You are on page 1of 19

โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทการศึกษาและทดลอง

เรื่อง การศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการเผาไหม้ของถ่าน
ไม้โกงกาง ลิ้นจี่ มะขามและถ่านยางพารา

จัดทาโดย

นายชนายุทธ สีสังข์ 6421605001


นายณัฐกิตติ์ แดนกระโทก 6421605002
นายชลปพัฒน์ สมบัวรม 6421605003
นายพธรรม สินสมบูรณ์ทอง 6421605004
นางสาวศิริพร หนูสวี 6421605005
นายนัทธพงศ์ บุตรแวง 6421605006
นางสาวณัฐกมลวรรณ กันหะคุณ 6421605007
นายณภัทร ทองเชตุ 6421605008
สาขา วิศวกรรมพลังงาน

เสนอ
อาจารย์พีระพงษ์ ยืนยงชัยวัฒน์

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

เกี่ยวกับโครงงาน
ชื่อเรื่อง การศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการเผาไหม้ของถ่านไม้
โดย นายชนายุทธ สีสังข์
นายณัฐกิตติ์ แดนกระโทก
นายชลปพัฒน์ สมบัวรม
นายพธรรม สินสมบูรณ์ทอง
นางสาวศิริพร หนูสวี
นายนัทธพงศ์ บุตรแวง
นางสาวณัฐกมลวรรณ กันหะคุณ
นายณภัทร ทองเชตุ
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์พีระพงษ์ ยืนยงชัยวัฒน์
ระดับชั้น ชั้นอุดมศึกษาปีที่ 1
สถานศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ที่อยู่ 1061 ซ. อิสรภาพ 15 แขวง หิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600
โทรศัพท์ 02-473-7000
ระยะเวลาทาโครงงานตั้งแต่ 16 – 25 พฤศจิกายน 2564

บทคัดย่อ
ด้วยความที่ทางบ้านของหนึ่งในคณะผู้จัดทานั้นมีถ่านไม้หลายชนิดอยู่เป็นจานวนมาก และถูกทิ้งไว้โดยที่ไม่ใช้
ประโยชน์ ทางคณะผู้จัดทาจึงคิดอยากจะทาการศึกษาและเปรียบเทียบถ่านว่าแต่ละถ่านมีข้อแตกต่างอย่างไร? ซึ่งตัวชี้วัด
ความแตกต่างอยู่ที่ประสิทธิภาพของการเผาไหม้ของถ่าน แล้วตัวชี้วัดของถ่านนั้นคือ ระยะที่เวลาที่จุดติด อุณหภูมิความ
ร้อน (kcal/kg) ความหนาแน่นของถ่านไม้ เถ้า กลิ่น และควันที่ออกระหว่างการเผาไหม้ของถ่าน ทางคณะผู้จัดทาจึง
ทาการศึกษาสมมุติฐานอยู่สองอย่างคือ 1. การศึกษาหาประสิทธิภาพของถ่านแต่ละชนิด และ 2. มวลของถ่านไม้ส่งผลต่อ
ประสิทธิภาพของถ่านไม้ การทดลองจะมีอยู่ 2 ขั้นตอน ซึ่งมีอุปกรณ์ในการทดลองอยู่ 4 อย่าง คือ
1). ถ่านไม้โกง ถ่านไม้ลิ้นจี่ ถ่านไม้มะขาม และถ่านไม้ยางพารา อย่างละ 200 grams
2). Digital Temperature -50 – 1000 celsius degree จานวน 1 เครื่อง
3). เครื่องชั่ง digital จานวน 1 เครื่อง
4). เตาถ่าน 1 เตา
โดยวิธีการทามีดังนี้ คือใช้ถ่านไม้มวลอย่างละ 200 กรัม ทาการนาไปจุดไฟ และบันทึกผลของระยะที่เวลาที่จุด
ติด อุณหภูมิความร้อน (kcal/kg) ความหนาแน่นของถ่านไม้ เถ้า กลิ่น และควันที่ออกระหว่างการเผาไหม้ของถ่าน
แล้วนามาสรุปผล และเผาถ่านไม้ให้ครบ 4 อย่าง
นามาเปรียบเทียบข้อแตกต่างของถ่านไม้แต่ละอย่างว่าถ่านแต่ละชนิดมีประสิทธิภาพการเผาไหม้อย่างไร มาก
น้อยแค่ไหน? และการทดลองขั้นตอนที่ 2 คือ นาถ่านไม้ชนิดเดียวกันมาเผา 2 ครั้ง ซึง่ แต่ละครัง้ จะมีมวลทีแ่ ตกต่างกัน
และบันทึกผลของระยะที่เวลาที่จุดติด อุณหภูมิความร้อน (kcal/kg) ความหนาแน่นของถ่านไม้ เถ้า กลิ่น และควันที่
ออกระหว่างการเผาไหม้ของถ่าน แล้วนามาสรุปผล และเผาถ่านไม้ให้ครบ 4 อย่าง แล้วนามาเปรียบเทียบข้อแตกต่าง
ของถ่านไม้แต่ละชนิด

