You are on page 1of 63

กลยุทธ์การซื้อขายโดยการใช้คุณลักษณะของกราฟแท่งเทียน

สิริพร ธรรมเกษร

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สถิติประยุกต์)
คณะสถิติประยุกต์
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
2561
กลยุทธ์การซื้อขายโดยการใช้คุณลักษณะของกราฟแท่งเทียน
สิริพร ธรรมเกษร
คณะสถิติประยุกต์

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
(รองศาสตราจารย์ ดร.โอม ศรนิล)
คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ได้พิจารณาแล้วเห็นสมควรอนุมัติให้เป็นส่วนหนึ่งของ
การศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สถิติประยุกต์)

ประธานกรรมการ
(รองศาสตราจารย์ ดร.สุรพงค์ เอื้อวัฒนามงคล)
กรรมการ
(รองศาสตราจารย์ ดร.โอม ศรนิล)
กรรมการ
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนาสัย สุคนธ์พันธุ์)
กรรมการ
(ดร.อรวรรณ เชาวลิต)
คณบดี
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปราโมทย์ ลือนาม)
______/______/______

บทคั ดย่อ

บทคัดย่อ

ชื่อวิทยานิพนธ์ กลยุทธ์การซื้อขายโดยการใช้คุณลักษณะของกราฟแท่งเทียน
ชื่อผู้เขียน นางสาวสิริพร ธรรมเกษร
ชื่อปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สถิติประยุกต์)
ปีการศึกษา 2561

รูปแบบแผนภูมิแท่งเทียนใช้กันอย่างแพร่หลายในการช่วยตัดสินใจซื้อขายหุ้น รูปแบบของกราฟ
แท่งเทียนสามารถบ่งบบอกถึงราคาในอนาคตได้ งานวิจัยนี้เสนอเทคนิคในการสร้างกลยุทธ์การซื้อขาย
หุ้ น โดยใช้ คุ ณ ลั ก ษณะที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพในการจ าแนกรู ป แบบของกราฟแท่ ง เที ย น
คุณลั กษณะนี้ถูกรวมเข้ากับ กลยุ ทธ์การซื้อขายแบบต้นไม้โ ดยใช้อัล กอริทึม Chi-square Automatic
Interaction Detector เทคนิคนี้ได้รับการประเมินโดยใช้ข้อมูลหุ้นจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ
ไทย ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่ากลยุทธ์ที่สร้างขึ้นมีผลกาไรมากกว่าเทคนิคการซื้อขายทั่วไปอื่น ๆ เช่น
ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของการเคลื่อนตัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนักดัชนีชี้วัดความสัมพันธ์ ดัชนีวัดทางเทคนิค
stochastic oscillator และดัชนีทิศทางเฉลี่ย

ABSTRACT

ABSTRACT

Title of Thesis Trading Strategies Using Candlestick Characteristics


Author Siriporn Thammakesorn
Degree Master of Science (Applied Statistics)
Year 2018

Candlestick chart patterns are widely used in stock trading decisions. Patterns of

candlestick series are found to provide hints for the price of the next one. This research

proposes a technique to generate stock trading strategies employing features which are
shown to effectively recognize patterns in candlestick charts. The features are combined

into a tree-like trading strategy using the Chi-square Automatic Interaction Detector

algorithm. The technique is evaluated using actual stocks from Stock Exchange of

Thailand. The results show that the generated strategies are more profitable than other

popular trading techniques, such as moving average convergence divergence,


exponential moving average, relative strength index, stochastic oscillator and average

directional index.

กิตติกรรมประกาศ

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธ์เรื่องการสร้างกลยุทธ์การซื้อขายโดยการใช้คุณลักษณะของกราฟแท่งเทียนสาเร็จ
ไปได้ด้วยดี
เนื่องจากความกรุณาจากบุคคลหลายท่านให้ความช่วยเหลือ ให้คาปรึกษา เครื่องมือที่ใช้ใน
การพัฒนาวิทยานิพธ์ ความรู้ ข้อคิดเห็น และกาลังใจแก่ผู้เขียนตลอดเวลา ด้วยความเอาใจใส่อย่างยิ่งใน
ทุกขั้นตอนการวิจัย ผู้เขียนขอกราบขอบพระคุณอย่างสูงจากรองศาสตราจารย์ ดร. โอม ศรนิล อาจารย์
ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของผู้เขียน
ขอกราบขอบพระคุณกรรมการวิทยานิพนธ์ทุกท่าน รองศาสตรจารย์ ดร.สุรพงศ์ เอื้อวัฒนา
มงคลม, รองศาสตราจารย์ ดร. พิพัฒน์ หิรัณย์วณิชชากร, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนาสัย สุคนธ์พันธุ์,
อาจาร ดร.อรวรรณ เชาวลิต ที่ได้กรุณาสละเวลาให้คาปรึกษา รวมทั้งข้อชี้แนะอันเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
สาหรับการพัฒนาวิทยานิพนธ์ฉบับนี้
ขอขอบพระคุณอาจารย์ทุกท่านในสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
อาจารย์ ค ณะสถิติ ป ระยุ ก ต์ ที่ไ ด้ถ่ า ยทอดความรู้ สร้า งทัศ นะคติที่ ดี ให้ กับ ผู้ เขี ยน รวมทั้ ง
ขอขอบคุณ
เจ้าหน้าที่คณะสถิติประยุกต์ทุกท่านที่ให้ความช่วยเหลือประสานงานด้วยอัธยาศัยที่ดี ตลอด
ระยะเวลาการศึกษา ขอขอบคุณบรรณารักษ์สา นักบรรณสารการพัฒ นาที่ได้กรุณาตรวจ
วิทยานิพนธ์
ฉบับนี้ และขอขอบพระคุณสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ที่มอบทุนการศึกษาให้กับผู้วิจัย
ท้ายสุดขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา และครอบครัว คุณครู อาจารย์ ที่ได้สั่งสอนผู้เขียน
มา และเพื่ อ นรุ่ น 1/57 และ 2/57 ทุ ก คน ที่ ใ ห้ ก าลั ง ใจ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ส่ ง เสริ ม และ
สนับสนุนตลอดเวลา
จนทาให้ผู้วิจัยสามารถสาเร็จการศึกษาได้ตามความตั้งใจ

สิริพร ธรรมเกษร
กุมภาพันธ์ 2562
สารบัญ

หน้า
บทคัดย่อ ........................................................................................................................................... ก
ABSTRACT ....................................................................................................................................... ข
กิตติกรรมประกาศ............................................................................................................................. ค
สารบัญ ............................................................................................................................................... ง
สารบัญตาราง .................................................................................................................................... ช
สารบัญภาพ ...................................................................................................................................... ซ
บทที่ 1 บทนา ................................................................................................................................... 1
1.1 ความสาคัญและปัญหา .......................................................................................................... 1
1.2 จุดประสงค์ของการวิจัย ......................................................................................................... 2
1.3 ขอบเขตของการวิจัย.............................................................................................................. 2
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ..................................................................................................... 3
1.5 ขั้นตอนการทาวิจัย ................................................................................................................ 3
บทที่ 2 กรอบแนวคิด ทฤษฏี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ....................................................................... 4
2.1 กรอบแนวความคิด ................................................................................................................ 4
2.1.1 การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน(Fundamental Analysis) ............................................... 4
2.1.2 การวิเคราะห์ปัจจัยทางเทคนิค .................................................................................... 4
2.1.3 แผนภูมิแท่งเทียน(Candlestick Chart) ...................................................................... 5
2.1.4 รูปแบบของแท่งเทียน(Candlestick Patten) ............................................................. 6
2.1.4.1 แท่งเทียนขาขึ้น(Bullish Candlestick Pattern) ........................................... 6
2.1.4.2 แท่งเทียนขาลง(Bearish Candlestick Pattern)........................................... 7
2.1.4.3 แท่งเทียนแบบโดจิ(Doji Candlestick Pattern)............................................ 8

2.1.4.4 รูปแบบกราฟแท่งเทียนค้อน หรือ Hammer ................................................. 8


2.1.4.5 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Bullish Harami....................................................... 9
2.1.4.6 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Bullish Harami Cross.......................................... 10
2.1.4.7 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Piercing line......................................................... 10
2.1.4.8 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Engulfing Bullish Line ........................................ 11
2.1.4.9 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Morning star ........................................................ 11
2.1.4.10 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Morning doji star................................ 12
2.1.4.11 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Three White Soldiers ........................ 12
2.1.4.12 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Shooting star ...................................... 13
2.1.4.13 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Gravestone Doji ................................. 13
2.1.4.14 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Hanging Man ....................................... 14
2.1.4.15 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Bearish Harami ................................... 15
2.1.4.16 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Bearish Harami Cross ........................ 15
2.1.4.17 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Dark Cloud Cover .............................. 16
2.1.4.18 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Engulfing Bearish Line....................... 16
2.1.4.19 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Evening Star ........................................ 17
2.1.4.20 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Evening doji star ................................ 18
2.1.4.21 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Three black crow .............................. 18
2.1.5 คุณลักษณะของแผนภูมิแท่งเทียน (Candlestick Characteristics) ......................... 19
2.2 เทคนิคการจาแนกข้อมูล(Classification) ............................................................................ 21
2.2.1 เทคนิคการตัดสินใจแบบโครงสร้างต้นไม้ ................................................................... 21
2.3 Chi-square automatic interaction detection (CHAID) ............................................... 22
2.3.1 การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร................................................................... 22
2.3.2 การทดสอบความเป็นเอกพันธ์ระหว่างตัวแปร ........................................................... 23

2.3.3 อัลกอริทึม CHAID(Chi-square Automatic Interaction Detector) ..................... 24


บทที่ 3 วิธีการวิจัย .......................................................................................................................... 26
3.1 การเตรียมข้อมูลสาหรับเทคนิคต้นไม้การตัดสินใจ (Decision Tree) ................................... 33
3.2 การเตรียมข้อมูลสาหรับรูปแบบของแผนภูมิแท่งเทียน (Candlestick) ................................ 35
3.2.1 คุณลักษณะของกราฟแท่งเทียนที่ใช้พิจารณามีดังนี้ ................................................... 35
3.2.2 ขั้นตอนการสร้างแบบจาลองด้วย Chi-square automatic interaction detection
(CHAID)…………. ....................................................................................................... 37
3.3 ขั้นตอนการทดสอบแบบจาลองการสร้างกลยุทธ์การซื้อขาย ................................................ 39
บทที่ 4 ผลการทดลอง ..................................................................................................................... 41
บทที่ 5 อภิปรายผลสรุป และเสนอแนะ .......................................................................................... 48
บรรณานุกรม ................................................................................................................................... 49
ประวัติผู้เขียน .................................................................................................................................. 52
สารบัญตาราง

หน้า
ตารางที่ 3.1 หลักทรัพย์ที่ใช้การศึกษา ............................................................................................ 26
ตารางที่ 3.2 ตัวอย่างสัญลักษณ์ที่ใช้ในการแปลงข้อมูลหุ้น .............................................................. 34
ตารางที่ 3.3 ตัวอย่างการนาข้อมูลที่แปลงมาเรียงต่อกันกับคุณลักษณะของกราฟแท่งเทียน............ 34
ตารางที่ 3.4 รูปแบบข้อมูลสัญญาณซื้อขาย ..................................................................................... 40
ตารางที่ 4.1 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ ADVANC ................................................. 42
ตารางที่ 4.2 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ AMARIN .................................................. 42
ตารางที่ 4.3 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ AOT ........................................................ 43
ตารางที่ 4.4 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ BBL ......................................................... 43
ตารางที่ 4.5 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ BKI .......................................................... 44
ตารางที่ 4.6 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ CPF ......................................................... 44
ตารางที่ 4.7 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ NSI .......................................................... 45
ตารางที่ 4.8 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ PTT ......................................................... 45
ตารางที่ 4.9 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ SCC......................................................... 46
ตารางที่ 4.10 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ TDEX .................................................... 46
สารบัญภาพ

หน้า
ภาพที่ 2.1 แผนภูมิแท่งเทียน ............................................................................................................ 6
ภาพที่ 2.2 แท่งเทียนโปร่งแสง แท่งเทียนขาขึ้น ................................................................................. 7
ภาพที่ 2.3 แท่งเทียนทึบแสง แท่งเทียนขาลง .................................................................................... 7
ภาพที่ 2.4 แท่งเทียนแบบโดจิ ........................................................................................................... 8
ภาพที่ 2.5 แท่งเทียนค้อนหรือ Hammer ......................................................................................... 9
ภาพที่ 2.6 แบบกราฟแท่งเทียน Bullish Harami ............................................................................. 9
ภาพที่ 2.7 แบบกราฟแท่งเทียน Bullish Harami Cross ................................................................ 10
ภาพที่ 2.8 แบบกราฟแท่งเทียน Piercing line ............................................................................... 11
ภาพที่ 2.9 แบบกราฟแท่งเทียน Engulfing Bullish Line .............................................................. 11
ภาพที่ 2.10 กราฟแท่งเทียนแบบ Morning star ............................................................................ 12
ภาพที่ 2.11 กราฟแท่งเทียนแบบ Morning doji star .................................................................... 12
ภาพที่ 2.12 กราฟแท่งเทียนแบบ Three White Soldiers............................................................. 13
ภาพที่ 2.13 กราฟแท่งเทียนแบบ Shooting star ........................................................................... 13
ภาพที่ 2.14 กราฟแท่งเทียนแบบ Gravestone Doji ...................................................................... 14
ภาพที่ 2.15 กราฟแท่งเทียนแบบ Hanging Man ........................................................................... 14
ภาพที่ 2.16 กราฟแท่งเทียนแบบ Bearish Harami........................................................................ 15
ภาพที่ 2.17 กราฟแท่งเทียนแบบ Bearish Harami Cross ............................................................. 16
ภาพที่ 2.18 กราฟแท่งเทียนแบบ Dark Cloud Cover................................................................... 16
ภาพที่ 2.19 กราฟแท่งเทียนแบบ Engulfing Bearish Line ........................................................... 17
ภาพที่ 2.20 กราฟแท่งเทียนแบบ Evening Star ............................................................................ 17

ภาพที่ 2.21 กราฟแท่งเทียนแบบ Evening doji star ..................................................................... 18


