทุกท่อนของบังกะโลตอร์ปีโดที่ปลายทั้งสองด้านจะมีรูสาหรับเสียบเชื้อปะทุ การต่อ
แต่ละท่อนให้ใช้ต่อด้วยปลอกข้อต่อ หัวครอบ ใช้สวมเข้ากับท่อนแรกเพื่อป้องกันมิให้ไปสะดุดเข้ากับสิ่งกีดขวาง
ต่าง ๆ เมื่อเราเตรียมท่อนแรกไปแล้วก็ใช้ปลอกข้อต่อต่อเข้ากับท่อนต่อมาเรื่อย ๆ จนกว่าจะได้ความยาวตาม
ต้องการ
4. การจุดระเบิด บังกะโลตอร์ปิโดสามารถจุดด้วยเชื้อปะทุชนวนและเชื้อปะทุไฟฟ้าทางทหาร ในการ
กวาดล้างเครื่องกีดขวางจะจุดบังกะโลตอร์ปิโดเมื่อได้วางเรียบร้อยแล้ว นอกจากนี้อาจจะใช้เครื่องจุชนวนถ่วง
เวลา แบบ 8 วินาที หรือ 15 วินาที ก็ได้

ตาราง คุณลักษณะของบังกาโลตอร์ปิโด
น้าหนัก/ การบรรจุหีบห่อ/
ชนิด อุปกรณ์ประกอบ วัตถุระเบิด/ท่อน
ท่อน น้าหนักรวม
M1A1 1 ชุดประกอบด้วยบังกาโล ประมาณ อะมาตอลประมาณ 9 บรรจุในลังไม้ ขนาด
ตอร์ปิโด 10 ท่อน ปลอกข้อ 13 ปอนด์ ปอนด์ และใช้ดิน 64 1/8 × 13 7/8 × 7 1/8
ต่อ 10 ปลอก, หัวครอบ 1 ระเบิด ทีเอ็นที เป็นดิน นิ้ว น้าหนัก 176 ปอนด์
หัว ขยายการระเบิด
M1A2 1 ชุดประกอบด้วยบังกาโล ประมาณ คอมโปซิชั่น B4 บรรจุในลังไม้ขนาด
ตอร์ปิโด 10 ท่อน ปลอกข้อ 15 ประมาณ 10.5 ปอนด์ 60 3/8 × 13 3/4 × 4
ต่อ 10 ปลอก, หัวครอบ 1 ปอนด์ และใช้ดินระเบิด คอม 9/16 นิ้ว น้าหนัก 198
หัว โปซิชั่น A3 เป็นดิน ปอนด์
ขยายระเบิด

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (วัตถุระเบิดทางทหาร, ข้อระมัดระวังฯ, เครือ่ งประกอบฯ และระบบการจุดระเบิด)


-7-
2. ข้อระมัดระวังความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้วัตถุระเบิด
1. กฎความปลอดภัยทั่ว ๆ ไป กฎความปลอดภัยเกี่ยวกับวัตถุระเบิด เชื้อปะทุ และเครื่องมือทาลายที่
กาหนดขึ้น นั้ น จะต้องปฏิบั ติโ ดยเคร่ งครัดในระหว่างการฝึ ก ในสถานการณ์นอกเหนือจากการฝึ กจะต้อง
พยายามปฏิบัติเท่าที่มีเวลา มีอยู่ 2 ข้อ คือ.
1. อย่าจับถือวัตถุระเบิดด้วยความสะเพร่า
2. ไม่แบ่งความรับผิดชอบในการเตรียมการ การวางดินระเบิด และการจุดดินระเบิด ต้องมอบความรับผิดชอบ
ให้ผู้หนึ่งผู้ใดเป็นผู้กากับตรวจตราทุกขั้นตอน และกาหนดผู้สารองไว้แทนในเมื่อมีความจาเป็นเกิดขึ้น
2. กฎความปลอดภัยโดยเฉพาะ
ก. กฎการเก็บรักษา
1. อย่าเก็บวัตถุระเบิดไว้ในที่เปียกชื้น
2. อย่าเก็บวัตถุระเบิด และเชื้อปะทุไว้ในคลังเดียวกันเป็นอันขาด
3. อย่าปฏิบัติการเกี่ยวกับวัตถุระเบิดหรือเก็บวัตถุระเบิดไว้ในโรงเรือน หรือใกล้ๆ โรงเรือน
4. อย่าทิ้งวัตถุระเบิดไว้โดยไม่มีการป้องกัน
ข. การปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุระเบิด
1. อย่าเปิดหีบวัตถุระเบิดภายในหรือใกล้ ๆ คลัง
2. อย่าสูบบุหรี่ หรือทิ้งเปลวไฟไว้ใกล้ ๆ วัตถุระเบิด
3. อย่าขนวัตถุระเบิดกับเชื้อปะทุไปในรถคันเดียวกัน นอกจากจาเป็นจริง ๆ เท่านั้น ถ้าไปในรถคัน
เดียวกัน ให้เอาเชื้อปะทุไว้ตอนหน้ารถ
4. อย่าปล่อยให้วัตถุระเบิดหรือเชื้อปะทุถูกแดดส่องโดยตรง
5. อย่านาเอาเชื้อปะทุใส่ไว้ในกระเป๋าเสื้อ กางเกง เป็นอันขาด
6. ห้ามใช้ลวด ตะปู หรือสิ่งคล้าย ๆ กัน แคะเชื้อปะทุออกจากกล่อง
7. อย่าเอาสิ่งหนึ่งสิ่งใดวางทับเชื้อปะทุ
8. ห้ามดึงสายไฟจากเชื้อปะทุไฟฟ้าเล่น
ค. การเตรียมดินนา
1. อย่าใช้เชื้อปะทุไฟฟ้าต่างชนิดกันในวงจรเดียวกัน
2. อย่าลืมแก้วงจรลัดออกจากเชื้อปะทุไฟฟ้าก่อนทาการจุดระเบิด
3. พยายามปิดวงจรไว้ตลอด ในขณะเตรียมและวางดินระเบิด
4. อย่าทาดินระเบิดนาด้วยเชื้อปะทุไฟฟ้า ขณะฟ้าคะนองหรือใกล้จะมีพายุฟ้าร้อง
5. อย่าบีบเชื้อปะทุด้วยฟันหรือมีด จงใช้คีมบีบเชื้อปะทุเท่านั้น
6. ข้อแนะนา อย่าใช้เชื้อปะทุใต้น้า หรือในหลุมเปียก หรือใต้ดิน
7. อย่าตัดชนวนฝักแคเวลาสั้นเกินไป จะต้องทดสอบอัตราการไหม้ของชนวนก่อนใช้เสมอ
8. อย่าบิดหรือพับชนวนฝักแคเวลา
วิชาสงครามทุ่นระเบิด (วัตถุระเบิดทางทหาร, ข้อระมัดระวังฯ, เครือ่ งประกอบฯ และระบบการจุดระเบิด)
-8-
9. จะต้องตรวจปลายเปิดของเชื้อปะทุชนวนให้แน่ใจว่าไม่มีฝุ่นหรือสิ่งอื่น ๆ อยู่ข้างใน
10. ห้ามดัน บิด หรือหมุนเชื้อปะทุชนวนในเวลาสอดชนวนฝักแคระเบิดเข้าไปในปลายเปิดของเชื้อ
ปะทุชนวน
ง. การวางดินระเบิด
1. อย่าใช้กาลังดันดินระเบิดที่ทาดินระเบิดนาแล้วเข้าไปในรูที่เจาะ
2. อย่าใช้ท่อนโลหะหรือเครื่องมือทาการอัดลม ให้ใช้ไม้ที่ไม่มีเหลี่ยมทาการอัดลมเท่านั้น
3. ในเวลาฝึก การวางดินระเบิดกับไม้ เหล็ก คอนกรีต หรือวัสดุอื่น ๆ จะต้องวางทางด้านใกล้กับผู้
สังเกตการณ์ เพื่อให้ชิ้นส่วนระเบิดกระเด็นห่างจากตัวคน
จ. การจุดระเบิด
1. อย่าต่อสายไฟฟ้าเข้ากับเครื่องจุดระเบิดจนกว่าพร้อมที่จะจุด
2. อย่าจุดระเบิดจนกว่าผู้มีอานาจสั่งการจะสั่งให้จุด
3. อย่าปล่อยสายไฟฟ้าให้ติดกับเครื่องจุดระเบิดเมื่อจุดระเบิดแล้ว
4. อย่าจุดระเบิดจนกว่าทุกคนจะออกไปจากเขตอันตรายแล้ว ต้องจัดยามเฝ้าเพื่อป้องกันบุคคลเข้าไปยัง
พื้นที่อันตราย
5. ถ้าท่านเป็นผู้อานวยการจุดระเบิด จะต้องเก็บเครื่องจุดระเบิดไว้กับตัวตลอดเวลา
6. อย่ากลัวเครื่องจุดระเบิด จงใช้มันอย่างกระฉับกระเฉง และมั่นใจ
7. อย่าบรรจุดินระเบิดเข้าไปในรูที่ใช้ดินระเบิดขยายรูโดยทันที ปล่อยให้รูนั้นเย็นเพียงพอเสียก่อนเพื่อ
ป้องกันการระเบิดก่อนเวลา อาจใช้น้าเพื่อระบายความร้อนได้ถ้าจาเป็น
8. อย่าลืมพันข้อต่อระหว่างเชื้อปะทุชนวนกับชนวนฝักแคเวลา เมื่อตัดชนวนฝักแคเวลาน้อยกว่า 1 ฟุต
เพื่อป้องกันประกายไฟจากเครื่องจุดเข้าไปถูกเชื้อปะทุชนวนโดยตรง
3. การปฏิบัติเมื่อเกิดระเบิดด้าน
ผู้ควบคุมการจุดระเบิดจะต้องพิจารณาสาเหตุข้อขัดข้องที่เกิดระเบิดด้านขึ้ น จะต้องทาการตรวจสอบและ
แก้ไขให้ถูกต้อง การปฏิบัติต่าง ๆ ณ ตาบลที่เกิดระเบิดด้านจะต้องใช้บุคคลเพียงคนเดียว ในเวลาเกิดการ
ระเบิดด้านเมื่อจุดระเบิดด้วยเชื้อปะทุชนวน หรือเชื้อปะทุไฟฟ้า จะต้องรอคอย 30 นาที ก่อนที่จะออกไป
ตรวจตรา ในสถานการณ์รบอาจจะต้องออกตรวจตราทันที ทั้งนี้ให้พิจารณาถึงความสาคัญของการระเบิด กับ
การเสี่ยงภัยของบุคคลที่ต้องออกตรวจตรา
4. เกณฑ์ความปลอดภัย
เกณฑ์ที่ให้ไว้ข้างล่างนี้ คือ ระยะปลอดภัยของบุคคลที่อยู่ในพื้นที่โล่งแจ้ง จากสะเก็ดระเบิดที่ดินระเบิดฝัง
หรือวางไว้บนดิน โดยไม่คานึงถึงชนิดและสภาพของดิน
1. ดินระเบิดน้อยกว่า หรือเท่ากับ 27 ปอนด์ ระยะปลอดภัยน้อยที่สุด 300 เมตร
2. ดินระเบิด มากกว่า 27 ปอนด์ ถึง 425 ปอนด์ คานวณระยะปลอดภัย โดยใช้สูตรดังนี้ .-
ระยะปลอดภัยเป็น เมตร = 100 × 3 จ่านวนดินระเบิด เป็นปอนด์

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (วัตถุระเบิดทางทหาร, ข้อระมัดระวังฯ, เครือ่ งประกอบฯ และระบบการจุดระเบิด)


-9-
3. ถ้าจานวนดินระเบิดเกิน 425 ปอนด์ ให้ใช้ระยะปลอดภัย อย่างน้อยที่สุด 750 เมตร
4. ในการระเบิดวัตถุที่แข็งมาก ๆ จะต้องมีที่กาบัง ซึ่งระยะจากที่กาบังถึงตาบลจุดระเบิดอย่างน้อย 100
เมตร ที่กาบังจะต้องแข็งแรงเพียงพอที่จะรับน้าหนักวัสดุขนาดหนักที่จะตกลงบนที่กาบังได้

------------------------------

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (วัตถุระเบิดทางทหาร, ข้อระมัดระวังฯ, เครือ่ งประกอบฯ และระบบการจุดระเบิด)


-10-
3. เครื่องมือในการระเบิดและเครื่องประกอบ
1. เชื้อปะทุ เชื้อปะทุใช้สาหรับจุดระเบิด ที่ใช้ในกิจการทหารมีอยู่ 2 ชนิด คือ เชื้อปะทุชนวน และเชื้อปะทุไฟฟ้า
1.1 เชื้อปะทุชนวน เชื้อปะทุชนวนจะถูกทาให้ระเบิดขึ้นได้ด้วยชนวนฝัก
แคเวลา เครื่องจุดระเบิด ฝักแคระเบิด เชื้อปะทุชนวนมีทั้งที่ใช้ในทางการค้า
และใช้ในกิจการทหาร ที่ใช้ในกิจการทหารเป็นเชื้อปะทุชนวนพิเศษ M7
1.2 เชื้อปะทุไฟฟ้า ใช้ในการจุดระเบิดด้วยระบบไฟฟ้า ระเบิดขึ้นได้ด้วย
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ที่มีใช้อยู่มี 2 ชนิด คือ ที่ใช้ใน
กิจการทหารและทางการค้า มีทั้งแบบพิเศษ
และแบบถ่วงเวลา สามารถถ่ วงเวลาตั้ งแต่
1.0 วินาที ถึง 1.53 วินาที เชื้อปะทุไฟฟ้า
ทางทหารที่เป็นมาตรฐาน คือ เชื้อปะทุไฟฟ้า
แบบ M6
2. ชนวนฝักแคเวลา ( TIME BLASTING FUSE)
ชนวนฝักแคเวลา เป็นตัวถ่วงเวลาเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการจุดระเบิด ภายในบรรจุดินดา สามารถ
จุดได้ด้วยไม้ขีด หรือเครื่องจุดชนวน มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ ชนวนปลอดภัย และชนวนเวลา M700
2.1 ชนวนปลอดภัย (Safety fuse) ใช้ในงานทาลายทั่ว ๆ ไป ประกอบด้วยดินดา
ห่อหุ้มด้วยวัสดุป้องกันน้าซึม มีหลายสีแต่ส่วนมากแล้วจะเป็นสีส้ม อัตราการลุกไหม้ 30 -
45 วินาที/ฟุต
2.2 ชนวนเวลา (M700 Time fuse) เหมือนชนวนปลอดภัย การใช้ก็
เหมือนกัน แต่กาหนดอัตราการลุ กไหม้ได้แน่นอนกว่า สี เป็นสี เขียวเข้ม มี
เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.2 นิ้ว ห่อหุ้มด้วยพลาสติกผิวเรียบ ในระยะ 1 - 1 ½ ฟุต
จะมีแถบสีเหลืองคาด 1 แถบ ในระยะ 5 - 7 ½ ฟุต จะมีแถบสีเหลืองคาด 2
แถบ มีอัตราการลุกไหม้ 40 วินาที/ฟุต
3. ชนวนฝักแคระเบิด (DETONATING CORD)
ชนวนฝักแคระเบิด มีดินระเบิด P.E.T.N. เป็นดินระเบิดแรงสูงบรรจุอยู่ภายใน
ทาลักษณะเป็นเส้นเปลือกนอกเป็นพลาสติก ฝักแคระเบิด
เป็นสื่อทาให้ระเบิดจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง สามารถ
จุดระเบิดได้หลาย ๆ ตาบลพร้อมกัน โดยใช้
เชื้อปะทุเพียงดอกเดียว

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (วัตถุระเบิดทางทหาร, ข้อระมัดระวังฯ, เครือ่ งประกอบฯ และระบบการจุดระเบิด)


-11-
4. เชื้อปะทุถ่วงเวลามาตรฐาน (STANDRAD DELAY DETONATORS) เป็นเครื่องจุดระเบิดโดยตรง
ตัวเครื่องเป็นหลอดโลหะ
4.1 M1A1 ถ่วงเวลา 15 วินาที ทางานแบบเสียดสี M1
4.2 M1A2 ถ่วงเวลา 15 วินาที ทางานแบบจอกกระทบแตก
4.3 M2 ถ่วงเวลา 8 วินาที ทางานแบบเสียดสี (ห่วงดังรูปตัว T) M2
4.4 M2A1 ถ่วงเวลา 8 วินาที ทางานแบบจอกกระทบแตก (ห่วงดึงรูปตัว T)
5. เครื่องจุดชนวน (LIGHTER FUSE) ใช้สาหรับจุดชนวนฝักแคเวลา
5.1 M1 (แก๊ปกระชาก)
5.2 M2 เป็นเครื่องจุดชนวนทุกสภาพอากาศ
5.3 M60 เป็นเครื่องจุดชนวนทุกสภาพอากาศ
6. ตู้ระเบิด ( BLASTING MACHINES) M1 M2 M60
6.1 ชนิดจุดเชื้อปะทุไฟฟ้าได้พร้อมกัน 10 ดอก เป็นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าขนาดเล็ก ซึ่งผลิตขึ้นมามีแรง
เคลื่อนไฟฟ้าเพียงพอที่จะจุดเชื้อปะทุไฟฟ้าได้ 10 ดอก ต่อแบบเรียงอันดับ
6.2 ชนิดจุดเชื้อปะทุไฟฟ้าได้พร้อมกัน 30 ดอก ต่อแบบวงจรเรียงอันดับ
6.3 ชนิดจุดเชื้อปะทุไฟฟ้าได้พร้อมกัน 50 ดอก ต่อแบบวงจรเรียงอันดับ
6.4 ชนิดจุดเชื้อปะทุไฟฟ้าได้พร้อมกัน 100 ดอก ต่อแบบวงจรเรียงอันดับ
7. คีมบีบเชื้อปะทุ M2 ( CAP CRIMPER M2 )
คีมบีบเชื้อปะทุ M2 ใช้ในการบีบเชื้อปะทุให้ติดกับชนวนฝัก
แคเวลา, ฐานเครื่องจุดระเบิดมาตรฐาน หรือ ฝักแคระเบิด เพื่อให้ติด
แน่ น ช่ อ งว่ า งด้ า นนอกใช้ ส าหรั บ บี บ เชื้ อ ปะทุ ช่ อ งว่ า งด้ า นในใช้
สาหรับตัดชนวนฝักแคเวลา หรือฝักแคระเบิด ปลายด้านแหลมของ
คีมใช้สาหรับเจาะดินระเบิดให้เป็นรูสาหรับเสียบเชื้อปะทุ ปลายด้านแบนสาหรับเป็นไขควงและใช้สาหรับวัด
ความยาวได้เมื่อกางคีมออกนอกจากนั้นยังใช้ในการรีดลวดสะดุดให้ตรงได้ด้วย
8. เครื่องตรวจวงจรกัลวานอมิเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบระบบการจุดระเบิด
ด้วยไฟฟ้า ซึ่งใช้ตรวจวงจร (ใช้ถ่านซิลเวอคลอไรด์ มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเพียง 0.9 โวลต์)

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (วัตถุระเบิดทางทหาร, ข้อระมัดระวังฯ, เครือ่ งประกอบฯ และระบบการจุดระเบิด)


-12-
4. ระบบการจุดระเบิด (FIRING SYSTEM)
1. กล่าวทั่วไป ในการทาให้วัตถุระเบิดระเบิดขึ้ น โดยทั่วไปแล้วใช้เชื้อปะทุชนวนและเชื้อปะทุไฟฟ้า ซึ่ง
วิธีการใช้ทั้งสองอย่างนี้จะได้กล่าวต่อไป ฝักแคระเบิดสามารถทาให้เชื้อปะทุทั้งสองชนิดนี้มีประสิทธิภาพในการ
ระเบิดมากกว่า ระบบการจุดระเบิดมีอยู่ 4 วิธี คือ.-
1. ระบบการจุดระเบิดด้วยเชื้อปะทุชนวน
(NON-ELECTRIC FIRING SYSTEMS)

สายการจุดประกอบด้วย ดินระเบิด - เชื้อปะทุชนวน - ชนวนฝักแคเวลา - เครื่องจุดชนวน


2. ระบบการจุดระเบิดด้วยเชื้อปะทุไฟฟ้า ( ELECTRIC FIRING SYSTEMS )

สายการจุดประกอบด้วย ดินระเบิด-เชื้อปะทุไฟฟ้า - สายไฟ - ตู้ระเบิด หรือเครื่องกาเนิดไฟฟ้าอื่นๆ


3. ระบบการจุดด้วยชนวนฝักแคระเบิด (DETONATING CORD FIRING SYSTEMS)
3.1 ฝักแคระเบิดจุดด้วยเชื้อปะทุชนวน
3.2 ฝักแคระเบิดจุดด้วยเชื้อปะทุไฟฟ้า (เป็นระบบที่ใช้งานได้ดีที่สุด)
สายการจุดประกอบด้วย ดินระเบิด - ชนวนฝักแคระเบิด จะจุดด้วยเชื้อปะทุชนวน หรือเชื้อปะทุ
ไฟฟ้าให้นาสายการจุดตามข้อ1., 2. มาประกอบที่ปลายของชนวนฝักแคระเบิด

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (วัตถุระเบิดทางทหาร, ข้อระมัดระวังฯ, เครือ่ งประกอบฯ และระบบการจุดระเบิด)


-13-
4. ระบบการจุดระเบิดคู่ (DUAL FIRING SYSTEMS) เป็นการแก้ปัญหาในเรื่องระเบิดด้าน (ใช้ชนวนฝัก
แคระเบิดทาสายหลัก (MAIN) ถ้าต้องการให้ดินระเบิดสองแห่ง หรือ มากกว่าระเบิดขึ้นพร้อมกัน)
4.1 ระบบการจุดด้วยเชื้อปะทุชนวน 2 ระบบ (ให้จุดชนวนฝักแคเวลาอันยาวก่อน)
4.2 ระบบการจุดด้วยเชื้อปะทุไฟฟ้า 2 ระบบ
4.3 ระบบคู่ผสม จุดด้วยระบบการจุดระเบิดด้วยเชื้อปะทุชนวน และ เชื้อปะทุไฟฟ้า (ระบบจุดระเบิด
ด้วยเชื้อปะทุชนวนจะต้องจุดระเบิดก่อน)
การใช้วัตถุระเบิดในการท่าลาย
1. ใช้สูตรคานวณ
2. ใช้บัตรทาลาย
3. ใช้เทปคานวณ

- - - - - - - - - - - ---------------------- - - - - - - - - - - -

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (วัตถุระเบิดทางทหาร, ข้อระมัดระวังฯ, เครือ่ งประกอบฯ และระบบการจุดระเบิด)


-14-
5. ทุ่นระเบิด

สงครามทุ่นระเบิด (MINE WARFARE)

ทุ่นระเบิด (MINE) กับระเบิด (BOOBY TRAPS)

ทุ่นระเบิด ใช้ในสนาม

ทุ่นระเบิดจริง ทุ่นระเบิดฝึก ทุ่นระเบิดลวง ทุน่ ระเบิดแสวงเครื่อง


- ทุ่นระเบิดดักรถถัง - PRACTICE MINES (สีฟ้าหรือน้าเงินอ่อน)
- ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล - INERT MINES (สีด้า)
- ทุ่นระเบิดเคมี (M1, M23) - DRILL MINES (ใช้ฝึกวางสนามทุ่นระเบิด)