กิตติกรรมประกาศ
โครงสร้างนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากอาจารย์พีระพงษ์ ยืนยงชัยวัฒน์ อาจารย์ที่ปรึกษาของโครงงาน
ที่ได้ให้ข้อเสนอแนะ และคาปรึกษาเกี่ยวกับการทาโครงงาน รวมไปถึงตัวชี้วัดประสิทธิภาพการเผาไหม้ของถ่านไม้ และ
แนวทางการดาเนินงานต่างๆ เครื่องที่ใช้ในการดาเนินงาน จนโครงงานนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ทางคณะผู้จัดทาจึงต้อง
ขอกราบขอบคุณเป็นอย่างสูง
ขอกราบขอบคุณผู้ปกครองของหนึ่งในคณะผู้จัดทาที่ให้ความอนุเคราะห์ในการสนับสนุนถ่านไม้มาทาโครงงาน
นี้เรื่องนี้
ขอขอบคุณเพื่อนๆ ในคณะผู้จัดทาที่ช่วยเหลือกัน จนงานสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ถึงแม้มีจะอุปสรรคในการ
ทางานมากมาย แต่ก็สามารถผ่านพ้นและงานก็ก้าวหน้าจนสาเร็จไปได้ด้วยดี
สุดท้ายนี้ขอขอบคุณทุกๆ คน ที่คอยให้ความร่วมมือในการท าโครงงานนี้จนทาให้งานออกมาเสร็จสมบูรณ์
ครบถ้วน

คณะผู้จัดทา
สารบัญ
เกี่ยวกับโครงงาน........................................................................................................................................................... ก
บทคัดย่อ....................................................................................................................................................................... ก
กิตติกรรมประกาศ ........................................................................................................................................................ ข
บทที่ 1 ......................................................................................................................................................................... 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน .............................................................................................................................. 1
วัตถุประสงค์ของการศึกษา ........................................................................................................................................... 1
สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า .................................................................................................................................... 1
ผลที่คาดว่าจะได้รับ ...................................................................................................................................................... 1
ขอบเขตของการศึกษา .................................................................................................................................................. 1
บทที่ 2 .................................................................................................................................................................. 2
ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้องวิธีการดาเนินงาน .................................................................................................... 2
ถ่านไม้ .......................................................................................................................................................................... 2
อุปกรณ์ที่ใช้ในการดาเนินงาน ....................................................................................................................................... 4
บทที่ 3 .................................................................................................................................................................. 5
แผนการปฏิบัติงาน ............................................................................................................................................... 5
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้และงบประมาณที่ใช้ทั้งหมด ................................................................................................................ 5
ขั้นตอนการดาเนินงาน .................................................................................................................................................. 5
บทที่ 4 .................................................................................................................................................................. 6
ผลการทดลอง ....................................................................................................................................................... 6
บทที่ 5 ................................................................................................................................................................ 10
สรุปผลการทดลอง .............................................................................................................................................. 10
สรุปผลการทดลอง ...................................................................................................................................................... 10
ผลที่คาดวาจะได้รับ .................................................................................................................................................... 10
ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................................... 10
เอกสารอ้างอิง ............................................................................................................................................................. 11
1

บทที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากเรามีการพบเห็นว่าถ่านที่คนนามาใช้ในรูปแบบประกอบอาหารนั้นมีหลายชนิด และด้วยความที่ทาง
บ้านของหนึ่งในคณะผู้จัดทานั้นมีถ่านไม้หลายชนิดอยู่เป็นจานวนมาก และถูกทิ้งไว้โดยที่ไม่ใช้ประโยชน์ ทางคณะ
ผู้จัดทาจึงคิดอยากจะทาการศึกษาและเปรียบเทียบถ่านว่าแต่ละถ่านมีข้อแตกต่างอย่างไร? ผู้จัดทาจึงอยากที่จะศึกษา
ประสิทธิภาพในการเผาไหม้ของถ่านและนาผลมาสรุป เปรียบเทียบให้เห็นประสิทธิภาพและข้อแตกต่างของถ่านไม้แต่
ละชนิด

วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพและความแตกต่างการเผาไหม้ของถ่านแต่ละชนิด
2. เพือ่ ศึกษามวลของถ่านที่ใช้ในการเผาไหม้ว่าส่งผลต่อประสิทธิภาพการเผาไหม้หรือไม่?

สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
1. ถ้าถ่านไม้มีชนิดที่แตกต่างกัน แล้วความแตกต่างและประสิทธิภาพจะแตกต่างตามหรือไม่?
2. ถ้ามวลของถ่านที่ใช้ในการเผาไหม้ มากกว่าจะส่งผลต่อประสิทธิภาพในการเผาไหม้หรือไม่?