ภาพที่ 2.22 กราฟแท่งเทียนแบบ Three black crow ................................................................... 18
ภาพที่ 2.23 โครงสร้างต้นไม้การตัดสินใจ ........................................................................................ 22
ภาพที่ 3.1 โครงสร้างราคาหุ้นบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จากัด (มหาชน) : ADVANC ........ 27
ภาพที่ 3.2 โครงสร้างราคาหุ้นบริษัท อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จากัด (มหาชน) : AMARIN 28
ภาพที่ 3.3 โครงสร้างราคาหุ้นบริษัท ท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) จากัด : AOT .................. 28
ภาพที่ 3.4 โครงสร้างราคาหุ้นธนาคารกรุงเทพ จากัด (มหาชน) : BBL............................................ 29
ภาพที่ 3.5 โครงสร้างราคาหุ้นบริษัท กรุงเทพประกันภัย จากัด (มหาชน) : BKI .............................. 29
ภาพที่ 3.6 โครงสร้างราคาหุ้นบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) : CPF ....................... 30
ภาพที่ 3.7 โครงสร้างราคาหุ้นบริษัท นาสินประกันภัย จากัด (มหาชน) : NSI ................................. 31
ภาพที่ 3.8 โครงสร้างราคาหุ้นบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) : PTT ................................................. 31
ภาพที่ 3.9 โครงสร้างราคาบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) : SCC ........................................ 32
ภาพที่ 3.10 โครงสร้างราคากองทุน THAI DEX SET50 ETF : TDEX ............................................. 32
ภาพที่ 3.11 แผนภาพ(Flowchart) แสดงขั้นตอนการทาการวิจัย ................................................... 33
ภาพที่ 3.12 การรวมกันของราคาหลักทรัพย์และคุณลักษณะของกราฟแท่งเทียน ........................... 37
ภาพที่ 3.13 แบบจาลองการสร้างกลยุทธ์การซื้อขาย....................................................................... 38
ภาพที่ 3.14 แผนภูมิต้นไม้ของหลักทรัพย์ที่ได้มาจากแบบจาลองการซื้อขายหลักทรัพย์ .................. 38
ภาพที่ 3.15 สัญญาณการซื้อขายหลักทรัพย์ .................................................................................... 39
บทที่ 1

บทนา

ในบทนี้จะกล่าวถึงความสาคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย


ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย ขั้นตอนในการทาวิจัย มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

1.1 ความสาคัญและปัญหา

การลงทุนหลั กทรัพย์ไม่ว่าด้านใดผู้ ลงทุนย่อมหวังผลตอบแทนที่สูงและมีความเสี่ยงน้อย


ผลตอบแทนจากการลงทุนในหลักทรัพย์มีหลายรูปแบบด้วยกัน เช่น กาไรจากการซื้อขายหลักทรัพย์
เงินปันผล เป็นต้น ในการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ของนักลงทุน นอกจากนักลงทุนจะพิจารณาเลือก
หุ้นจาก ปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ การเมืองของทั้งภายในและภายนอกประเทศ ภัยทางธรรมชาติ
ปัจจัยทางด้านคุณภาพของการดาเนินการของบริษัท และโอกาสในการเติบโตของบริษัทแล้ว การ
พิจารณาจังหวะในการซื้อหรือขายก็ มีส่วนสาคัญต่อการลงทุน ดังนั้นนักลงทุนจึงต้องศึกษาและทา
ความเข้าใจสภาวะแวดล้อมเหล่านั้น เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในการลงทุน
ในทุกวันนี้การคาดการณ์การลงทุนในตลาดหุ้นนั้นเป็นประเด็นที่มีความน่าสนใจมากที่สุด
ประเด็นหนึ่ง ซึ่งได้รับความสนใจมากขึ้นเนื่องจากผลกาไรที่มีจานวนมาก การทานายราคาหุ้นได้อย่าง
แม่นยาและทากาไรได้เสมอนั้นเป็นความท้าทายมาเป็นเวลาที่ยาวนาน สิ่งนี้จึงเป็นสิ่งที่ดึงดูดความ
สนใจของนายหน้าซื้อขายหุ้น นักเศรษฐศาสตร์ และนักวิจัย วิธีการแบบดั้งเดิม เช่น การวิเคราะห์
พื้นฐาน การวิเคราะห์ทางเทคนิค(Technical analysis) และวิธีการถดถอย(Regression methods)
เป็นวิธีที่ไม่เหมาะสมสาหรับงานนี้เพราะเครื่องมือและเทคนิคเหล่านี้จะขึ้นอยู่กับวิธีการวิเคราะห์ที่
แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง และจะต้องมีความเชียวชาญสูงและต้องมีการให้เหตุผลอย่างสมเหตุสมผล ใน
ลาดับนี้การจาแนกข้อมูล(Classification) จึงเป็นหนึ่งในเรื่องที่น่าสนใจมากที่สุดในการวิจัยสาหรั บ
การหาความสัมพันธ์ เพื่อใช้ในการหาค้นหาประเภท หรือรูปแบบข้อมูลตามลักษณะของข้อมูล ซึ่ง
สามารถพบรูปแบบที่มีประโยชน์ทั้งหมดจากชุดข้อมูลการลงทุนในตลาดหุ้น
เครื่องมือที่จะใช้ในการหากฎความสัมพันธ์ของราคาหุ้นในชุดข้อมูลการลงทุนในตลาดหุ้นนั้น
มีหลากหลายวิธี เช่น การสร้างโมเดล classification แบบต่างๆ เช่น Neural Network, Support
2

Vector Machine, Decision Tree และ Naive Bayes เป็นต้น ในการทาวิจัยนี้จะพูดถึงการจาแนก


ข้อมูล(Classification) สาหรับในงานวิจัยนี้จะแสดงการจาแนกข้อมูลด้วยวิธีต้นไม้ตัดสินใน(Decision
Tree)
กราฟแท่งเทีย นเป็ นกราฟที่แสดงราคาของหุ้ นตัว นั้น ซึ่งจะแสดงราคาเปิด(Open Price)
ราคาปิด(Close Price) ราคาสูงสุด(High Price) และราคาต่าสุด(Low Price) โดยต้นกาเนิดของกราฟ
แท่งเทียนมาจากประเทศญี่ปุ่นโดยมีประวัติย้อนหลังยาวนานมาก โดยนาย Munehisa Homma เป็น
ผู้คิดค้นจากการวิเคราะห์จิตวิทยาของคนในการซื้อชายและกาหนดราคาข้าว และเขาได้เขียนหนังสือ
ไว้ ส องเล่ ม คื อ Sakata Henso และ Soba No Den เมื่ อ ประมาณ พ.ศ. ที่ ผ่ า นมาประเทศกลุ่ ม
ตะวันตกทั้งหลายได้เห็นถึงประสิทธิภาพจึงได้นามาประยุกต์ใช้กับตลาดหุ้น ตลาดซื้อขายล่วงหน้า
ตลาดเงิน ตราระหว่างประเทศ โดยรูปแบบต่างๆของกราฟแท่งเทียนนั้นมีอยู่ด้ว ยกันมากกว่า 50
ประเภท แต่เรานามาประยุกต์ใช้กับตลาด ณ ปัจจุบันเพียงและเกิดขึ้นบ่อยๆ เพียงแค่บางส่วนเท่านั้น
ดังนั้นงานวิจัยนี้มุ่งเน้นการหากฎความสัมพันธ์ของราคาหุ้นที่มีอยู่ในตลาดหุ้นของประเทศ
ไทยระหว่างดัชนีราคาต่างๆ ในตลาดโลก เช่น Dow Jones Industrial Average, Nikkei 225(Osaka
Delayed Price. Currency in JPY), HANG SENG INDEX, USD/THB, Gold Price, Crude Oil
Price เป็นต้น และกฎความสัมพันธ์ที่ได้จากการหารูปแบบของกราฟแท่งเทียน(Candlestick Chart)
โดยดัชนีทุกตัวที่ได้กล่าวและรูปแบบที่ได้จากกราฟแท่งเทียนนั้นจะนาไปหากฎความสัมพันธ์กับราคา
ของหุ้นโดยใช้ Apriori algorithm เพื่อหากฎความสัมพันธ์ที่เหมาะสมที่ดีที่สุดจากราคาของการซื้อ
ขายหุ้นที่กาหนด เพื่อช่วยการตัดสินใจของนักลงทุนให้ได้รับผลตอบแทนสูงสุด

1.2 จุดประสงค์ของการวิจัย

วิทยานิ พนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอกลยุทธ์การพยากรณ์ราคาของหุ้น โดย การใช้


คุณลักษณะของการแผนภูมิแท่งเทียน(Candlestick Characteristics) รวมทั้งการวิเคราะห์ตัวชี้วัด
ทางเทคนิคในการซื้อขายหุ้นเพื่อมุ่งเน้นให้นักลงทุนได้รับผลตอบแทนสูงสุดในการลงทุนในตลาดหุ้น

1.3 ขอบเขตของการวิจัย

งานวิจัยนี้ศึกษาการงานของขั้นตอนวิธี Classification Decision Tree เพื่อหารูปแบบของ


กฎความสัมพันธ์(Association Rule) ระหว่างราคาหุ้นกับคุณลักษณะเฉพาะตัวของกราฟแท่งเทียน
เพื่อนามาพยากรณ์ราคาปิด(Close Price) ล่วงหน้าของหุ้น โดยในงานวิจัยนี้ใช้ข้อมูลหุ้นย้อนหลัง 10
3

ปี ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550 ถึงวันที่ 12 ธันวาคม 2560 ของ 10 อุตสาหกรรมที่แตกต่า งกันด้วย


การสุ่มจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

เพื่อให้นักลงทุนสามารถนาวิธีการที่นาเสนอในงานวิจัยนี้เป็นแนวทางในการวิเคราะห์และ
ช่วยในการตัดสินใจด้านการลงทุน เพื่อเพิ่มผลกาไรจากการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ได้อีกแนวทาง
หนึ่ง

1.5 ขั้นตอนการทาวิจัย

1) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2) ศึกษาและวิเคราะห์เพื่อหาแนวทาง วิธีการในการทดลอง
3) ศึกษาโปรแกรมและเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง
4) ออกแบบวิธีการทดลอง
5) ทาการทดลอง และประเมินผลการทดลองที่ได้
6) วิเคราะห์และสรุปผลการทดลอง
บทที่ 2

กรอบแนวคิด ทฤษฏี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1 กรอบแนวความคิด

การลงทุนในหลักทรัพย์นักลงทุนจะต้องคาดหวังที่จะได้ลงทุนอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด ได้
ผลตอบแทนมากที่สุดและมีความเสี่ยงที่จะได้รับน้อยที่สุด ในการลงทุนนั้นๆ การวางแผนก่อนการ
ลงทุน ถือว่ าเป็ น พื้น ฐานส าคัญ การที่จ ะตัดสิ นใจได้อย่างมีประสิ ทธิ ภ าพจึงต้ องมีสิ่ งที่ช่ ว ยในการ
วิเคราะห์รูปแบบของราคาเพื่อใช้ในการตัดสินใจ จึงมีเครื่องมือใช้ในการวิเคราะห์สาหรับนักลงทุน ซึ่ง
มีเครื่องมือในการวิเคราะห์สามารถแบ่งออกเป็น 2 หลักการ ได้แก่ การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน และ
เครื่องมือวิเคราะห์ปัจจัยทางเทคนิค
2.1.1 การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน(Fundamental Analysis)
เป็นการวิเคราะห์หลักทรัพย์ โดยใช้ปัจจัยพื้นฐานหลายๆ ด้าน เป็นการวิเคราะห์ที่มุ่ง
วิ เ คราะห์ ปั จ จั ย ที่ เ ป็ น ตั ว ก าหนด อั ต ราผลตอบแทน ความเสี่ ย งจากการลงทุ น และมู ล ค่ า ของ
หลักทรัพย์ ซึ่ง ปัจจัยพื้นฐานดังกล่าว ได้แก่ ปัจจัยด้านภาวะเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านภาวะอุตสาหกรรมที่
เกี่ยวข้อง และปัจจัยที่เกี่ยวกับผลการดาเนินงาน รวมทั้งฐานะทางการเงินของบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์
(ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, 2015) เมื่อวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานรวมกันแล้วก็จะช่วยให้สามารถ
คาดการณ์ผลการดาเนินงานของบริษัทในอนาคตได้
2.1.2 การวิเคราะห์ปัจจัยทางเทคนิค
เป็นการวิเคราะห์หลักทรัพย์หรือดัชนีราคาหลักทรัพย์ โดยอาศัยข้อมูลในอดีต การ
วิเคราะห์การเคลื่อนไหวของหุ้นในอดีตโดยใช้วิธีทางสถิติ โดยข้อมูลหลักๆที่จะมี การเคลื่อนไหวของ
ราคา, ปริมาณการซื้อขาย เป็นต้น เพื่อใช้ในการคาดการณ์พฤติกรรมของหุ้นในอนาคต และช่วยให้นัก
ลงทุนรู้จังหวะที่จะลงทุน ในการวิเคราะห์จะมีเครื่องมือที่เป็นตัวชี้วัดต่างๆ เช่น ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่
(Moving Average), ทฤษฏีดาว(Dow’s Theory), Exponential Moving Average, รูปแบบราคา,
ดัชนีบ่งชี้(Indicator), แผนภูมิแท่งเทียน(Candlesticks) และเครื่องมือทางเทคนิคอื่นๆ เป็นต้น
5

2.1.3 แผนภูมิแท่งเทียน(Candlestick Chart)


แผ่นภูมิแท่งเทียนมีต้นกาเนิดมาจากประเทศญี่ปุ่น โดยมีประวัติมาอย่างยาวนานมากกว่า
200 ปี โดยผู้คิดค้นกราฟแท่งเทียนคือ Honma Munehisa นักธุรกิจเกี่ยวกับการค้าข้าวโดยทาการ
วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับราคาข้าวเพื่อใช้วัดสถิติหลายๆ อย่าง เขาจึงเก็บข้อมูลเกี่ยวกับราคาข้าวไว้
ย้อนหลั งไปหลายสิ บ ปี เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ ข้อมูล เกี่ยวกับจิตวิทยาของคนในการซื้อขายและ
รู ป แบบของราคาข้าว นี้ ถูกเผยแพร่ไปสู่ ช าวตะวันตกโดยนาย Steve Nison ผู้ เขียนหนังสื อเรื่อ ง
“Japanese Candlestick Charting Techniques” กราฟแท่งเทียนเป็นที่นิยมอย่างมากสาหรับการ
วิเคราะห์ทางเทคนิค (Technical analysis) มันสามารถบอกรายละเอียดของข้อมูลราคาได้มากกว่า
กราฟแบบเส้น (Line chart) แผนภูมิแท่งเทียนจะแสดงราคาของหุ้น ซึ่งจะมีรูปร่างลักษณะคล้ายกับ
รูปของแท่งเทียนไขที่เราคุ้นเคยกันดี โดยในหนึ่งแท่งเทียนจะมีส่วนประกอบด้วย
1. ราคาสูงสุด (High price) คือจุดราคาที่เคยขึ้นไปสูงที่สุดในช่วงเวลานั้นๆ
2. ราคาปิด (Close price) คือจุดราคาปิด
3. ตัวเทียน (Real body) คือช่วงระยะระหว่างราคาเปิดกับราคาปิด
4. ราคาเปิด (Open price) คือจุดราคาเปิด
5. ราคาต่าสุด (Low price) คือจุดราคาที่เคยลงไปต่าที่สุดในช่วงเวลานั้นๆ โดยมี
ส่วนประกอบสาคัญอยู่ 2 ส่วน คือ 1) ส่วนที่มีลักษณะเป็นแท่งหนาอาจจะเป็นแท่งโปร่ง(บาง
โปรแกรมอาจแสดงเป็นแท่งเทียนสีเขียวแทนแท่งเทียนแบบโปร่ง) หรือแท่งทึบ (บางโปรแกรมแสดง
เป็นแท่งเทียนสีแดงแทนแท่งเทียนทึบ) เราจะเรียกส่วนนี้ว่าลาตัวของแท่งเทียน (Real Body) มันคือ
ส่วนต่างของราคาเปิดและราคาปิด แท่งเทียนเป็นสีเขียวแสดงให้เห็นว่าราคาปิดสูงกว่าราคาเปิด
(Bullish Candle) และในทางกลับกัน แท่งเทียนที่เป็นสีแดงแสดงให้เห็นว่าราคาปิดต่ากว่าราคาเปิด
(Bearish Candle) และส่วนที่เป็นเส้นบางเราจะเรียกว่า ไส้เทียน (Shadow) ซึ่งมี 2 ด้านของแผนภูมิ
แท่งเทียน คือ ด้านบนเรียกว่า ไส้เทียนด้านบน “Upper Shadow” และด้านล่านเรียกว่า ไส้เทียน
ด้านล่าง “Lower Shadow”
6