ทุ่นระเบิดดักรถถัง

ทุ่นระเบิดเคมี M23 ระเบิดอยู่กับที่ เจาะท้าลายทางดิ่ง ระเบิดทางราบ


M7A2, M6A2, M15 และ M19 M21 M24, M66

ทุ่นระเบิดดักรถถัง M21
ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล

ทุ่นระเบิดดักรถถัง
M66
ระเบิดอยู่กับที่ สะเก็ดระเบิด กระโดดสะเก็ดระเบิด
M14 M18A1 M2A4, M16 และ M26

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ทุ่นระเบิด)
-15-
1. ทุ่นระเบิด
ทุ่นระเบิด คือ วัตถุระเบิดที่บรรจุอยู่ในภาชนะ หรือวัสดุอื่น ๆ ซึ่งออกแบบสร้างขึนเพื่อท้าลาย หรือท้า
ความเสี ย หายให้ แ ก่ ยานพาหนะ เรื อ เดิ น ทะเล หรื อ
เครื่องบิน หรือออกแบบสร้างขึนเพื่อท้าให้ทหารบาดเจ็บ
ตาย หรือท้าให้ไร้สมรรถภาพ ทุ่นระเบิดอาจจะจุดระเบิด
ขึนได้โดยการกระท้าของเหยื่อที่มาถูกทุ่นระเบิ ด โดยช่วง
ระยะเวลาหรือโดยวิธีการบังคับจุด โดยปกติทุ่นระเบิดจริง
แบ่งตามลักษณะการใช้ออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ.-
1. ทุ่นระเบิดดักรถถัง คือ ทุ่นระเบิดที่มีดินระเบิดจ้านวนมาก ซึ่งตามปกติแล้วจะต้องมีน้าหนักกด
อย่างน้อยที่สุด 140 ปอนด์ จึงท้าให้เกิดการระเบิด ทุ่นระเบิดดักรถถังนีใช้ท้าลายยานล้อ และยานสายพาน
2. ทุ่นระเบิดสังหาร คือ ทุ่นระเบิดที่มีดินระเบิดจ้านวนน้อย ซึ่งจะท้าให้เกิดการบาดเจ็บต่อทหารโดย
แรงระเบิด หรือชินสะเก็ดระเบิด
3. ทุ่นระเบิดเคมี คือ ทุ่นระเบิดที่บรรจุสารเคมีไว้ในตัวทุ่ น โดยมีดินระเบิดเป็นส่วนผลักดันสารเคมีให้
กระจายออกคลุมพืนที่ ท้าให้เกิดเป็นพิษในบริเวณนัน
ทุ่นระเบิดดักรถถัง (Antitank Mines) ที่ใช้ส้าหรับต่อต้านรถถังเป็นหลักนัน เรียกว่าทุ่นระเบิดดักรถถัง
- ทุ่นระเบิดดักรถถังขนาดเบา คือ ทุ่นระเบิดที่มีดินระเบิดน้อยกว่า 12 ปอนด์
- ทุ่นระเบิดดักรถถังขนาดกลาง คือ ทุ่นระเบิดที่มีดินระเบิดระหว่าง 12 – 20 ปอนด์
- ทุ่นระเบิดดักรถถังขนาดหนัก คือ ทุ่นระเบิดที่มีดินระเบิดมากกว่า 20 ปอนด์
2. ทุ่นระเบิดดักรถถัง
2.1 ทุ่นระเบิดดักรถถัง ขนาดกลาง M6A2
- น้าหนัก 20 ปอนด์
- บรรจุดินระเบิด T.N.T. 12 ปอนด์
- ชนวน M 603
- มีที่ใส่ชนวนกันเขยือน 2 แห่ง
- การท้างาน น้าหนักกด 300 - 400 ปอนด์
ก. การใส่ชนวน
1. ถอดแป้นตังชนวนออก และตรวจความเรียบร้อย
2. ตรวจชนวน และ ถอดคลิ๊ปนิรภัยออกจากชนวน M603
3. ใส่ชนวนเข้าที่ช่องใส่ชนวน และให้ตรวจสอบช่องว่าง (CLEARANCE TEST) ด้วยกุญแจ
ตังชนวน M20
4. หมุนแป้นตังชนวนให้อยู่ในต้าแหน่งปลอดภัย (SAFE) และขันแป้นตังชนวนเข้าที่ทุ่นระเบิดด้วยมือ
หลังจากนันให้หมุนแป้นตังชนวนด้วยกุญแจตังชนวน M20 ให้แน่นเพื่อป้องกันน้าเข้า
วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ทุ่นระเบิด)
-16-
ข. การขุดหลุม
- ขุดหลุมให้ลึกพอโดยให้แป้นรับน้าหนักกดอยู่ต่้ากว่าระดับพืนดิน ประมาณ 3 ซม.
- ขุดด้านข้างหลุมโดยรอบ ท้ามุม 45° เพื่อป้องกันยานพาหนะข้ามทุ่นระเบิด
ค. การฝังทุ่นระเบิด
- น้าทุ่นระเบิดฝังลงในหลุมที่เตรียมไว้จนกระทั่งดินที่น้ามาฝังทุ่นระเบิดได้ระดับกับแป้นรับน้าหนักกด
ง. การทาพร้อมระเบิด
- ใช้กุญแจตังชนวน M20 หมุนแป้นตังชนวนจากต้าแหน่ง “SAFE” ไปยังต้าแหน่ง “ARMED”
จ. การพรางทุ่นระเบิด
- ใช้ดินกลบทุ่นระเบิด 3 - 5 ซม.
- พรางทุ่นระเบิด, น้าดินที่เหลือใส่กระสอบทราย และน้ากระสอบทรายออกไปจากพืนที่นัน
- ให้เก็บคลิ๊ปนิรภัย (SAFETY CLIP) ของชนวนทุ่นระเบิดไว้
ฉ. การทาไม่ให้พร้อมระเบิด ให้ปฏิบัติกลับกันกับขันตอนการท้าพร้อมระเบิด
2.2 ทุ่นระเบิดดักรถถัง ขนาดเบา M7A2
- น้าหนัก 5 ปอนด์
- บรรจุดินระเบิด เทตตริล (Tetryl) 3.5 ปอนด์
- ชนวน M 603
- มีที่ท้ากันเขยือน 1 แห่ง
- การท้างาน น้าหนักกด 140 – 240 ปอนด์
การทาพร้อมระเบิด
1. ยกแป้นรับน้าหนักกดเลื่อนไปทางข้าง ตรวจดูความเรียบร้อยช่องใส่ชนวน
2. ตรวจชนวน และถอดคลิปนิรภัยออกจากชนวน M 603
3. ใส่ชนวนลงในช่องติดตังชนวน
4. เลื่อนแป้นรับน้าหนักกดให้อยู่ตรงกึ่งกลาง แล้วน้าถุงผ้าใส่ทุ่นระเบิดเพื่อป้องกันเศษหินหรือดินมา
รองรับน้าหนักกด
การฝังทุ่นระเบิด น้าทุ่นระเบิดฝังลงในหลุมที่เตรียมไว้ โดยให้แป้นรับน้าหนักกดอยู่เหนือระดับพืนดิน
เล็กน้อย
การทาไม่ให้พร้อมระเบิด ปฏิบัติกลับกันกับขันตอนการท้าพร้อมระเบิด

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ทุ่นระเบิด)
-17-
2.3 ทุ่นระเบิดดักรถถัง ขนาดหนัก M15
- น้าหนัก 30 ปอนด์ (13.5 กก.)
- บรรจุดินระเบิด คอมโปซิชั่น บี
(COMP.B) 22 ปอนด์ (9.9 กก.)
- ชนวน M603
- มีที่ใส่ชนวนกันเขยือน 2 แห่ง
- การท้างาน น้าหนักกด 350 – 750 ปอนด์
(158 – 338 กก.)
ก. การใส่ชนวน
1. ถอดแป้นตังชนวนออก และตรวจความ
เรียบร้อย
2. ตรวจชนวน และ ถอดคลิปนิรภัยออกจากชนวน M603
3. ใส่ชนวนเข้าที่ช่องใส่ชนวน และให้ตรวจสอบช่องว่าง (CLEARANCE TEST) ด้วยกุญแจตังชนวน
M20
4. หมุนแป้นตังชนวนให้อยู่ในต้าแหน่งปลอดภัย (SAFE) และขันแป้นตังชนวนเข้าที่ทุ่นระเบิดด้วยมือ
หลังจากนันให้หมุนแป้นตังชนวนด้วยกุญแจตังชนวน M20 ให้แน่นเพื่อป้องกันน้าเข้า
ข. การขุดหลุม
- ขุดหลุมให้ลึกพอโดยให้แป้นรับน้าหนักกดอยู่ต่้ากว่าระดับพืนดิน ประมาณ 3 ซม.
- ขุดด้านข้างหลุมโดยรอบ ท้ามุม 45 เพื่อป้องกันยานพาหนะข้ามทุ่นระเบิด
ค. การฝังทุ่นระเบิด
- น้าทุ่นระเบิดฝังลงในหลุมที่เตรียมไว้จนกระทั่งดินที่น้ามาฝังทุ่นระเบิดได้ระดับกับแป้นรับน้าหนักกด
ง. การทาพร้อมระเบิด
- ใช้กุญแจตังชนวน M20 หมุนแป้นตังชนวนจากต้าแหน่ง “SAFE” ไปยังต้าแหน่ง “ARMED”
จ. การพรางทุ่นระเบิด
- ใช้ดินกลบทุ่นระเบิด 3 – 5 ซม.
- พรางทุ่นระเบิด, น้าดินที่เหลือใส่กระสอบทราย และน้ากระสอบทรายออกไปจากพืนที่นัน
- ให้เก็บคลิ๊ปนิรภัย (SAFETY CLIP) ของชนวนทุ่นระเบิดไว้
ฉ. การทาไม่ให้พร้อมระเบิด ให้ปฏิบัติกลับกันกับขันตอนการท้าพร้อมระเบิด

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ทุ่นระเบิด)
-18-
2.4 ทุ่นระเบิดดักรถถัง ขนาดหนัก M19 (อโลหะ)
- น้าหนัก 28 ปอนด์ (12.6 กก.)
- บรรจุดินระเบิด คอมโปซิชั่น บี.(COMP.B) 21 ปอนด์ (9.45 กก.)
- ชนวน M606 ประกอบอยู่ในตัวทุ่นระเบิด แบบกลไกแมคคานิกส์ จะท้างานเมื่อมีแรงกด
- มีที่ท้ากันเขยือน 2 แห่ง
- การท้างาน น้าหนักกด 350 – 500 ปอนด์ (157 – 225 กก.)
ก. การตรวจสอบทุ่นระเบิด
1. ถอดชนวน M606 ออกโดยหมุนทวนเข็ม
นาฬิกา ¼ รอบ และตรวจความเรียบร้อย
2. ถอดจุกกันฝุ่นออก โดยการใช้กุญแจตังชนวน
M22 ตรวจดูต้าแหน่งของเข็มแทงชนวนจะต้องอยู่เยือง
ศู น ย์ ก ลางเมื่ อ แป้ น ตั งชนวนอยู่ ใ นต้ า แหน่ ง “SAFE”
ถอดคลิ๊ปนิรภัยออก หมุนแป้นตังชนวนด้วยกุญแจตัง
ชนวน M22 ไปไว้ใ นต้า แหน่ งพร้ อ มระเบิ ด (ARMED)
ตรวจดูต้าแหน่ งของเข็มแทงชนวนว่าอยู่ตรงกลางหรือไม่
หมุนแป้นตังชนวนไปไว้ในต้าแหน่งปลอดภัย (SAFE) สังเกต
ว่ า เข็ ม แทงชนวนต้ อ งเคลื่ อ นที่ ก ลั บ ไปอยู่ ต้ า แหน่ ง เยื อง
ศูนย์กลางและใส่คลิ๊ปนิรภัยเข้าที่เดิม
3. เอาดินระเบิดน้า M50 ใส่เข้าที่ในช่องแทนจุกกันฝุ่น และหมุนให้แน่นด้วยกุญแจตังชนวน M22
4. ใช้กุญแจตังชนวน M22 ขันชนวน M606 เข้ากับช่องใส่ชนวนให้แน่น
ข. การขุดหลุม
- ขุดหลุมให้ลึกพอโดยให้แป้นรับน้าหนักกดอยู่เสมอหรือต่้ากว่าระดับพืนดินเล็กน้อย
- ขุดด้านข้างหลุมโดยรอบ ท้ามุม 45 เพื่อป้องกันยานพาหนะข้ามทุ่นระเบิด
ค. การฝังทุ่นระเบิด
- น้าทุ่นระเบิดฝังลงในหลุมที่เตรียมไว้
- ฝังทุ่นระเบิดจนกระทั่งดินที่น้ามาฝังทุ่นระเบิดได้ระดับกับแป้นรับน้าหนักกด
ง. การทาพร้อมระเบิด
- ถอดคลิ๊ปนิรภัยออก
- ใช้กุญแจตังชนวน M22 หมุนแป้นตังชนวนจากต้าแหน่ง “SAFE” ไปยังต้าแหน่ง “ARMED”
จ. การพรางทุ่นระเบิด
- ใช้ดินกลบทุ่นระเบิด 3 ซม.
- ท้าการพรางทุ่นระเบิด, น้าดินที่เหลือใส่กระสอบทรายและน้ากระสอบทรายออกไปจากพืนที่นัน

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ทุ่นระเบิด)
-19-
- ให้เก็บคลิ๊ปนิรภัย และจุกกันฝุ่นของทุ่นระเบิดไว้
ฉ. การทาไม่ให้พร้อมระเบิด ให้ปฏิบัติกลับกันกับขันตอนการท้าพร้อมระเบิด
3. ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล
3.1 ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลกระโดดสะเก็ดระเบิด M2A4
- น้าหนัก 6.5 ปอนด์
- สะเก็ดระเบิด เหล็ก
- ชนวนผสม (กด-ดึง) M6A1
- บรรจุดินระเบิด T.N.T. 0.38 ปอนด์ (154.2 กรัม)
- การท้างาน
น้าหนักกด 8 – 20 ปอนด์
แรงดึง 3 – 10 ปอนด์
กระโดดสูง 2 – 3 เมตร
รัศมีอันตราย 100 หลา
การทาพร้อมระเบิด
- เอาลวดเกลียงเปลี่ยนสลักนิรภัยทัง 2 ตัว ก่อน
- เอาจุกกันฝุ่นออก
- น้าชนวนผสม M 6 A1 ตรวจความเรียบร้อยของชนวนใส่แทนจุกกันฝุ่นแล้วหมุนให้แน่น
- ฝังทุ่นระเบิดให้ส่วนของชนวนอยู่เหนือระดับพืนดิน (ห่วงดึง)
การผูกลวดสะดุด
- ผูกลวดสะดุดให้เป็นรูปตัว วี(V) ทางด้านข้าศึก ยาวเท่ากับรัศมีอันตรายหวังผล
- ผูกลวดสะดุดจากหลักสมอบกก่อนจึงมาผูกที่ห่วงดึงของชนวนทุ่นระเบิด
การทาให้พร้อมระเบิด
- ถอดสลักนิรภัยขัดเข็มแทงชนวน
- ตรวจสลักนิรภัยห้ามเข็มแทงชนวน จะต้องอยู่ในลักษณะหลวมคล่องตัว
- ถอดสลักนิรภัยห้ามเข็มแทงชนวนต่อไป
การทาไม่ให้พร้อมระเบิด ปฏิบัติกลับกันกับขันตอนในการตังชนวนให้ทุ่นระเบิดพร้อมระเบิด

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ทุ่นระเบิด)
-20-
3.2 ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลกระโดดสะเก็ดระเบิด ตระกูล M16
- น้าหนักพร้อมชนวน
M16 8.25 ปอนด์
M16A1 8.25 ปอนด์
M16A2 6.25 ปอนด์
- ดินระเบิดหลัก TNT
M16 1.15 ปอนด์
M16A1 1.13 ปอนด์
M16A2 1.3 ปอนด์
- สะเก็ดระเบิด เหล็ก
- ชนวน (ผสม) M 605
- การทางาน
น้าหนักกด 8 - 20 ปอนด์ (3.6 – 9 กก.)
แรงดึง 3 - 10 ปอนด์ (1.4 – 4.5 กก.)
- กระโดดสูง ประมาณ 1.8 เมตร
- รัศมีอันตรายหวังผล 27 เมตร (M16, M16A1)
- รัศมีอันตรายหวังผล 30 เมตร (M16A2)
- รัศมีอันตรายส้าหรับหน่วยทหารฝ่ายเดียวกัน 183 เมตร (M16, M16A1, M16A2)
การทาให้พร้อมระเบิด
- ถอดจุกกันฝุ่นออก แล้วน้าชนวนผสม M605 หมุนใส่ให้แน่น
- ฝังทุ่นระเบิดให้แป้นรับน้าหนักกดอยู่เหนือระดับพืนดิน
(การติดตังให้ท้างานแบบกด)
- ฝังทุ่นระเบิดให้ห่วงผูกลวดสะดุดอยู่เหนือระดับพืนดิน
(การติดตังให้ท้างานแบบดึงหรือลวดสะดุด)
- ผูกลวดสะดุดให้เป็นรูปตัว วี กว้าง ๆ แขนของตัววี (V) แต่ละข้างยาวสูงสุด 10 เมตร และให้ลวด
สะดุดอยู่เหนือระดับพืนดินอย่างน้อย 2 – 3 ซม. (FM 20-32 ฉบับ 29 MAY 1998)
- ผูกลวดสะดุดจากหลักสมอบกก่อน แล้วจึงมาผูกที่ห่วงผูกลวดสะดุดของชนวนทุ่นระเบิด
- ถอดสลักนิรภัยขัดเข็มแทงชนวนก่อน
- ตรวจสลักนิรภัยห้ามเข็มแทงชนวน จะต้องอยู่ในลักษณะหลวมคล่องตัว
- ถอดสลักห้ามเข็มแทงชนวนต่อไป
การทาไม่ให้พร้อมระเบิด ปฏิบัติกลับกันกับขันตอนในการตังชนวนให้ทุ่นระเบิดพร้อมระเบิด

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ทุ่นระเบิด)
-21-
3.3 ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลกระโดดสะเก็ดระเบิด M26
- น้าหนัก 2.2 ปอนด์
- บรรจุดินระเบิดหลัก (COMP.B) 0.375 ปอนด์ (170 กรัม)
- สะเก็ดระเบิด ลูกปราย
- ชนวน ในตัวทุ่นระเบิดท้างานเมื่อ
น้าหนักกด 14 – 28 ปอนด์
แรงดึง 4 – 8 ปอนด์
- กระโดดระเบิดสูง ประมาณ 2 เมตร
- รัศมีอันตรายหวังผล ประมาณ 20 เมตร
- รัศมีอันตรายไกลสุด 150 เมตร
การทาให้พร้อมระเบิด
- เอาคันบังคับตังชนวนออก ถ้าใช้ลวดสะดุดให้เอาห่วงที่ตังลวดสะดุดใส่ที่กึ่งกลาง และ ฝังทุ่นระเบิด
ลงไปในพืนดิน ให้ส่วนบนของทุ่นระเบิดอยู่ระดับพืนดินกลบดินด้านข้างให้แน่น
- ผูกลวดสะดุดจากหลักสมอบกกับห่วงที่ตังลวดสะดุดให้หย่อนพอประมาณ
- เอาสลักยึดแผ่นบังคับการตังชนวนออก
- เอาคันบังคับตังชนวนไปใส่ที่ปุ่มแผ่นบังคับการตังชนวน แล้วหมุนแผ่นส่วนบนตามเข็มนาฬิกาไป
จนกระทั่งหยุดไม่สามารถหมุนไปได้ (จะอยู่ที่ตรงเครื่องหมายสีแดงอักษร A คือพร้อมระเบิด)
- เอาแผ่นบังคับการตังชนวนออก โดยดึงคันบังคับตังชนวนออกมาตรง ๆ
การทาไม่ให้พร้อมระเบิด ให้ปฏิบัติกลับกันกับขันตอนการติดตังชนวนท้าพร้อมระเบิด
ข้อระมัดระวัง ห้ามท้าพร้อมระเบิดเมื่อทุ่นระเบิด ไม่ได้ฝังดินเป็นอันขาด

3.4 ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลสะเก็ดระเบิด M18A1


- น้าหนัก 3.5 ปอนด์ (1.6 กก.)
- วัตถุระเบิด (COMP.C-4) 1.5 ปอนด์ (682 กรัม)
- สะเก็ดระเบิด (ลูกปราย) 700 ลูก
- อุปกรณ์ต่อ 1 ทุ่น
เชือปะทุไฟฟ้าพร้อมสายยาว 30 เมตร
เครื่องจุดระเบิด (M57) 1 อัน
เครื่องตรวจสอบวงจร (M40) 1 อัน/ 6 ทุ่น
- ระยะหวังผล 50 เมตร
- รัศมีอันตรายปานกลาง 100 เมตร
- รัศมีอันตรายไกลสุด 250 เมตร

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ทุ่นระเบิด)
-22-
การทาพร้อมระเบิด
1. เครื่องตรวจสอบวงจร ใช้ตรวจสายไฟฟ้าที่ใช้จุดระเบิดและตรวจเชือปะทุไฟฟ้าพร้อมกันด้วย
2. เมื่อต่อเครื่องตรวจสอบวงจรเข้ากับปลายสายไฟฟ้าและน้าเครื่องจุดระเบิดต่อเข้ากับเครื่องตรวจ
สอบวงจรแล้วกดคันบังคับเครื่องจุดระเบิด ถ้าปรากฏแสงไฟสว่างที่ช่องกระจก แสดงว่า วงจรนันสมบูรณ์ไม่
ผิดปกติ
การเล็ง การเล็งทุ่นระเบิด M18 A1 ให้เล็งต่อเป้าหมายที่ปรากฏข้างหน้าในระยะ 50 เมตร จากทุ่น
ระเบิด การเล็งที่เป้าหมายให้เล็งสูงจากระดับเท้าถึงหัวเข่า ให้ตาห่างจากศูนย์เล็ง 6 – 9 นิว
3. ถอดจุกกันฝุ่นออก น้าเชือปะทุไฟฟ้าสอดเข้าไปในรูเสียบเชือปะทุใช้จุกเกลียวยึดเชือปะทุไฟฟ้าให้
ติดแน่นกับรูเสียบเชือปะทุ
4. คลี่สายไฟฟ้าส้าหรับการจุดระเบิดออก และน้ามายังที่ก้าบังส้าหรับใช้จุดระเบิด ต่อปลายสายไฟฟ้า
เข้ากับเครื่องจุดระเบิด ซึ่งเครื่องจุดระเบิดจะต้องอยู่ในต้าแหน่งปลอดภัย
ต้าบลจุดระเบิด จะต้องอยู่ในที่ก้าบังห่างจากตัวทุ่นระเบิดไปข้างหลังอย่างน้อย 16 เมตร หน่วยทหาร
ฝ่ายเดียวกันจะต้องอยู่ห่างจากตัวทุ่นระเบิดทางด้านข้างและด้านหลังอย่างน้อย 100 เมตร
5. การจุดระเบิด ปลดคันบังคับออกจากต้าแหน่งปลอดภัย แล้วใช้มือกดคันบังคับอย่างแรง
การทาไม่ให้พร้อมระเบิด ปฏิบัติกลับกันกับขันตอนการท้าให้พร้อมระเบิด