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ทางคณะผู้จัดทาคาดว่าผลของการทาโครงงานนี้ จะได้ทราบถึงประสิทธิภาพการเผาไหม้ของ
ถ่านแต่ละชนิด และถ่านไม้ชนิดไหนเหมาะในการทาอะไร

ขอบเขตของการศึกษา
ถ่านไม้ที่ใช้ในการศึกษาหาประสิทธิภาพแต่ละชนิด คือ ถ่านไม้โกงกาง ถ่านไม้ลิ้นจี่ ถ่านไม้ยางพารา และถ่าน
ไม้มะขาม และการทดลองเป็นใช้จุดโดยใช้เตาถ่านจุด ซึ่งวิธีการจุดเป็นการนาน้ามันพืชผสมกับกระดาษและนาไปจุด
พร้อมกับถ่านที่วางในไว้เตา
งบประมาณที่ใช้ทั้งหมดไม่เกิน 500 บาท สิ่งของบางอย่างอาจจะไม่ได้มีประสิทธิภาพที่ดีที่สุด เพราะด้วยงบที่
จากัดได้เพียงเท่านี้ และโครงงานนี้ก็จัดทาที่บ้านของคณะผู้จัดทา ไม่ได้จัดทาในห้องแล็บแต่อย่างใด
เวลาในการทาการทดลองอยู่ที่ 7-8 ชม.
2

บทที่ 2
ทฤษฎีและเอกสารที่เกีย่ วข้ องวิธีการดาเนินงาน
ในการศึกษาโครงงานเรื่อง การศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการเผาไหม้ของถ่านไม้ธรรมดาแต่ละชนิด
ผู้จัดทาได้รวบรวมแนวคิดต่างๆจากเอกสารและจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
2.1). ประสิทธิภาพของถ่านไม้แต่ละชนิด
2.2). อุณหภูมิสูงสุดและต่าสุดการเผาไหม้ของถ่านไม้แต่ละชนิด
2.3). อุปกรณ์ที่ใช้ในการดาเนินงาน (เครื่องชั่งและเครื่องวัดอุณหภูมิ

ถ่ านไม้
ฟืน-ถ่าน
หมายถึง ไม้ที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง ไม้แห้งทุกชนิดและทุกขนาดอาจใช้เป็นเชื้อเพลิงหรือฟืนได้ทั้งสิ้น สาหรับขี้เลื่อยที่
มีขนาดเล็ก อาจอัดให้เป็นก้อนเสียก่อนเพื่อความสะดวกในการหยิบฉวย ฟืนมีข้อเสีย คือ เมื่อติดไฟแล้วมีควัน และให้
ความร้อนต่า การปรับปรุงเตาฟืนเพื่อให้การเผาไหม้ดีขึ้นจะช่วยให้การใช้ ฟืนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น อนึ่ง เพื่อความ
สมบูรณ์ของการเผาไหม้ อุตสาหกรรมที่ใช้เศษไม้เป็นเชื้อเพลิง ต้องทาให้เศษไม้เป็นผงแบบขี้เลื่อย หรือละเอียดว่านั้น
ก่อน แล้วจึงพ่นไปสู่เตาที่ออกแบบสร้างไว้อย่างเหมาะสม
ปัญหาเรื่องควันแก้ไขได้ โดยการทาฟืนให้กลายเป็นถ่านเสียก่อน การเผาถ่านมีกรรมวิธีคล้ายการกลั่นไม้ จะ
ต่างกันก็ตรงที่ต้องใช้ความร้อน ซึ่งเกิดจากการเผาไหม้ของไม้ในเตาเอง และไม่มีการเก็บส่วนที่ระเหยไปในอากาศ การ
เผาถ่านแต่ละเตาใช้เวลาแตกต่างกันแล้วแต่ขนาดของเตา ไม่ว่าจะมีไม้มากหรือน้อยเมื่อติดเตาขึ้นแล้ว ต้องคอยระวัง
ไม่ให้เตาแตก ทรุด หรือเกิดรูรั่ว และคอยควบคุมช่องอากาศเข้าเตาให้พอดี กล่าวคือ ถ้าช่องอากาศเล็ก ไม้ก็ไหม้ช้า ถ้า
ช่องอากาศใหญ่ ไม้ก็จะไหม้เป็นเถ้าไปเสียมาก รออยู่จนกระทั่งเห็นว่า ไม้ไหม้หมดเตาไม่มีควันออกมาอีกต่อไป จึงปิด
ช่องอากาศเสียให้สนิท เมื่อไฟดับทั่วเตาแล้ว จึงเปิดเตาเอาถ่านออกมาใช้ได้ตามปกติถ่านที่ได้จะมีประมาณร้อยละ ๕๐
ของไม้ที่เผาโดยปริมาตร
การเผาถ่านด้วยกรรมวิธีที่ต่างกัน โดยการทาให้ความร้อนในเตาสูงต่าต่างกัน จะทาให้ถ่านมีคุณภาพต่างกัน
การใช้ไม้เป็นพลังงานในปัจจุบัน มีความก้าวหน้ายิ่งขึ้น เนื่องจากภาวะที่พลังงานอย่างอื่น มีราคาสูงขึ้น กล่าวคือ
สามารถผลิตก๊าซจากฟืนได้โดยตรง และนาไปใช้เดินเครื่องยนต์ได้เป็นผลสาเร็จ
ไม้ชนิดใดจะให้ฟืนและถ่านมีคุณภาพดีเพียงใดนั้น นอกจากขึ้นอยู่กับความชื้นแล้ว ยังขึ้นอยู่กับน้าหนักและ
ปริมาณขี้เถ้าด้วย เชื้อเพลิงที่มีน้าหนักมาก ย่อมให้พลังงานต่อหน่วยปริมาตรสูง การทาขี้เลื่อยอัดหรือถ่านอัด เป็นการ
ปรับปรุงคุณภาพของเชื้อเพลิงในส่วนนี้อีกทางหนึ่ง ตรงกันข้ามกับขี้เถ้ายิ่งมีมากยิ่งลดพลังงานลงและเป็นภาระในการ
ขจัด กล่าวได้ว่า สารอนินทรีย์ที่มีอยู่ในดินทุกชนิดหรือทุกธาตุ ล้วนแต่มีอยู่ในขี้เถ้าหรือในไม้ทั้งสิ้น เพราะละลายอยู่กับ
น้าที่ต้นไม้ดูดขึ้นไปหล่อเลี้ยงลาต้น เมื่อน้าระเหยไป สารเหล่านั้นจึงสะสมอยู่ในต้นไม้นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ไม้ต่างชนิด
กันย่อมมีความสามารถในการดูดซึมแร่ธาตุต่างๆ แตกต่างกันไป
3