ภาพที่ 2.1 แผนภูมิแท่งเทียน


แหล่งที่มา : www.OnlineTradingConcepts.com-All Rights Reverse

2.1.4 รูปแบบของแท่งเทียน(Candlestick Patten)


ลักษณะของแผนภูมิแท่งเทียนสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ แท่งเทียนขา
ขึ้น สภาวะตลาดกระทิง (Bullish Candlestick Pattern) ลักษณะของแท่งเทียนขาขึ้นนี้ ราคาปิดจะ
อยู่สูงกว่าราคาเปิด ตัวของแท่งเทียนจะมีสีเขียว หรือมีลักษณะโปร่งแสง แท่งเทียนขาลงสภาวะหมี
(Bearish Candlestick Pattern) ลักษณะของแท่งเทียนขาลงคือ ราคาปิดจะต้องต่ากว่าราคาเปิด
และแท่งเทียนแบบโดจิ( Doji Candlestick Pattern) เป็นแท่งเทียนที่ราคาเปิดและราคาปิดของแท่ง
เป็นราคาเดียวกัน หรืออยู่ใกล้เคียงกันมาก ๆ ซึ่งในแต่ละแบบสามารถแบ่งย่อยออกได้เป็น แผนภูมิ
แท่งเทียนที่มีความน่าเชื่อถือสูง(High Reliability) ความน่าเชื่อถือปานกลาง (Medium Reliability)
และความน่าเชื่อถือต่า(Low Reliability)(วิเชตชาติ, 2549) ซึ่งแผนภูมิแท่งเทียนแต่ละแบบแสดงถึง
ลักษณะแนวโน้มของหลักทรัพย์ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา ในปัจจุบัน แผนภูมิแท่งรูปมีมากกว่า 100
รูปแบบ ในการวิจัยนี้จึงแสดงเฉพาะรูปแบบที่พบบ่อย ว่าแต่ละรูปแบบบ่งบอกถึงอะไร สื่อความหมาย
ว่าอย่างไร ตัวอย่างดังต่อไปนี้

2.1.4.1 แท่งเทียนขาขึ้น(Bullish Candlestick Pattern)


แท่งเทียนที่มีลักษณะโปร่งแสงหรือสีเขียว โดยมีราคาปิดสูงกว่าราคาเปิด
ของวัน แสดงถึงแนวโน้มที่ดีของราคาหุ้นในวันนั้น เป็นแท่งเทียนสภาวะกระทิง(Bullish Candlestick
Pattern)
7

ภาพที่ 2.2 แท่งเทียนโปร่งแสง แท่งเทียนขาขึ้น


แหล่งที่มา : https://thaiforexschool.com

2.1.4.2 แท่งเทียนขาลง(Bearish Candlestick Pattern)


แท่งเทียนที่มีลักษณะทึบแสง หรือตัวของแท่งเทียนมีสีดาหรือสีแดง เป็น
แท่งเทียนที่แสดงราคาปิดต่ากว่าราคาเปิดของวันบอกถึงแนวโน้มที่ไม่ดี เป็นแท่งเทียนสภาวะกระทิง
(Bearish Candlestick Pattern)

ภาพที่ 2.3 แท่งเทียนทึบแสง แท่งเทียนขาลง


แหล่งที่มา : https://thaiforexschool.com
8

2.1.4.3 แท่งเทียนแบบโดจิ(Doji Candlestick Pattern)


แท่งเทียนที่ไม่มีตัวของแท่งเทียน เป็นแท่งเทียนที่แสดงว่าราคาเปิดและ
ราคาปิดของวันเท่ากัน โดยราคานั้นจะเป็นราคาสูงสุดหรือราคาต่าสุด หรือไม่ก็ได้กล่าวคือตัวแท่ง
เทียนเส้นขีดขวาง มีสภาวะเป็นกลาง โดยการต่อสู้ของแรงซื้อและขายเท่ากัน โดยเมื่อเกิดตอนหุ้นขา
ขึ้นอาจทาให้แนวโน้มหุ้นลง และเมื่อเกิดตอนหุ้นขาลง อาจทาให้แนวโน้มหุ้นขึ้น

ภาพที่ 2.4 แท่งเทียนแบบโดจิ


แหล่งที่มา : https://thaiforexschool.com

2.1.4.4 รูปแบบกราฟแท่งเทียนค้อน หรือ Hammer


เมื่อตลาดอยู่ในสภาวะขาลงมีแท่งเทียนสีแดงลงมาเรื่อยๆ จากนั้นราคาได้
ดีดตัวขึ้นจากจุดต่าสุด โดยลักษณะของแท่งเทียนจะมีราคาปิดจะปิดสูงกว่าราคาต่าสุดลักษณะนี้เรา
จะเรีย กว่า Hammer เป็น แท่งเทียนที่แสดงสั ญญาณการกลั บตัวเข้าสู่แนวโน้มขาขึ้น ภาวะตลาด
กระทิงโดยหากพบรูปแบบของแท่งเทียนตามรูปด้านบนที่ส่วนต่าสุดของกราฟอธิบายได้ว่านั่นคือ
สัญญาณซื้อ
9

ภาพที่ 2.5 แท่งเทียนค้อนหรือ Hammer

2.1.4.5 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Bullish Harami


รูปแบบแท่งเทียน Bullish Harami เป็นรูปแบบของสัญญาณการกลับตัว
จากขาลงสู่ขาขึ้น โดยจะมีลักษณะ ตามรูปด้านล่างคือ มีแท่งเทียนสีแดงหรือทึบใหญ่(แท่งที่มีราคาปิด
ต่ากว่าราคาเปิด) และมีแท่งเทียนสีเขียวหรือโปร่ง(แท่งที่มีราคาปิดสูงกว่าราคาเปิด) ขนาดเล็กอยู่
ทางขวาของแท่งเทียนทึบ โดยแท่งเทียนโปร่งจะต้องไม่มีส่วนใดยาวกว่าแท่งเทียนทึบ ตามรูปด้านล่าง

ภาพที่ 2.6 แบบกราฟแท่งเทียน Bullish Harami


10

2.1.4.6 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Bullish Harami Cross


รู ป แบบแท่ ง เที ยน Bullish Harami Cross เป็ น รู ป แบบของแท่ ง เที ย นที่
บอกถึงการกลับตัวจากแนวโน้มขาลงสู่ขาขึ้น โดยจะมีลักษณะตามรูปด้านล่าง คือจะมีแท่งเทียนสีแดง
หรือทึบขนาดใหญ่อยู่ทางซ้ายมือของแท่งเทียน Doji

ภาพที่ 2.7 แบบกราฟแท่งเทียน Bullish Harami Cross

2.1.4.7 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Piercing line


รู ป แบบกราฟหุ้ น แท่ ง เที ย น piercing line จะประกอบด้ ว ยแท่ ง เที ย น
จานวน 2 แท่งโดยที่แท่งแรกเป็นแท่งเทียนสีแดงหรือทึบ และแท่งที่สองมีจุดเปิดของราคาต่ากว่าแท่ง
แรก แต่สามารถปิดได้สูงเกินกว่าครึ่งของแท่งแรก ตามรูปด้านล่างแสดงถึงการกลับตัวจากขาลงสู่ขา
ขึ้น แสดงตลาดภาวะกระทิง
11

ภาพที่ 2.8 แบบกราฟแท่งเทียน Piercing line

2.1.4.8 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Engulfing Bullish Line


รูปแบบกราฟแท่งเทียน Engulfing Bullish Line ประกอบด้วยแท่งเทียน
2 แท่ง โดยแท่งแรกจะเป็นแท่งสีแดงหรือทึบขนาดเล็ก ถูกคลุมด้วยแท่งสีเขียวหรือโปร่ง ตามรูป
ด้านล่าง ซึ่งเป็นสัญญาณการกลับตัวสู่ขาขึ้น

ภาพที่ 2.9 แบบกราฟแท่งเทียน Engulfing Bullish Line

2.1.4.9 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Morning star


รูปแบบกราฟแท่งเทียน Morning star ประกอบด้วยแท่งเทียน 3 แท่ง โดย
แท่งแรกจะเป็นแท่งสีแดงหรือทึบ และจะมีแท่งที่สองขนาดเล็กด้านล่าง ตามด้วยแท่งเทียนสีเขียวหรือ
โปร่ง ยาวขึ้นไปเหนือแท่งที่สอง ตามรูปด้านล่าง แสดงถึงสัญญาณกลับตัวของราคาหุ้นสู่ขาขึ้นรูปแบบ
กราฟแท่งเทียน Morning star ในตลาดภาวะกระทิง
12

ภาพที่ 2.10 กราฟแท่งเทียนแบบ Morning star

2.1.4.10 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Morning doji star


รู ป แบบกราฟแท่ ง เที ย น Morning doji star จะมี รู ป แบบเหมื อ นกั บ
Morning star ต่างกันตรงที่แท่งเทียนที่สองจะเป็นรูปแบบ Doji ซึ่งแสดงถึงการกลับตัวของราคาหุ้น
จากขาลงสู่ขาขึ้น

ภาพที่ 2.11 กราฟแท่งเทียนแบบ Morning doji star

2.1.4.11 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Three White Soldiers


รูปแบบกราฟแท่งเทียน Three White Soldiers ประกอบด้วยแท่งเทียนสี
เขียวหรือโปร่ง 3 แท่ง ยาว เรียงกันขึ้น ตามรูปด้านล่าง ซึ่งจะหมายถึงการกลับตัวของราคาหุ้นจากขา
ลงสู่ขาขึ้น
13

ภาพที่ 2.12 กราฟแท่งเทียนแบบ Three White Soldiers

2.1.4.12 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Shooting star


รูปแบบแท่งเทียน Shooting star จะมีลักษณะคือหุ้นได้ปรับตัวขึ้นมาแล้ว
พบแท่งเทียนสีเขียวหรือโปร่งใส โดยจะมีหางด้านบนยาว และอาจจะมีหางด้านล่างเล็กน้อยหรือไม่มีก็
ได้ เป็นสัญญาณที่บอกว่ากาลังการซื้อได้กาลังอ่อนตัวลง

ภาพที่ 2.13 กราฟแท่งเทียนแบบ Shooting star

2.1.4.13 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Gravestone Doji


14

รูปแบบกราฟแท่งเทียน Gravestone Doji จะมีลักษณะเป็นแท่ง doji โดย


ราคาปิดและราคาเปิดจะเท่ากัน แล้วมีห่างด้านบนยาว จะแสดงถือการลดลงของกาลังซื้อและกาลังจะ
เข้าสู่ขาลง

ภาพที่ 2.14 กราฟแท่งเทียนแบบ Gravestone Doji

2.1.4.14 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Hanging Man


รู ป แบบกราฟแท่งเทียน Hanging Man จะมีลั กษณะ รูปล่ างเหมือนคน
แขวนคอซึ่งจะเกิดที่สุดสุดของกราฟ โดยด้านล่างของแท่งเทียนจะมีห่างยาว (ทางด้านบนของแท่ง
เทียนจะมีหางหรือไม่มีหางก็ได้แต่ต้องไม่ยาวมาก) แสดงถึงการกลับตัวสู่ตลาดขาลง

ภาพที่ 2.15 กราฟแท่งเทียนแบบ Hanging Man


15

2.1.4.15 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Bearish Harami


รูปแบบแท่งเทียน Bearish Harami มีลักษณะเป็นแท่งสีแดงหรือทึบ อยู่
ระหว่างแท่งสีเขียวหรือโปร่ง ตามรูปด้านล่าง จะเป็นสัญญาณการกลับตัวของขาขึ้นสู่ขาลง

ภาพที่ 2.16 กราฟแท่งเทียนแบบ Bearish Harami

2.1.4.16 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Bearish Harami Cross


รูป แบบกราฟแท่งเทียน Bearish Harami Cross มีลั กษณะคือ จะมีแท่ง
เทียน Doji หรือแท่งที่มีราคาเปิดและราคาปิดเท่ากัน อยู่ตรงกลางของแท่งสีเขียวหรือโปร่ง ตามรูป
ด้านล่าง แสดงถึงสัญญาณขาย
16

ภาพที่ 2.17 กราฟแท่งเทียนแบบ Bearish Harami Cross

2.1.4.17 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Dark Cloud Cover


รูปแบบกราฟแท่งเทียน Dark Cloud Cover จะมีลักษณะเป็นแท่งเทียน
ยาวสีเขียวหรือโปร่งแสง ตามด้วยแท่งเทียนสีแดงหรือทึบยาว แสดงถึงสัญญาณขาย

ภาพที่ 2.18 กราฟแท่งเทียนแบบ Dark Cloud Cover

2.1.4.18 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Engulfing Bearish Line


รูปแบบกราฟ Engulfing Bearish Line จะมีลักษณะคือมีแท่งสีเขียวหรือ
โปร่ง ถูกคลุมด้วยแท่งสีแดงหรือทึบตามรูปด้านล่าง เป็นสัญญาณแสดงถึงการเปลี่ยนทิศทางของ
แนวโน้มขาขึ้นสู่แนวโน้มขาลง
17