3.5 ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลระเบิดอยู่กับที่ M14


- น้าหนัก 4.5 ออนซ์ (127.8 กรัม) น้าหนักมากกว่าเดิมเนื่องจากเพิ่มแหวนโลหะที่ด้านล่าง
ของทุ่นระเบิดเพื่อให้ง่ายในการตรวจค้น
- วัตถุระเบิด เท็ตตริล (TETRYL) 1 ออนซ์ (28.4 กรัม)
- ชนวน อยู่ในตัวทุ่นระเบิด แบบกลไกแมคคานิกส์
ท้างานเมื่อมีแรงกด
- การทางาน น้าหนักกด 20 – 35 ปอนด์ (11.5 – 13.5 กก.)
- เป็นแบบระเบิดอยู่กับที่ ไม่มีสะเก็ดระเบิด
- อ้านาจการระเบิด จะท้าให้ขาของผู้ที่เหยียบหัก ขาด
การทาพร้อมระเบิด
- เอาจุกกันฝุ่นออกจากทุ่นระเบิด (จุกสีขาว)
- หมุนแป้นรับน้าหนักกดไปต้าแหน่งอักษร A (พร้อมระเบิด) ด้วยกุญแจตังชนวน
- เอาคลิปนิรภัยออก และตรวจดูการท้างานส่วนประกอบของระบบชนวน
- ใส่คลิปนิรภัยเข้าที่เดิม
- ใส่ดินระเบิดน้า M46 (ดินปะทุ) เข้าไปในช่องใส่ใต้ทุ่นระเบิด แทนจุกกันฝุ่นและขันให้แน่น
- ฝังทุ่นระเบิดในพืนดินและถอดคลิปนิรภัยออก
- การฝังทุ่นระเบิด ควรฝังให้แป้นรับน้าหนักกดอยู่ที่เหนือระดับพืนดินเล็กน้อย
วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ทุ่นระเบิด)
-23-
การทาไม่ให้พร้อมระเบิด
1. ใส่คลิปนิรภัย
2. ถอดดินระเบิดน้า M46 ออกจากทุ่นระเบิด
3. หมุนแป้นรับน้าหนักกดให้หัวลูกศรไปอยู่ที่ต้าแหน่งอักษร S
ข้อควรระวัง อย่าหมุนแป้นรับน้าหนักกดมาที่ S เมื่อทุ่นระเบิดมีสภาพช้ารุดมากเกินไป
4. พลุส่องแสงลวดสะดุด
4.1 พลุส่องแสง M48
- ชนิดร่มส่องแสง
- รัศมีส่องสว่าง 300 หลา
- ใช้เป็นสัญญาณเตือน
- ร่มจะกางออกและลุกไหม้สูงจากพืนดิน 300 – 400 ฟุต ไหม้อยู่นาน 20 วินาที
การทาให้พร้อมระเบิด เหมือนทุ่นสังหารบุคคล M2A4

4.2 พลุส่องแสง M49A1


- การลุกไหม้ส่องสว่าง 1 นาที
- รัศมีแสงสว่าง 250 เมตร
- การท้างาน ด้วยการดึง หรือ เลิกดึง
ด้วยการยึดพลุส่องสว่างกับเสาหรือต้นไม้
- ผูกลวดสะดุดกับเสาสมอบก ปลายอีกด้านหนึ่งผูกติดกับ
ตัวบังคับบีบกระเดื่องนิรภัย และดึงให้อยู่ในแนวดิ่ง จะบังคับบีบกระเดื่องนิรภัย
ให้อยู่ในลักษณะพอดี
การทางานให้พร้อมใช้งาน เอาคลิปนิรภัยออก
การทาไม่ให้พร้อมใช้งาน เอาสลักนิรภัยใส่รูช่องคลิปนิรภัย หลังจากใส่คลิปนิรภัยแล้วให้ตรวจ
ปลายทังสองของลวดสะดุดให้เรียบร้อย แล้วตัดลวดสะดุดใกล้กับตัวบังคับปีกกระเดื่องนิรภัย
คาเตือน !! อย่าใช้สายตามองตรงที่พลุส่องแสงขณะพลุส่องแสงลุกไหม้
หมายเหตุ ในการที่จะให้พลุส่องแสงท้างานแบบดึง ให้ผูกลวดสะดุดที่รูสลักนิรภัยให้ลวดสะดุดหย่อน
พอประมาณ

- - - - - - - - - - -------------------- - - - - - - - - - -

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ทุ่นระเบิด)
-24-
6. กับระเบิด

- ใช้ในสนาม
กับระเบิด - อาคาร
- ยานพาหนะ

- ให้เห็น (เหยื่อล่อ)
ผลิตจากโรงงาน แสวงเครื่อง
- ไม่ให้เห็น (ฝังดิน) ส่วนมากทางาน
ด้วยสวิตช์จดุ ระเบิดแบบ “กด”
อยู่ในลักษณะให้เห็น (เหยื่อล่อ) ทาให้บาดเจ็บ
เท่านั้น มักจะเลียนแบบของใช้ทั่ว ๆ ไป เช่น
ไฟฉาย, กระติกน้า, ปากกา ฯลฯ

พวกใช้เชื้อปะทุ พวกใช้เชื้อปะทุ -ใช้แพร่หลายกว่า


ชนวน ไฟฟ้า พวกใช้เชื้อปะทุ
ชนวนเพราะ
ประกอบง่ายกว่า
จุดด้วยเครื่องจุดระเบิด จุดด้วยสารเคมี และสวิตช์จุดระเบิด
สหรัฐฯ ทาได้หลายแบบ
- M1 ดึง - โซเดียมคลอเรท
- M3 ดึง-เลิกดึง - โปรแตสเซียมคลอเรท
- M1A1 กด ฯลฯ - ด่างทับทิม
- คลอรีน

จุดด้วยสวิตช์จุดระเบิดธรรมดา จุดด้วยสวิตช์อิเล็กทรอนิกส์ (บังคับจุด)


- ดึง - แสง
- ดึง-เลิกดึง - เสียง
- กด - ความร้อน
- เลิกกด - ความถี่วิทยุ
- ถ่วงเวลา - อินฟราเรด
ฯลฯ

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (กับระเบิด)
-25-
1. ชนิดของกับระเบิด
กับระเบิดหมายถึง สิ่งอุปกรณ์ต่าง ๆ (สป.5) เช่น ดินระเบิด, กระสุน ป., ค. หรือ ลข. หรือสิ่งอื่นที่มีวัตถุ
ระเบิดบรรจุอยู่ นามาประดิษฐ์ขึ้นเพื่อทาให้เกิดการระเบิดขึ้น โดยการกระทาของบุคคล ซึ่งรู้เท่าไม่ถึงการณ์
คิดว่าสิ่งที่ตนทาไปถูกต้องไม่น่าจะมีอันตราย หรือคิดว่าคงปลอดภัยแล้ว หากขาดความระมัดระวัง เช่น ยก
สิ่งของ หรือ เคลื่อนย้ายวัตถุ ซึ่งดูไม่น่าจะมีอันตรายแต่เครื่องจุดระเบิดจะทางานทันที ทาให้ได้รับอันตราย
ได้ กับระเบิดที่ใช้มีอยู่ 2 ชนิด คือ
1. กับระเบิดผลิตจากโรงงาน

2. กับระเบิดแสวงเครื่อง แบ่งออกได้ 2 แบบ


2.1 แบบใช้เชื้อประทุชนวน
2.2 แบบใช้เชื้อปะทุไฟฟ้า
2. สายการจุดระเบิดของกับระเบิด
สายการจุดระเบิด คือ อาการเริ่มต้นไปกระตุ้นหรือกระทาต่อชนวน ทาให้ดินระเบิดจานวนน้อยที่ไวต่อ
การระเบิด การการปะทุ ทาให้เกิดประกายเพลิงจุดดินระเบิดหลัก
3. การติดตั้งและรื้อถอนกับระเบิดแสวงเครื่อง
3.1 แบบใช้เชื้อปะทุชนวน
กับระเบิดที่จะกล่าวต่อไปนี้ เป็นกับระเบิดแสวงเครื่องที่ใช้เชื้อปะทุชนวนจุดดินระเบิดหลัก แต่ต้องใช้
เครื่ องจุ ดระเบิ ดมาตรฐานแบบต่างๆ ของสหรั ฐ เป็นตัวจุดเชื้อปะทุชนวนก่อน เครื่องจุดระเบิดแบบต่างๆ นี้
สามารถติดตั้งได้รวดเร็ว และสะดวกต่อการใช้ ประกอบเข้ากับดินระเบิดได้ทุกชนิด ลูกกระสุน ค., ป. ขนาดต่างๆ
ลูกระเบิดขว้าง ฯลฯ เป็นต้น ทนต่อสภาพอากาศและมีความปลอดภัยดี

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (กับระเบิด)
-26-
เครื่องจุดระเบิดมาตรฐาน
1. แบบ M1 ทางาน ในลักษณะ ดึง

2. แบบ M3 ทางาน ในลักษณะ ดึง-เลิกดึง

3. แบบ M1A1 ทางาน ในลักษณะ กด

4. แบบ M1 ทางาน ในลักษณะ เลิกกด

5. แบบ M5 ทางาน ในลักษณะ เลิกกด

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (กับระเบิด)
-27-
6. แบบ M1 ทางาน ในลักษณะ ถ่วง เวลา

7. แบบ M142 (เอกประสงค์)

ข้อแนะนา การติดตั้งและรื้อถอน (ในสนามฝึก)


1. การติดตั้งและรื้อถอนที่ประกอบด้วย ดินระเบิดนั้น ให้กระทาในสนามฝึกเท่านั้น
2. ปฏิบัติตามขั้นตอนให้ถูกต้อง
3. ต้องมีที่กาบังและอยู่ในระยะปลอดภัยด้วย
4. สนามฝึกต้องมีเครื่องหมายอันตรายแสดงไว้ในขณะทาการฝึก เช่น ธงแดง แผ่นป้ายบอกอันตราย

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (กับระเบิด)
-28-
3.2 แบบใช้เชื้อปะทุไฟฟ้า
กับระเบิดที่จะกล่าวต่อไปนี้ เป็นกับระเบิดแสวงเครื่องเช่นกัน แต่ใช้เชื้อ
ปะทุไฟฟ้าจุดดินระเบิดหลัก โดยมีสวิตช์จุดระเบิด ซึ่งประดิษฐ์ขึ้นโดยใช้วัสดุภายใน
ท้องถิ่น ออกแบบให้มีลักษณะการทางานเช่นเดียวกับเครื่องจุดระเบิดมาตรฐาน
สามารถใช้ประกอบเข้ากับดินระเบิดทุกชนิด หรือดินระเบิดแสวงเครื่อง เช่น
ลูกกระสุน ป., ค., ขนาดต่าง ๆ ลูกระเบิดขว้างแบบต่าง ๆ ซึ่งหาได้ในพื้นที่การรบ
ในขณะนี้กับระเบิดแบบใช้เชื้อปะทุไฟฟ้ามักจะพบเสมอ เนื่องจากวัสดุที่จะใช้
ประกอบเป็นกับระเบิดนั้นสามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่นทั่วไป ออกแบบให้แตกต่างกันออกไปหลายรูปแบบ
สามารถวางได้ทุกพื้นที่

การติดตั้งกับระเบิดแสวงเครื่องแบบใช้เชื้อปะทุไฟฟ้านี้ จะต้องมีส่วนประกอบที่สาคัญ
คือ ดินระเบิด, เชื้อปะทุไฟฟ้า, สวิตช์จุดระเบิด และแบตเตอรี่ การทางานนั้น
ขึ้นอยู่กับสวิตช์จุดระเบิดที่ประดิษฐ์ โดยออกแบบให้สามารถ
ทางานได้ในลักษณะอาการ ดึง, ดึง-เลิกดึง, กด, เลิกกด,
ถ่วงเวลา เป็นต้น ส่วนรูปแบบกับระเบิดแสวงเครื่อง
แบบใช้เชื้อปะทุไฟฟ้านี้ ตลอดทั้งวิธีการวางนั้น
ผู้วางจะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสม โดยอาศัยปัจจัยเกี่ยวกับ
นิสัย, ความอยากรู้อยากเห็น, ความสะดวกสบายและความไม่สะดวก
เป็นแนวทางในการพิจารณาการวาง รูปซึ่งต้องให้เหมาะสมกับโอกาส
ข้อแนะนา การติดตั้งและรื้อถอน (ในสนามฝึก)
1. การติดตั้ง ให้ต่อแบตเตอรี่อันดับสุดท้าย
2. การรื้อถอน ให้ปลดแบตเตอรี่อันดับแรก
3. สายแบตเตอรี่ควรให้ยาวพอสมควร หากเกิดผิดพลาด ผู้รับการฝึกจะได้ไม่เป็นอันตราย
4. นอกนั้นให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับการฝึกกับระเบิดแสวงเครื่อง แบบใช้เชื้อปะทุชนวน

- - - - - - - - - - - ---------------------- - - - - - - - - - -

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (กับระเบิด)
-29-
7. ทุ่นระเบิดและกับระเบิดของต่างประเทศ
1. กล่าวทั่วไป
ปัจจุบันต่างประเทศได้นาทุ่นระเบิดและกับระเบิดมาใช้ปฏิบัติการอย่างกว้างขวาง เป็นเหตุให้ ฝ่ายเรา
ได้รับความสูญเสียจากทุ่นระเบิดและกับระเบิดมีสถิติค่อนข้างสูง ซึ่งมีผู้บังคับบัญชาชั้นสูงทุกระดับชั้นมี ความ
ห่วงใยเป็นอันมาก กรมทหารช่างในฐานะที่เป็นหน่วยที่รับผิดชอบทางสายวิทยาการเกี่ยวกับสงครามทุ่นระเบิด
ได้รวบรวมหลักฐานต่าง ๆ เกี่ยวกับทุ่นระเบิดและกับระเบิดของฝ่ายต่างประเทศ
ความมุ่ง หมาย เพื่อ ให้ ผู้ รั บ การศึ กษาได้ท ราบถึง คุณ ลั ก ษณะของทุ่ นระเบิด และกับ ระเบิ ดของ
ต่างประเทศ
1.1 ชนิดของทุ่นระเบิดและกับระเบิด
1. มาตรฐาน
- ดักรถถัง เปลือกโลหะ และ อโลหะ
- สังหารบุคคล เปลือกโลหะ และ อโลหะ
2. ทาขึ้นเองหรือแสวงเครื่อง 3. ใช้อาวุธที่มีอยู่ดัดแปลง
1.2 ประเทศที่สนับสนุน
1. จีนแดง 2. รัสเซีย
3. เวียดนาม 4. ทาขึ้นเองภายในประเทศ
2. ทุ่นระเบิดดักรถถัง
1. ทุ่นระเบิดดักรถถังขนาดกลาง TM 46 (รัสเซีย) และ TYPE 59 สาธารณรัฐประชาชนจีน
- น้าหนัก 19.18 ปอนด์
- วัตถุระเบิด T.N.T. 13.06 ปอนด์
- ชนวน MV-5
- การทางาน น้าหนักกดประมาณ 400 ปอนด์
- บางทุ่นมีที่ใส่ชนวนกันเขยื้อนทางด้านใต้
- ชนวนกันเขยื้อน ใช้ชนวน MUV
2. ทุ่นระเบิดดักรถถังขนาดกลาง TM 57 (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
- น้าหนัก 19.20 ปอนด์
- วัตถุระเบิด T.N.T. 12.60 ปอนด์
- ชนวน MB3-57
- การทางาน น้าหนักกดประมาณ 400 ปอนด์
- ชนวนกันเขยื้อน ใช้ชนวน MUV (มีที่ใส่ชนวนทางด้านข้าง)

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ทุ่นระเบิดต่างประเทศ)
-30-
3. ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล
1. ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลกระโดดระเบิด OZM-3 (รัสเซีย) TYPE 69 สาธารณรัฐประชนจีน
- น้าหนักประมาณ 3 ปอนด์
- วัตถุระเบิด T.N.T. 2.6 ออนซ์
- ชนวน (ไม่ทราบชื่อ)
- การทางาน น้าหนักกด 15 – 45 ปอนด์
แรงดึง 3 – 8 ปอนด์
- กระโดดสูง 1 เมตร OMZ-3 TYPE 69
- รัศมีหวังผล 16 เมตร
2. ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลสะเก็ดระเบิด DH-10 (เคลโมร์) เวียดนาม
- น้าหนักประมาณ 20 ปอนด์
- วัตถุระเบิด T.N.T. หล่อแข็ง
- สะเก็ดระเบิด ลูกปรายเหล็กขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ½ นิ้ว ประมาณ 450 ชิ้น
- ชนวน บังคับจุดด้วยเชื้อปะทุไฟฟ้า หรือ ชนวนเสียดสี
- การทางาน ระเบิดอยู่กับที่ มีสะเก็ดระเบิด
- สามารถใช้สังหารบุคคลในระยะ 50 เมตร
- สามารถทาความเสียหายให้แก่ยานยนต์ล้อได้
3. ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลสะเก็ดระเบิด POMZ-2B (รัสเซีย)
- น้าหนัก 1.02 ปอนด์
- วัตถุระเบิด T.N.T. 2.6 ออนซ์
- ชนวน MUV
- สะเก็ดระเบิด เหล็กเส้นตัด
- การทางาน แรงดึง 2.2 ปอนด์ หรือ มากกว่า
- รัศมีอันตรายหวังผลประมาณ 10 เมตร
4. ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลสะเก็ดระเบิด POMZ-2 (รัสเซีย)
- น้าหนัก 4.4 ปอนด์
- วัตถุระเบิด T.N.T. 2.6 ออนซ์
- ชนวน MUV หรือ UPF ทางาน แรงดึง 2.2 ปอนด์ หรือ มากกว่า
- สะเก็ดระเบิด
- รัศมีอันตรายหวังผล ประมาณ 20 เมตร

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ทุ่นระเบิดต่างประเทศ)
-31-
5. ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลสะเก็ดระเบิด MBV 78 A2 (เวียดนาม)
- น้าหนัก 10 ออนซ์
- วัตถุระเบิด T.N.T. ประมาณ 2 ออนซ์
- ชนวน MYB-2 หรือ MUV
- สะเก็ดระเบิด เหล็กเส้นตัด
- การทางาน แรงดึง 2.2 ปอนด์ หรือ มากกว่า
- รัศมีหวังผล ประมาณ 10 เมตร
6. ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลระเบิดอยู่กับที่ M 62 (ฮังการี่)
- น้าหนัก 13.2 ออนซ์
- วัตถุระเบิด T.N.T. 2.6 ออนซ์
- ชนวน E 54
- การทางาน น้าหนักกด 9 ปอนด์
- แรงระเบิดทาอันตรายต่อทหารที่เหยียบ
7. ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลอโลหะ ระบิดอยู่กับที่ PMN (รัสเซีย)
- น้าหนัก 1.3 ปอนด์
- วัตถุระเบิด T.N.T. 8.4 ออนซ์
- ชนวน ใช้ดินนาระเบิด (INITIATOR) และดินขยายการระเบิด TETRYL 0.35 ออนซ์
- การทางาน น้าหนักกดบนแป้นรับน้าหนักกด ประมาณ 0.5 ปอนด์
8. ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลระเบิดอยู่กับที่ MN 79 (เวียดนาม)
- น้าหนัก 3 1/3 ออนซ์
- วัตถุระเบิด T.N.T. 1 ออนซ์
- ชนวน ไม่ทราบชื่อ
- การทางาน น้าหนักกด 20 – 35 ปอนด์
- แบบระเบิดอยู่กับที่ อานาจการระเบิดทาอันตรายต่อทหารที่เหยียบทุ่นระเบิด
9. ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลระเบิดอยู่กับที่ PMD-6M (รัสเซีย)
- น้าหนัก (กล่องไม้) 9 ออนซ์
- วัตถุระเบิด T.N.T. 7 ออนซ์
- ชนวน MYB-2
- การทางาน น้าหนักกด 10 ปอนด์
- แรงระเบิดทาอันตรายต่อทหารที่เหยียบทุ่นระเบิด

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ทุ่นระเบิดต่างประเทศ)
-32-
10. ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลระเบิดอยู่กับที่ TYPE 72 (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
- น้าหนัก ประมาณ 4.20 ออนซ์
- วัตถุระเบิด T.N.T. 2 ออนซ์
- ชนวน ไม่ทราบชื่อ
- การทางาน น้าหนักกด 20 – 55 ปอนด์
- เป็นทุ่นระเบิดแบบระเบิดอยู่กับที่ ไม่มีสะเก็ดระเบิด
- ทาอันตรายต่อทหารที่เหยียบทุ่นระเบิดโดยตรง
11. ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลระเบิดอยู่กับที่ TYPE 72B (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
ลักษณะทั่วไป สาธารณรัฐประชาชนจีนได้พัฒนาจากทุ่นระเบิดสังหารบุคคล TYPE 72
- ใช้เปลือกทุ่นระเบิด TYPE 72
- ลดจานวนดินระเบิด TNT.จาก 2 ออนซ์ เหลือ1.30 ออนซ์
(เพื่อให้มีช่องว่างพอที่จะบรรจุวงจรจุดระเบิด)
- เพิ่มวงจรสาหรับจุดระเบิดด้วยระบบไฟฟ้า ชนวนไม่ทราบชื่อ TYPE 72
12. ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลระเบิดอยู่กับที่ MD 82B (เวียดนาม)
- น้าหนัก 4.3 ออนซ์
- วัตถุระเบิด T.N.T. 1.34 ออนซ์
- ชนวน ไม่ทราบชื่อ
- การทางานเมื่อมีน้าหนักกด ประมาณ 7 – 8 ปอนด์
- แรงระเบิดทาอันตรายต่อทหารที่เหยียบทุ่นระเบิด

4. การใช้แต่ละภาค
ภาคใต้ เท่าที่พบทาขึ้นเอง ส่วนมากอาศัยวัตถุระเบิดทางการค้า อาจหาได้จากเหมืองแร่ก็มี ดินดา ดิน
ระเบิดไดนาไมท์ทางการค้า เชื้อปะทุ ไฟฟ้าทางการค้า ลูกปรายเหล็กขนาด 4 หุนปูนซีเมนต์หล่อทาเป็นกับ
ระเบิด ลักษณะการทางานดึงระเบิด-เลิกดึงระเบิด อานาจการระเบิดทาให้บาดเจ็บแต่ไม่ฉกรรจ์นัก ปัจจุบัน
ในภาคใต้ผู้ก่อการร้ายได้นาดินระเบิดเพาเวอร์เจล (POWER GEL) มาใช้อย่างกว้างขวาง เพราะหาง่ายใช้ง่าย
ผลการทาลายสูง จะใช้ในการระเบิดยานพาหนะ หรือสถานที่ต่าง ๆ ได้อย่างดีเยี่ยม ดินระเบิด POWER
GEL โดยสรรพคุณแล้วไม่ต่างจากระเบิดปุ๋ย (แอมโมเนี่ยมไนเตรท) เท่าไร POWER GEL เป็นดินระเบิดปุ๋ย
สาเร็จรูป (ส่วนผสมระหว่างปุ๋ยแอมโมเนี่ยมไนเตรทกับน้ามันโซล่า ) สาหรับวงจรการจุดระเบิดของ POWER
GEL สามารถทาการจุดระเบิดได้หลายวิธีหลายระบบ จะทาการจุดระเบิดด้วยวิธีหลักหรือจุดระเบิดด้วยวิธี
แสวงเครื่องก็กระทาได้