ถ่านมีพัฒนาการมาจากไม้ หรือพูดอีกอย่างว่าถ่าน คือ ไม้ที่ได้จากการเผาไหม้ภายในสภาพแวดล้อมที่มีอากาศ


อยู่เบาบาง ขณะนั้น คือ ระหว่างที่ไม้ถูกสลายตัวด้วยความร้อน ภายในเนื้อไม้เกิดกระบวนการกาจัดน้า น้ามันดินและ
สารประกอบอื่นๆ ออกไป คงเหลือถ่านที่มีคาร์บอนสูงกว่า ๘๐% และไม่มีความชื้นหลงเหลืออยู่ เป็นผลให้ถ่าน
สามารถให้พลังงานได้สูงกว่าไม้แห้งถึงสองเท่า
วิทยาการสมัยใหม่บอกเราว่า สิ่งที่เราเห็นด้วยตา คือ ถ่าน เป็นผลผลิตที่ได้จากการเผาไม้เพียง ๒๕%
ส่วนที่เป็นของเหลวที่กลั่นตัวได้ (Distilled Liquids) ประมาณ ๕๐% และเห็นก๊าซที่กลั่นตัวไม่ได้ (Undistilled Gas)
อีกประมาณ ๒๕%
ถ่านทีดีต้องให้ค่าความร้อนสูง
แต่วิธีการที่ชาวบ้านจะตรวจดูว่าถ่านชนิดไหนเป็นถานที่ดีคุณภาพดี ดูได้จากเคาะแล้วมีเสียงดังกังวาน
หรือเมื่อหักดูแล้ว รอยหักมีความมันวาว และเมื่อติดไฟแล้วไม่แตกประทุ กระทั่งไม่มีควันหรือมีก็แต่น้อย
แม้ถ่านจะมีคุณสมบัติดีๆ หลายประการ แต่ถ่านก็ถูกเมิน ไม่ได้รับการเหลียวแล เมื่อคนเราสามารถ
คิดค้นพลังงานตัวอื่นที่สามารถใช้อย่างสะดวกสบายกว่าเข้ามาแทน ไม่ว่าจะเป็นน้ามันหรือก๊าซ แต่ในยุคที่เศรษฐกิจ
ชะลอตัวอย่างทุกวันนี้ เราอาจต้องลดความสะดวกสบายที่เคยได้รับลงบ้าง แล้วหันไปใช้พลังงานพื้นฐานอย่างถ่าน
นับว่าสอดคล้องต่อสภาพเศรษฐกิจไม่น้อยเลย
นอกจากประโยชน์ทางด้านพลังงานแล้ว คุณค่าของถ่านยังขยายไปสู่การเกษตร ช่วยปรับปรุงบารุงดิน
ช่วยดูดซับสารเคมี และเพิ่มปริมาณแบคทีเรียในดิน ถ่านที่มีคุณภาพสูงยังไปใช้ประโยชน์ทางด้านอื่นๆ เช่น ดูด กลิ่น
กรองน้า ใช้ในกระบวนการอาหาร ยา และเคมีภัณฑ์อีกด้วย
เมื่อถ่านมีบทบาทสาคัญมากยิ่งขึ้ นเช่นนี้ จึงมีการพัฒนาวิธีการสร้างเตาเผาขึ้น ที่เรียกว่าเตาเผาถ่าน
๒๐๐ ลิตร เพราะแต่เดิมเราได้ถ่านด้วยการเผาแบบเตาหลุมหรือเตาอบ เตาแกลบ และเตาผี การเผาถ่านด้วยวิธีนี้
ความร้อนจะถูกเนื้อไม้โดยตรง ไม้ถูกเผาจนเป็นขี้เถ้ามาก และส่วนที่เหลือเป็นถ่านก็เป็นถ่านที่มีคุณภาพต่า อีกทั้งการ
เผาชนิดนี้จะต้องใช้ไม้ขนาดใหญ่
เตาเผาถ่าน ๒๐๐ ลิตร ใช้ถังน้ามัน ๒๐๐ ลิตรเป็นตัวเตา โครงสร้างเตาเป็นเตาปิดที่สามารถควบคุม
อากาศได้ อาศัยความร้อนไล่ความชื่นในเนื้อไม้ ท าให้ไม้กลายเป็นถ่านได้ด้วยกระบวนการ “คาร์บอนไนเซชั่น ”
(Carbonization) ไฟจะไม่ล ุกติดที่เนื้อไม้ ผลผลิตที่ได้จึงเป็นถ่านที่มีคุณภาพ เตาเผาถ่านชนิดนี้จึงเป็นเตาที่มี
ประสิทธิภาพสูง
ประการสาคัญคือ เป็นเตาที่เหมาะกับการผลิตถ่านเพื่อใช้ในครัวเรือน เพราะไม้ที่ใช้เป็นกิ่งไม้ขนาด
เล็ก ที่ได้จาการลิดและทอนกิ่งไม้ในสวนผลไม้ หรือตามหัวไร่ปลายนาของเราเอง
4