ภาพที่ 2.19 กราฟแท่งเทียนแบบ Engulfing Bearish Line

2.1.4.19 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Evening Star


รูปแบบกราฟแท่งเทียน Evening Star จะประกอบตัวแท่งเทียน 3 แท่ง
โดยแท่งแรกจะเป็น แท่งโปร่ง แท่งที่ส องจะมีขนาดเล็กจะโปร่งหรือทึบก็ได้ โดยจะมีการเว้น gap
ระหว่างแท่งแรก และแท่งที่สามจะเป็นแท่งเทียนสีแดงหรือทึบยาว แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของ
แนวโน้มจากขาขึ้นสู่ขาลง

ภาพที่ 2.20 กราฟแท่งเทียนแบบ Evening Star


18

2.1.4.20 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Evening doji star


รูปแบบแท่งเทียน Evening doji star จะคล้ายกลับ Evening star ในข้อ
ก่อนหน้าแต่จะต่างกันตรงแท่งกลางจะเป็นแท่งเทียน Doji ที่มีราคาเปิดและราคาปิดเท่ากัน

ภาพที่ 2.21 กราฟแท่งเทียนแบบ Evening doji star

2.1.4.21 รูปแบบกราฟแท่งเทียน Three black crow


รู ป แบบกราฟแท่ ง เที ย น three black crow (อีก าสามตั ว ) คื อ จะมี แ ท่ ง
เทียนทึบยาว 3 แท่งติดกัน จะบอกถึงการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มขาขึ้นสู่แนวโน้มขาลง

ภาพที่ 2.22 กราฟแท่งเทียนแบบ Three black crow


19

2.1.5 คุณลักษณะของแผนภูมิแท่งเทียน (Candlestick Characteristics)


รูปแบบของกราฟแท่งเทียนจะต้องสามารถแยกความแตกต่างของรูปแบบ (patterns)
ด้วยความถูกต้องสูงโดยใช้จานวนของคุณสมบัติ (feature) ให้น้อยที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ เพื่อให้ได้
รูปแบบของกราฟแท่งเทียน (Candlestick pattern) จากรูปแบบของกราฟที่ปรากฏ
(Dhammathanapatchara, 2015) เทคนิคการประมวลผลภาพที่จะนาไปใช้เพื่อเพิ่มคุณภาพของ
ภาพข้อมูล CSP และเลือกเอาคุณสมบัติที่ต้องการของกราฟแท่งเทียน
คุณลักษณะที่ใช้พิจารณามีดังนี้ :
 แนวโน้มก่อนหน้า (Prior Trend)
 สีของกราฟแท่งเทียนอันที่หนึ่ง (Color of the 1st candlestick)
 สีของกราฟแท่งเทียนอันที่สอง (Color of the 2nd candlestick)
 สีของกราฟแท่งเทียนอันที่สาม (Color of the 3rd candlestick)
 ขนาดของกราฟแท่งเทียนอันที่หนึ่งที่ถูกทาให้เป็นค่าปกติ ด้วยกราฟแท่นเทียนที่
มีขนาดใหญ่ที่สุด (Size of the 1st candlestick normalized by the size of
the largest candlestick)
 ขนาดของกราฟแท่งเทียนอันที่สองที่ถูกทาให้เป็นค่าปกติ ด้วยกราฟแท่นเทียนที่
มี ข นาดใหญ่ ที่ สุ ด (Size of the 2nd candlestick normalized by the size
of the largest candlestick)
 ขนาดของกราฟแท่งเทียนอันที่สามที่ถูกทาให้เป็นค่าปกติ ด้วยกราฟแท่นเทียนที่
มีขนาดใหญ่ที่สุด (Size of the 3rd candlestick normalized by the size of
the largest candlestick)
 อัตราส่วนขนาดของกราฟแท่งเทียนระหว่างอันที่สองและอันที่หนึ่ง (The ratio
between the sizes of the 2nd and 1st candlesticks)
 อัตราส่วนขนาดของกราฟแท่งเทียนระหว่างอันที่สามและอันที่หนึ่ง (The ratio
between the sizes of the 3rd and 1st candlesticks)
 อัตราส่วนขนาดของกราฟแท่งเทียนระหว่างอันที่สามและอันที่สอง (The ratio
between the sizes of the 3rd and 2nd candlesticks)
 ช่องว่างระหว่างกราฟแท่งเทียนอันที่หนึ่งและอันที่สอง (Gap between the 1st
and 2nd candlesticks)
 ช่องว่าง(Gap) เกิดจากราคาเปิด ( Open Price) มีการเคลื่อนไหวของราคา เป็น
การสร้างช่องว่างบนแผนภูมิ โดยเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อราคาสูงสุด (High Price)
ของวันต่ากว่าราคาต่าสุด (Low Price) ของวันก่อนหน้า หรือเมื่อต่าวันอยู่เหนือ
20

ระดับ สู งของวันก่อนหน้า ช่องว่างมีความส าคัญมากเมื่อมาพร้อมกับการเพิ่ม


ปริมาณ
 ช่องว่างระหว่างกราฟแท่งเทียนอันที่หนึ่งและอันที่สาม (Gap between the 1st
and 3rd candlesticks)
 ช่องว่างระหว่างกราฟแท่งเทียนอันที่สองและอันที่สาม(Gap between the 2nd
and 3rd candlesticks)
 ช่องว่างระหว่างลาตัวของแท่งเทียนอันที่หนึ่งและอันที่สอง (Real body gap
between the 1st and 2nd candlesticks)
 ช่องว่างระหว่างล าตัวของแท่งเทียนอันที่หนึ่งและอันที่ส าม (Real body gap
between the 1st and 3rd candlesticks)
 ช่องว่างระหว่างล าตัวของแท่งเทียนอันที่สองและอันที่ส าม (Real body gap
between the 2nd and 3rd candlesticks)
 กราฟแท่งเทียนมีราคาปิด-เปิดเท่ากัน (Has matching candlesticks)
 กราฟแท่งเทียนที่ไม่มีลาตัวของแท่งเทียน (Has a doji candlestick)
 กราฟแท่งเทียนมีรูปแบบเป็นค้อน (Has a hammer candlestick)
 ความชันระหว่างราคาต่าสุดของกราฟแท่งเทียนอันที่หนึ่งและอันที่สอง (Slope
between the low price between 1st and 2nd candlesticks)
 ความชันระหว่างราคาสูงสุดของกราฟแท่งเทียนอันที่หนึ่งและอันที่สอง (Slope
between the high price between 1st and 2nd candlesticks)
 ความชันระหว่างราคาต่าสุดของกราฟแท่งเทียนอันที่หนึ่งและอันที่สาม (Slope
between the low price between 1st and 3rd candlesticks)
 ความชันระหว่างราคาสูงสุดของกราฟแท่งเทียนอันที่หนึ่งและอันที่สาม (Slope
between the high price between 1st and 3rd candlesticks)
 ขนาดลาตัวของแท่งเทียนอันที่หนึ่งที่ถูกทาให้เป็นค่าปกติด้วยขนาดลาตัวของ
แท่งเทีย นที่มีขนาดใหญ่ที่สุ ด (The real body size of the 1st candlestick
normalized by the largest real body size)
 ขนาดลาตัวของแท่งเทียนอันที่สองที่ถูกทาให้เป็นค่าปกติด้วยขนาดลาตัวของแท่ง
เที ยน ที่ มี ขน าด ให ญ่ ที่ สุ ด ( The real body size of the 2nd candlestick
normalized by the largest real body size)
21

 ขนาดลาตัวของแท่งเทียนอันที่หนึ่งที่ถูกทาให้เป็นค่าปกติด้วยขนาดลาตัวของ
แท่งเทียนทั้งหมด (The real body size of the 3rd candlestick normalized
by the largest real body size)
 ขนาดลาตัวของแท่งเทียนอันที่สองที่ถูกทาให้เป็นค่าปกติด้วยขนาดลาตัวของแท่ง
เที ย นทั้ ง หมด (The real body size of the 2nd candlestick normalized
by its total size)
 ขนาดลาตัวของแท่งเทียนอันที่สามที่ถูกทาให้เป็นค่าปกติด้วยขนาดลาตัวของแท่ง
เทียนทั้งหมด (The real body size of the 3rd candlestick normalized by
its total size)

2.2 เทคนิคการจาแนกข้อมูล(Classification)

ในจัดการเหมืองข้อมูลในปัจจุบันมีเทคนิคหลายอย่างที่ใช้ในการวิเคราะห์ จาแนก หรือหา


ความสัมพันธ์ของข้อมูล หนึ่งในเทคนิคเหล่านั้นคือ การจาแนกข้อมูลด้วยคุณลักษณะ(Classification)
ซึ่งเป็นการจาแนกกลุ่มของข้อมูล โดยการสร้างแบบจาลองเพื่อนามาพยากรณ์ข้อมูลที่จะเพิ่มขึ้นมา
ใหม่ในอนาคต(Predictive Modeling) จากกลุ่มข้อมูลตัวอย่าง การใช้ข้อมูลตัวอย่างมาใช้ training
เพื่ อ สร้ า งโมเดลเรี ย กว่ า “Supervised Learning” ในปั จ จุ บั น มี ตั ว อย่ า งการใช้ แ บบจ าลองเพื่ อ
พยากรณ์มากมาย เช่น การพยากรณ์แบ่งกลุ่มลูกค้าในสถาบันการเงินว่าเป็นกลุ่มน่าเชื่อถือหรือไม่
เป็นต้น
เทคนิค Classification มีวิธีการหลายแบบ หนึ่งในนั้นคือ เทคนิคการตัดสินใจแบบโครงสร้าง
ต้นไม้ ซึ่งจะเป็นเทคนิคการจาแนกข้อมูลไปตามลักษณะในแต่ละ Node ในรูปแบบ Tree

2.2.1 เทคนิคการตัดสินใจแบบโครงสร้างต้นไม้

เทคนิ คการตั ดสิ น ใจแบบโครงสร้า งต้ น ไม้ เป็ นแบบจาลองทางคณิต ศาสตร์ เป็ น
อัลกอริทึมที่ใช้ในหลายๆ ด้าน ซึ่งจะช่วยในการตัดสินใจเพื่อช่วยในการสร้างกลยุทธ์และเป็นพื้นฐาน
สาหรับการทาเหมืองข้อมูล เป็นเทคนิคการเรียนรู้แบบต้องใช้กลุ่มข้อมูลที่มีผลเฉลยในการประเมินค่า
ใช้ในการสร้างแบบจาลองเพื่อหาทางตัดสินใจที่ดีที่สุด ซึ่งจะมีแบบจาลองอยู่ในลักษณะของต้นไม้
ข้อมูลและลักษณะต่างๆจะถูกแสดงและพิจารณา โดยเรียงจากรากแตกออกไปยังกิ่งและแตกแขนง
ออกไปเรื่อยๆ จนสิ้นสุดที่ใบตามตัวอย่างในภาพแบบจาลองที่ได้จะสามารถพยากรณ์จาแนกกลุ่มของ
ข้อมูลในอนาคตได้ โดยการแทนค่าในต้นไม้มีดังนี้
22

1) โหนดราก(Root Node) คือ จุดเริ่มต้นของเหตุการณ์ เป็นข้อมูลที่ต้องการ


ตัดสินใจ
2) กิ่ง(Branch) คือ ค่าของคุณลักษณะและเป็นตัวเชื่อมระหว่างโหนด
3) โหนดภายใน(Inner Node) คือ คุณลักษณะของข้อมูล
4) โหนดใบ(Leaf Node) คือ ค่าของผลลัพธ์

ภาพที่ 2.23 โครงสร้างต้นไม้การตัดสินใจ

2.3 Chi-square automatic interaction detection (CHAID)

CHAID เป็นอัลกอริทึมสาหรับการจาแนกกลุ่มและหาความสัมพันธ์ของกลุ่มข้อมูล สามารถ


จาแนกกลุ่มข้อมูลโครงสร้างต้นไม้แบบพหุภาคได้ คือสามารถแยกโหนดได้มากกว่าสองโหนดขึ้นไป
การสร้างแบบจาลองจะใช้ค่าการทดสอบความเป็นอิสระระหว่างตัวแปรของตัวสถิติไคสแควร์ในการ
หาค่า p-value แล้วใช้ในการคัดเลือกตัวแปรเพื่อทาการแยกโหนด

2.3.1 การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร(Test of Independence) เป็นการทดสอบ
ไคสแควร์เพื่อศึกษาว่าตัวแปรต่างๆ มีความสัมพันธ์กันหรือไม่ โดยการหาค่าความสัมพันธ์ระหว่างตัว
แปรเป็นคู่ๆ ซึ่งอาจจะจาแนกออกเป็นหลายกลุ่มที่แ จกแจงอยู่ในตารางมิติต่างๆ เช่น 2 x 2, 2 x 3
เป็นต้น และการทดสอบจะมีการตั้งสมมติฐานเพื่อการทดสอบคือ
𝐻0 : กลุ่มตัวแปรทั้งสองเป็นอิสระต่อกัน
23

𝐻1 : กลุ่มตัวแปรทั้งสองไม่เป็นอิสระต่อกัน

จากสูตร

(𝑂𝑖𝑗 − 𝐸𝑖𝑗 )2
χ2 = ∑
𝐸𝑖𝑗
𝑖,𝑗

เมื่อ i = 1,2,…,r และ j = 1,2,…,c , 𝑂𝑖𝑗 คือความถี่ที่สังเกตได้ , 𝐸𝑖𝑗 คือความถี่ที่คาดหวังซึ่งคานวณ


ได้จากสูตร
(𝑅𝑇𝑖 )(𝐶𝑇𝑗 )
𝐸𝑖𝑗 = 𝑁𝑝𝑖𝑗 =
𝑁

เมื่อ 𝑅𝑇 คือ ผลรวมของสมาชิกในแถว, 𝐶𝑇 คือ ผลรวมของสมาชิกในคอลัมน์, 𝑁 คือ จานวนสมาชิก


ทั้งหมด
เมื่อได้ค่าไคสแควร์แล้วขั้นต่อไปจะทาการทดสอบนัยยะสาคัญ โดยการเปรียบเทียบ
ค่าไคสแควร์ที่คานวณได้กับค่าจากตารางไคสแควร์ที่ 𝑑𝑓 = (𝑟 − 1)(𝑘 − 1) เมื่อ 𝑟 คือจานวน
กลุ่มของตัวแปรที่หนี่ง และ 𝑘 คือจานวนกลุ่มตัวแปรที่สองและ α คือค่านัยสาคัญที่กาหนด ซึ่งถ้าค่า
จากตารางไคสแควร์มีค่ามากกว่ากว่าค่าไคสแควร์ที่คานวณได้ หรือค่า p-value ที่คานวณได้มีค่าน้อย
กว่าค่าระดับนัยสาคัญที่กาหนด หมายความว่าค่าที่ได้จากการศึกษาอยู่ในเขตวิกฤติ จึงยอมรับ 𝐻1
และปฏิเสธ 𝐻0 สรุปตาม 𝐻1 ว่ากลุ่มตัวแปรทั้งสองไม่เป็นอิสระต่อกันที่ระดับนัยสาคัญที่ α