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ทุ่นระเบิดต่างประเทศ)
-33-
ภาคเหนือ - ใช้ลูกระเบิดขว้างของจีนแดงทากับระเบิด
- มีทุ่นระเบิดสังหารบุคคลอโลหะใช้ ทาจากรัสเซีย
- มีเคลย์โมร์ของเวียดนามใช้
- ทุ่นระเบิดสังหารเปลือกโลหะ ทาจากรัสเซีย
- แสวงเครื่องใช้ก้อนหินขนาดหนัก 4-7 กก. ทาเปลือกเจาะรูใส่วัตถุระเบิดเป็นกับระเบิดสะดุด
ระเบิด หรือเหยียบระเบิด
ภาคอีสาน - ทาเหมือน ๆ ภาคเหนือ แต่ก้อนหินไม่ปรากฏ
- มีเพิ่มเติมก็เอาดินระเบิดใส่ไหฝังไว้ใต้ถนนลึก ๆ และทาการจุดระเบิดขึ้น เมื่อยานพาหนะผ่าน
- เครื่องตรวจ และสุนัขตรวจพบยาก
ภาคตะวันออกด้านอรัญประเทศ มีการใช้ทุ่นระเบิดดักรถถังเข้ามาวางดักยานพาหนะ ทาจากรัสเซีย
5. กับสังหารพื้นเมืองทุกภาคของประเทศไทย (หลักฐาน คู่มือการฝึกสังเกต พ.ศ.2543 ของกรมการทหารช่าง)
ศสพ.ได้จัดส่งเจ้าหน้าที่ของหน่วยไปสารวจข้อมูล และ รวบรวมเรื่องของทุ่นระเบิดกับระเบิด และ กับ
สังหารพื้นเมืองทุกภาคของประเทศไทย (ทภ.1, ทภ.2, ทภ.3, ทภ.4) เพื่อในการจัดทาคู่มือบทเรียนและ
ประสบการณ์ลดการสูญเสีย จากการที่เจ้าหน้าที่ของ ศสพ. ได้พบปะ และได้รับการชี้แจงจากหน่วยปฏิบัติการ
ปราบปราม ผกค. ทุกภาคของประเทศไทย พอจะสรุปได้ว่า ผกค.นั้น ได้ดัดแปลงกับสังหารพื้นเมืองใช้อย่าง
กว้างขวาง ประกอบกับทุ่นระเบิดและกับระเบิด การดัดแปลงนั้นแต่ละภาคไม่เหมือนกัน และไม่ ซ้าแบบกัน
ทั้งนี้ ขึ้นอยู่ กับ สภาพภูมิป ระเทศแต่ละพื้นที่ และส่ว นใหญ่มีห ลั กการใกล้ เคียงกัน พอจะสรุปแยกออกเป็น
ประเภทดังนี้.
1. ขวาก 10. หลุมไม้ขวากประกับ
2. กระต่า 11. สะพานกล
3. กระติ่ง 12. หลุมขวากฝากระดก
4. ไม้ขวากกระดก 13. ขวากท่อนไม้
5. จั่นห้าวลูกซอง 14. กับดักด้วยกระสุนปืนเล็ก
6. จั่นห้าวหน้าไม้ 15. หลุมขวากเหล็ก
7. จั่นห้าวลูกดอก 16. ธนูดีด
8. หลุมขวากเฉียง 17. กับหลุมหลาว
9. กระป๋องขวากเฉียง 18. ขวากไม้ไผ่

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ทุ่นระเบิดต่างประเทศ)
-34-
6. เครื่องหมายที่วางกับระเบิดและทุ่นระเบิด (หลักฐาน คู่มือการฝึกสังเกต พ.ศ.2543 ของกรมการทหารช่าง)
จากการที่ส่ง จนท. ไปติดตามหาข้อมูลในพื้นที่ปฏิบัติการทุกภาคของประเทศไทย พอสรุปในเรื่อง
เครื่องหมายที่ ผกค. วางกับระเบิดและทุ่นระเบิดดังนี้
- เครื่องหมายลูกศร - การบากโคนไม้เป็นรูปต่าง ๆ
- เครื่องหมายไม้ไผ่ - ไม้ล้มขวางทาง
- เงาไม้ - หลักกากะบาด
- กอหญ้า - ก้อนหินเล็ก
- กากะบาดทาง - กิ่งไม้ขนาน
1. เครื่องหมายลูกศร
- กิ่งไม้สามท่อนวางบนทางเดิน ทิศทางของลูกศรหาได้ แสดงว่าเป็นทิศทางที่ตั้งของทุ่นระเบิดกับระเบิด
- กิ่งไม้สี่ท่อนวางเป็นรูปลูกศร ท่อนที่ วางพาดกับลูกศร ความสัมพันธ์ของหัวลูกศรกับพื้นที่อันตราย
ยังไม่ทราบแน่ชัด
- การวางเป็นรูปต่าง ๆ บางครั้งจะพบว่าวางห่างจากหัวลูกศรไปตามทางเดิน แสดงว่าเป็นข้อจากัดของ
พื้นที่อันตราย ระยะห่างจากเครื่องหมายนี้ไปยังพื้นที่อันตรายยังไม่ทราบแน่ชัด
2. เครื่องหมายไม้ไผ่
กระบอกไม้ไผ่ ท่อนหนึ่งยาว 16 – 21 ซม. (6” – 8”) มีไม้ไผ่ปล้องใหญ่สวมปิดท้ายข้างหนึ่งไว้
กระบอกไม้ไผ่ปักลงในพื้นดิน ทามุม ประมาณ 45 ตามปล้องใหญ่ชี้ไปยังทุ่นระเบิด
3. เครื่องหมายไม้ง่าม
ไม้ง่ามปักลงไปในดินตรง ๆ และมีอีกท่อนพาดลงไป ในไม้ ง่ามปลายที่สูงยกขึ้น ไปยังพื้นที่อันตราย
ระยะทางไปยังพื้นที่อันตรายยังไม่แน่นอน เครื่องหมายนี้ ผกค. อาจใช้แสดงเส้นทางเคลื่อนที่อันตราย
4. เครื่องหมายกอหญ้า
หญ้าที่ขึ้นอยู่บางครั้งจะถูกขมวดเป็นกอ ๆ 4 กอ ทาให้เกิดกอหญ้าเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส กว้างด้านละ
ประมาณ 2 เมตร ทุ่นระเบิดยังฝังอยู่หรือซ่อนไว้ตรงกลาง
5. เครื่องหมายกากบาดแดง
เครื่องหมายกากะบาดแดง ปักไว้บนถนนหรือทางเดิน ไปสู่พื้นที่วางทุ่นระเบิด เครื่องหมายนี้ แสดง
ว่าเป็นพื้นที่หวงห้ามและต้องเข้าไปด้วยความระมัดระวัง หรือห้ามผ่านพื้นที่นี้ไป พื้นที่อันตรายอยู่ด้านหลัง
ป้ายเข้าไป 50 – 200 เมตร เครื่องหมายเช่นนี้ ผกค. ใช้ในพื้นที่ซึ่งพวกตนควบคุมอยู่
6. เครื่องหมายหลักกากบาด
ทุ่นระเบิดดักรถถังขนาดหนัก ซึ่งมีดินระเบิด TNT. 25 ปอนด์ ได้เคยพบอยู่ใต้เครื่องหมายเช่นนี้
ทุ่นระเบิดจะทาเครื่องหมายปักหลักไว้สี่มุม แล้วใช้กิ่งไม้สองท่อนวางเป็นกากะบาดไว้ข้างบนทุ่นระเบิด

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ทุ่นระเบิดต่างประเทศ)
-35-
7. เครื่องหมายก้อนหินเล็ก
ก้อนหินวางเป็นรูปวงกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 1 ม. แล้วมีวงกลมขนาดเล็ก ทาด้วยก้อนหิน
เช่นเดียวกัน ซ้อนอยู่ภายใน หรือก้อนหินเรียงเป็นวงกลมขนาดย่อมแล้วมีหินก้อนเดียววางอยู่ตรงศูนย์กลางใช้
เป็นเครื่องหมายทุ่นระเบิด ตามปกติทุ่นระเบิดและกับระเบิดอยู่ห่างออกไปตามถนนหรือเส้นทางประมาณ
150 – 200 เมตร
8. เครื่องหมายกิ่งไม้ขนาน
กิ่งไม้ขนานหรือกระบอกไม้ไผ่ วางขนานกับถนนหรือทางเดินปกติจะหมายความว่า ถนนหรือเส้นทางนี้
ไม่มีทุ่นระเบิดหรือกับระเบิด

7. สรุปหลักนิยม การวางทุ่นระเบิดของฝ่ายตรงข้าม ซึ่ง ผกค.นามาใช้ (หลักฐาน คู่มือการฝึกสังเกต


พ.ศ.2543 ของกรมการทหารช่าง )
วิธีวาง
1. วางทุ่นระเบิด ป้องกันตน ใกล้ ๆ บริเวณที่เป็นฐานปฏิบัติการ เมื่อวางแล้วมักปล่อยทิ้งไว้เลยไม่มีการ
กลับมาใช้ใหม่แม้ว่าจะเคลื่อนย้ายฐาน ลักษณะการวางมีดังนี้.-
1.1 ฝังดิน และพรางเรียบร้อย จะมีเครื่องหมายชี้บอกตาแหน่งที่วางประกอบไว้ด้วยเพื่อให้พวก
เดียวกันได้รับรู้
1.2 วางไว้บนพื้นดิน โดยมีเครื่องหมายบอกตาแหน่งหรือไม่มีก็ได้ เพราะสามารถให้เห็นได้ง่าย ถ้าใช้
ความสังเกต
1.3 วางไว้ตามต้นไม้ โดยประกอบเป็นกับระเบิด ซึ่งมักมีเครื่องหมายชี้บอกด้วย
2. การวางทุ่นระเบิดประกอบการซุ่มโจมตี มักเป็นการวางอย่างรีบด่วน เพื่อใช้สาหรับการซุ่มโจมตี
ครั้งนั้น เท่านั้น เมื่อหมดภารกิจก็จะเก็บกลับไปใช้ใหม่ วิธีวางจะใช้วางบนพื้นดิน และเหนือพื้นดินเป็นหลัก
เพื่อให้วางง่ายและเก็บง่าย
3. ทุ่นระเบิดที่ใช้รบกวน การปฏิบัติงานของฝ่ายเรามักวางด้วยวิธีฝังดินและเหนือศีรษะเป็นหลักโดยมี
เครื่องหมายชี้บอกไว้ด้วย
สถานที่นิยมวาง
1. ทุน่ ระเบิดป้องกันตน มักวางไว้ตามช่องทางเข้าสู่ฐานปฏิบัติการเป็นระยะ ๆ ไป
2. ทุ่นระเบิดประกอบการซุ่มโจมตี มักวางตามสถานที่ซึ่งฝ่ายเรามักจะใช้เป็นที่กาบัง เมื่อถูกโจมตี ได้แก่
2.1 ตอไม้
2.2 ก้อนหิน
2.3 ไหล่ถนน
2.4 ในคูน้า

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ทุ่นระเบิดต่างประเทศ)
-36-
3. ทุ่นระเบิดรบกวน มักวางไว้ที่ต่อไปนี้.
3.1 เส้นทางที่ฝ่ายเราใช้บ่อย
3.2 ทางเข้าสู่แหล่งแม่น้า
3.3 ถนนที่เราใช้

- - - - - - - - - - -------------------------- - - - - - - - - - -

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ทุ่นระเบิดต่างประเทศ)
-37-
8. การบันทึกสนามทุ่นระเบิดป้องกันตนแบบเร่งด่วน
( HASTY PROTECTIVE MINEFIELD RECORD )
กล่าวทั่วไป
ในภูมิประเทศจะมีทั้งเครื่ องกีดขวางต่าง ๆ จากธรรมชาติ และสิ่ งกีดขวางที่ห น่ว ยทหารสร้างขึ้น
ประโยชน์ที่ได้จากสิ่งกีดขวางเหล่านี้จะเป็นเครื่องหน่วงเหนี่ยว ยับยั้งหรือขัดขวางการเคลื่อนที่ของฝ่ายตรงข้าม
สนามทุ่นระเบิดที่สร้างขึ้นจัดเป็นสิ่งกีดขวางอีกประเภทหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้ง , หน่วงเหนี่ยว หรือ
บังคับ ให้การเคลื่อนที่ของฝ่ายตรงข้ามต้องหยุดชะงักลง เพื่อให้ได้ผลในการใช้สนามทุ่นระเบิดเป็นสิ่งกีดขวาง
และ ไม่ให้เกิดอันตรายแก่กาลังพลของฝ่ายเดียวกัน นักเรียนจึงจาเป็นต้องศึกษาเกี่ยวกับการบันทึกสนามทุ่น
ระเบิดป้องกันตนแบบเร่งด่วนให้เข้าใจโดยถ่องแท้เพื่อจะได้นาความรู้ไปใช้งานในสนามได้
สนามทุ่นระเบิด มี 4 ประเภท (FM 20-32 ฉบับ 29 MAY 1998 )
1. สนามทุ่นระเบิดป้องกันตน (PROTECTIVE MINEFIELD)
2. สนามทุ่นระเบิดยุทธวิธี (TACTICAL MINEFIELD)
3. สนามทุ่นระเบิดรบกวน (NUISANCE MINEFIELD)
4. สนามทุ่นระเบิดลวง (PHONY MINEFIELD)
1. แบบของสนามทุ่นระเบิดป้องกันตน มีอยู่ 2 แบบ คือ
สนามทุ่นระเบิดป้องกันตนแบบเร่งด่วน
สนามทุ่นระเบิดป้องกันตนแบบประณีต
2. อานาจในการสั่งวาง
- ผบ.พัน มีอานาจในการสั่งวาง
- เมื่อปฏิบัติภารกิจเป็นครั้งคราว ผบ.พัน อาจมอบอานาจให้กับ ผบ.ร้อย หรือ ผบ.หมวด
3. ความมุ่งหมายในการวางสนามทุ่นระเบิดป้องกันตนแบบเร่งด่วน
จะทาการวางเมื่อออกปฏิบัติการทางยุทธวิธี เป็นหน่วยโดดเดี่ยวในห้วงระยะเวลาสั้น ๆ เพื่อป้องกัน
อันตรายทหารฝ่ายเรา, สะดวกต่อการใช้ช่องทางต่อสนามทุ่นระเบิดและการรื้อถอน โดยวางรอบ ๆ
3.1 ฐานบังคับการ
3.2 ฐานปฏิบัติการ
3.3 พื้นที่พักแรม
4. ข้อพิจารณาในการวางสนามทุ่นระเบิดป้องกันตนแบบเร่งด่วน
4.1 ไม่ขัดขวางการดาเนินกลยุทธของฝ่ายเดียวกัน
4.2 ได้รับผลประการสาคัญ คือ สามารถบังคับ, หันเห หรือทาให้ การเคลื่อนที่ของข้าศึกหยุดชะงัก
โดยสิ้นเชิง

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (การบันทึกสนามทุ่นระเบิดฯ)
-38-
5. การวางสนามทุ่นระเบิด ให้ทารายงาน 3 ฉบับ ดังนี้.-
5.1 รายงานฉบับแรก เมื่อขออนุมัติทาการวาง โดยให้บอก
รายละเอียดเกี่ยวกับ
- ประเภทสนามทุ่นระเบิดที่จะวาง
- ตาบล, ที่ตั้ง และขอบเขต
- จานวน และชนิดของทุ่นระเบิดที่จะวาง
- ระยะเวลาที่ใช้วางจนแล้วเสร็จ
5.2 รายงานฉบับที่ 2 เมื่อได้รับอนุมัติและเริ่มทาการวาง
5.3 รายงานฉบับที่ 3 เมื่อวางเสร็จ (ต้องแนบแบบบันทึกสนาม
ทุ่นระเบิดไปด้วย) หน่วยจะต้องรายงานเพิ่มเติมหากมีกรณีดังต่อไปนี้.
ก. เมื่อวางไม่เสร็จวันเดียว (รายงานเป็นเปอร์เซ็นของพื้นที่)
ข. เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
ค. เมื่อมีการโอนมอบ
6. ส่วนประกอบของสนามทุ่นระเบิดป้องกันตนแบบเร่งด่วน
- ใช้ทุ่นระเบิดในอัตรามูลฐานของหน่วย
- วางในลักษณะจากัด (ไม่ฝังดิน)
- ไม่ใช้ทุ่นระเบิดที่ตรวจค้นได้ยาก (รวมถึงกับระเบิดและ
การติดตั้งชนวนกันเขยื้อน)
- ที่ตั้งสนามทุ่นระเบิดอยู่ห่างจากที่ตั้งฝ่ายเราออกไปให้พ้น
ระยะขว้างของลูกระเบิดขว้าง แต่ต้องอยู่ภายในระยะที่อาวุธ
ประจากายยิงคุ้มครองได้
- กาลังพลทุกคนจะต้องทราบที่ตั้งทุ่นระเบิดทุกทุ่น
- ต้องทาเครื่องหมายหรือจัดยามเฝ้าทุ่นระเบิด
7. การบันทึก ใช้แบบบันทึก ทบ.462-035 โดยให้แนบแบบบันทึกไปกับรายงานฉบับที่ 3
8. เครื่องใช้อุปกรณ์ ในการบันทึกสนามทุ่นระเบิดป้องกันตนแบบเร่งด่วน
- แบบบันทึกสนามทุ่นระเบิด ทบ.462-035 - เข็มทิศเลนเซติก
- ดินสอและยางลบ - ไม้โปร หรือโค้งโปรแทรกเตอร์
- วงเวียนดินสอ - หลักเล็ง
- กระดาษคลิ๊ปบอร์ด - กระดาษก็อปปี้

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (การบันทึกสนามทุ่นระเบิดฯ)
-39-
9. เจ้าหน้าที่
9.1 ผู้บันทึก 1 นาย
9.2 พลชี้ที่หมาย 1-2 นาย (เพื่อเอาไว้ช่วยบรรทุกนาพาทุ่นระเบิด)
9.3 พลวัดระยะ 1 นาย
10. หน้าที่เฉพาะของเจ้าหน้าที่แต่ละคน
10.1 ผู้บันทึก จะเป็นผู้รับผิดชอบในการบันทึก โดยกาหนดหมุดหลักฐานต่าง ๆ ขึ้น แล้วใช้แบบบันทึก
กับเข็มทิศเล็งแนวไปยังพลชี้ที่หมาย แล้วบันทึกระยะด้วยจานวนเมตร
การกาหนดหมุดหลักฐานต่าง ๆ นั้น ควรกาหนดขึ้น ดังนี้.-
หมุดหลักฐานหลัก ใช้หมุดหลักฐานที่ปรากฏอยู่ตามธรรมชาติ เช่น
ทางแยก ต้ น ไม้ ใ หญ่ ซึ่ ง ควรพิ จ ารณาเลื อ กที่ เ ห็ น เด่ น ชั ด สั ง เกตง่ า ย ,
เคลื่อนที่ไม่ได้ เมื่อกาหนดหมุดหลักฐานทางธรรมชาติไม่ได้ให้สร้างหมุด
หลักฐานขึ้น
หมุดหลักฐานรอง หากหมุดหลักฐานหลักเกิดสูญหายคงทาการ
ตรวจค้นได้ การพิจารณา ใช้หมุดหลักฐานรองเช่นเดียวกับหมุดหลักฐาน
หลัก
หมุดหลักฐานรายทาง จะใช้เมื่อหลีกเลี่ยงเครื่องกีดขวาง ลดความคลาดเคลื่อนเมื่อระยะห่างมาก ๆ
(มากกว่า 75 เมตร)
หมุดหลักแถว ถ้าวางเป็นแถวให้กาหนดหมุดหลักแถวขึ้น โดยใช้สมอบกขนาด 2 × 2 นิ้ว ปักลงในดิน
สูงจากพื้นดิน 2 นิ้ว
10.2 พลชี้ที่หมาย จะเป็นผู้ปักหลักเล็งให้ผู้บันทึกเล็งแนวตรงจุดวางทุ่นระเบิดโดยการใช้เข็มทิศ การชี้
ที่หมายของพลชี้ที่หมายให้ปักหลักเล็งหน้าจุดวางทุ่นระเบิดห่างเป็นระยะประมาณ 1 เมตร เพื่อไม่ให้ขัดขวาง
การวางทุ่นระเบิดพร้อมกับการบันทึก หรือเข้าใกล้ทุ่นระเบิดที่วางแล้วอาจเกิดอันตรายได้ เมื่อบันทึกเสร็จก่อน
เก็บหลักเล็งให้ใช้สมอบกเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้ว ปักแทนที่ไว้ให้ปลายพ้นพื้นดินประมาณ 2 นิ้ว การ
เล็งจากทุ่นระเบิดมายังทุ่นให้ทาเช่นเดียวกับจากหมุดหลักฐานไปหาทุ่น ผู้บันทึกต้องอยู่ที่ทุ่นระเบิดและเล็งไป
ยังหลักเล็งหน้าทุ่นระเบิดต่อไป และการเล็งจากหมุดหลักฐานไปยังทุ่นสุดท้ายของแถว พลชี้ที่หมายจะต้องวาง
หลักเล็งหน้าทุ่นระเบิดสุดท้ายของแถว 1 เมตร เมื่อเล็งแล้วให้ปักหลักสมอบก (สมอบกกันทุ่น) เช่นเดียวกับ
การเล็งจากทุ่นไปหาทุ่น และเล็งจากทุ่นสุดท้ายของแถวไปหาทุ่นสุดท้ายของแถวถัดไปก็กระทาเช่นเดียวกัน
10.3 พลวัดระยะ มีหน้าที่วัดระยะเป็นเมตร จากจุดที่ผู้บันทึกกาหนดเป็นหมุดหลักฐานไปหาจุดปักหลัก
เล็งหรือหลักสมอบกที่ปักแทนหลักเล็งหน้าทุ่นระเบิดนั้น ๆ การวัดระยะจากทุ่นถึงทุ่นต่อไปให้วัดจากทุ่นใกล้ไป
ยังหลักสมอบกหน้าทุ่นไกล ในกรณีวัดระยะจากหมุดหลักฐานหลักไปหาทุ่นสุดท้ายของแถวให้วัดระยะจากหมุด
หลักฐานหลักไปยังสมอบกกันทุ่น และการวัดระยะทุ่นสุดท้ายของแถวถัดไป ก็ให้วัดระยะจากทุ่นถึงสมอบกกัน
ทุ่น เช่น เดียวกัน