อุปกรณ์ ที่ใช้ ในการดาเนินงาน


เครื่องชั่งดิจิตอลแบบ Scale เหมาะสาหรับใช้งานทั่วไป ส่วนใหญ่จะมีความละเอียด หรือ จุดทศนิยมตั้งแต่
0.01g ถึง 0.001g มีความแม่นยาในการวัดสูง สามารถรับหนักน้าได้มาก เช่น max capacity: 3KG, 6 KG ซึ้งเป็นไป
ตามสเปคของแต่ล่ะเครื่อง ตัวเครื่องมีขนาดกะทัดรัด อาจมีฟังก์ชั่นเสริม Counting mode, Percent mode,
Accumulation (M+)
เครื่องชั่งดิจิตอลแบบ Balance เหมาะสาหรับใช้งานทั่วไป รวมไปถึงชั่งมวลสาร, งานวิจัย, ห้องแลป, ชั่งตวง
ยา ลักษณะตัวเครื่องภายนอกมักมี windshield หรือ Breeze break ไว้ป้องกันลม ฝุ่น เพราะเครื่องชั่งน้าหนักแบบ
Balance มีความละเอียด หรือ จุดทศนิยมตั้งแต่ 0.0001g ถึง 0.01mg ซึ้งมีความละเอียดสูง เพียงแค่ลมหายใจจาก
ผู้ใช้งานก็สามารถส่งผลต่อการวัด นอกจากนั้นเครื่องชั่งประเภทนี้มักมี max capacity น้อย แต่ในบางรุ่นก็สามารถ
พัฒนาให้สามารถชั่งตวงน้าหนักได้มากขึ้นแต่ยังคงความละเอียดได้เช่นเดิม

Thermometer เครื่องวัดอุณหภูมิเทอร์มอมิเตอร์ แบบสัมผัส แบบโพรบ แบบมือถือ แบบปากกา สาหรับวัด


ในน้า เนื้อสัตว์ และอาหาร เป็นเครื่องมือที่สามารถวัดอุณหภูมิของของแข็งเช่นอาหารของเหลวเช่นน้าหรือก๊าซเช่น
อากาศ หน่วยการวัดที่ใช้กันทั่วไปสามหน่วยคือเซลเซียสฟาเรนไฮต์และเคลวิน หน่วยอุณหภูมิเป็นองศาเซลเซียสเป็น
ส่วนหนึ่งของระบบเมตริก
สินค้าดิจิตอลเทอร์โมมิเตอร์หลายชนิดให้เลือกได้แก่ แบบมือถือ อินฟราเรด แบบเทอร์โมคัปเปิ้ล และ Data
Logger สาหรับวัดและบันทึกอุณหภูมิ เหมาะสาหรับตรวจความร้อนในน้า เนื้อสัตว์ อาหาร และอุตสาหกรรม สินค้า
คุณภาพสูง
5

บทที่ 3
แผนการปฏิบัติงาน

วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้และงบประมาณที่ใช้ท้ งั หมด
1. เครื่องวัดอุณหภูมิ K-Type -50 - 1000 องศาเซลเซียส ราคา 150 บาท + ค่าส่ง 50 บาท = 200 บาท
2. กระดาษกรองควัน 100 ชิ้น ราคา 84 บาท
3. เครื่องชั่ง Digital จานวน 1 เครื่อง ราคา 140 บาท
4. ถ่านไม้โกงกาง, ถ่านไม้ลิ้นจี่, ถ่านไม้ยางพารา และถ่านไม้มะขาม อย่างละ 400 กรัม
5. เตาถ่าน 1 เตา

ขั้นตอนการดาเนิ นงาน
ตอนที่ 1 การทดลองศึกษาถ่านไม้ชนิดที่แตกต่าง จะมีความแตกต่างและส่งผลต่อประสิทธิภาพการเผาไหม้ที่
แตกต่างกัน
1. ถ่านไม้มวลอย่างละ 200 กรัม ทาการนาไปจุดไฟบนเตาถ่าน
2. สังเกตถึงปฏิกริ ิยาที่เกิดขึ้นระหว่างจุดถ่านไฟ โดยมีตัวชี้วัดดังนี้ ระยะที่เวลาที่จุดติด อุณหภูมิความร้อน
(kcal/kg) ความหนาแน่นของถ่านไม้ (kg/m3) เถ้า กลิ่น และควันที่ออกระหว่างการเผาไหม้ของถ่าน
3. ใช้เครื่องเทอร์โมมิเตอร์วัดความร้อนขณะที่ไฟเริ่มติดทุกๆ และในขณะที่ไฟเริ่มแรงขึ้น
4. ใช้กระดาษกรองควัน นามากรองขณะที่ถ่านกาลังเผาไหม้
5. สังเกตถึงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น แล้วจึงสรุปผล
6. ทาแบบนี้กับถ่านไม้ทั้ง 4 ชนิด