2.3.2 การทดสอบความเป็นเอกพันธ์ระหว่างตัวแปร
การทดสอบความเป็นเอกพันธ์ระหว่างตัวแปร(Test of Homogeneity) คือการหา
ความแตกต่างกันระหว่างสองกลุ่มข้อมูลโดยจะมีสมมติฐานคือ
𝐻0 : กลุ่มตัวแปรทั้งสองมีความคล้ายคลึงกัน
𝐻1 : กลุ่มตัวแปรทั้งสองไม่มีความคล้ายคลึงกัน
การคานวณจะใช้สูตรคานวณไคสแควร์เหมือนกับการทดสอบความเป็นอิสระของตัว
แปร ถ้าค่าไคสแควร์ที่ได้จากตารางไคสแควร์มีค่ามากกว่าค่าไคสแควร์ที่คานวณได้ หรือค่า p-value
มีค่ามากกว่าค่าระดับนัยสาคัญที่กาหนด หมายความว่าค่าที่ได้จากการทดสอบอยู่นอกเขตวิกฤติ จึง
ยอมรั บ 𝐻0 และ ปฏิ เ สธ 𝐻1 สรุ ป ตาม 𝐻0 ว่ า กลุ่ ม ตั ว แปรทั้ ง สองมี ค วามคล้ า ยคลึ ง กั น ที่ ร ะดั บ
นัยสาคัญที่ α สรุปได้ว่ากลลุ่มข้อมูลทั้งสองมีความคล้ายคลึงกัน
24

2.3.3 อัลกอริทึม CHAID(Chi-square Automatic Interaction Detector)


อัลกอริทึม CHAID จะยอมรับเฉพาะตัวแปร Predictor หรือตัวแปร X ที่เป็นตัวแปร
นามบั ญ ญัติ( Nominal Variable) หรือตั ว แปรอันดับ(Ordinal Variable) เท่า นั้น และเมื่อ ตัว แปร
Predictor เป็ น ตัว แปรต่อเนื่ อง (Continuous Variable) อัล กอริ ทึมทาการจะเปลี่ ยนเป็นตัว แปร
Predictor เป็นตัวแปรอันดับก่อนที่จะนาไปใช้ โดยใช้ขั้นตอนสามขั้นตอน ดังต่อไปนี้

1) ขั้นตอนการรวม (Merging)
สาหรับตัวแปร X แต่ละตัวรวมตัวแปรที่ไม่มีนัยสาคัญเข้าด้วยกัน แต่ละตัวแปร X
จะถูกใช้ในการแยกโหนดส่งผลให้ได้เป็นโหนดลู ก(Child node) ที่จุดสุดท้ายของต้นไม้ตัดสินใจ ส่วน
ขั้นตอนการรวมจะเป็นการคานวณการปรับค่า p-value ที่ถูกใช้ในขั้นตอนการแยกนั่นเอง ในขั้นตอน
การรวมจะมีขั้นตอนอยู่ทั้งหมด 5 ขั้นตอนดังต่อไปนี้
- ถ้าตัวแปร X มีแค่ 1 ประเภทเท่านั้นจะทาการหยุดและกาหนดให้ค่า p-
value เท่ากับ 1
- ถ้าตัวแปร X มี 2 ประเภท ให้ทาการคานวณปรับค่า p-value สาหรับการ
รวมตัวแปรใหม่ โดยการใช้หลักการ Bonferroni
- สาหรับ คู่ ที่ มีค่ า p-value มากที่ สุ ด ให้ ต รวจสอบว่ า ค่า p-value นั้น มี ค่ า
มากกว่าค่าที่ผู้ใช้กาหนด คือ ค่า α ถ้าเป็นเช่นนี้คู่นี้จะถูกผสานเข้าเป็น
สายเดียวกัน (Single) แล้วจากนั้นจะสร้างชุดของ X ขึ้นใหม่
- ถ้าตัวแปร X มีอย่างน้อย 3 ประเภทขึ้นไป พิจารณาคู่กลุ่มของตัวแปร X
หาคู่ที่มีความคล้ายคลึงกันมากที่สุด โดยคู่ที่ใกล้เคียงกันที่สุดคือคู่ที่มี
ตัวสถิติคานวณที่ให้ค่า p-value มากที่สุดตามลักษณะตัวแปร Target
หรือตัวแปร Y
- หากมีประเภทของข้อสังเกตน้อยเกินไป (เมื่อเทียบกับผู้ใช้ที่ระบุขนาดกลุ่ม
ขั้นต่า) รวมกับประเภทอื่น ๆ ที่คล้ายคลึงกันมากที่สุดโดยวัดจากค่า p-
value ที่มากที่สุด
2) ขั้นตอนการแยก (Splitting)
ในขั้นตอนการแยกนี้จะเป็นการคัดเลือกตัวแปร predictor เพื่อใช้แยกโหนด โดย
จะพิจารณาจากการเปรียบเทียบค่า p-value โดยจะเลือกตัวแปรที่มีค่า p-value น้อยที่สุด และ
เปรียบเทียบกับระดับนัยสาคัญที่ผู้ใช้กาหนด ถ้าค่า p-value น้อยกว่าหรือเท่ากับระดับนัยสาคัญให้
25

แยกโหนดโดยใช้ตัวแปร predictor นั้น แต่ถ้าค่า p-value มากกว่าระดับนัยสาคัญจะถูกพิจารณา


เป็นโหนดปลายทาง
3) ขั้นตอนการหยุด (Stopping)
ขั้นตอนการหยุดจะทาการตรวจสอบว่าการหยุดการสร้างและการแยกโหนดจะ
หยุดเมื่อไรโดยมีข้อกาหนดดังนี้
- ถ้ า ความลึ ก ของการจ าแนกกลุ่ ม ถึ ง ค่ า จ ากั ด ความลึ ก มากที่ สุ ด ที่ ก าหนด
กระบวนการจาแนกข้อมูลจะหยุด
- ถ้าขนาดของโหนดนั้นมีค่าน้อยกว่าค่าขนาดของโหนดต่าสุดที่กาหนดแล้วโหนด
นั้นจะหยุดการแยก
ในการใช้ อั ล กอริ ทึ ม CHAID ผู้ ใ ช้ ส ามารถก าหนดพารามิ เ ตอร์ ต่ า งๆ เช่ น ระดั บ
นัยสาคัญในขั้นตอนการแยกและขั้นตอนการรวมแตกต่างกันได้ รวมถึงสามารถกาหนดระดับความลึก
และขนาดของโหนดต่าสุดได้ตามความเหมาะสม
บทที่ 3

วิธีการวิจัย

ในงานวิจัยนี้นาเสนอแนวคิดในการใช้การวิเคราะห์ทางเทคนิค (Technical Analysis) โดย


การใช้ Classification Tree อัลกอริทึม Classification and Regression Tree (CHAID) มาจาแนก
คุณลักษณะของรูปแบบแผนภูมิแท่งเทียน (candlestick Characteristics) เพื่อนาไปสร้างกลยุทธ์ใน
การซื้อขายหลักทรัพย์เพื่อเพิ่มผลกาไรในการลงทุนให้ โดยใช้ข้อมูลจากหลักทรัพย์ของธุรกิจที่มีความ
แตกต่างกันทั้งหมด 10 ธุรกิจ จากจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลย้อนหลัง 10 ปี
ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2550 ถึง 30 ธันวาคม 2560 ดังตารางที่ 3.1

ตารางที่ 3.1 หลักทรัพย์ที่ใช้การศึกษา


ชื่อหลักทรัพย์ ชื่อย่อ ปริมาณข้อมูล(เรคคอร์ด)
บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จากัด (มหาชน) ADVANC 2,683
บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จากัด (มหาชน) AMARIN 2,683
บริษัท ท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) จากัด AOT 2,690
ธนาคารกรุงเทพ จากัด (มหาชน) BBL 2,690
บริษัท กรุงเทพประกันภัย จากัด (มหาชน) BKI 2,689
บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) CPF 2,690
บริษัท นาสินประกันภัย จากัด (มหาชน) NSI 2,646
บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) PTT 2,690
บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) SCC 2,687
กองทุนเปิด ไทยเด็กซ์ เซ็ท 50 อีทีเอฟ TDEX 2,483

จากตารางที่ 3.1 แสดงข้ อมู ล หลั กทรัพ ย์ที่ ใ ช้ใ นการทดลอง โดยหลั กทรัพ ย์ทั้ ง หมด 10
รายการเป็นหลักทรัพย์ที่มีความแตกต่างกัน เพื่อให้ได้ข้อมูลมีหลายรูปแบบ โดยทาการแบ่งข้อมูล
การศึกษาออกเป็น 2 ส่วน คือ ข้อมูลการเรียนรู้ (Training Set) และ ข้อมูลทดสอบ (Testing Set)
โดยมีข้อมูลการเรียนรู้จานวน 8 ปี แลข้อมูลทดสอบจานวน 2 ปี
27

เมื่อนาโครงสร้างราคาตั้งแต่ปี 2550 – 2557 มาแสดงในรูปกราฟเส้น มีลักษณะดังต่อไปนี้

ภาพที่ 3.1 โครงสร้างราคาหุ้นบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จากัด (มหาชน) : ADVANC

ภาพที่ 3.1 กราฟแสดงโครงสร้างราคาที่เปลี่ยนแปลงในช่วงระยะเวลา 8 ปี ลักษณะของ


ข้อมูลในช่วงตอนต้นข้อมูลไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนัก ในช่วงตอนปลายข้อมูลมีแนวโน้มเพิ่ม
สูงขึ้นเรื่อย ๆ
28

ภาพที่ 3.2 โครงสร้างราคาหุ้นบริษัท อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จากัด (มหาชน) : AMARIN


ภาพที่ 3.2 กราฟแสดงโครงสร้างราคาที่มีการเปลี่ ยนแปลงในช่วง 8 ปี ของหุ้น AMARIN
ราคาหุ้นในช่วงต้นไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนัก ซึ่งในช่วงปี 2556 ถือได้ว่าราคาหุ้นขึ้นสูงมากกว่าปี
อื่นๆ จากนั้นราคาหุ้นขยับตัวลงแต่ไม่ถือว่ามาก

ภาพที่ 3.3 โครงสร้างราคาหุ้นบริษัท ท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) จากัด : AOT

ภาพที่ 3.3 กราฟแสดงโครงสร้างราคาที่มีการเปลี่ยนแปลงในช่วง 8 ปี ของหุ้น AOT ราคา


หุ้นในช่วงตอนต้นไม่มีการเปลี่ยนแปลงของราคาหุ้น แต่ในช่วงตอนปลายราคาสูงขึ้นมาก
29

ภาพที่ 3.4 โครงสร้างราคาหุ้นธนาคารกรุงเทพ จากัด (มหาชน) : BBL

ภาพที่ 3.4 กราฟแสดงโครงสร้างราคาที่มีการเปลี่ยนแปลงในช่วง 8 ปี ของหุ้น BBL ราคาหุ้น


ในช่วงตอนต้นไม่มีการเปลี่ยนแปลงของราคาหุ้น แต่ในช่วงตอนปลายราคาสูงขึ้นเรื่อยๆ และในช่วง
ตอนปลายมีการขยับตัวลง แต่ไม่มาก

ภาพที่ 3.5 โครงสร้างราคาหุ้นบริษัท กรุงเทพประกันภัย จากัด (มหาชน) : BKI


30

ภาพที่ 3.5 กราฟแสดงโครงสร้างราคาที่มีการเปลี่ยนแปลงในช่วง 8 ปี ของหุ้น BKI ราคาหุ้น


ในช่วงตอนต้นไม่มีการเปลี่ยนแปลงของราคาหุ้น แต่ในช่วงปี 2556 มีการเปลี่ยนแปลงของราคาหุ้น
อย่างเห็นได้ชัดเจน

ภาพที่ 3.6 โครงสร้างราคาหุ้นบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) : CPF

ภาพที่ 3.6 กราฟแสดงโครงสร้างราคาที่มีการเปลี่ยนแปลงในช่วง 8 ปี ของหุ้น CPF ราคาหุ้น


จากช่วงตอนต้นจนถึงตอนปลายราคาของหุ้นมีการเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ แต่ในช่วงปี 2557 ราคามีการ
ขยับตัวลงแต่ไม่มาก
31

ภาพที่ 3.7 โครงสร้างราคาหุ้นบริษัท นาสินประกันภัย จากัด (มหาชน) : NSI

ภาพที่ 3.7 กราฟแสดงโครงสร้างราคาที่มีการเปลี่ยนแปลงในช่วง 8 ปี ของหุ้น NSI ราคาหุ้น


จากช่วงตอนต้นจนถึงตอนปลายราคาของหุ้นมีการเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ

ภาพที่ 3.8 โครงสร้างราคาหุ้นบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) : PTT

ภาพที่ 3.8 กราฟแสดงโครงสร้างราคาที่มีการเปลี่ยนแปลงในช่วง 8 ปี ของหุ้น PTT ราคา


หุ้นคงที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่ในช่วงปี 2552 ถือได้ว่าราคาหุ้นขึ้นสูงที่สุด จากนั้นราคาหุ้นขยับ
32

เพิ่มลงมาและคงที่จนถึงช่วงตอนปลาย

ภาพที่ 3.9 โครงสร้างราคาบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) : SCC

ภาพที่ 3.9 กราฟแสดงโครงสร้างราคาที่มีการเปลี่ยนแปลงในช่วง 8 ปี ของหุ้น SCC ราคา


หุ้นในช่วงตอนต้นราคาหุ้นตกลงแต่ไม่มาก และในช่วงปลายราคาหุ้นเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ

ภาพที่ 3.10 โครงสร้างราคากองทุน THAI DEX SET50 ETF : TDEX


33

ภาพที่ 3.10 กราฟแสดงโครงสร้างราคาที่มีการเปลี่ยนแปลงในช่วง 8 ปี ของหุ้น TDEX ราคา


หุ้นในช่วงตอนต้นราคาหุ้นตกลงแต่ไม่มาก และในช่วงปลายราคาหุ้นเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

ภาพที่ 3.11 แผนภาพ(Flowchart) แสดงขั้นตอนการทาการวิจัย

จากภาพที่ 3.11 แสดงจากภาพแสดงการใช้ข้อมูล 2 ส่ ว นคือ Train Data และ Testing


Data เริ่ ม จากการน าข้ อ มู ล Training เข้ า สู่ ก ระบวนการหาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งราคาหุ้ น กั บ
คุณลักษณะของกราฟแท่งเทียนโดยนาแต่ละคุณลักษณะมาเรียงต่อกันทั้งหมด 26 คุณลั กษณะ แล้ว
นาข้อมูลที่ได้เข้าสู่กระบวนการคัดเลือกโดยใช้ Decision Tree อัลกอริทึม CHAID ซึ่งจะได้ Model ที่
จะใช้สาหรับการซื้อขายออกมา และจะใช้ Model ที่ได้มาทดลอง Trading โดยใช้ข้อมูลหุ้นทดสอบ
(Test Data ) 2 ปี