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (การบันทึกสนามทุ่นระเบิดฯ)
-40-
11. การเขียนแบบบันทึก
11.1 ผู้บันทึก กาหนดหมุดหลักฐานหลัก, หมุดหลักฐาน รอง และหมุดหลักฐานรายทาง (ถ้าใช้)
11.2 เมื่อได้หมุดหลักฐานหลักแล้ว ให้นาแบบบันทึกมาวางประกอบกับหมุดหลักฐานหลักดู ทาการ
ถ่ายทอดหมุดหลักฐานหลัก หมุดหลักฐานรองในภูมิประเทศที่กาหนดขึ้นนั้นลงในแผ่นบันทึก โดยให้จุดทั้งสองนี้
อยู่ค่อนไปทางส่วนล่างของแบบฟอร์ม ส่วนบนชี้ไปยังทิศทางการวางทุ่นระเบิด และครอบคลุมบริเวณการวาง
ทุ่นระเบิดที่เราจะทาการบันทึก
11.3 กาหนดทิศทางข้าศึก คือ กาหนดทิศทางคาดว่าข้าศึกจะเข้ามา หรือ ทิศทางที่เราวางสนามทุ่น
ระเบิดป้องกันตนไว้นั่ นเอง แล้วเขียนลูกศรไว้ในช่องทางซ้ายซึ่งอยู่ติดกับช่องเหนือแม่เหล็ก คือช่องทิศทาง
ข้าศึกโดยเขียนให้ปลายลูกศรชี้ไปยังแนวข้าศึกหรือฝ่ายตรงข้ามและควรจะอยู่ในลักษณะตั้งฉาก
11.4 กาหนดทิศเหนือแม่เหล็ก โดยใช้เข็มทิศเล็งหาทิศเหนือแม่เหล็ก เมื่อได้แนวใดแล้วให้เขียนแนว
ทิศเหนือ แม่เหล็กแสดงทิศทางไว้ในช่องสาหรับลงทิศเหนือแม่เหล็ก เพื่อไว้อ้างอิงในการวางแผ่นบันทึกให้ถูกทิศ
11.5 กาหนดหัวลูกศรแสดงทิศทางดังนี้.-
- จากหมุดหลักฐานหลักไปยังหมุดหลักฐานรายทาง (ถ้าใช้)
- จากหมุดหลักฐานรองไปยังหมุดหลักฐานหลัก
- จากหมุดหลักฐานหลัก (หรือหมุดหลักฐานรายทาง) ไปยังสมอบกหน้าทุ่นระเบิด (ถ้าวางทุ่นระเบิด
เพียงทุ่นเดียว)
- จากหมุดหลักฐานหลัก (หรือหมุดหลักฐานรายทาง) ไปยังหมุดหลักแถว (ถ้าวางทุ่นระเบิดเป็นแถว
- จากหมุดหลักแถวไปยังสมอบกหน้าทุ่นระเบิดทุ่นแรก และจากทุ่นระเบิดทุ่นแรกไปยังสมอบกของ
ทุ่นระเบิดทุ่นถัดไปที่อยู่ทางซ้ายมือ และกระทาต่อไปจนสุดทุ่นระเบิดในแถวนั้น
- จากหมุดหลักแถวล่างไปยังหมุดหลักแถวถัดขึ้นไปตามลาดับ
- จากหมุดหลักฐานหลักไปยังสมอบกกันทุ่นระเบิดทุ่นสุดท้ายของแถวล่าง และจากทุ่นระเบิดทุ่น
สุดท้ายของแถวล่างไปยังสมอบกกันทุ่นระเบิดทุ่นสุดท้ายของแถวถัดขึ้นไปตามลาดับ
- ลูกศรแสดงทิศทางทั้งหมด จะเขียนมุมอาซิมุตแม่เหล็กเป็นองศา และระยะทางเป็นเมตรในลักษณะ
ของเศษส่วน เช่น 315/40 ตัวเลขบน (315) เป็นอาซิมุตแม่เหล็ก ตัวเลข (40) ล่างเป็นระยะทาง
11.6 บันทึกรายละเอียดต่าง ๆ ลงในช่องหลักฐานของหน่วย ซึ่งอยู่ทางด้านล่างทางขวาของ
แบบฟอร์มให้สมบูรณ์ดังนี้.
- หน่วย ลงนามหน่วยที่ทาการบันทึก
- หมุดหลักฐาน ลงรายละเอียดลักษณะของหมุดหลักฐานหลัก และลงพิกัดของแผนที่เพื่อใช้ค้นหา
ในภูมิประเทศได้ง่าย
- หมุดหลักฐานรอง ลงรายละเอียดเพื่อให้ค้นหาในภูมิประเทศได้ง่าย
- หมุดหลักฐานรายทาง ลงรายละเอียดเช่นเดียวกับหมุดหลักฐานรอง
- แผนที่ บันทึกแผนที่ที่ใช้ มาตราส่วน และระวางด้วย

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (การบันทึกสนามทุ่นระเบิดฯ)
-41-
- ผู้รับผิดชอบ ลงชื่อ ตาแหน่งของผู้รับผิดชอบการวางสนามทุ่นระเบิด คือ ผบ.หน่วย ด้วยตัวบรรจง
- ลายเซ็น ลายเซ็นของผู้รับผิดชอบ
- ผู้รื้อถอน ลายเซ็นของผู้รื้อถอน ลงลายเซ็นเมื่อทาการรื้อถอนเสร็จเรียบร้อย
- ผู้รับโอน ลายเซ็นของ ผบ.หน่วย ที่รับโอนจากผู้รับผิดชอบคนก่อน
- วัน เวลา ลงวันเวลาที่ทาการวางและบันทึกเสร็จสมบูรณ์
11.7 บันทึกรายละเอียดต่าง ๆ ลงในช่องหลักฐานการวางทุ่นระเบิด ซึ่งอยู่ทางด้านล่างทางซ้ายของ
แบบฟอร์มให้สมบูรณ์ดังนี้.
- แถว ให้ลงแถวของทุ่นระเบิด ถ้าไม่วางเป็นแถวไม่ต้องลง
- แบบ ให้ลงแบบของทุ่นระเบิด เช่น M14, M16A1 ฯลฯ
- การทางาน ลงถึงวิธีการติดตั้งให้ทุ่นระเบิดทางาน เช่น ดึงระเบิด กดระเบิด ฯลฯ
- หมายเลขทุ่น ลงให้ตรงกับหมายเลขทุ่นที่เขียนกากับไว้ที่จุดวางทุ่นระเบิด ในแผ่นบันทึก ควร
เรียงจาก เลขน้อยไปหาเลขมาก
- ลงประเภทเอกสาร (ลับ, ลับมาก หรือ ลับที่สุด) ซึ่งผู้บังคับหน่วยจะเป็นผู้กาหนดให้ที่กึ่งกลาง
หน้ากระดาษตอนบนและตอนล่างของแบบฟอร์ม (ทบ.462-035) หากใช้ในการฝึกศึกษาให้ใช้ คาว่า
“ ”
แทนคาว่า ลับ, ลับมาก หรือ ลับที่สุด
( ประเภทเอกสาร )

หมายเหตุ
1. ถ้าวางทุ่นระเบิดเป็นแถว ให้แถว A เป็นแถวที่อยู่ใกล้ข้าศึก
2. ระยะต่าสุดระหว่างแถว ของทุ่นระเบิดดักรถถัง คือ 8 เมตร
3. ระยะระหว่างทุ่นแต่ละทุ่นในแถว ต่าสุด 4 เมตร
4. ในการบันทึกห้ามใช้วิธี BACK AZIMUTHS (แบ็คอซิมุท)
5. การวัดระยะให้วัดหน่วยเป็น “เมตร”
6. ให้ทาพร้อมระเบิดหลังจากการบันทึก ฯ เสร็จเรียบร้อยแล้วโดยให้ทาพร้อมระเบิดทุ่นที่อยู่ใกล้
ข้าศึกก่อน
7. การรือ้ ถอน (การกู้) ให้เริ่มจากทุ่นที่อยู่ใกล้ฝ่ายเราก่อน (ถ้าปฏิบัติหลายคน ระยะห่างระหว่าง
บุคคล 30 เมตร)

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (การบันทึกสนามทุ่นระเบิดฯ)
-42-

แบบบันทึกสนามทุน่ ระเบิดป้องกันตนแบบเร่งด่วน

(ประเภทเอกสาร) แผ่นที.่ .........1.......ใน.......5......แผ่น


(ตัวอย่างการบันทึกสนามทุ่นระเบิด 1 ทุ่น)
ข้าศึก เหนือ
แม่เหล็ก
1

120
/4
5
หมุดหลักฐานรายทาง

5
/50
หมุดหลักฐานหลัก NA14569981

115
/2
มาตราส่วน 1 ซม. = 1 เมตร หมุดหลักฐานรอง
0
หลักฐานการวางทุ่นระเบิด หลักฐานของหน่วย
แถว แบบ การทางาน หมายเลขทุ่น หน่วย ร.21 พัน.3 ร้อย.1
M16A1 กดระเบิด 1 หมุดหลักฐานหลัก ต้นไม้ใหญ่ (กากบาทไว้) 14569981
ดึงระเบิด หมุดหลักฐานรอง ตอสัก  6 นิ้ว (กากบาทไว้)
หมุดหลักฐานรายทาง หลักไม้ 2 × 3 นิ้ว ปักสูงจากพื้น 2 นิ้ว
แผนที่ ประเทศไทยมาตราส่วน 1 : 50,000
ระวาง อรัญประเทศ หมายเลข 5536-II
ผู้รับผิดชอบ ร.อ.ทะนง กล้าหาญ วัน, เวลา
ลายเซ็น ร.อ. 071000 ต.ค.59
ผู้รื้อถอน
ผู้รับโอน

ทบ.462 – 035
“ ”
4-4
(ประเภทเอกสาร)

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (การบันทึกสนามทุ่นระเบิดฯ)
-43-
แบบบันทึกสนามทุน่ ระเบิดป้องกันตนแบบเร่งด่วน
(ลับมาก) แผ่นที่ 1 ใน 5 แผ่น
(ตัวอย่างการบันทึกสนามทุ่นระเบิดเป็นแถว) ข้าศึก เหนือ
แม่เหล็ก

3
1
2
4 255/21 235/12
240/9
207/6
A หมุดหลักแถว

2
75/17 3 255/10 30/25
230/10 1
255/8 231/6
4 B หมุดหลักแถว

130/33 10/30
หมุดหลักฐานหลัก NA14588920

15/22

หมุดหลักฐานรอง

มาตราส่วน 1 ซม. = 10 เมตร

หลักฐานการวางทุ่นระเบิด หลักฐานของหน่วย
แถว แบบ การทางาน หมายเลขทุ่น หน่วย ร.21 พัน.3 ร้อย.1
A M14 กดระเบิด 1, 3 หมุดหลักฐานหลัก ต้นไม้ใหญ่ (กากบาทไว้) 14588920
M16A1 กดระเบิด 2, 4 หมุดหลักฐานรอง ตอสัก  6 นิ้ว (กากบาทไว้)
ดึงระเบิด หมุดหลักฐานรายทาง -
B M14 กดระเบิด 1, 2, 3, 4 แผนที่ ประเทศไทยมาตราส่วน 1 : 50,000
ระวาง อรัญประเทศ หมายเลข 5536-II
ผู้รับผิดชอบ ร.อ.ทรนง กล้าหาญ วัน, เวลา
ลายเซ็น ร.อ. 070900 ต.ค.50
ผู้รื้อถอน
ผู้รับโอน

ทบ.462 – 035
(ลับมาก)

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (การบันทึกสนามทุ่นระเบิดฯ)
-44-
9. การตรวจค้นและรื้อถอน
1. การตรวจค้น (MINES DETECTION)
คือการค้นหาทุ่นระเบิดและกับระเบิดที่วางไว้ด้วย วิธีการต่าง ๆ ในขั้นแรกเจ้าหน้าที่ผู้ทาการ ตรวจค้น
จะต้องพบตาบลที่วางทุ่นระเบิดหรือกับระเบิดอย่างกว้าง ๆ ก่อน โดยพิจารณาจากข้อมูลต่าง ๆ ดังต่อไปนี้.-
วิธีการที่จะทราบตาบลที่วางทุ่นระเบิดหรือกับระเบิด
1. วิธีการที่จะพิจารณาว่ามีทุ่นระเบิดที่วางไว้ เพื่อผลในทางยุทธวิธี ณ ตาบลใดตาบลหนึ่ง หรือพื้นที่ใด
พื้นที่หนึ่งนั้น อาจจะใช้วิธีพิจารณาได้จาก
1.1 การถูกทุ่นระเบิดโดยตรง 1.2 การลาดตระเวนทางพื้นดิน
1.3 การลาดตระเวนทางอากาศ 1.4 การลาดตระเวนด้วยการยิง
1.5 การตีความจากภาพถ่ายทางอากาศ 1.6 การซักถามเชลยศึกและบุคคลอื่น ๆ
1.7 การประเมินค่าจากรายงานข่าวกรอง, จากแผนที่ และเอกสารที่ยึดได้
2. สิ่งที่ชี้บอกเหตุประการแรกของพื้นที่มีทุ่นระเบิดนั้น อาจจะทราบได้โดยที่ทหารหรือยานพาหนะถูก
ทุ่นระเบิดหรือกับระเบิดเข้า ซึ่งจะเป็นสิ่งบอกให้ทราบว่าในพื้นที่นั้นมีการวางทุ่นระเบิดหรือกับระเบิดได้
ประการหนึ่ง นอกจากนี้ยังจะมีวิธีการพิจารณาโดยวิธีอื่น ๆ อีก
3. การพิจ ารณาพื้น ที่ที่มีทุ่น ระเบิดนั้น อาจจะกระทาได้โ ดยการลาดตระเวนด้ว ยการยิง การ
ลาดตระเวนด้วยสายตา การตีความจากภาพถ่ายทางอากาศ การซักถามบุคคล และการประเมินค่าจาก
แผนที่และจากเอกสารที่ยึดได้ แต่อย่างไรก็ตามข้อมูลเกี่ยวกับที่ตั้งสนามทุ่นระเบิดที่ได้จากแหล่งการพิจารณา
เหล่ านี้ จ ะต้องมีการตรวจสอบด้ว ย การลาดตระเวนทางพื้นดิน การตรวจค้นทุ่นระเบิดแต่ล ะทุ่นด้ว ยการ
ลาดตระเวนทางพื้นดินร่วมกับการตรวจค้นด้วยสายตา การตรวจค้นด้วยของแหลม และการตรวจค้นด้วยวิธีอื่น
ๆ นั้น อาจจะเป็นวิธีการพิจารณาที่ชักช้า แต่ก็เป็นวิธี การที่ใช้ได้สาหรับการตรวจค้นหา พื้นที่ที่มีทุ่นระเบิด
วางอยู่สามารถจะกระทาในสภาพดินฟ้าอากาศทุกชนิด และทุกสภาพทัศนะวิสัย
การลาดตระเวนด้วยการยิง
วิธีการอื่น ๆ ที่จะใช้ในการตรวจค้นพื้นที่ ๆ มีทุ่นระเบิดนั้น ก็คือ วิธีการลาดตระเวนด้วยการยิงของ
ปืนใหญ่ เครื่องยิงลูกระเบิดหรือการยิงด้วยจรวดและการทิ้งระเบิด การระเบิดของกระสุนหรือลูกระเบิดหนึ่งลูก
บนพื้นดินหรือใกล้พื้นดิน จะทาให้ทุ่นระเบิดส่วนมาก ซึ่งอยู่ภายในรัศมีจากัดระเบิดขึ้นด้วยสิ่งบอกเหตุว่ามีทุ่น
ระเบิดอยู่นั้น จะสังเกตได้จากหลุมระเบิดที่มีลักษณะกลมและเรียบอยู่รอบๆ จุดระเบิดของการยิงของอาวุธ
แต่อย่างไร ก็ตาม ควรระลึกไว้ว่าการยิงดังกล่าวนี้อาจจะกระทาให้การรื้อถอนทุ่นระเบิดหรือกับระเบิดเกิด
ความยากลาบากและมีอันตรายมากขึ้นภายหลัง
วิธีการตรวจค้น ( DETECTION METHODS )
การตรวจค้นทุ่นระเบิด และกับระเบิดกระทาได้ 4 วิธีคือ.
1. การตรวจค้นด้วยสายตา 2. การตรวจค้นด้วยของแหลม
3. การตรวจค้นด้วยเครื่องตรวจค้นทุ่นระเบิด 4. การตรวจค้นด้วยสุนัขที่ฝึกแล้ว

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (การตรวจค้นและรื้อถอน)
-45-
การตรวจค้นด้วยสายตา ( DETECTION BY VISUAL MEANS )
หน่วยทหารทุกเหล่า จะต้องสามารถตรวจค้นทุ่นระเบิดและกับระเบิดของข้าศึกได้ ความสับเพร่า
หรือความเร่งรีบในการวางของข้าศึก อาจจะทาให้มีสิ่งบอกเหตุต่างๆ เหลื อทิ้งอยู่ เช่น ดินที่ถูกรบกวน กองหิน
กากหีบห่อทุ่นระเบิ ด หรือสลักนิรภัยของชนวน เครื่องหมายสนามทุ่นระเบิดของข้าศึก การตรวจค้นด้ว ย
สายตาเป็นวิธีการที่ตรวจค้นตาบลที่วางทุ่นระเบิดหรือกับระเบิดวิธีหนึ่ง ความรู้เกี่ยวกับคุณลักษณะและการ
ใช้ทุ่นระเบิดของข้าศึก จะเป็นแนวทางในการตรวจค้นได้เป็นอย่างดี ในการตรวจค้นนั้นควรเริ่มต้นจากตาบลที่
น่าจะวางทุ่นระเบิดหรือกับระเบิด ดังนี้.-
1. หลุม, รอยแตกหรือตาบลที่ขุดง่ายบนถนน
2. ข้างใต้ตรงริมของผิวถนนตรงจุดรวมของผิวถนนกับไหล่ถนน
3. บนไหล่ถนนเมื่อวางทุ่นระเบิด และพรางทุ่นระเบิดได้โดยง่ายทุ่นระเบิดฝังลึกๆ บนไหล่ถนนนั้น
ตรวจค้นได้ยาก
4. ทางเบี่ยงและรอบ ๆ สะพาน ที่ถูกทาลายหรือถนน ที่มีหลุมระเบิด
5. รอบ ๆ ปากหลุมระเบิดและปลายสะพานที่ถูกทาลายทั้งสองข้างหรือปลายท่อลอดถูกทาลายทั้ง
สองข้าง บางครั้งในหลุมระเบิดอาจมีทุ่นระเบิดสังหารวางเอาไว้ ถ้าหากหลุมระเบิดนั้นสามารถใช้เป็นที่หลบ
ภัยจากการยิงด้วยปืนใหญ่ของข้าศึก หรือการทิ้งระเบิดจากเครื่องบิน
6. ในเครื่องกีดขวางลวดหนาม, รั้วลวด และเครื่องกีดขวางคล้าย ๆ กันนี้ ตลอดจนเครื่องกีดขวาง
อื่น ๆ เช่น ในยานพาหนะที่ปล่อยทิ้งไว้ ต้นไม้ที่ล้มขวางถนนตลอดทั้งกิ่งก้านของต้นไม้ ซึ่งขวางทางเดินในภู มิ
ประเทศ
7. ใกล้กับวัตถุที่ผิดธรรมชาติ ซึ่งข้าศึกวางไว้สาหรับใช้เอง เช่น ป้ายเครื่องหมายสนามทุ่นระเบิด
8. ในตาบลที่มีการขับยานพาหนะเข้าไปตามปกติ เช่น ที่กลับรถ ที่จอดรถ ทางเข้าอาคาร ช่องแคบ
และทางวิ่งของสนามบิน
9. ใกล้ซากศพหรือของที่ระลึก เช่น ปืนพก กล้องส่องทางไกลและขวดเหล้า ฯลฯ
10. ตาบลที่น่าจะใช้เป็นที่พักแรมหรือที่รวมพล และในอาคารที่เหมาะจะใช้เป็นที่บังคับการหรือที่
ตรวจการณ์

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (การตรวจค้นและรื้อถอน)
-46-
การตรวจค้นด้วยของแหลม (DETECTION BY PROBING)
1. การตรวจค้นด้วยของแหลม เป็นวิธีการตรวจค้นทุ่นระเบิดที่ต้องใช้แทงลงไปในดินด้วยเครื่องมือ
แหลม ๆ โดยใช้วัสดุที่ไม่เป็นสื่อไฟฟ้าเพื่อป้องกันชนวนทุ่นระเบิดแม่เหล็กและกับระเบิดพวกเชื้อประทุไฟฟ้า
การตรวจค้นด้วยของแหลมเป็นวิ ธีที่ดีที่สุด สาหรับตรวจค้น ทุ่นระเบิดชนิดอโลหะ เช่น ทุ่นระเบิดสังหารแบบ
M14 แต่เป็นงานที่ชักช้าและเป็นงานที่น่าเบื่อหน่ายโดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่เป็น น้าแข็งและเป็นดินแข็ง
เมื่อปรากฏว่ามีทุ่นระเบิดที่ไม่ทราบชนิดของชนวนหรือสงสัยว่าเป็นชนวนแม่เหล็กแล้ว จะต้องใช้ของแหลมที่ไม่
เป็นสื่อแม่เหล็กทาการตรวจค้น
2. ขณะตรวจค้ น ด้ว ยของแหลม ทหารเคลื่ อ นที่ ใ น
ลักษณะนั่งยอง ๆ หรือคลานเข้าไปข้างหน้าเพื่อตรวจหาลวดสะดุด
และแผ่ น รั บ แรงกดให้ ม้ว นแขนเสื้ อทั้งสองขึ้น เพื่อเพิ่มความไวเมื่อ
สัมผัสกับลวดสะดุดหลังจากพิจารณาแล้วผู้ตรวจค้นใช้ของแหลมแทง
ลงไปในพื้นดินทุก ๆ ระยะ 2 นิ้ว (5 ซม.) กว้างด้านหน้าประมาณ 1
เมตร แทงของแหลมลงในดินเบา ๆ ให้เป็นมุมกับเส้นระดับประมาณ
45 องศา หากแทงลงไปตรง ๆ แล้ว ปลายของแหลมตรวจค้นอาจจะไปกระทาชนวนกดของทุ่นระเบิด ทาให้
เกิ ดระเบิ ดขึ้ น ได้ เมื่อ ของแหลมตรวจค้ น สั ม ผั ส กั บวั ตถุ แ ข็ง แล้ ว ให้ ห ยุด แทงและให้ รื้อ ดิ นออกด้ ว ยความ
ระมัดระวัง เพื่อพิจารณาว่าตรวจพบสิ่งใดถ้าหากตรวจค้นพบทุ่นระเบิดเข้าแล้วให้รื้อดินออกให้มากพอสมควรที่
จะพิจารณาชนิดทุ่นระเบิดและตาบลที่วางทุ่นระเบิดโดยแน่นอนได้
การตรวจค้นด้วยเครื่องตรวจค้นทุ่นระเบิด (DETECTION BY MINE DETECTOR)
1. เครื่องตรวจค้นทุ่นระเบิด เป็นเครื่องตรวจค้น
ที่หิ้วได้มีความสามารถในการตรวจค้นทุ่นระเบิดได้แทบทุก
ชนิดโดยเฉพาะอย่างยิ่งทุ่นระเบิดชนิดโลหะเครื่องตรวจค้น
ทุ่นระเบิดมีขีดจากัดโดยแน่นอน แต่เมื่อใช้ร่วมกับการตรวจ
ค้นด้วยสายตา และการตรวจค้นด้วยของแหลมแล้วจะช่วยให้
การตรวจค้นทุ่นระเบิดได้ผลยิ่งขึ้น เครื่องตรวจค้นให้สัญญาณ
แสดงตาบลที่วางทุ่นระเบิด โดยการเปลี่ยนแปลงให้พลประจาเครื่องได้ยินจากชุดหูฟัง การใช้เครื่องตรวจค้นทุ่น
ระเบิดนี้อาจใช้ได้ในท่ายืน คุกเข่า หรือท่านอนราบ
2. เครื่องตรวจค้นทุ่นระเบิดทุกชนิด ให้สัญญาณไม่ถูกต้องบ้างเหมือนกัน
เมื่ อ เครื่ อ งตรวจค้ น ผ่ า นทุ่น ระเบิ ด ขนาดเล็ ก เช่ น
M14 พลประจาต้องพิจารณาให้ดีจะสามารถตรวจ
ได้เสมอ นอกจากนี้สามารถตรวจค้นโลหะอื่น ๆ ที่ฝัง
ลึ ก กว่ า ทุ่ น ระเบิ ด ได้ อี ก ด้ ว ยความช านาญในการ
ปฏิบัติต่อเครื่องตรวจค้นแต่ละชนิดจะช่วยพิจารณา