ตอนที่ 2 การทดลองศึกษาถ่านไม้ชนิดที่แตกต่าง จะมีความแตกต่างและส่งผลต่อประสิทธิภาพการเผาไหม้ที่


แตกต่างกัน
1. ถ่านไม้ชนิดเดียวกัน ทดลองครั้งแรกให้ใช้มวล 300 กรัม ทดลองครั้งที่สองให้ใช้มวล 600 กรัม
2. ทาการนาไปจุดไฟบนเตาถ่าน
3. สังเกตถึงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างจุดถ่านไฟ โดยมีตัวชี้วัดดังนี้ ระยะที่เวลาที่จุดติด อุณหภูมิความร้อน
(kcal/kg) ความหนาแน่นของถ่านไม้ (kg/m3) เถ้า กลิ่น และควันที่ออกระหว่างการเผาไหม้ของถ่าน
4. ใช้เครื่องเทอร์โมมิเตอร์วัดความร้อนขณะที่ไฟเริ่มติดทุกๆ และในขณะที่ไฟเริ่มแรงขึ้น
5. ใช้กระดาษกรองควัน นามากรองขณะที่ถ่านกาลังเผาไหม้
6. สังเกตถึงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น แล้วจึงสรุปผล
6

บทที่ 4
ผลการทดลอง
การทดลองผลเพื่อให้เป็นไปตามหัวข้อรายงานการทดลองเรื่อง การศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการเผา
ไหม้ของถ่านไม้โกงกาง ลิ้นจี่ มะขามและถ่านยางพารา มีวัตถุประสงค์คือเพื่อศึกษาประสิทธิภาพการเผาไหม้ของถ่า น
เพื่อศึกษาข้อแตกต่างของถ่านไม้ลิ้นจี่ โกงกาง มะขาม และถ่านไม้ยางพารา การทดลองมี 2 ขั้นตอน ทดลองเหมือนกัน
แตกต่างแค่ถ่านไม้ที่ใช้ ทดลองขั้นตอนแรกเป็นการศึกษาชนิดไม้ของไม้ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของการเผาไหม้ แต่การ
ทดลองขั้นตอนที่ 2 เป็นการศึกษาว่ามวลของถ่านที่ ใช้เผาส่งต่อประสิทธิภาพการเผาไหม้หรือไม่ ? วิธีการทดลองมีดงั นี้
ใช้ถ่านไม้ทาการนาไปจุดไฟบนเตาถ่าน และสังเกตถึงปฎิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างจุดถ่านไฟ โดยมีตัวชี้วัดดังนี้ ระยะที่
เวลาที่จุดติด อุณหภูมิความร้อน (kcal/kg) ความหนาแน่นของถ่านไม้ เถ้า กลิ่น และควันที่ออกระหว่างการเผาไหม้ของ
ถ่าน และนามาสรุปผล ซึ่งได้ผลการทดลองออกดังนี้
ตอนที่ 1 เพื่อศึกษาประสิทธิภาพและความแตกต่างของการเผาไหม้ของถ่านแต่ละชนิด
ชนิดของถ่าน ระยะเวลาที่ อุณหภูมิเฉลี่ย ระยะเวลา เถ้า กลิ่นเผา ควันจาก ความ
จุดติด (kcal/kg) การเผา ไหม้ กระดาษ หนาแน่น
กรอง ของถ่าน
(kg/m3)
ถ่านไม้มะขาม 8-9 นาที 1200-2000 1 ชม. 24 น้อยมาก ไม่มีกลิ่น ไม่มีสีขุ่น 195-210
ถ่านไม้ลิ้นจี่ 3-4 นาที 1450-2040 50-60 นาที น้อย ไม่มีกลิ่น สีขุ่น 187-194
ถ่านไม้โกงกาง 2-3 นาที 1360-2240 40-50 นาที มาก กลิ่นฉุน ขุ่นมาก 180-190
ถ่านไม้ 10-15 นาที 1140-2060 1 ชม. 15 มาก กลิ่นฉุน ขุ่นมาก 191-205
ยางพารา
(อัดแท่ง)

จากการทดลองถ่านไม้ทั้ง 4 ชนิด พบว่า คุณสมบัติทางกายภาพและประสิทธิภาพการเผาไหม้ ของถ่านไม้มี


ความแตกต่างกัน ซึ่งมีเหตุผลสอดคล้องกับมวลที่ใช้ในการทดลอง หากมวลมากจะส่งผลให้ถ่าน เผาไหม้ได้นาน
มากกว่าเดิม ชนิดและลักษณะของไม้ที่ใช้ทาถ่านส่งผลกับความหนาแน่น ยิ่งหนาแน่นมาก จะติดไฟยาก อุณหภูมิการ
เผาไหม้ก็จะน้อยตามความหนาแน่น แต่จะสามารถเผาไหม้ได้นาน เถ้า ควัน จะน้อยมากกว่าถ่านที่มีความหนาแน่นสูง
จะส่งผลกับให้ถ่านมีสมบัติที่แตกต่างกันไป อธิบายผลการทดลองถ่านแต่ละชนิดได้ดังนี้
7