3.1 การเตรียมข้อมูลสาหรับเทคนิคต้นไม้การตัดสินใจ (Decision Tree)

สาหรับงานวิจัยนี้จะศึกษาข้อมูลราคาของหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ทุกๆ วันในระยะเวลา 10 ปี
ก่อน ซึ่งการศึกษานี้จะประกอบไปด้วยตัวแปรดังต่อไปนี้คือ ราคาเปิด(open price), ราคาสูงสุด(high
price), ราคาต่าสุด(low price), และราคาปิด(close price) ในงานวิจัยนี้จะทาการพยากรณ์ราคาหุ้น
ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย(The Stock Exchange of Thailand : SET) ว่าราคาจะขึ้นหรือ
ลงจากวันก่อนหน้าจนถึงวันนี้ โดยใช้ข้อมูลในอดีตของหุ้น และคุณลักษณะของแผนภูมิแท่งเทียนมา
ทาการหาความสัมพันธ์กันด้วยอัลกอริทึม Classification and Regression Tree(CHAID)
34

เนื่องจากการที่เราจะหากฎความสัมพันธ์นั้นเซตของข้อมูลที่ใช้จะต้องอยู่ในรูปแบบที่เป็น
รายการ (Transaction) ทาให้ต้องทาการแปลงข้อมูลจากตัวเลขให้เป็นตัวอักษร เพื่อดูว่าราคาหุ้นของ
วันนี้ขึ้นหรือลงเมื่อเทียบกับราคาหุ้นของวันก่อนหน้า โดยการแปลงข้อมูลราคาหุ้นนั้นจะใช้สัญลักษณ์
ในการแสดงราคาด้วยการใช้ตัวแปรที่เป็นราคาเปิด, ราคาสูงสุด, ราคาต่าสุด, และราคาปิดของหุ้น
และดัชนีชี้วัดทางอุตสาหกรรม ดังแสดงในตารางที่ 3.2

ตารางที่ 3.2 ตัวอย่างสัญลักษณ์ที่ใช้ในการแปลงข้อมูลหุ้น

NO. Variable Symbolic Conversion


1 Open {OpenRise, OpenFall, Same}
2 High {HighRise, HighFall, Same}
3 Low {LowRise, LowFall, Same}
4 Close {CloseRise, CloseFall, Same}

เมื่อทาการแปลงข้อมูลจากตัวเลขด้วยสัญลักษณ์ที่กาหนดไว้ข้างต้นแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ
การนาเอาข้อมูลที่ได้ไปเข้ามาเรียงต่อกันกับคุณลักษณะของแผนภูมิแท่งเทียนในขั้นตอนต่อไปตาม
ตารางที่ 3.3

ตารางที่ 3.3 ตัวอย่างการนาข้อมูลที่แปลงมาเรียงต่อกันกับคุณลักษณะของกราฟแท่งเทียน


AMARIN.BK AMARIN.BK AMARIN.BK AMARIN.BK
Date
Open High Low Close
1/3/2007 NA NA NA NA
1/4/2007 OpenFall HighFall Same Same
1/5/2007 OpenRise HighRise LowFall CloseFall
1/8/2007 OpenFall HighFall LowFall CloseRise
1/9/2007 OpenRise HighFall LowFall CloseFall
1/10/2007 OpenFall HighFall Same Same
1/11/2007 OpenRise HighRise LowRise CloseRise
1/12/2007 OpenRise Same LowRise CloseFall
35

จากตารางแสดงสัญลักษณ์ที่ใช้แทนราคาของหลักทรัพย์ที่เป็นตัวเลข นาไปเปรียบเทียบกัน
ระหว่างราคาในวันปัจจุบันกับราคาของวันก่อนหน้า
3.2 การเตรียมข้อมูลสาหรับรูปแบบของแผนภูมิแท่งเทียน (Candlestick)

รูปแบบของกราฟแท่งเทียนจะต้องสามารถแยกความแตกต่างของรูปแบบ (patterns) ด้วย


ความถูกต้องสูงโดยใช้จานวนของคุณสมบัติ (feature)ให้น้อยที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ เพื่อให้ได้รูปแบบ
ของกราฟแท่งเทียน (Candlestick pattern) จากรูปแบบของกราฟที่ปรากฏ และเลือกเอาคุณสมบัติ
ที่ต้องการของกราฟแท่งเทียน และนาไปแบ่งกลุ่มเพื่อดูความสัมพันธ์ด้วย Chi-square automatic
interaction detection(CHAID)

3.2.1 คุณลักษณะของกราฟแท่งเทียนที่ใช้พิจารณามีดังนี้
- แนวโน้มก่อนหน้า(Prior Trend)
- สีของกราฟแท่งเทียนอันที่หนึ่ง(Color of the 1st candlestick)
- สีของกราฟแท่งเทียนอันที่สอง(Color of the 2nd candlestick)
- สีของกราฟแท่งเทียนอันที่สาม(Color of the 3rd candlestick)
- ขนาดของกราฟแท่งเทียนอันที่หนึ่งที่ถูกทาให้เป็นค่าปกติ ด้วยกราฟแท่นเทียนที่มี
ขนาด6) ใหญ่ที่สุด(Size of the 1st candlestick normalized by the size of
the largest candlestick)
- ขนาดของกราฟแท่งเทียนอันที่สองที่ถูกทาให้เป็นค่าปกติ ด้วยกราฟแท่นเทียนที่มี
ขนาดใหญ่ที่สุด(Size of the 2nd candlestick normalized by the size of
the largest candlestick)
- ขนาดของกราฟแท่งเทียนอันที่สามที่ถูกทาให้เป็นค่าปกติ ด้วยกราฟแท่นเทียนที่มี
ขนาดใหญ่ที่สุด(Size of the 3rd candlestick normalized by the size of
the largest candlestick)
- อัตราส่วนขนาดของกราฟแท่งเทียนระหว่างอันที่สองและอันที่หนึ่ง(The ratio
between the sizes of the 2nd and 1st candlesticks)
- อัตราส่วนขนาดของกราฟแท่งเทียนระหว่างอันที่สามและอันที่หนึ่ง(The ratio
between the sizes of the 3rd and 1st candlesticks)
- อัตราส่วนขนาดของกราฟแท่งเทียนระหว่างอันที่สามและอันที่สอง(The ratio
between the sizes of the 3rd and 2nd candlesticks)
36

- ช่องว่างระหว่างกราฟแท่งเทียนอันที่หนึ่งและอันที่สอง(Gap between the 1st


and 2nd candlesticks)
- ช่องว่างระหว่างกราฟแท่งเทียนอันที่หนึ่งและอันที่สาม(Gap between the 1st
and 3rd candlesticks)
- ช่องว่างระหว่างกราฟแท่งเทียนอันที่สองและอันที่สาม(Gap between the 2nd
and 3rd candlesticks)
- ช่องว่างระหว่างลาตัวของแท่งเทียนอันที่หนึ่งและอันที่สอง(Real body gap
between the 1st and 2nd candlesticks)
- ช่องว่างระหว่างลาตัวของแท่งเทียนอันที่หนึ่งและอันที่สาม(Real body gap
between the 1st and 3rd candlesticks)
- ช่องว่างระหว่างลาตัวของแท่งเทียนอันที่สองและอันที่สาม(Real body gap
between the 2nd and 3rd candlesticks)
- ความชันระหว่างราคาต่าสุดของกราฟแท่งเทียนอันที่หนึ่งและอันที่สอง(Slope
between the low price between 1st and 2nd candlesticks)
- ความชันระหว่างราคาสูงสุดของกราฟแท่งเทียนอันที่หนึ่งและอันที่สอง(Slope
between the high price between 1st and 2nd candlesticks)
- ความชันระหว่างราคาต่าสุดของกราฟแท่งเทียนอันที่หนึ่งและอันที่สาม(Slope
between the low price between 1st and 3rd candlesticks)
- ความชันระหว่างราคาสูงสุดของกราฟแท่งเทียนอันที่หนึ่งและอันที่สาม(Slope
between the high price between 1st and 3rd candlesticks)
- ขนาดลาตัวของแท่งเทียนอันที่หนึ่งที่ถูกทาให้เป็นค่าปกติด้วยขนาดลาตัวของแท่ง
เทียนที่มีขนาดใหญ่ที่สุด(The real body size of the 1st candlestick
normalized by the largest real body size)
- ขนาดลาตัวของแท่งเทียนอันที่สองที่ถูกทาให้เป็นค่าปกติด้วยขนาดลาตัวของแท่ง
เทียนที่มีขนาดใหญ่ที่สุด(The real body size of the 2nd candlestick
normalized by the largest real body size)
- ขนาดลาตัวของแท่งเทียนอันที่หนึ่งที่ถูกทาให้เป็นค่าปกติด้วยขนาดลาตัวของแท่ง
เทียนทั้งหมด(The real body size of the 3rd candlestick normalized by
the largest real body size)
37

- ขนาดลาตัวของแท่งเทียนอันที่สองที่ถูกทาให้เป็นค่าปกติด้วยขนาดลาตัวของแท่ง
เทียนทั้งหมด(The real body size of the 2nd candlestick normalized by
its total size)
- ขนาดลาตัวของแท่งเทียนอันที่สามที่ถูกทาให้เป็นค่าปกติด้วยขนาดลาตัวของแท่ง
เทียนทั้งหมด(The real body size of the 3rd candlestick normalized by
its total size)
นารายการของคุณลักษณะข้างต้นมาทาการเรียงต่อกันกับราคาของหลักทรัพย์ที่ได้มีการ
แปลงข้อมูลแล้ว ตามภาพที่ 3.12 เพื่อใช้เป็นข้อมูลของแบบจาลองการซื้อขายหลักทรัพย์

Size of the 1st


The real body
candlestick
AMARIN.BK. Color of the Color of the Color of the size of the 3rd
AMARIN. AMARIN. AMARIN. AMARIN. Slope Low Slope Low Slope High Slope High normalized by
Date Close_ 3rd 2nd 1st candlestick
BK.Open BK.High BK.Low BK.Close 1&2 1&3 1&2 1&3 the size of the
Tomorrow candlestick candlestick candlestick normalized by
largest
its total size
candlestick

1/3/2007 NA NA NA NA Same Red NA NA 0 0 0 0 NA 0.003781708


1/4/2007 OpenFall HighFall Same Same CloseFall Red Red NA 6.28E-16 0 -0.0003178 0 NA 0.003743812
1/5/2007 OpenRise HighRise LowFall CloseFall CloseRise Red Red Red -0.0627916 -0.0313958 0.0313958 -0.0313958 0.00916198 0.014975247
1/8/2007 OpenFall HighFall LowFall CloseRise CloseFall Green Red Red -0.0313958 -0.0470937 -0.0941874 -0.0470937 0.009070169 -0.007487624
1/9/2007 OpenRise HighFall LowFall CloseFall Same Red Green Red -0.000949 -0.0161724 -0.0320314 -0.0161724 0.036280677 0.003781181
1/10/2007 OpenFall HighFall Same Same CloseRise Doji Red Green 6.28E-16 -0.0004745 -0.0317092 -0.0004745 0.018140339 0
1/11/2007 OpenRise HighRise LowRise CloseRise CloseFall Green Doji Red 0.000949 0.0004745 0.0637406 0.0004745 0.009160705 -0.007487624
1/12/2007 OpenRise Same LowRise CloseFall CloseRise Red Green Doji 0.0313958 0.0161724 6.28E-16 0.0161724 0 0.003743812

ภาพที่ 3.12 การรวมกันของราคาหลักทรัพย์และคุณลักษณะของกราฟแท่งเทียน

จากตารางแสดงผลของการนาคุณลักษณะทั้งหมดของหลักทรัพย์จานวน 10 ปี (Training
Data) มาเรียงต่อกัน โดยแต่ละคุณลักษณะได้มาจากการคานวณและการดูรูปแบบของแผนภูมมิแท่ง
เทียน เพื่อหากฎความสัมพันธ์ของข้อมูลมาสร้างแบบจาลองกลยุทธ์การซื้อขายหลักทรัพย์ด้วยเทคนิค
ต้นไม้การตัดสินใจ Chi-square automatic interaction detection (CHAID)

3.2.2 ขั้ น ตอ น กา รสร้ า งแ บ บจ าล องด้ วย Chi-square automatic interaction


detection (CHAID)………….
น าข้ อ มู ล การเรี ย นรู้ ทั้ ง หมด 8 ปี เข้ า แบบจ าลอง (Model) เพื่ อ หาข้ อ มู ล ที่ มี
ความสัมพันธ์กันเกิดเป็นกลยุทธ์ในการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ ด้วยโปรแกรม IBM SPSS Modeler
โดยการจะกาหนดให้ column สถานะราคาในวันรุ่งขึ้นเป็น Target variable และ column อื่น ๆ
เป็น Input Variable ตามรูปภาพที่ 3.2 เมื่อได้แบบจาลองการซื้อขายหลักทรัพย์ออกมาแล้ว ขั้นตอน
38

ต่อไปคือ การนาแบบจาลองกลยุทธ์การซื้อขายมาทาการทดสอบโดยใช้ข้อมูลของหลักทรัพย์จานวน 2
ปี เพื่อให้ได้มาซึ่งกฎการซื้อขายหลักทรัพย์

ภาพที่ 3.13 แบบจาลองการสร้างกลยุทธ์การซื้อขาย

ภาพที่ 3.13 แสดงการได้มาซึ่งแบบจาลองการสร้างกลยุทธ์การซื้อขายหลักทรัพย์ เริ่มจาก


การนาข้อมูลการเรียนรู้มาสร้างแบบจาลองการซื้อขายด้วยอัลกอริทึม CHAID ซึ่งอัลกอริทึมนี้จะทา
การจาแนกข้อมูลออกมาเป็นแผนภูมิต้นไม้ตามรูปที่ 3.3

ภาพที่ 3.14 แผนภูมิต้นไม้ของหลักทรัพย์ที่ได้มาจากแบบจาลองการซื้อขายหลักทรัพย์


39

จากแบบจาลองสามารถได้ค่าพยากรณ์ออกมาที่แสดงถึงกฎการซื้อขายหลักทรัพย์ได้ตามภาพ
ที่ 3.15 ซึ่งในตารางจะประกอบด้วยผลลัพธ์ที่ได้จากแบบจาลองกลยุทธ์การซื้อขายนามาเป็นสัญญาณ
บ่งบอกการซื้อขายได้