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (การตรวจค้นและรื้อถอน)
-47-
ได้ ว่า อะไรทาให้ เ ครื่ อ งตรวจค้ น ส่ ง สั ญ ญาณ แต่ โ ดยมากมัก จะต้ อ งใช้ การตรวจค้ นด้ ว ยของแหลมร่ ว มกั บ
เครื่องตรวจค้นทุ่นระเบิด ในทานองเดียวกันเครื่องตรวจค้นทุ่นระเบิดแบบตรวจได้ทั้งโลหะและอโลหะอาจจะ
ส่งสัญญาณไม่ถูกต้อง เมื่อเครื่องตรวจค้นส่ายเหนือรากไม้หรือหลุมอากาศ ลักษณะของดินที่มีแม่เหล็ก อาจเพิ่ม
ความยุ่งยากให้กับการตรวจค้ นได้ แต่ไม่มีผลกระทบกระเทือนต่อเครื่องตรวจค้นแบบตรวจได้ทั้งโลหะและ
อโลหะ
3. ผู้ ที่ได้ รั บ มอบหมายให้ เป็น ผู้ ใช้ เครื่ องตรวจค้ น จะต้อ งมีความรู้ ในขี ดความสามารถของ
เครื่องตรวจค้นที่ใช้โดยละเอียด พลประจาเครื่องตรวจค้นจะต้องตรวจค้นหาทุ่นระเบิดหรือกับระเบิด และลวด
สะดุดตลอดเวลาการปฏิบัติงานนั้น พลประจาควรจะใช้เครื่องตรวจค้นตามระยะเวลาที่กาหนดเพื่อสับเปลี่ยน
กันให้ผู้ที่ปฏิบัติแล้วทาการหยุดพักโดยถือเกณฑ์ดังนี้.-
1. เครื่องตรวจค้นทุ่นระเบิดแบบตรวจได้เฉพาะโลหะ ปฏิบัติงาน 20 นาที พัก 30 นาที
2. เครื่องตรวจค้นทุ่นระเบิดแบบตรวจได้ทั้งโลหะและอโลหะปฏิบัติงาน15 นาที พัก 30 นาที
4. เครื่องตรวจค้นทุ่นระเบิดที่มีใช้ในปัจจุบันนี้ ได้แก่.-
1. แบบตรวจได้เฉพาะโลหะ ได้แก่ POLAN MODEL P-153, P-158, P-190, 4 D 22, ML
1612, EB 521 และ AN/PSS - 12
2. แบบตรวจได้ทั้งโลหะและอโลหะ AN/PRS - 7 และ 4 D 6

การตรวจค้นด้วยสุนัข (DETECTION BY TRAINED DOG)


สุนัขที่ใช้ตรวจทุ่นระเบิด จะได้รับการฝึกมาแล้ว
เป็นอย่างดี สุนัขแต่ละตัวจะมีผู้ควบคุมซึ่งเรียกว่าผู้บังคับสุนัข
ซึ่งสุนัขจะฟังคาสั่งเฉพาะผู้บังคับสุนั ขของตนเท่านั้นการตรวจ
ค้น ทุ่นระเบิดของสุนัข ผู้บังคับสุนัขเป็นผู้ออกคาสั่ง และ
ปฏิบัติการของสุนัขจะได้ผลมากในขณะมี ลมพัดเมื่อสุนัขพบ
ทุ่นระเบิดหรือกับระเบิดจะให้สัญญาณเตือนภัย ซึ่งการเตือน
ของสุ นั ขแต่ล ะตัว ไม่ เ หมื อนกั น แต่ผู้ บั งคั บสุ นั ขแต่ล ะคนจะ
ทราบได้ ดังนั้นในการตรวจค้นจะต้องประสานอานัตสัญญาณ
ระหว่ า งผู้ บั ง คั บ สุ นั ข กั บ เจ้ า หน้ า ที่ รื้ อ ถอน ซึ่ ง จะเข้ า ไป
ตรวจสอบจุดวางที่แน่นอนของทุ่นระเบิดหรือกับระเบิด การ
ตรวจค้น ของสุนั ขจะได้ผลดีถ้าให้สุ นัขแต่ละตัว ปฏิบัติงานไม่
เกิน 3 ชม. แต่ถ้าให้ทางานระยะสั้น ๆ และให้เป็นระยะ ๆ
แล้ว เวลาปฏิบัติงานอาจขยายออกไปได้ 6 - 8 ชม.

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (การตรวจค้นและรื้อถอน)
-48-
2. การรื้อถอน (MINES REMOVAL)
คือ การกระทาที่ทาให้ทุ่นระเบิดหรือกับระเบิดออกไปจากตาบลที่วางไว้ ซึ่งอาจจะทาการรื้อถอน
ภายหลังจากทาการตรวจค้นทุ่นระเบิดแต่ละทุ่นให้พบ หรือทาการรื้อถอนโดยไม่ต้องทาการตรวจค้นทุ่นระเบิด
แต่ละทุ่นให้พบก็ได้
การรื้อถอนภายหลังทาการตรวจค้นทุ่นระเบิดแต่ละทุ่นให้พบ กระทาได้ 3 วิธี คือ .-
1. การยกทุ่นระเบิดด้วยมือ การทาให้ทุ่นระเบิดอยู่ในลักษณะปลอดภัยนั้นกระทาได้โดยการตัดสาย
การจุ ดระเบิ ดของทุ่น ระเบิ ดทุก ๆ สายให้ ขาดจากกันหากสภาพการณ์ต่าง ๆ อานวยให้ แล้ ว การใช้น้ามัน
เชื้อเพลิงที่ไวไฟราดสนามทุ่นระเบิดที่มีหญ้าขึ้นสูง แล้วจุดไฟขึ้นก็จะทาให้การรื้อถอนทุ่นระเบิดง่ายขึ้น จะต้อง
ตรวจสอบลวดสะดุด และใช้ของแหลมตรวจค้นในพื้นที่ด้วยความระมัดระวัง
การรื้อถอนทุ่นระเบิดด้วยมือนั้น ใช้เฉพาะ
เมื่อผู้บังคับบัญชาได้พิจารณาเห็นว่าต้องการมิให้บังเกิด
เสียงดังเกี่ยวกับผลทางยุทธวิธี หรือทุ่นระเบิดวางอยู่ใน
ที่ซึ่งเมื่อระเบิ ดขึ้ น แล้ ว จะท าความเสี ย หายให้ แก่สิ่ ง
อ านวยความสะดวกที่ ส าคั ญ ทุ่ น ระเบิ ด บางแห่ ง จะ
ติดตั้งชนวนกันเขยื้อนไว้เพื่อป้องกันการรื้อถอนจะต้อง
ระมัดระวังในการปฏิบัติให้มาก การยกทุ่นระเบิดด้วย
มือใช้ได้เฉพาะเมื่อได้พิจารณาจากการลาดตระเวนแล้ว
ว่าชนิดของทุ่นระเบิดในสนามสามารถทาให้ไม่พร้อมระเบิดได้ด้วยการรื้อถอนด้วยมือได้เท่านั้น วิธีนี้เปลืองเวลา
มากจะต้องใช้ผู้ซึ่งได้รับการฝึกมาอย่างดีปฏิบัติ
วิธีการปฏิบัติโดยทั่ว ๆ ไป
1. ใช้ของแหลมตรวจค้นหาตาบลที่วางทุ่นระเบิดและชนวน
2. รื้อสิ่งปกคลุมออก ค่อย ๆ คุ้ยดินรอบ ๆ ทุ่นระเบิดออก โดยคุ้ ยลงไปถึงขอบล่างของทุ่น
ระเบิด หากพบเครื่องจุดระเบิด (ชนวน) ที่อยู่ทางด้านข้าง ให้ทาไม่พร้อมระเบิดตามแบบของเครื่องจุดระเบิด
(ชนวน) ที่ใช้
3. แบ่งพื้นที่รอบ ทุ่นระเบิดออกเป็น 3 ส่วน ขุดทีละส่วนจากข้างนอกห่างจากทุ่นระเบิดประมาณ
1 ฟุต ลึกกว่าขอบล่างของทุ่นระเบิด 6 นิ้ว ใช้ลวดเล็กสอดเข้าไปใต้ ทุ่นระเบิดเพื่อหาเครื่องจุดระเบิดหากไม่พบ
ให้กลบส่วนนั้นแล้วขุดส่วนที่ 2 และ 3 ต่อไป หากพบเครื่องจุดระเบิด (ชนวน) ให้ทาให้ไม่พร้อมระเบิดตามแบบของ
เครื่องจุดระเบิด (ชนวน) ที่ใช้ แล้วจึงทาให้ชนวนหลักของทุ่นระเบิดไม่พร้อมระเบิด
4. ยกทุ่นระเบิดด้วยความระมัดระวัง แล้ว นาไปยังตาบลปลอดภัย เพื่อจัดการทาลาย
5. อย่าพยายามยกทุ่นระเบิดด้วยมือ ถ้าชนวนทุ่นระเบิดอยู่ในสภาพชารุดเสียหาย
2. การรื้อถอนด้วยเชือก เมื่อได้ตรวจสอบทุ่นระเบิดในพื้นที่แล้ว ให้ใช้วิธีรื้อถอนทุ่นระเบิ ดด้วยเชือก
วิธีนี้จะช่วยลดอันตรายที่เกิดจากทุ่นระเบิดติดตั้งชนวนกันเขยื้อนได้มาก ซึ่งอาจจะมีอยู่ข้างใต้หรือด้านข้างของ

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (การตรวจค้นและรื้อถอน)
-49-
ทุ่นระเบิดให้ใช้เชือกขนาด Ø 1/4 นิ้ว มีความยาวอย่างน้อย 50 เมตร โดยใช้ปลายข้างหนึ่งผูกกับโยธะกาเพื่อ
เกี่ยวด้านบนทุ่นระเบิด หรืออาจจะใช้ปลายเชือกผูกตัวทุ่นระเบิดโดยตรงก็ได้ แล้วดึงในระยะปลอดภัยตัวผู้ดึง
อยู่ในที่กาบัง รัศมีอันตรายของทุ่นระเบิดในปัจจุบันนี้จะมากกว่า 50 เมตร ถ้าผู้ดึงทุ่นระเบิดอยู่ในที่กาบังจะ
ลดอันตรายได้ แต่ไม่ควรใช้โครงโลหะในการดึงทุ่นระเบิดเพราะว่าเมื่อทุ่นระเบิดเกิดระเบิดขึ้ นจะทาให้โครง
โลหะขาดเป็นสะเก็ดกระเด็นหาผู้ดึงได้
วิธีปฏิบัติโดยทั่ว ๆ ไป
1. รื้อสิ่งปกคลุมทุ่นระเบิดออก เพื่อให้
เห็นบางส่วนของทุ่นระเบิดที่เหมาะสาหรับจะใช้เชือกผูก
โดยไม่ทาให้ทุ่นระเบิดขยับเขยื้อน
2. ใช้ปลายข้างหนึ่งของเชือกผูกเข้ากับ
โยธะกา เพื่ อ ใช้ เ กี่ ย วส่ ว นบนของตั ว ทุ่ น ระเบิ ด หรื อ ใช้
ปลายข้างหนึ่ งของเชือกผู กโดยตรงก็ ได้ หากจาเป็นต้อ ง
ออกแรงดึงมาก ให้ใช้โครงไม้ขาหยั่งเข้าช่วย
3. ต้องแน่ใจว่าทุก ๆ คนที่อยู่ในบริเวณนั้นได้เข้าที่กาบังแล้ว
4. ผู้ดึงทุ่นระเบิดจะต้องอยู่ในที่กาบัง ซึ่งอยู่ห่างจากทุ่นระเบิด อย่างน้อย 50 เมตร
5. รอคอย 30 วินาที จึงออกจากที่กาบังและเข้าไปยังทุ่นระเบิดที่ดึง
6. ตรวจสอบหลุมอีกครั้งหนึ่ง เพื่อค้นหาทุ่นระเบิดเพิ่มเติม
7. ถอดชนวนออกจากทุ่นระเบิด หรือตัดสายการจุดระเบิดของทุ่นระเบิด (ที่ไม่ระเบิด)
8. ขนทุ่นระเบิดไปยังที่กองทุ่นระเบิด เพื่อจัดทาการทาลายหรือนาไปใช้ใหม่
3. การทาลาย ณ ที่วาง การใช้วัตถุระเบิดในการ
ทาลายทุ่นระเบิด, หรือกับระเบิดหลังจากตรวจพบที่วางแล้ว
เป็นวิธีการที่ปลอดภัยที่สุด (แต่จะต้องพิจารณาว่า ถ้าหากทุ่น
ระเบิดเคมีมีพิษทุ่น หนึ่งหรือหลายทุ่นระเบิดขึ้นจะเกิดการ
เป็นพิษและจะได้รับอันตรายเมื่อลมพัดมาทางฝ่ายเรา) การ
ปฏิบัติจะใช้ดินระเบิด 1 ปอนด์ ทาดินระเบิดนาวางบนส่วน
ของตัว ทุ่น ระเบิ ด แล้ ว ทาการจุ ดระเบิ ดขึ้น ทุ่นระเบิดก็จ ะ
ระเบิดตาม อาจจะใช้ระบบฝักแคระเบิดเพื่อจะทาลายทุ่นระเบิดหลายๆ ทุ่น ในบางสถานการณ์ การทาลาย
ด้วยวัตถุระเบิดอาจจะใช้ไม่ได้ เมื่อคานึงถึงความเสียหายอาจจะเกิดขึ้นต่อสิ่งอานวยความสะดวก เช่น สะพาน
อาคาร ถนน เป็นต้น
การรื้อถอนโดยไม่ต้องตรวจค้นทุ่นระเบิดแต่ละทุ่นให้พบ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้กับพื้นที่ที่ข้าศึกวางทุ่น
ระเบิดไว้อย่างกว้างขวาง (อาจจะวางแบบกระจัดกระจายด้วยมือหรือการวางโดยวิธีโปรยหว่าน) และฝ่ายเรา

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (การตรวจค้นและรื้อถอน)
-50-
จะต้องใช้พื้นที่นั้นอย่างเร่งด่วน หากจะใช้วิธีการรื้อถอนที่จะต้องทาการตรวจค้นทุ่นระเบิดแต่ละทุ่นให้พบแล้ว
จะไม่ทันต่อความต้องการในพื้นที่ทางยุทธวิธี วิธีการ
รื้อถอนโดยไม่ต้องตรวจค้นทุ่นระเบิดแต่ละทุ่นให้พบ มี 3 วิธีคือ.-
1. การรื้อถอนด้วยเครื่องมือกล เครื่องมือกลที่ใช้ในการรื้อถอนทุ่นระเบิดที่มีใช้กันในปัจจุบัน
1.1 ระบบลูกกลิ้งบดทับ เป็นชุดลูกกลิ้งติดตั้ง
ข้างหน้ารถถังอาจจะเป็นลูกกลิ้งเดี่ยวเต็มกว้างด้านหน้า หรือทา
เป็น 2 ชุด ติดตั้งตรงกับสายพาน ระหว่างลูกกลิ้งจะมีโซ่ แขวน
ไว้เรี่ยพื้นเพื่อป้องกันชนวนเอียงและชนวนแม่เหล็ก ลูกกลิ้ง
หนัก ตั้งแต่ 5,000 ปอนด์ ขึ้นไป ใช้ทาลายทุ่นระเบิดได้ทั้งทุ่น
ระเบิดดัก รถถังและทุ่นระเบิดสังหาร จุดอ่อนของระบบลูกกลิ้ง
ชนิดทาเป็น 2 ชุด จะก่อให้เกิดช่องว่างระหว่าง สายพานทั้ง
2 ข้างของรถ ทาให้ทุ่นระเบิดที่มิได้ใช้ชนวนชนิดแกนเอียงไม่เกิดการระเบิดขึ้น
1.2 ระบบโซ่ตี เป็นชุดโซ่จานวนหลายเส้นติดกับแกนหมุนได้ ติดตั้งกับรถถัง, รถถากถาง, รถ
สานพานลาเลียงพลหรือรถกึ่งสายพาน แกนติดตั้งโซ่จะหมุนด้วยความเร็วสูง ปลายโซ่แต่ละเส้นจะตีลงบน
พื้นดินห่างกันไม่เกิน 3 นิ้ว ใช้ทาลายทุ่นระเบิดได้ทั้งทุ่นระเบิดดักรถถังและทุ่นระเบิดสังหาร จุดอ่อนของ
ระบบนี้ไม่สามารถใช้ในพื้นที่มีต้นไม้ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางเกินกว่า 3 นิ้ว ได้

1.3 ระบบผานไถ เป็นระบบใบมีดประกอบฟันคราด ใช้ติดตั้งด้านหน้าของรถถากถาง รถสายพาน


ลาเลียงและรถถัง ใบมีดอาจจะเต็มกว้างด้านหน้ารถหรืออาจ
แบ่งเป็น 2 ส่วน ติดตั้งตรงกับสายพานของรถ การทางานของ
เครื่ องมือชนิ ดนี้ส ามารถกดผ่านไถให้ลึ กได้ตามต้องการ ทุ่น
ระเบิดจะถูกงัดออกโดยฟันคราดและผลักออกไปข้างรถ เป็น
ระบบที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ ม ากกว่ า ระบบลู ก กลิ้ ง และระบบโซ่ ตี ใน
ปัจจุบันกรมการทหารช่างกาลังพัฒนาระบบนี้ขึ้นใหม่

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (การตรวจค้นและรื้อถอน)
-51-
2. การรื้อถอนด้วยวัตถุระเบิด มีใช้หลายแบบ เช่น
2.1 บังกาโลตอร์ปิโด เป็นวัตถุระเบิดที่บรรจุอยู่ในท่อโลหะแข็ง ส่วนมากจะมีขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางของท่อ 2 - 2 1/8 นิ้ว ความยาวแตกต่างกันแล้วแต่ประเทศผู้ผลิตใช้สอดเข้าไปในพื้นที่มีทุ่น
ระเบิดแล้วจุดระเบิดขึ้น จะได้ช่องทางปลอดภัยประมาณ 1 เมตร ใช้ในพื้นราบที่มีต้นไม้ขึ้นไม่หนาแน่นมากนัก
ไม่สามารถจะใช้ในพื้นที่ไม่เรียบหรือพื้นที่ที่มีลาดชันมาก

2.2 ระเบิดสาย เป็นวัตถุระเบิดบรรจุในท่ออ่อนใช้จรวดลากสายระเบิดไปในอากาศให้ตกลง


ผ่านพื้นที่ที่มีทุ่นระเบิด แล้วทาการจุดระเบิดขึ้น มีหลายขนาดตั้งแต่เ ปิดช่องทางได้ 50 ซม. ยาว 20 เมตร ไป
จนถึงเปิดพื้นที่ได้กว้าง 8 เมตร ยาว 200 เมตร ระเบิดสายจะใช้ในพื้นที่ที่มีต้นไม้ไม่สูงมากนักตามขนาดของ
ระเบิดสาย เพราะถ้าระเบิดสายพาดอยู่บนต้นไม้ที่สู งเกินกาหนดไว้ แรงระเบิดจะไม่สามารถทาลายทุ่น
ระเบิดที่ฝังอยู่ในพื้นดินได้

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (การตรวจค้นและรื้อถอน)
-52-
2.3 จรวดทาลายทุ่นระเบิดเป็นจรวดหลายลา
กล้องใช้ยิงเข้าไปในพื้นที่ที่มีทุ่นระเบิดลูกจรวดจะระเบิดเหนือ
พื้นดินในระยะที่กาหนดไว้ทาให้เกิดแรงอัดอากาศกระแทกต่อ
พื้นดินทาให้ทุ่นระเบิดเกิดระเบิดตาม สามารถใช้ได้ในพื้นที่ที่
เป็ น ป่ า พื้น ที่ที่ ไม่ ร าบเรี ย บและพื้น ที่ที่ มีล าดชัน มาก ๆ ได้
อาจใช้ปืนใหญ่ทาการยิงทาลายทุ่นระเบิดแทนจรวดทาลาย
ทุ่นระเบิดได้
3. การรื้อถอนโดยใช้ฝูงสัตว์
เป็นวิธีที่ใช้ฝูงสัตว์ เช่น วัว ควาย ต้อนผ่านเข้าไปในพื้นที่ที่มีทุ่นระเบิดและกับระเบิด วิธีนี้จะ
ใช้เมื่อมีความจาเป็นเท่านั้น