1). ถ่านไม้มะขามมีการใช้ระยะเวลาการจุดติดที่ 8-9 นาที ซึ่งค่อนข้างนานกว่าไม้ลิ้นจี่และไม้โกงกาง เพราะว่า


มีความหนาแน่นของถ่านสูง ยิ่งความหนาแน่นสูง อุณหภูมิการเผาก็จะน้อยตามจานวน ถ่านไม้มะขามมีอุณหภูมิเฉลี่ย
สูงสุดอยู่ที่ 1200-2000 kcal/kg ในระยะเวลา 12-15 นาที และอุณหภูมิค่อยๆ ลงมาคงที่ที่ประมาณ 1500-1800
kcal/kg แต่มีร ะยะเวลาเผาที่น านกว่าถ่านที่ทดลองทั้งหมด ควันจากกระดาษกรองและเถ้าน้อยมาก เพราะมี
ประสิทธิภาพการเผาไหม้ไม่มากเท่ากับไม้ชนิดอื่นๆ ระยะเวลาเผาไหม้ทั้งหมดอยู่ที่ประมาณ 1 ชม. 20 นาที/ ถ่านมวล
200 กรัม กลิ่นระหว่างเผาถ่าน เรียกว่าไม่มีกลิ่นอะไรเลย แปลว่าถ่านไม่ได้ถูกเผาไหม้ด้วยอุณหภูมิสูง

ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าถ่านไม้มะขามมีประสิทธิภาพการเผาไหม้ได้น้อยที่สุดจากถ่านทั้งหมด 4 ชนิด แต่มีข้อดีคือ


การนาถ่านไม้มะขามมาใช้ในการก่อไฟนานๆ ได้ นิยมนามาย่างอาหาร หรือทาฝืนไฟ เพราะให้ความร้อนสม่าเสมอ
และมีระยะเวลาการเผาไหม้ที่นานกว่าถ่านตัวอื่นๆ
2). ถ่านไม้ลิ้นจี่ มีระยะเวลาที่จุดติดที่ 3-4 นาที ซึ่งนับว่าค่อนข้างเร็ว เพราะมีความหนาแน่นน้อยรองเพียงแค่
ถ่านไม้โกงกาง ซึ่งจะให้อุณหภูมิ ที่สูงถึง 1360-2240 kcal/kg ในระยะเวลา 6-8 นาที หลังที่จุดติด และให้อุณหภูมิ
คงที่จนดับ และมีระยะเวลาการเผา 50-60 นาที/ ถ่านมวล 200 กรัม ซึ่งตัวชี้วัดเหล่านี้สอดคล้องกับบทนิยามที่ว่าถ้า
ความหนาแน่นน้อย
ระยะเวลาที่จุดติด ระยะเวลาการเผา เถ้า ควัน ก็จะน้อยตาม

ซึ่งควันที่วัดจากเครื่องกรองควันดาได้ผลดังนี้

ซึ่งมีความขุ่นของควันมากกว่าถ่านไม้มะขาม แปลว่ามีควันระดับปานกลางไม่มาก การเผาไหม้อยู่ในระดับที่ปานกลาง


กลิ่นของถ่านไม้ลิ้นจี่ไม่มีกลิ่นเหมือนกับไม้มะขาม
8

ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าถ่านไม้ลิ้นจี่เป็นถ่านที่มีประสิทธิภาพในการเผาไหม้ได้ดีในระดับหนึ่ง มีระยะเวลาที่จุดติดเร็ว
ให้อุณหภูมิความสูงที่ค่อนข้างสู ง แต่มีระยะเวลาการจุดไฟติด 50-60 นาที/ ถ่านไม้มวล 200 กรัม แปลว่ามีความ
ทนทานในระดับหนึ่ง มีเถ้าและควันน้อย เพราะไม่ได้มีการเผาไหม้ที่มากเกินไป อยู่ในระดับพอดี เหมาะแก่การนามา
ปิ้งย่างอาหาร ทาอาหาร เพราะให้ไฟอุณหภูมิที่สูงเป็นเวลานาน และให้ความทนทานในระดับหนึ่ง
3). ถ่านไม้โกงกาง มีระยะเวลาจุดติดที่ 2-3 นาที ซึ่งนับว่าเป็นระยะเวลาจุดติดที่ไวที่สุดจากถ่านที่ทดลอง
ทั้งหมด ซึ่ง่ตรงกับบทนิยามที่ว่ายิ่งถ่านมีความหนาแน่นสูง ถ่านจะติดไฟได้ยากตามความหนาแน่น ถ่านไม้โกงกางมี
ความหนาแน่นอยู่ที่ 180 kg/m3 น้อยที่สุด จึงติดไฟได้ง่ายที่สุด และมีอุณหภูมิสูงเฉลี่ยสูงถึง 1360-2240 kcal/kg และ
อุณหภูมิคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงจนเผาไหม้เสร็จสิ้น ระยะเวลาที่ใช้ทั้งหมดจนถ่านมอดคือ 40-50 นาที/ ถ่านไม้มวล 200
กรัม ซึ่งนับว่าน้อยกว่าถ่านไม้ทุกตัวที่ทดลอง มีเถ้ามาก ควันสีขุ่นมาก จากกระดาษกรอง และกลิ่นค่อนข้างฉุน