AMARIN.BK.Close
Date Trading Signal
Tomorrow
4/1/2016 CloseRise Buy
6/1/2016 CloseFall Sell
7/1/2016 Same Hold
: : :
: : :
12/27/2017 CloseRise Buy
12/28/2017 CloseFall Sell
12/29/2017 CloseFall Sell

ภาพที่ 3.15 สัญญาณการซื้อขายหลักทรัพย์

จากภาพที่ 3.15 เป็นการแสดงสัญญาณการซื้อขายหลักทรัพย์ที่ได้มาจากแบบจาลอง โดยดู


จากผลการพยากรณ์สามรถเป็นนไปได้ 3 รูปแบบ คือ 1) ราคาปิดของวันพรุ่งนี้มีแนวโน้มว่าจะขึ้น
(CloseRise) สั ญญาณการซื้อขายจะบ่งบอกว่าให้ ทาการซื้อ (Buy) หลั กทรัพย์ 2) ราคาปิดของวัน
พรุ่งนี้มีแนวโน้มว่าจะลง(CloseFall) สัญญาณการซื้อขายจะบ่งบอกให้ทาการขาย(Sell) หลักทรัพย์
3) ราคาปิ ดในวั น พรุ่ ง นี้ มี แนวโน้ ม ว่า จะคงที่ สั ญ ญาณการซื้ อ ขายจะบ่ ง บอกให้ ท าการถื อ (Hold)
หลักทรัพย์นั้นไว้โดยไม่ต้องทาอะไร

3.3 ขั้นตอนการทดสอบแบบจาลองการสร้างกลยุทธ์การซื้อขาย

เมื่อได้แบบจาลองกลยุทธ์การซื้อขายมาจากการใช้ข้อมูลการเรียนรู้ (Training Data) แล้ว จะ


น าแบบจ าลองซึ่ ง เป็ น กฎการซื้ อ ขายมาใช้ กั บ ข้อ มู ล ทดสอบ (Testing Data) เพื่ อ ใช้ ใ นการสร้ า ง
สั ญญาณซื้อ ขาย โดยการทาข้อ มูล ดั งกล่ า วเข้ าโปรแกรมการซื้อ ขาย ซึ่ งในงานวิ จัย นี้ผู้ วิ จัย ได้ ใช้
โปรแกรม AMI Broker ในการทาการซื้อขายหลักทรัพย์
40

ตารางที่ 3.4 รูปแบบข้อมูลสัญญาณซื้อขาย

Symbol Trade Date


AMARIN_TEST Sell 1/4/2016
AMARIN_TEST Buy 1/5/2016
AMARIN_TEST Sell 1/6/2016
AMARIN_TEST Hold 1/7/2016
AMARIN_TEST Hold 1/8/2016
AMARIN_TEST Hold 12/26/2017
AMARIN_TEST Buy 12/27/2017
AMARIN_TEST Sell 12/28/2017
AMARIN_TEST Sell 12/29/2017

จากตารางที่ 3.4 แสดงข้อมูลที่ได้จากกฎการซื้อขาย ไปทดสอบการซื้อขายโดยใช้ Software


AmiBroker ในการทดสอบซื้อขายจริงโดยใช้สัญญาณซื้อขายกับข้อมูลหุ้น 2 ปี
บทที่ 4

ผลการทดลอง

ในการทดลองนี้ได้ทาการเปรียบเทียบกาไรที่ได้จากวิธีการที่เสนอใหม่กับวิธีการแบบ
ดั้ง เดิ ม การวั ด ประสิ ทธิ ภ าพจะวัด โดยการเปรี ย บเทีย บกั บ รู ป แบบการซื้ อขายอื่ น ๆ นิ ย มใช้ กั น
โดยทั่วไป ได้แก่
1. การซื้อขายแบบ Buy and Hold
2. การใช้ EMA ดังนี้ : Buy เมื่อ EMA(5) ตัดขึ้นเหนือ EMA(20) และ Sell เมื่อ EMA(20) ตัด
ลงต่ากว่า EMA(5)
3. การใช้ MACD 2 รูปแบบ
1.) ใช้ MACD(12,26) : Buy เมื่อ เส้น Fast(12) ตัดขึ้นเหนือ Slow(26) และขายเมื่อ เส้น
Fast(12) ตัดลงต่ากว่า Slow(26)
2.) ใช้ MACD(12,26,9) : Buy เมื่อ เส้น MACD(12,26) ตัดขึ้นเหนือเส้น Signal(9) และขาย
เมื่อ Buy เมื่อเส้น MACD(12,26) ตัดลงต่ากว่าเส้น Signal(9)
4. การใช้ RSI : Buy เมื่อ RSI(14) มีค่าน้อยกว่า 30 และขายเมื่อ RSI(14) มีค่ามากกว่า 70
5. การใช้ STO 2 รูปแบบ
1.) Buy เมื่อ FastK(14) ตัดขึ้นเหนือ SlowD(3) และ Sell เมื่อ FastK(14) ตัดลงต่ากว่า
SlowD(3)
2.) Buy เมื่อ SlowD(14,3) ตัดขึ้นเหนือค่า 20 และ Sell เมื่อ SlowD(14,3) ตัดลงต่ากว่า
ค่า 80

6. การใช้ ADX จะใช้เส้น +DI และ –DI โดย Buy เมื่อ +DI ตัดขึ้นเหนือเส้น –DI และ Sell เมื่อ
+DI ตัดลงต่ากว่าเส้น

ใ น ก า ร ซื้ อ ข า ย ข อ ง ทุ ก วิ ธี ทั้ ง Proposed Method, EMS5Cross20, MACD12,26,


MACD12,26, 9RSI14MoreTH, STO14CrossSignal, STO14crossTH, ADX14นั้ น จะใช้ ร าคาเปิ ด
ของวันถัดไปเป็นราคาในการซื้อขาย
42

ตารางที่ 4.1 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ ADVANC

2016 2017 2016 - 2017


Stock Trading Method Net Trading Max. System Net Trading Max. System Net Trading Max. System
Profit Number Drawdown Profit Number Drawdown Profit Number Drawdown
ADVANC Propose Method 15.83% 44 -21.98% 17.45% 46 -5.09% 36.04% 90 -21.98%
Buy and Hold 2.80% 1 -25.26% 27.76% 1 -12.53% 33.57% 1 -25.26%
EMA -3.60% 5 -22.86% 25.19% 7 -6.34% 20.68% 12 -22.86%
MACD(1) -15.30% 3 -23.78% 12.31% 4 -10.00% -4.88% 7 -25.04%
MACD(2) -3.26% 9 -23.73% 15.56% 6 -3.51% 28.14% 15 -23.73%
RSI 13.15% 2 -14.46% 6.11% 1 -4.38% 25.78% 3 -14.46%
STO(1) 12.57% 30 -11.79% 14.24% 26 -9.21% 32.10% 56 -11.79%
STO(2) 0.85% 5 -17.55% 14.68% 4 -4.06% 15.66% 9 -17.55%
ADX -4.17% 7 -18.60% 23.93% 5 -6.28% 18.76% 12 -18.60%

จากตารางที่ 4.1 แสดงผลก าไรที่ ไ ด้ จ ากการทดลองของหุ้ น ADVANC โดย Proposed


Method
สามารถทากาไรในการซื้อขายได้ดีกว่าวิธีการแบบอื่นๆ โดยเฉพาะในปี 2559-2560 ที่มีการทากาไร
มากถึง 36.04 % ซึ่งมีผลกาไรดีกว่าวิธี Buy and Hold ด้วยเช่นกัน

ตารางที่ 4.2 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ AMARIN

2016 2017 2016 - 2017


Stock Trading Method Net Profit Trading Max. System Net Profit Trading Max. System Net Profit Trading Max. System
(Percent) Number Drawdown (Percent) Number Drawdown (Percent) Number Drawdown
AMARIN Propose Method 1.37% 32 -8.73% 6.69% 38 -15.96% 8.92% 69 -16.87%
Buy and Hold -20.34% 1 -21.67% 3.52% 1 -33.42% -16.36% 1 -46.00%
EMA5Cross20 -17.70% 12 -18.74% 4.30% 9 -14.04% -14.15% 21 -30.14%
MACD12,26 -19.80% 4 -21.90% 2.64% 4 -16.84% -17.69% 8 -33.72%
MACD12,26,9 -26.41% 10 -26.82% 7.07% 12 -19.06% -21.21% 22 -36.65%
RSI14MoreTH -8.38% 1 -19.44% 0.00% 1 -30.57% -8.38% 2 -36.29%
STO14CrossSignal -22.68% 28 -22.68% 43.50% 28 -14.84% 10.96% 56 -24.35%
STO14crossTH -16.95% 3 -17.88% -2.27% 1 -32.97% -16.53% 3 -43.39%
ADX14 -0.2471 12 -0.2517 0.2743 4 -0.1408 -0.0473 16 -0.3476

จากตารางที่ 4.2 แสดงผลก าไรที่ ไ ด้ จ ากการทดลองของหุ้ น AMARIN โดย Proposed


Method
สามารถทากาไรในการซื้อขายได้ดีกว่าวิธีการแบบอื่นๆ โดยเฉพาะในปี 2559-2560 ที่มีการทากาไร
มากถึง 8.29 % ซึ่งมีผลกาไรดีกว่าวิธี Buy and Hold
43

ตารางที่ 4.3 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ AOT

2016 2017 2016 - 2017


Stock Trading Method Net Profit Trading Max. System Net Profit Trading Max. System Net Profit Trading Max. System
(Percent) Number Drawdown (Percent) Number Drawdown (Percent) Number Drawdown
AOT Propose Method -1.72% 47 -12.31% 38.68% 51 -4.63% 36.32% 98 -13.32%
Buy and Hold 16.03% 1 -15.64% 70.85% 1 -8.93% 98.25% 1 -15.64%
EMA5Cross20 -1.24% 6 -6.89% 62.15% 5 -10.69% 57.73% 11 -10.69%
MACD12,26 -3.67% 3 -9.91% 64.24% 2 -8.14% 57.02% 5 -10.00%
MACD12,26,9 -6.19% 10 -12.10% 39.20% 9 -6.52% 30.59% 19 -12.10%
RSI14MoreTH 11.48% 1 -9.64% 0.00% 0 0.00% 14.29% 1 -9.64%
STO14CrossSignal 7.23% 29 -10.28% 14.16% 34 -6.90% 21.18% 63 -10.28%
STO14crossTH -0.0089 5 -0.1558 0.0678 1 -0.0169 0.0835 6 -0.1258
ADX14 0.0465 9 -0.1601 0.4852 10 -0.108 0.5348 19 -0.1601

จากตารางที่ 4.3 แสดงผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหุ้น AOT โดย Proposed Method


สามารถทากาไรในการซื้อขายได้ดีกว่าวิธีการแบบอื่นๆ แม้ว่าจะมีผลกาไรน้อยกว่าแบบ Buy and
Hold โดยเฉพาะในปี 2559-2560 ที่มีการทากาไรมากถึง 36.32 %

ตารางที่ 4.4 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ BBL

2016 2017 2016 - 2017


Stock Trading Method Net Profit Trading Max. System Net Profit Trading Max. System Net Profit Trading Max. System
(Percent) Number Drawdown (Percent) Number Drawdown (Percent) Number Drawdown
BBL Propose Method 6.33% 1 -15.79% 23.93% 1 -5.80% 34.67% 1 -15.79%
Buy and Hold 6.33% 1 -15.79% 23.93% 1 -5.80% 34.67% 1 -15.79%
EMS5Cross20 0.64% 8 -14.59% 0.66% 9 -8.90% 14.96% 17 -14.59%
MACD12,26 3.57% 4 -14.58% 7.43% 2 -6.53% 25.57% 6 -14.58%
MACD12,26,9 -13.66% 15 -25.32% -3.00% 8 -8.40% -6.54% 23 -25.32%
RSI14MoreTH 4.25% 1 -6.12% 0.00% 0 0.00% 7.19% 1 -6.12%
STO14CrossSignal -0.67% 31 -10.31% 1.76% 27 -6.89% 6.78% 58 -10.31%
STO14crossTH -3.76% 4 -12.68% 4.95% 3 -5.05% 4.49% 7 -12.68%
ADX14 -10.69% 16 -23.45% 6.17% 10 -5.85% 4.63% 26 -23.45%

จากตารางที่ 4.4 แสดงผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหุ้น BBL โดย Proposed Method


สามารถทากาไรในการซื้อขายได้ดีกว่าวิธีการแบบทั้งหมด และสามารทาไรได้เท่ากับแบบ Buy and
Hold โดยเฉพาะในปี 2559-2560 ที่มีการทากาไรมากถึง 36.67%
44

ตารางที่ 4.5 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ BKI

2016 2017 2016 - 2017


Stock Trading Method Net Profit Trading Max. System Net Profit Trading Max. System Net Profit Trading Max. System
(Percent) Number Drawdown (Percent) Number Drawdown (Percent) Number Drawdown
BKI Propose Method 3.05% 46 -3.38% 5.19% 34 -3.29% 8.40% 80 -3.63%
Buy and Hold -3.10% 1 -7.40% 3.77% 1 -3.89% 0.85% 1 -7.40%
EMA5Cross20 -5.81% 14 -7.37% 1.15% 8 -3.34% -4.73% 22 -7.89%
MACD12,26 -3.56% 7 -5.70% 2.88% 4 -3.34% -0.77% 11 -5.70%
MACD12,26,9 -2.25% 10 -4.72% -4.07% 13 -6.50% -6.22% 23 -8.29%
RSI14MoreTH -1.43% 1 -3.43% 2.29% 1 -1.70% 2.59% 2 -3.43%
STO14CrossSignal -6.35% 36 -7.39% -3.25% 31 -6.03% -8.34% 67 -9.42%
STO14crossTH -5.80% 3 -7.40% 0.55% 2 -3.89% -4.18% 5 -7.63%
ADX14 -2.74% 10 -3.28% -0.53% 9 -4.35% -3.26% 19 -4.61%

จากตารางที่ 4.5 แสดงผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหุ้น BKI โดย Proposed Method


สามารถทากาไรในการซื้อขายได้ดีกว่าวิธีการแบบทั้งหมด รวมถึงวิธีการแบบ Buy and Hold ซึ่งในปี
2559-2560 ที่มีการทากาไรมากถึง 8.40%