------------------------------------------

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (การตรวจค้นและรื้อถอน)
-53-
10. ลูกระเบิดขว้าง
หลักฐาน รส. 23-30 /2535
1. กล่าวนา
ลูกระเบิดเป็นอาวุธประเภทที่ใช้ขว้างหรือยิงออกไป ได้แก่ ลูกระเบิดขว้างหรือลูกระเบิดยิงจากปืนเล็ก
และเป็นยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ หรือ สายวิทยาศาสตร์ ลูกระเบิดขว้างสายสรรพาวุธนั้นบรรจุดินระเบิดแรง
สู ง ไว้ภ ายใน สามารถใช้ ใ นการต่อ สู้ ร ถถั ง หรื อ เป็น ผลท าให้ บ าดเจ็ บ ได้ต ามภารกิ จ ลู กระเบิด ขว้ างสาย
วิทยาศาสตร์ ภายในบรรจุวัตถุเคมีที่สามารถทาให้เกิดการบาดเจ็บ การเผาไหม้ การส่องสว่างเป็นอาณัติ
สัญญาณ ฉากควันหรือภารกิจปราบการจลาจล โดยส่วนใหญ่แล้วลูกระเบิดขว้างได้ออกแบบไว้เ พื่อที่จะใช้
ขว้าง แต่อาจจะนามาใช้ยิงได้โดยจะต้องประกอบเข้ากับเครื่องประกอบสาหรับการยิงจากปืนเล็ก
ลูกระเบิดขว้างได้ออกแบบไว้เพื่อใช้ขว้างหรือโยนด้วยมือเปล่าไปยังเป้าหมาย ซึ่งจะทาให้หน้าที่ของ
ทหารเป็นบุคคลบรรลุผลสาเร็จไปด้วยดีในภารกิจทั้ง 6 ประการ กล่าวคือ
1.1 สังหารสิ่งที่มีวิญญาณและทาให้บาดเจ็บ 1.2 เป็นอาณัติสัญญาณ
1.3 เป็นฉากควัน 1.4 เป็นการส่องสว่าง
1.5 เป็นการเผาไหม้ 1.6 เป็นการปราบปรามจลาจล
2. คุณลักษณะ ลูกระเบิดขว้างทั้งหมดจะมีคุณลักษณะอยู่ 3 ประการ คือ
2.1 เป็นอาวุธที่มีระยะการขว้างที่ใกล้เมื่อได้เปรียบเทียบกับอาวุธของทหารราบชนิดอื่น ๆ
2.2 รัศมีของการระเบิดทาให้บาดเจ็บได้เป็นเพียงส่วนน้อย (ระยะห่างจากตาบลระเบิดออกไปเพียง 50
เมตร เท่านั้น ที่จะทาให้บุคคลถึงแก่ชีวิตหรือบาดเจ็บสาหัสได้)
2.3 มีการถ่วงเวลาในห้วงระยะเวลาหนึ่ง ที่ให้ความปลอดภัยเมื่อได้ทาการขว้างออกไปแล้ว แม้ลูกระเบิดจะ
กระทบที่หมายเสียก่อนก็ตาม
3. ส่วนสาคัญ 3 ส่วนของลูกระเบิดขว้าง ลูกระเบิดขว้างได้ประกอบขึ้นด้วยส่วนสาคัญ ๆ อยู่ 3 ส่วน คือ.
3.1 ตัวลูกระเบิด ตัวลูกระเบิดนี้จะห่อหุ้มสิ่งบรรจุภายในไว้ และตัวลูกระเบิดบางชนิดจะประกอบเป็นชิ้น
สะเก็ดระเบิด และ/หรือเป็นลักษณะลูกปราย
3.2 สิ่งที่บรรจุภายใน สิ่งที่บรรจุภายในลูกระเบิดนี้อาจเป็นสารเคมีหรือดินระเบิดแรงสูงตามคุณลักษณะ
และความต้องการในการใช้ลูกระเบิดชนิดนั้น ๆ
3.3 เครื่ อ งจุ ด ชนวน เครื่ อ งจุ ด ชนวนนี้ จ ะเป็ น ส่ ว นที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด ของลู ก ระเบิ ด ขว้ า ง เป็ น ตั ว ชั ก น า
เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ มีลักษณะเช่นเดียวกับการจุดชนวนของประทัด ทางแมคคานิกส์ หรือทางไฟฟ้า
4. ชนวนและการทางาน
ชนวนที่ใช้กับลูกระเบิดขว้างทั้งหลายเป็นทั้งชนวนจุด หรือชนวนระเบิด ลักษณะการทางานของชนวน มี
ดังต่อไปนี้.
4.1 เมื่อดึงห่วงสลักนิรภัย สลักนิรภัยก็จะหลุดออกจากตัวชนวน กระเดื่องนิรภัยพร้อมที่จะหลุดออกจาก
ตัวลูกระเบิดแต่อุ้งมือของผู้ขว้างเท่านั้นที่ยังคงบีบกระเดื่องนิรภัยไว้ มิให้ชนวนเริ่มทางานแต่ถ้าเป็นลูกระเบิดยิง

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ลูกระเบิดขว้าง)
-54-
จากปืนเล็กแล้ว ก็จะมีกรอบยึดกระเดื่องนิรภัยติดกับกระบอกเครื่องยิงยึดกระเดื่องนิรภัยไว้ สาหรับลูกระเบิด
ขว้างก็จะมีแหนบยึดกระเดื่องนิรภัยเพื่อยึดกระเดื่องนิรภัยไว้ ผู้ขว้างสามารถที่จะคลายอุ้งมือออกจาก
กระเดื่องนิรภัยได้ปลอดภัย แหนบยึดกระเดื่องนิรภัยจะมีแบบเฉพาะ สาหรับชนวนแต่ละแบบ เช่น แหนบยึด
กระเดื่องนิรภัยลูกระเบิดขว้างตระกูล M26 ตระกูล M33, M56, M57 และ MK2 แหนบยึดกระเดื่องนิรภัยนี้
ได้ออกแบบไว้เพื่อป้องกันอุบัติเหตุของกระเดื่องนิรภัยในโอกาสที่จะเกิดขึ้น จากแหนบสลักนิรภัยหัก หรือ
อุบัติเหตุจากการหลุดตกจากมือขณะดึงสลักนิรภัยออกจากตัวลูกระเบิดแหนบยึดกระเดื่องนิรภัยก็ยังกด และ
ยึดตัวกระเดื่องนิรภัยไว้แน่นโดยไม่คานึงถึงว่า สลักนิรภัยจะยังคงสวมติดอยู่หรือไม่ก็ตาม
4.2 เมื่อลูกระเบิดหลุดออกไปจากมือหรือคลายมือที่กาลูกระเบิดออก กระเดื่องนิรภัยจะกระเด็นออกจาก
ตัวลูกระเบิดเป็นอิสระ ด้วยแรงอัดของแหนบเข็มแทงชนวนจะดีดกระเดื่องนิรภัยออก
4.3 ขณะที่กระเดื่องนิรภัยกระเด็นออกโดยแรงขยายตัวของแหนบเข็มแทงชนวนไปแล้ว เข็มแทงชนวนดีด
ตัวเอาเดือยแหลมตีเชื้อจุดที่หลอดจอกกระทบแตก
4.4 เมื่อเข็มแทงชนวนตีหลอดจอกกระทบแตก เชื้อจุดลุกเป็นไฟไหม้ดินดาในหลอดถ่วงเวลา
4.5 การไหม้ของดินถ่วงเวลาก็เพื่อให้เป็นการถ่วงเวลานั่นเอง และด้วยเหตุผลดังกล่าวก็เริ่มไหม้ต่อไปยัง
หลอดขยายการระเบิด และไหม้ต่อไปยังสิ่งที่บรรจุภายในตัวลูกระเบิด
4.6 เชื้อปะทุหรือตัวจุด เป็นส่วนประกอบร่วมกันและบรรจุอยู่ภายใน กล่าวคือ เชื้อปะทุก็ คือจอกกระทบ
แตกอันเล็กๆ นั่นเองเป็นหลอดทองแดงปลายข้างหนึ่งปิด ภายในบรรจุดินระเบิดจานวนเล็กน้อยชนิดไวต่อ
ความร้อนมาก และนามาใช้กับลูกระเบิดขว้างสังหาร ลูกระเบิดขว้างควันฟอสฟอรัสขาวและลูกระเบิดขว้างเคมี
ฉะนั้นเมื่อการไหม้ของดินถ่วงเวลาลามมาถึงเชื้อปะทุก็จะระเบิ ดขึ้นทันที ซึ่งเป็นอาการจุดต่อดินระเบิดแรงสูง
ที่บรรจุภายในลูกระเบิด ทาให้ลูกระเบิด ระเบิดขึ้น ตัวจุดเป็นเชื้อปะทุชนิดไหม้เร็ว เป็นตัวจุดดินระเบิดโดยตรง
ซึ่งทาให้เกิดเป็นแก๊สขยายตัวอย่างรวดเร็ว เป็นเหตุให้วัตถุที่บรรจุอยู่ภายในหรือตัวลูกระเบิด ระเบิดขึ้นและ
นามาใช้กับลูกระเบิดซ้อมขว้างและลูกระเบิดขว้างเคมี
5. ชนวนระเบิด
5.1 ชนวน M204A1 และ M204A2 ชนวนเหล่านี้ซึ่งใช้กับ
ลูกระเบิดขว้างสังหาร 88 (MK2), M26 และ M26A1 หลอดดิน
ดาจะถ่วงเวลาอยู่ประมาณ 4 ถึง 5 วินาที เพลิงจึงลามมาถึงเชื้อ
ปะทุ

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ลูกระเบิดขว้าง)
-55-
5.2 ชนวน M206A2 ชนวนนี้ใช้กับลูกระเบิดขว้างรุก MK3A2 และลูกระเบิดขว้างควันฟอสฟอรัสขาว
M34 หลอดดินดาจะถ่วงเวลาอยู่ประมาณ 4 ถึง 5 วินาที เพลิงจึงจะลามมาถึง
เชื้อปะทุ
5.3 ชนวน M213 ชนวนนี้ใช้กับลูกระเบิดขว้างสังหาร M67 มีขอนิรภัย
(Safety Clip) ถ่วงเวลา 4 – 5 วินาที หลังจากเข็มแทงชนวนตีจอกกระทบแตก
5.4 ชนวน M 217 ใช้กับลูกระเบิดขว้างสังหาร M59 และ M57 เป็นชนวน
ระเบิดกระทบแตกอันเกิดจากตัวนาทางไฟฟ้า ซึ่งมีความมุ่งหมายเพื่อที่จะให้เกิด
การระเบิดขึ้นทันทีทันใด เป็นการป้องกันมิให้ข้าศึกนาเอาลูกระเบิดขว้างกลับมา
ยังฝ่ายเราได้อีก (ที่กระเดื่องนิรภัยจะมีอักษรตัวใหญ่นูนสีแดงด้วยคาว่า IMPACT
อย่างชัดเจน) ชนวน M 217 เป็นชนวนไฟฟ้าซึ่งจะทางานเมื่อชนวนกระทบพื้น
หรือทางานภายใน 4 วินาทีหลังจากเข็มแทงชนวนตีจอกกระทบแตก ชนวนจะถ่วง
เวลาไว้อีก 1 วินาทีก็พร้อมที่จะทางาน

M217 fuze
6. ชนวนจุด
6.1 ชนวน M201 ชนวนนี้ได้ออกแบบไว้ให้ใช้กับลูกระเบิด
ขว้างเคมี เพราะตัวนาเผาไหม้นั้น ซึ่งบรรจุอยู่ภายใน เมื่อถูกจุด
ขึ้นแล้วจะไหม้ลามไปอย่างช้า ๆ จะถ่วงเวลา 1.2 ถึง 2 วินาที
6.2 ชนวน M205A1 และ M205A2 ชนวนเหล่านี้ใช้กับลูก
ระเบิดซ้อมขว้าง บ.30 จะถ่วงเวลา 4 ถึง 5 วินาที
6.3 ตัวจุดพิเศษ ชนวนแบบนี้ใช้กับลูกระเบิดขว้างส่องแสง
MK1 ตัวจุดพิเศษนี้จะผิดแผกไปจากตัวจุดแบบอื่นๆ ในเรื่องของความไวไฟ เพราะว่าดินดานี้จะใช้เวลาในการ
เผาไหม้นานเป็นเวลาถึง 7 วินาที ภายหลังจากที่ตั วจุดได้จุดดินดาให้ลุก และเผาไหม้ลามไปถึงสิ่งที่บรรจุ
ภายในของลูกระเบิดส่องแสง

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ลูกระเบิดขว้าง)
-56-
7. ลูกระเบิดขว้างสังหาร
1. กล่าวทั่วไป
ลูกระเบิดขว้างสังหารเป็นอาวุธที่มีคุณประโยชน์ทั้งเชิงรุกและเชิงรับ ตามบทบาทของการรบ อีกทั้งยัง
เป็นอาวุธที่เหมาะสมมีประสิทธิภาพในการรบประชิดและใช้ในการรบกวน ทาให้เกิดการบาดเจ็บได้เป็นจานวน
มาก โดยไม่หวังผลจากการเล็งอย่างประณีตในการขว้างและไม่จาเป็นต้องเข้าประชิดที่มั่นของข้าศึก
2. ลูกระเบิดขว้างสังหาร MK2
2.1 เปลือกหรือตัวลูกระเบิด : เป็นเหล็กหล่อ ภายนอกเซาะเป็นร่องลึกลั กษณะเป็นบั้งหรือฟันปลา เมื่อ
ลูกระเบิด ระเบิดขึ้น เปลือกหรือตัวลูกระเบิดแตกออกเป็นชิ้นเหลี่ยมเล็ก ๆ ทาให้เป้าหมายเป็นอันตรายได้
2.2 สิ่งที่บรรจุภายใน : บรรจุ ที.เอ็น.ที. ชนิดเล็ก หนัก 2 ออนซ์
2.3 ชนวน : ชนวน M204A1, M204A2 ถ่วงเวลา 4 - 5 วินาที
2.4 น้าหนัก : 21 ออนซ์
2.5 ขีดความสามารถ : ทหารสามารถทาการขว้างระยะโดยเฉลี่ย
30 เมตร ถ้าใช้กับเครื่องยิงติดกับปืนเล็กยาวมีระยะยิงไกล 140 เมตร
ลูกระเบิดขว้างสังหารมีรัศมีฉกรรจ์ 10 เมตร
2.6 สีที่ตัวลูกระเบิด : ทาสีมะกอกคาดแถบสีเหลือง 1 แถบ ตอนบนแสดงลักษณะให้ทราบว่าสิ่งที่บรรจุ
อยู่ภายในเป็นดินระเบิดแรงสูง
3. ลูกระเบิดขว้างสังหาร M26 และ M26A1 ออกแบบและกาหนดขึ้นเพื่อทดแทน ลข. MK2
3.1 เปลือกหรือตัวลูกระเบิด : เป็นโลหะแผ่นบางๆ รูปทรงกระบอก ผิวเกลี้ยง (สะเก็ดระเบิด เป็นขดลวด
แต่ละชิ้นจะเป็นเหลี่ยม หรือฟันปลาอัดแน่นอยู่ภายในตัวลูกระเบิด)
3.2 สิ่งที่บรรจุภายใน : บรรจุดินระเบิดคอมโปซิชั่น บี. หนัก 5.5 ออนซ์
3.3 ชนวน : M204 A1 ใช้กับ ลข. M26, ชนวน M204A2 ใช้กับ ลข. M26A1 ถ่วง
เวลา 4 - 5 วินาที
3.4 น้าหนัก : 16 ออนซ์
3.5 ขีดความสามารถ ; ทหารสามารถทาการขว้าง ระยะโดยเฉลี่ย 40 เมตร ถ้าใช้กับ
เครื่องยิงติดกับ ปลย. มีระยะยิง 160 เมตร รัศมีฉกรรจ์ 15 เมตร
3.6 สีที่ตัวลูกระเบิดทาสีเขียวมะกอก
คาดแถบสีเหลือง 1 แถบ ตอนบน
เครื่องหมายสีเหลืองแสดงสิ่งที่บรรจุภายใน
เป็นดินระเบิดแรงสูง

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ลูกระเบิดขว้าง)
-57-

4. ลูกระเบิดขว้างสังหาร M56 ดัดแปลงให้แตกต่าง M26A1 คือสามารถบรรจุสิ่งที่บรรจุภายในได้เป็น


จานวนมาก และชนวน M215 มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่ขึ้น
4.1 เปลือกหรือตัวลูกระเบิด : มีลักษณะเช่นเดียวกันกับลูกระเบิดขว้างสังหาร M26A1
4.2 สิ่งที่บรรจุภายใน : บรรจุดินระเบิดคอมโปซิชั่น บี. หนัก 6.3 ออนซ์
4.3 ชนวน : M215 และถ่วงเวลา 4 - 5 วินาที
4.4 น้าหนัก : 15.2 ออนซ์
4.5 ขีดความสามารถ ; เช่นเดียวกับลูกระเบิดขว้างสังหาร M26A1 รัศมีฉกรรจ์ 15 เมตร
4.6 สีและเครื่องหมายที่ตัวลูกระเบิด เช่นเดียวกับลูกระเบิดขว้างสังหาร M26A1
5. ลูกระเบิดขว้างสังหาร M57 ดัดแปลงชนวน เป็นชนวนระเบิดกระทบแตก
5.1 เปลือกหรือตัวลูกระเบิด : มีลักษณะเช่นเดียวกับลูกระเบิดขว้างสังหาร M26A1
5.2 สิ่งที่บรรจุภายใน : บรรจุดินระเบิดคอมโปซิชั่น บี. หนัก 6.3 ออนซ์
5.3 ชนวน : M217 ระเบิดกระทบแตก
5.4 น้าหนัก 15.2 ออนซ์
5.5 ขีดความสามารถ : เช่นเดียวกับ M26A1
จะเกิดการระเบิดด้วยการกระทบแตก เมื่อขว้าง
ออกไปกระเดื่อ งนิ ร ภัย จะเป็ น อิ ส ระ จะเป็นการ
ถ่วงเวลา 4 วินาที ก่อนที่จะกระทบพื้น ดั้งนั้นถ้า
ขว้างออกไปแล้วตกกระทบพื้น มันจะทางานใน 1 วินาที
5.6 สีและเครื่องหมายที่ตัวลุกระเบิดขว้าง เช่นเดียวกับ M26A1 แต่ที่กระเดื่องนิรภัยจะมีตัวอักษรใหญ่นูน
สีแดงด้วยคาว่า IMPACT อย่างชัดเจน
6. ลูกระเบิดขว้างสังหาร M33 ได้ดัดแปลงให้มีรูปร่างเหมือนแบบลูกจัน สามารถบรรจุสิ่งที่บรรจุภายใน
ได้เป็นจานวนมาก
6.1 เปลือกหรือตัวลูกระเบิด : เป็นเหล็กกล้า รูปร่าง
เหมือนเป็นแบบลูกจัน
6.2 ชนวน : M213 ถ่วงเวลา 4 - 5 วินาที
6.3 น้าหนัก : 13.9 ออนซ์
6.4 ขีดความสามารถ : เช่นเดียวกับลูกระเบิดขว้าง
สังหาร M26A1 แต่ยิงจากปืนเล็กไม่ได้
6.5 สีและเครื่องหมายที่ตัวลูกระเบิด : รายละเอียดเช่นเดียวกับลูกระเบิดขว้างสังหาร M26A1

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ลูกระเบิดขว้าง)
-58-
7. ลูกระเบิดขว้างสังหาร M59 ชนวนดัดแปลงต่างออกไปเป็น ชนวนระเบิดกระทบแตก
7.1 เปลือกหรือตัวลูกระเบิด : เช่นเดียวกับ ลูกระเบิดขว้างสังหาร M33
7.2 สิ่งที่บรรจุภายใน : ดินระเบิดคอมโปซิชั่น บี. หนัก 6.5 ออนซ์
7.3 ชนวน : M217 ระเบิดกระทบแตก
7.4 น้าหนัก : 13.9 ออนซ์
7.5 ขีดความสามารถ : รายละเอียดเช่นเดียวกับ ลูก
ระเบิดขว้างสังหาร M26A1
7.6 สีและเครื่องหมายที่ตัวลูกระเบิด รายละเอียด
เช่นเดียวกันกับลูกระเบิดขว้างสังหาร M26A1 เว้นแต่ที่
กระเดื่องนิรภัยจะมีอักษรตัวใหญ่นูนสีแดงด้วยคาว่า
IMPACT อย่างชัดเจน

8. ลูกระเบิดขว้างเคมีควัน
1. กล่าวทั่วไป
ลูกระเบิ ดขว้างเคมีควั น ได้ออกแบบเพื่อใช้ในการให้ อาณัติสัญญาณ และการทาฉากควันเป็นส่ วนใหญ่
อย่างไรก็ตามลูกระเบิดขว้างเคมีควันนี้ ได้แก่ ลูกระเบิดขว้างควันฟอสฟอรัสขาว สามารถนามาใช้ได้ทั้งในการให้
อาณัติสัญญาณและในการทาฉากควัน และยังสามารถที่ก่อให้เกิดผลทั้งการเผาไหม้และเกิดการบาดเจ็บได้อีก
ด้วย ลูกระเบิดขว้างฟอสฟอรัสขาวมีลักษณะคล้ายคลึงกันกับลูกระเบิดขว้างควันสีต่าง ๆ จึงเป็นลูกระเบิดขว้าง
เคมีที่มีอันตราย จึงควรระมัดระวังในการฝึกและไม่ควรใช้ใกล้กับหน่วยทหารฝ่ายเดียวกัน
2. ลูกระเบิดขว้างควันฟอสฟอรัสขาว M34 เป็นลูกระเบิดขว้างที่ก่อให้เกิดประโยชน์ทางการใช้งานได้
หลายประการ กล่าวคือ เมื่อมีการใช้ตามภารกิจต่างๆ ได้แก่ การให้สัญญาณ การทาฉากควันหรือการเผาผลาญ
ซึ่งก็จะทาให้เกิดการบาดเจ็บอันเป็นผลต่อเนื่องตามมา
ลักษณะ
2.1 เปลือกหรือตัวลูกระเบิด : เป็นแผ่นโลหะรูปทรงกระบอก
(เปลือกลูกระเบิดยังเป็นสะเก็ดระเบิดได้ด้วย)
2.2 สิ่งที่บรรจุภายใน : บรรจุฟอสฟอรัสขาว หนัก 15
ออนซ์
2.3 ชนวน : ชนวนระเบิด M206A2 ถ่วงเวลา 4-5 วินาที
2.4 น้าหนัก : 27 ออนซ์
2.5 ขีดความสามารถ : ทหารสามารถขว้างได้ไกล 30 เมตร ใช้กับเครื่องยิ งติดกับปืนเล็กยาวมีระยะยิงไกล
120 เมตร ฟอสฟอรัสขาวมีรัศมีฉกรรจ์ 35 เมตร เผาไหม้หมดภายในเวลา 60 วินาที ให้ความร้อนสูงถึง 5,000
องศา F ในสภาพที่อากาศหนาวเย็นจะทาให้เกิดควันน้อยลง
2.6 สีและเครื่องหมาย : ตัวลูกระเบิดทาสีเขียวอ่อน คาดแถบสีเหลือง 1 แถบ อักษรสีแดง