ตารางที่ 4.6 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ CPF

2016 2017 2016 - 2017


Stock Trading Method Net Profit Trading Max. System Net Profit Trading Max. System Net Profit Trading Max. System
(Percent) Number Drawdown (Percent) Number Drawdown (Percent) Number Drawdown
CPF Propose Method 38.72% 56 -13.46% -24.24% 55 -25.19% 5.09% 111 -28.96%
Buy and Hold 67.61% 1 -17.29% -18.64% 1 -21.98% 36.36% 1 -29.02%
EMA5Cross20 5.71% 10 -18.52% -3.36% 5 -6.82% -0.44% 15 -24.65%
MACD12,26 22.34% 5 -22.11% -9.00% 3 -10.62% 11.33% 8 -29.80%
MACD12,26,9 13.36% 11 -20.07% -10.76% 8 -11.08% -1.41% 19 -25.69%
RSI14MoreTH 6.31% 1 -5.98% 0.00% 1 -11.78% -4.50% 1 -21.98%
STO14CrossSignal 18.22% 30 -19.65% -16.91% 29 -20.32% 0.72% 59 -26.91%
STO14crossTH 5.85% 3 -13.20% -12.41% 2 -15.03% -7.29% 5 -23.54%
ADX14 12.91% 12 -13.06% -12.80% 10 -14.24% -1.54% 22 -23.65%

จากตารางที่ 4.6 แสดงผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหุ้น CPF โดย Proposed Method


สามารถทากาไรในการซื้อขายได้ดีกว่าวิธีการแบบอื่น ๆ ถึงแม้ว่าจะมีกาไรน้อยกว่าแบบ Buy and
Hold ก็ตาม โดยเฉพาะในปี 2559 สามารถทากาไรได้ถึง 38.72%
45

ตารางที่ 4.7 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ NSI

2016 2017 2016 - 2017


Stock Trading Method Net Profit Trading Max. System Net Profit Trading Max. System Net Profit Trading Max. System
(Percent) Number Drawdown (Percent) Number Drawdown (Percent) Number Drawdown
NSI Propose Method 15.77% 45 -19.50% -2.79% 35 -11.65% 11.54% 79 -19.50%
EMA5Cross20 -14.30% 8 -22.01% -2.86% 10 -7.30% -18.22% 18 -22.01%
MACD12,26 -7.91% 4 -21.38% -3.11% 4 -7.29% -12.88% 8 -22.18%
MACD12,26,9 -26.26% 11 -33.19% -3.45% 10 -6.05% -31.53% 21 -34.58%
RSI14MoreTH -6.47% 1 -13.29% 0.93% 1 -7.83% -5.60% 2 -13.29%
STO14CrossSignal -8.17% 34 -23.10% -3.67% 25 -9.82% -12.32% 59 -27.51%
STO14crossTH -3.84% 4 -19.55% 0.96% 3 -6.13% -2.92% 7 -19.55%
ADX14 -0.1675 14 -0.3064 -0.0134 11 -0.0583 -0.1981 25 -0.3064

จากตารางแสดงผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหุ้น NSI โดย Proposed Method


สามารถทากาไรในการซื้อขายได้ดีกว่าวิธีการแบบอื่นทั้งหมด รวมถึงมากกว่าวิธีการแบบ Buy and
Hold ด้วย ซึ่งในปี 2559-2560 ที่มีการทาผลกาไรได้มากถึง 11.54%

ตารางที่ 4.8 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ PTT

2016 2017 2016 - 2017


Stock Trading Method Net Profit Trading Max. System Net Profit Trading Max. System Net Profit Trading Max. System
(Percent) Number Drawdown (Percent) Number Drawdown (Percent) Number Drawdown
PTT Propose Method 34.41% 54 -31.86% 37.72% 64 -16.89% 85.11% 118 -31.86%
PTT EMA5Cross20 42.63% 6 -7.51% 3.17% 7 -8.65% 53.08% 13 -12.68%
PTT MACD12,26 34.27% 3 -16.31% 4.40% 4 -8.98% 45.59% 7 -16.31%
PTT MACD12,26,9 17.78% 11 -15.07% 4.44% 9 -7.78% 27.97% 20 -15.07%
PTT RSI14MoreTH 17.72% 1 -8.40% 0.00% 0 0.00% 22.47% 1 -8.40%
PTT STO14CrossSignal 15.06% 28 -13.61% 6.55% 29 -7.34% 26.22% 57 -13.61%
PTT STO14crossTH 13.17% 3 -9.17% 2.86% 4 -7.41% 16.41% 7 -9.17%
PTT ADX14 48.89% 12 -10.45% 6.65% 9 -7.35% 65.19% 21 -12.24%

จากตารางที่ 4.8 แสดงผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหุ้น PTT โดย Proposed Method


สามารถทากาไรในการซื้อขายได้ดีกว่าวิธีการแบบอื่นทั้งหมด และสามารทาไรได้มากกว่าวิธีการแบบ
Buy and Hold โดยเฉพาะในปี 2559-2560 ที่มีการทากาไรมากถึง 85.11% ซึ่งมีผลกาไรสูงสุด
46

ตารางที่ 4.9 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ SCC

2016 2017 2016 - 2017


Stock Trading Method Net Profit Trading Max. System Net Profit Trading Max. System Net Profit Trading Max. System
(Percent) Number Drawdown (Percent) Number Drawdown (Percent) Number Drawdown
SCC Propose Method 10.22% 1 -15.33% -2.02% 1 -14.55% 7.56% 1 -15.33%
SCC Buy and Hold 10.22% 1 -15.33% -2.02% 1 -14.55% 7.56% 1 -15.33%
SCC EMA5Cross20 -4.81% 11 -12.50% -5.91% 4 -7.78% -4.29% 15 -12.50%
SCC MACD12,26 -4.52% 5 -9.04% 2.27% 4 -8.53% -2.36% 9 -10.16%
SCC MACD12,26,9 4.06% 10 -15.42% -12.07% 14 -15.15% -9.24% 24 -23.77%
SCC RSI14MoreTH 5.08% 1 -1.69% -2.42% 1 -8.20% 6.26% 2 -8.20%
SCC STO14CrossSignal 15.45% 32 -6.41% -12.28% 33 -15.85% 2.09% 65 -17.57%
SCC STO14crossTH 0.2706 4 -0.0594 -0.0236 3 -0.082 0.2256 7 -0.0934
SCC ADX14 0.75% 13 -7.61% -0.61% 10 -11.82% -1.01% 23 -11.82%

จากตารางที่ 4.9 แสดงผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหุ้น SCC โดย Proposed Method


สามารถทากาไรในการซื้อขายได้ดีกว่าวิธีการแบบอื่นทั้งหมด และสามารทาไรได้เท่ากับแบบ Buy
and Hold โดยเฉพาะในปี 2559-2560 ที่มีการทาผลกาไรมากถึง 7.56%

ตารางที่ 4.10 ผลกาไรที่ได้จากการทดลองของหลักทรัพย์ TDEX

2016 2017 2016 - 2017


Stock Trading Method Net Profit Trading Max. System Net Profit Trading Max. System Net Profit Trading Max. System
(Percent) Number Drawdown (Percent) Number Drawdown (Percent) Number Drawdown
TDEX Propose Method 19.93% 1 -8.44% 15.09% 3 -4.44% 37.88% 3 -8.44%
Buy and Hold 19.93% 1 -8.44% 14.74% 1 -5.80% 37.88% 1 -8.44%
EMA5Cross20 7.00% 11 -11.84% 11.68% 5 -3.32% 17.16% 16 -11.84%
MACD12,26 6.83% 5 -10.87% 15.93% 2 -2.56% 22.45% 7 -10.87%
MACD12,26,9 14.57% 9 -8.08% 13.14% 11 -3.09% 28.29% 20 -8.08%
RSI14MoreTH 16.83% 2 -6.25% 0.00% 0 0.00% 16.71% 2 -6.25%
STO14CrossSignal 20.00% 30 -6.45% 8.79% 29 -2.63% 30.69% 59 -6.45%
STO14crossTH 0.0544 4 -0.0645 0.0125 2 -0.0197 0.0675 6 -0.0645
ADX14 11.33% 10 -7.25% 10.32% 13 -3.21% 21.56% 23 -8.04%

จากตารางที่ 4.10 แสดงผลก าไรที่ ไ ด้ จ ากการทดลองของหุ้ น TDEX โดย Proposed


Method
สามารถทากาไรในการซื้อขายได้ดีกว่าวิธีการแบบอื่นทั้งหมด และสามารทาไรได้เท่ากับแบบ Buy
and Hold โดยเฉพาะในปี 2559-2560 ทีท่ าผลกาไรได้มากถึง 37.88% ซึ่งมีผลกาไร
47
บทที่ 5

อภิปรายผลสรุป และเสนอแนะ

แผนภูมิแท่งเทียนเป็น วิธีที่นิยมใช้ในการแสดงราคาหุ้น รูปแบบของแผนภูมิแท่งเทียนเป็น


ข้อมูลที่ใช้ในการค้นหาและเตรียมราคาของหุ้นในชุดถัดไป รูปแบบแผ่นภูมิแท่งเทียนมีมากมายหลาย
รูปแบบที่ใช้ งานได้ ยาก ในงานวิจยั นี ้มีรูปแบบของแผนภูมิแท่งเทียนทังหมด
้ 26 รูปแบบ ที่ใช้ ในการ
จาแนกรู ปแบบแผ่นภูมิแท่งเทียนที่นาไปใช้ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ งานวิจยั นีน้ าเสนอเทคนิคใน
การสร้ างกลยุทธ์ การซื ้อขายที่มีประสิทธิภาพตามคุณสมบัติเหล่านัน้ กลยุทธ์ การซื ้อขายเป็ นการ
จาแนกข้ อมูล ที่สร้ างขึน้ โดยอัลกอริ ทึม Chi-Square Automatic Interaction Detector (CHAID)
และนาไปเปรี ยบเทียบกับ 8 กลยุทธ์ที่ได้ รับความนิยมอย่างแพร่หลาย โดยมีการทาวิจยั นี ้ใช้ ข้อมูล
หลักทรัพย์ 10 หลักทรัพย์ ซึ่งเป็ นอุตสาหกรรมที่แตกต่างกันจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ผลลัพ ธ์ จ ากการทดลองแสดงให้ เ ห็ น ว่ า เทคนิ ค ที่ น าเสนอในการสร้ างกลยุท ธ์ ก ารซื อ้ ขาย มี
ประสิทธิภาพสูงกว่ากลยุทธ์อื่น ๆ และเทคนิคที่นาเสนอนี ส้ ามรถนาไปใช้ กบั การซื ้อขายหลักทรัพย์
ได้ จริง
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างกลยุทธ์ในการซื้อขายหุ้น มีความแตกต่างของปัจจัยหลาย
ด้าน เช่น สภาวะเศรษฐกิจ การเมืองทั้งในและต่างประเทศ ยิ่งในปัจจุบันปัญหาเรื่องภัยธรรมชาติเป็น
ส่วนสาคัญส่วนหนึ่งที่กระทบกับสภาวะการซื้อขาย รวมไปถึงความแตกต่างด้านข้อมูลที่นามาใช้ในการ
ทดลอง ทาให้ผลการทดลองกับบางอุตสาหกรรมในบางช่วงเวลาอาจไม่สอดคล้องกับผลการทดลอง
ของหลักทรัพย์ในกลุ่มต่างอุตสาหกรรม ดังนั้นงานวิจัยในอนาคตจึงควรนาปัจจัยหลายๆ ด้าน เช่น
ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สภาวะแวดล้อมที่เกี่ยวข้องเข้ามาประกอบด้วยเพื่อให้ได้ผลการ
ทดลองที่มีความแม่นยาและความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น
(Bandy, 2012),(Bigalow, 2011),(Bulkowski, 2008),(Chootong & Sornil, 2012),(Corbitt,
2012),(Dhammathanapatchara & Sornil, 2015),(Goo, Chen, & Chang, 2007),(Izumi, Yamaguchi,
Mabu, Hirasawa, & Hu, 2006; Kass, 1980),(Lu & Shiu, 2012),(Matras, 2012),(Nison,
2001),(Tiong, Ngo, & Lee, 2013)
บรรณานุกรม

บรรณานุกรม

Bandy, H. B. (2012). Introduction to AmiBroker (2nd ed.) South Dakota Blue Owl Press,
Inc.
Bigalow, S. W. (2011). Profitable Candlestick Trading: Pinpointing Market Opportunities
to Maximize Profits(2nd ed.) New Jersey John Wiley & Sons, Inc.
Bulkowski, T. N. (2008). Encyclopedia of Candlestick Charts. New Jersey John Wiley &
Sons, Inc.
Chootong, C., & Sornil, O. (2012). Trading Signal Generation Using A Combination of
Chart Patterns and
Indicators. International Journal of Computer Science Issues, 9, 202-209.
Corbitt, W. A. (2012). Candlestick Charting Demystified. New York McGraw Hill.
Dhammathanapatchara, T., & Sornil, O. (2015). Automatic Candlestick Pattern
Recognition. International Journal of Applied Engineering Research, 10, 1833-
1836.
Goo, Y. J., Chen, D.-H., & Chang, Y. W. (2007). The application of Japanese candlestick
trading strategies in Taiwan. Investment Management and Financial Innovations,
4(4), 49-79.
Izumi, Y., Yamaguchi, T., Mabu, S., Hirasawa, K., & Hu, J. (2006). Trading Rules on the
Stock Markets using Genetic Network Programming with Candlestick Chart. 2006
IEEE International Conference on Evolutionary Computation, 2362-2367.
doi:10.1109/CEC.2006.1688600
Kass, G. V. (1980). An Exploratory Technique for Investigating Large Quantities of
Categorical Data. Applied Statistics, 29, 119-127. doi:10.2307/2986296
Lu, T.-H., & Shiu, Y.-M. (2012). Tests for Two-Day Candlestick Patterns in the Emerging
Equity Market of Taiwan. Emerging Markets Finance and Trade, 48(sup1), 41-57.
doi:10.2753/REE1540-496X4801S104
Matras, K. (2012). Chart Patterns Trader. Trader SUPPLEMENT. Understanding and
Trading Classic Chart Patterns: Zacks Investment Research, Inc.
50

Nison, S. (2001). Japanese Candlestick Charting Techniques (2nd ed.) New Jersey
Pearson Education US.
Tiong, L. C. O., Ngo, D. C. L., & Lee, Y. (2013). Stock Price Prediction Model using
Candlestick Pattern Feature. International Journal Of Interactive Digital Media,
1(3), 58-64.
วิเชตชาติ, ไ. (2549). วิเคราะห์เจาะลึกหุ้นด้วย Candlesticks. กรุงเทพมหานคร: บมจ. ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ประวัติผู้เ ขียน

ประวัติผู้เขียน

ชื่อ-นามสกุล นางสาวสิริพร ธรรมเกษร


ประวัติการศึกษา บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับที่ 1 เหรียญทอง)
มหาวิทยาลัยรังสิต
ปีที่สาเร็จการศึกษา 2557
ประสบการณ์การทางาน พ.ศ. 2560 - ปัจุบัน
Claim Adjuster
MSIG Service and Adjusting (Thailand) Co., Ltd.

You might also like