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ลูกระเบิดขว้าง)
-59-
3. ลูกระเบิดควันขาว AN-M8 HC ใช้ทาเครื่องหมายให้สัญญาณทางพื้นสู่พื้นและพื้นสู่อากาศ ใช้ทาฉากควัน
เพื่อกาบังการเคลื่อนที่ของหน่วยทหารขนาดเล็ก ในห้วงระยะเวลาสั้น ๆ ควันนี้ไม่เป็นอันตรายในเมื่อหายใจ
เอาควันเข้าไปเพียงบาง ๆ และในระยะเวลาอันสั้น
ลักษณะ
3.1 เปลือกหรือตัวลูกระเบิด : ทาด้วยโลหะผิวเกลี้ยงรูป
ทรงกระบอก
3.2 สิ่งที่บรรจุภายใน : บรรจุสาร C, HC ผสม หนัก 19 ออนซ์
3.3 ชนวน : ชนวนจุด M201A1
3.4 หนัก : 24 ออนซ์
3.5 ขีดความสามารถ : ทหารสามารถทาการขว้างได้ไกล 30 เมตร หรือยิงจาก ปลย. ได้ไกล 120 เมตร ใช้
ทาฉากควันจะเกิดควันสีขาวทึบแพร่กระจายอยู่เป็นเวลานานตั้งแต่ 105 - 150 วินาที
3.6 สีและเครื่องหมาย ; ตัวลูกระเบิดเขียวอ่อน มีอักษรสีดา และมีสีขาวตอนบนเพื่อแสดงให้ทราบ เป็น
ชนิดของควันสีขาว และข้างบนมีรู 4 รู
4. ลูกระเบิดขว้างควันสี M18 ใช้ในการทาเครื่องหมายสัญญาณติดต่อระหว่างหน่วยทหารทางพื้นดินกับ
พื้นดินหรือทางพื้นดินกับอากาศ และใช้ในการกาหนดเป้าหมาย สีที่ใช้มีอยู่ 4 สี ได้แก่ สีแดง, สีเขียว, สี
เหลือง และ สีม่วง
ลักษณะ
4.1 เปลือกหรือตัวลูกระเบิด ; ตัวลูกระเบิดทาด้วย
โลหะผิวเกลี้ยง รูปทรงกระบอก (ข้างบนมีรู 4 รู, รูล่าง
1 รู ขณะที่ลูกระเบิดนี้ถูกจุด ควันก็จะพุ่งออกมา)
4.2 สิ่งที่บรรจุภายใน ; บรรจุสารผสมสีต่าง ๆ หนัก
11.5 ออนซ์ ของแต่ละชนิด ได้แก่ สีแดง ฯ
4.3 ชนวน ; ชนวนจุด M201A1 ถ่วงเวลา 1.2 - 2 วินาที
4.4 น้าหนัก ; หนัก 19 ออนซ์
4.5 ขีดความสามารถ ; ทหารสามารถทาการขว้างได้ไกล 35 เมตร หรือถ้าใช้กับเครื่องยิงติดกับ ปลย. มี
ระยะยิงไกล 120 เมตร ลูกระเบิดชนิดนี้ ให้ควันสีใช้ทาสัญญาณติดต่อนานแค่ 50 - 90 วินาที
4.6 สีและเครื่องหมาย ; มีสีและเครื่องหมายเช่นเดียวกันกับลูกระเบิดขว้างควันสีขาว AN-M8 จะมีข้อ
แตกต่างที่ข้างบนจะมีสีต่าง ๆ เพื่อบอกชนิดของสีเอาไว้

หมายเหตุ

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ลูกระเบิดขว้าง)
-60-
1. เมื่อใช้ลูกระเบิดขว้างควันสีขาว AN-M8 หรือลูกระเบิดขว้างควันสี M18 ใช้ทาสัญญาณเพื่อกาหนดเขต
ร่อนลงหรือเขตทิ้งของต้องพึงระวัง และเป็นที่เชื่อถือได้แน่ว่าเมื่อได้ขว้างลูกระเบิดไปยังพื้นที่ดังกล่าวแล้วนั้น
ควันจะไม่กาบังทิศทางร่อนลง
2. ลูกระเบิดชนิดนี้เมื่อขว้างออกไปแล้วไม่เกิดการจุดระเบิดขึ้น ให้ทาการเจาะรูที่ตัวลูกระเบิดให้สารผสม
ที่บรรจุภายในไหลออกมาแล้วทาการจุดด้วยไม้ขีด หรือเครื่องจุดชนิดอื่น ๆ ที่ทาให้เกิดเปลวไฟ เมื่อทาการจุด
แล้วให้รีบถอยออกห่างโดยเร็ว เพราะจะเกิดความร้อนสูงและควันหนาทึบซึ่งหากสูดควันเข้าไปมากๆ
แล้วอาจเป็นอันตรายต่อชีวิต
3. เมื่อใช้ทาสัญญาณหรือฉากควัน ก็ให้เป็นที่เชื่อแน่ได้ว่าเมื่อขว้างออกไปแล้วลูกระเบิดขว้างจะไม่ไป
ตกในพื้นที่ สิ่งปรักหักพังถูกทาลายเผาไหม้จากการยิงของอาวุธขณะปฏิบัติการทางยุทธวิธีอยู่
9. ลูกระเบิดขว้างเคมีเพื่อปราบจลาจล
1. กล่าวทั่วไป
ลูกระเบิดขว้างเคมีเพื่อปราบจลาจล มีการนามาใช้ในกิจการพิเศษหลาอย่าง รวมทั้งในเหตุการณ์ที่
สาคัญๆ ได้แก่ การปราบปรามการก่อความไม่สงบจากการกระทาของฝูงชน เชลยศึก และชุมนุมต่อต้านอัน
ก่อให้เกิดการสับสนอลหม่าน จึงมีความจาเป็นต้องใช้ลูกระเบิดขว้างเคมี ซึ่งมีสารเคมีชนิดไม่คงทนเพื่อระงับให้
เหตุการณ์กลับคืนเข้าสู่สภาวะปกติดังเดิม และยังนาไปใช้ร่วมกับการปฏิบัติการรบในเหตุการณ์พิเศษได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
2. สารเคมีเพื่อปราบจลาจล
2.1 สาร CN เป็นสารเคมีที่รู้จักกันโดยทั่วไป คือ แก๊สน้าตา ผลของสาร CN ที่เกิดขึ้นจะทาให้รู้สึก
วิงเวียนศีรษะและปวดแสบปวดร้อนที่นัยน์ตาจนทาให้น้าตาไหลออกมา
2.2 สาร DM เป็นสารเคมีที่ทาให้เกิดอาเจียน โดยที่เรียกกันว่า สารอาดัมไซท์ ผลที่เกิดขึ้นทาให้เกิดการ
คลื่นเหียนและอาเจียน ตามปกติเป็นการนามาผสมกับสารเคมีชนิดอื่น ๆ เป็นสารผสมใช้ในลูกระเบิดขว้าง
2.3 สาร CS เป็นสารที่ให้ผลอย่างสูงสุดในการปราบจลาจล ให้ ผลเช่นเดียวกับสาร CN และยังส่งผล
เพิ่มขึ้นที่นัยน์ตา โดยทาให้นัยน์ตาปิด นอกจากนี้ยังทาให้น้ามูกไหล, ไอจาม, แน่นหน้าอก การหายใจขัด และ
ทาให้บริเวณผิวหนังแห้งมีอาการปวดแสบปวดร้อน และวิงเวียนศีรษะ
3. ลูกระเบิดขว้างแก๊สรบกวน CN-DM, M6, M6A1
3.1 บรรจุแก๊ส CN และ DM ผสม เมื่อดูจากลักษณะภายนอกของลูกระเบิดแล้วจะมีข้อแตกต่างให้รู้ได้ถึง
สิ่งที่ผสมบรรจุอยู่ภายในตัวลูกระเบิด
3.2 เปลือกหรือตัวลูกระเบิด ; ทาด้วยโลหะรูปทรงกระบอก ผิวเกลี้ยง ( M6 ข้างบนมี 6 รู และมี 2 รู ทาง
ด้านข้างซึ่งแต่ละด้านข้างของตัวลูกระเบิดจะมีรู 9 รู M6A1 ข้างบนมี 4 รู ข้างล่างมี 1 รู)
3.3 สิ่งที่บรรจุภายใน ; บรรจุแก๊ส CN-DM ผสม หนัก 10.5 ออนซ์ และ 9.5 ออนซ์ตามลาดับ
3.4 ชนวน ; ชนวนจุด M201A1 ถ่วงเวลา 2 วินาที
3.5 น้าหนัก ; 17 ออนซ์ และ 20 ออนซ์ สาหรับ ลข.ขว้างปราบจลาจล M6, M6A1 ตามลาดับ

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ลูกระเบิดขว้าง)
-61-
3.6 ขีดความสามารถ ; ทหารทาการขว้างได้ไกล 35 เมตร ถ้าใช้กับเครื่องยิงติดกับ ปลย. มีระยะยิงไกล
120 เมตร เมื่อระเบิดจะมีแก๊สพุ่งออกมาตามรูที่ตัวลูกระเบิดมีความหนาแน่นมาก จะมีผลทาให้เกิดการระคาย
เคืองนัยน์ตา ถ้าหายใจเอาแก๊สนี้เข้าไปจะทาให้เจ็บคอเจ็บหน้าอก อาเจียน เวียนศีรษะ ถ้าหายใจเข้าไปมากๆ
ทาให้โลหิตเป็นพิษอาจตายได้ พร้อมกันนั้นทาให้น้าตาไหล เพราะมีแก๊สน้าตาผสมอยู่ด้วย แก๊สนี้จะอยู่นานแค่
20-60 วินาที
3.7 สีและเครื่องหมาย ; ตัวลูกระเบิดทาสีเทา คาดแถบสีแดง 1 แถบ มีอักษรสีแดงเขียนไว้แก๊ส CN-DM
4. ลูกระเบิดขว้างแก๊สนาตา CN, M7 และ M7A1
บรรจุแก๊ส CN เท่านั้น ภายในโครงสร้างตัวลูกระเบิดบรรจุสารเคมีไว้มาก
4.1 เปลือกหรือตัวลูกระเบิด ; มีลักษณะเช่นเดียวกันกับลูก
ระเบิ ด ขว้ า งแก๊ ส รบกวน CN-DM 6 และตั ว ลู ก ระเบิ ด M7A1
ตามลาดับ
4.2 สิ่งที่บรรจุภายใน ; บรรจุแก๊ส CN หนัก 10.25 ออนซ์ และ
12.5 ออนซ์ ตามลาดับ
4.3 ชนวน ; ชนวนจุด M201 ถ่วงเวลา 1.2 - 2 วินาที
4.4 น้าหนัก ; หนัก 17 ออนซ์ และหนัก 18.5 ออนซ์ สาหรับ ลข.
M7 และ M7A1
4.5 ขีดความสามารถ ; ทหารสามารถขว้างได้ไกล 35 เมตร ถ้าใช้กับเครื่องยิงติดกับ ปลย.มีระยะยิงไกล
120 เมตร เมื่อระเบิดจะมีแก๊สพุ่งออกมาตามรู 6 รู ซึ่งอยู่ส่วนบนโดยมีพลาสเตอร์ปิดไว้ ถ้าถูกตาทาให้แสบตา
น้าตาไหลลืมตาไม่ขึ้น ใช้ทาลายระบบประสาทตาทาให้หมดสภาพในการรบ เหมาะในการปราบปรามพวกก่อ
ความไม่สงบ แก๊สจะพ่นออกมาควันหนาทึบนาน 20 - 60 วินาที
4.6 สีและเครื่องหมาย ; คงมีลักษณะของสีและเครื่องหมายเช่นเดียวกับ ลข. M6 และ M6A1
5. ลูกระเบิดขว้างแก๊สนาตา ABC-M7A2 และ ABC-M7A3 CS
ลูกระเบิดชนิดนี้ได้กาหนดแบบไว้เฉพาะแก๊ส CS และยัง
สามารถบรรจุแก๊สไว้ได้จานวนมาก
5.1 เปลือกหรือตัวลูกระเบิด ; ตัวลูกระเบิดทั้งสองแบบดังกล่าว
มีลั กษณะเช่น เดีย วกับ ลข.แก๊ส รบกวน CN-DM M6 และ CN
M7A1 แต่ข้างบนมีรู 4 รู และข้างล่าง 1 รู
5.2 สิ่งที่บรรจุภายใน
- ABC-M7A2 บรรจุสารผสมลุกไหม้ หนัก 5.5 ออนซ์ กับ
แก๊ส CS มีลักษณะเป็นวุ้น หนัก 3.5 ออนซ์ บรรจุอยู่ในหลอดแคปซูล
- ABC-M7A3 บรรจุสารผสมลุกไหม้ หนัก 7.5 ออนซ์ กับสาร CS มีลักษณะเป็นก้อนกลม ๆ หนัก 4.5
ออนซ์

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ลูกระเบิดขว้าง)
-62-
5.3 ชนวน ; ชนวนจุด M201 A1 ถ่วงเวลา 1.2 - 2 วินาที
5.4 น้าหนัก ; หนักประมาณ 15.5 ออนซ์
5.5 ขีดความสามารถ ; ทหารทาการขว้างได้ไกล 40 เมตร ถ้าใช้กับเครื่องยิงติดกับ ปลย. มีระยะยิงไกล
120 เมตร ใช้ทาลายระบบประสาท ลข.แก๊สจะพ่นแก๊สควันหนาทึบนาน 20-60 วินาที
5.6 สีและเครื่องหมาย ; คงมีลักษณะของสีและเครื่องหมายเช่นเดียวกับ ลข. M6 และ M6A1
6. ลูกระเบิดขว้างแก๊สนาตา ABC-M25A1 และ ABC-M25 A2, CN1, DM1, CS1
6.1 เปลือกหรือตัวลูกระเบิด ; ทาด้วยพลาสติกฉีดขึ้นรูปทรงกลม หรือ ด้วยไฟเบอร์อัดแข็ง
6.2 สิ่งที่บรรจุภายใน ;บรรจุสารเคมีตามประเภทของการใช้งานและตามความเข้มข้นที่ต้องการแต่ละชนิด
ของสารเคมีนั้น ๆ สารเคมีที่นามาใช้ได้แก่
สารเคมี CN, สารเคมี DM, สารเคมี CS
6.3 ชนวน ; ชนวนจุดระเบิด C12 ถ่วง
เวลา 1.4 - 3 วินาที
6.4 น้าหนัก ; หนัก 7.5 ออนซ์ ถึง 8
ออนซ์ ขึ้นอยู่กับสิ่งที่บรรจุภายใน
6.5 ขีดความสามารถ ; ทหารทาการ
ขว้างได้ไกล 50 เมตร ลข. ตระกูล M25 นี้ ไม่สามารถนาไปใช้กับเครื่องยิงติด ปลย. ได้ รัศมีความหนาทึบควัน
สารเคมี 5 เมตร แต่เปลือก หรือ ตัวลูกระเบิด ที่แตกออก จะเป็นสะเก็ดระเบิดอาจไปได้ไกลถึง 25 เมตร
6.6 สีและเครื่องหมาย ; คงมีลักษณะของสีและเครื่องหมายเช่นเดียวกับ ขล. M6 และ M6A1 ผิดแต่
ตัวอักษร ซึ่งเป็นไปตามชนิดของสารเคมีที่บรรจุภายใน

10. ลูกระเบิดขว้างเพื่อความมุ่งหมายพิเศษ
ลูกระเบิดขว้างที่กล่าวไว้ในตอนนี้ จะได้ครอบคลุมไปถึงลูกระเบิดขว้างทุกประเภทอันประกอบด้วย
1. ลูกระเบิดขว้างเพลิงเทอร์ไมท์ AN-M14
ใช้เพื่อทาลายยุทโธปกรณ์ จึงนับว่ามีประโยชน์มากในการ
ทาลายข้าศึกหรืออาวุธยุทโธปกรณ์ให้เกิดการเสียหาย เช่น ทาลายกล้อง
เครื่องยิงลู กระเบิด , ล ากล้องปืนไร้แรงสะท้อนถอยหลัง , ลากล้ องปืน
ใหญ่ เครื่องยนต์ยานพาหนะ และอุปกรณ์เครื่องใช้ต่าง ๆ
1.1 เปลือกหรือตัวลูกระเบิด ; ตัวลูกระเบิดทาด้วยโลหะรูป
ทรงกระบอกผิวเกลี้ยง
1.2 สิ่งที่บรรจุภายใน ; บรรจุสารเทอร์ไมท์ผสม หนัก 26.5 ออนซ์
1.3 ชนวน ; ชนวนจุด M201A1 ถ่วงเวลา 1.2 - 2 วินาที
1.4 น้าหนัก ; หนัก 32 ออนซ์

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ลูกระเบิดขว้าง)
-63-
1.5 ขีดความสามารถ ; ทหารทาการขว้างได้ไกล 25 เมตร ใช้กับเครื่องยิงติด ปลย. มีระยะยิงไกล 120
เมตรสารเทอร์ไมท์ผสมเมื่อเกิดระเบิดขึ้นจะมีประกายเพลิงลุกไหม้มีความร้อน 4,000 องศา F ไหม้นาน 40
วินาที และละลายเหล็กหนา 1/2 นิ้ว หากมีการกันน้าได้และมีแก๊สออกซิเจนพอเพียง ก็จะเผาไหม้ใต้น้าได้
1.6 สีและเครื่องหมาย ; ตัวลูกระเบิดทาสีเทาปนม่วง คาดด้วยแถบสีม่วง และมีตัวอักษรสีม่วง
2. ลูกระเบิดขว้างรุก MK3 A2
เป็นลูกระเบิดที่ออกแบบขึ้นเพื่อให้เกิดการบาดเจ็บแก่ข้าศึก ในเมื่อการรบประชิดติดพัน ซึ่งจะเป็น
อันตรายต่อทหารฝ่ายเดียวกัน เพื่อหวั งผลในการสังหารข้าศึกในที่ห้อมล้อม เช่นในห้องและที่กาบังปิดเป็นต้น
เพื่อหวังผลจากเสียงดังจากการระเบิด
2.1 เปลือกหรือตัวลูกระเบิด ; ทาด้วยไฟเบอร์ รูป
ทรงกระบอก ผิวเกลี้ยง
2.2 สิ่งที่บรรจุภายใน ; บรรจุ T.N.T. ชนิดก้อน 8 ออนซ์
2.3 ชนวน ; ชนวนระเบิด M206A1 และ M206A2 ถ่วง
เวลา 4-5 วินาที
2.4 น้าหนัก ; หนัก 15.6 ออนซ์
2.5 ขีดความสามารถ ; ทหารทาการขว้างได้ไกล 40
เมตร รัศมีหวังผลทาให้บาดเจ็บในที่โล่งแจ้ง 2 เมตร ลูกระเบิดชนิดนี้ไม่สามารถใช้ยิงจากเครื่องยิงติดกับ ปลย.
ได้
2.6 สีและเครื่องหมาย ; ตัวลูกระเบิดทาสีดา ตัวอักษรสีเหลือง ตรงกลางรอบตัวลูกระเบิด
3. ลูกระเบิดขว้างส่องสว่าง MK1
ใช้ ส่ อ งสว่ า งและท าสั ญ ญาณทางพื้ น ดิ น
ลั ก ษณะการใช้ ค งเช่ น เดี ย วกั บ พลุ สั ญ ญาณทาง
พื้นดิน แต่ MK1 จะระเบิดและเผาไหม้ที่ระดับ
พื้นดิน ลูกระเบิดชนิดนี้ไม่ควรใช้ในพื้นที่ที่ลุ่มหรือ
โคลน เพราะเมื่อทาการขว้างออกไปและตกใน
พื้นที่ดังกล่าว ลูกระเบิดขว้างจะจมลงไปในโคลน
ทาให้ปรากฏแสงสว่างน้อยลงหรือไม่เห็นแสงสว่างเลย และ/หรือไม่มีแสงเลย
3.1 เปลือกหรือตัวลูกระเบิด ; ตัวลูกระเบิดทาด้วยโลหะ รูปทรงกลมทรงกระบอกผิวเกลี้ยง
3.2 สิ่งที่บรรจุภายใน ; บรรจุดินคอมโพซิชั่น ไพโรเทคนิค ส่องสว่าง หนัก 3.5 ออนซ์
3.3 ชนวน ; ชนวนจุดพิเศษ
3.4 น้าหนัก ; หนัก 10 ออนซ์

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ลูกระเบิดขว้าง)
-64-
3.5 ขีดความสามารถ ; ทหารทาการขว้างได้ไกล 40 เมตร ใช้กับเครื่องยิงติด ปลย. มีระยะยิงไกล 200
เมตร สิ่งที่บรรจุภายในไหม้นาน 25 วินาที ส่องสว่าง 55,000 แรงเทียน กลุ่มเป็นพื้นที่เส้นผ่าศูนย์กลาง 200
เมตร ใช้ส่องสว่าง และทาสัญญาณ
3.6 สีและเครื่องหมาย ; ตัวลูกระเบิดทาสีขาวปนดา (ของเดิม) ไม่ทาสี ตัวอักษรสีดา (ของใหม่)
4. ลูกระเบิดซ้อมขว้าง M30
รูปร่างเหมือนลูกระเบิดขว้าง M26 แต่มีความมุ่ง
หมายเพื่อใช้ในการฝึก เป็นเครื่องช่วยฝึกที่จะช่วยให้
ทหารเกิ ด ความช านาญทั้ ง ในด้ า นการฝึ ก และการ
ทางานของ ลข.สังหารได้เข้าใจดีขึ้น ดินระเบิดที่บรรจุ
ภายในลูกระเบิดนี้ใช้ดินดาเพียงเล็กน้อย และไหม้ช้า
จึงหวังผลเพียงแต่ความต้องการให้เกิดเสียงดังเท่านั้น
ตัวลูกระเบิดสามารถที่จะนามาใช้ได้อีกเพียงแต่เปลี่ยน
ชนวนใหม่
4.1 เปลือกหรือตัวลูกระเบิด ; ทาด้วยเหล็กหล่อ (ตัวลูกระเบิดไม่ระเบิดสามารถนามาใช้ได้อีก)
4.2 ชนวน ; ชนวนจุด M205A1 หรือ M205A2
4.3 น้าหนัก : หนัก 16 ออนซ์
4.4 ขีดความสามารถ ; ทหารสามารถทาการขว้างได้ไกล 40 เมตร ใช้กับเครื่องยิงติด ปลย.มีระยะยิงไกล
160 เมตร เมื่อดินดาในตัวลูกระเบิดถูกจุดขึ้นจะถ่วงเวลา 4-5 วินาที
4.5 สีและเครื่องหมาย ; ตัวลูกระเบิดทาสีน้าเงิน อักษรสีขาว
ข้อควรระวัง
1. ขณะทาการฝึก ต้องเชื่อแน่ว่าไม่มีการนาเอาชนวนระเบิดมาใช้กับลูกระเบิดชนิดนี้
2. ชนวนจุด M205A1 และ M205A2 เป็นชนวนฝึกในอัตราที่จ่ายมาพร้อม และใช้กับลูกระเบิดซ้อม
ขว้าง M30 โดยเฉพาะเท่านั้น
3. หากนาเอาชนวนระเบิดมาใช้อาจเป็นเหตุทาให้ตัวลูกระเบิดแตกละเอียด ชิ้นโลหะจะเป็นสะเก็ด
ระเบิดกระจายออกไปโดยรอบจากจุดศูนย์กลางตาบลที่เกิดระเบิด
และเป็นอันตรายได้
5. ลูกระเบิดขว้างฝึกขว้าง MK1A1
รูปร่างเหมือนลูกระเบิดขว้างสังหาร MK2 ตัวลูกระเบิดทาสี
ดา ไม่มีส่วนประกอบ ถอดได้เฉพาะสลักนิรภัยเท่านั้น

- - - - - - - - - - - - --------------------------- - - - - - - - - - - - -

วิชาสงครามทุ่นระเบิด (ลูกระเบิดขว้าง)

You might also like