ดังนั้นสรุปได้ว่าถ่านไม้โกงกางมีประสิทธิภาพในการเผาไหม้ที่สูงมาก สังเกตจากระยะเวลาที่จุดติดใช้เวลาเพียง
2-3 นาที อุณหภูมิความร้อนอยู่ที่ 1360-2240 kcal/kg ซึ่งนับว่าสูงที่สุดเนื่องจากมีความหนาแน่นของถ่านไม้น้อยที่สุด
ให้อุณหภูมิสม่าเสมอ แต่มีระยะเวลาที่ไม่ทนทาน ไม่นิยมนามาก่อเป็นฝืนไฟ แต่นิยมเอามาปิ้งย่างหมูกระทะ ที่ต้องใช้
ความร้อนอยู่ตลอด หรืองานอุตสาหกรรมถ่านไม้ที่ต้องใช้ความร้อนสูง
4). ถ่านไม้ยางพาราอัดแท่ง โดยรวมยางพารามีความหนาแน่นสูงอยู่แล้ว จึงทาให้ถ่านไม้ชนิดนี้มีไฟที่ติด
ค่อนข้างยากมาก ความหนาแน่นเฉลี่ยๆ ของถ่านไม้ยางพาราทั่วไป อยู่ที่ 180-200 kg/m3 แต่หากถูกอัดแท่งความ
หนาแน่นจะมากขึ้นถึง 191-205 kg/m3 เพราะถูกบีบอัดด้วยเครื่อง และทาให้อุณหภูมิของถ่านไม้ยางพาราอัดแท่งนั้น
สูงขึ้นตาม เพราะถ่านอัดแท่งจะมีรูตรงกลาง ซึ่งทาให้ความร้อนเผาไหม้โดนทุกจุดของถ่าน จะให้ความร้อนอย่าง
สม่าเสมอ และอุณหภูมิจะสูงกว่าถ่านยางพาราทั่วๆ ไป ผลการทดลองได้ว่าถ่านไม้ยางพาราอัดแท่งใช้เวลาในการจุดติด
ไฟประมาณ 10-15 นาที ซึ่งมีระยะเวลาการจุดไฟติดที่นานกว่าถ่านทุกตัวที่ทดลอง แต่เมื่อจุดติดแล้วให้อุณหภูมิความ
ร้อนที่สูงถึง 1140-2060 ให้ความร้อนสม่าเสมอ และมีระยะเวลาที่การเผาไหม้ถึง 1 ชม. 15+ แต่เถ้า กลิ่น ควันมาก
ที่สุด จากกระดาษกรองควันมีสีที่ขุ่นมาก และเถ้าก็มากที่สุดจากถ่านทุกตัวที่นามาทดลอง
9

สรุปได้ว่าถ่านไม้ยางพาราอัดแท่งมีความหนาแน่นมาก แต่ด้วยความที่ถ่านถูกอัดแท่งจึงส่งผลให้ประสิทธิภาพ
การเผาไหม้ของถ่านนั้นดีขึ้นกว่า มีอุณหภูมิที่สูงขึ้นกว่าถ่านไม้ปกติ และทนทานกว่าถ่านไม้ปกติเป็นทุนอยู่แล้ว มี
ข้อเสียเพียงถ่านนั้นมีกลิ่นที่รุนแรง จึงนิยมนามาใช้เป็นถ่านอเนกประสงค์ ก่อไฟบ้าง หรืออาจจะใช้ในการปิ้งย่าง
ทาอาหาร
ผลจากการทดลองนี้ นิยามว่า ความหนาแน่นของถ่านน้อย = จุดไฟติดง่าย, มีอุณหภูมิสูง เถ้า กลิ่น ควันมาก
และมีระยะเวลาทนทานที่น้อยตาม เป็นจริง ซึ่งสามารถทาให้พิสูจน์ได้แน่ชัดว่า ถ่านที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดคือ ถ่าน
ไม้โกงกาง รองลงมาคือ ถ่านไม้ ยางพาราอัดแท่ง ถ่านไม้ลิ้นจี่ และถ่านไม้มะขาม ตามลาดับ ส่วนใหญ่ถ่านที่มีความ
หนาแน่นสูงมักจะมีประสิทธิภาพของการเผาไหม้ไม่ดี อุณหภูมิไม่สูงมาก แต่คงที่ คงทาน หากจุดติดจะมีระยะเวลาใน
การเผาไหม้ที่ยาวนาน ส่วนถ่านที่มีความหนาแน่นต่าจะจุดติดไฟง่าย และอุณหภูมิสูงกว่าถ่านที่มีความหนาแน่นสูง แต่
จะมีปัญหาในระยะเวลาของการเผาไหม้แทน ถ่านแต่ละชนิดมีคุณสมบัติและประสิทธิภาพแตกต่างกัน ราคา ความหา
ยากก็ย่อมมีแตกต่างกัน จึงเกิดการเลือกใช้ถ่านในงานต่างๆ หากพูดให้เหมาะสมถ่านที่ความหนาแน่นสูง ควรใช้ในการ
ก่อฝืน ก่อไฟ หรือจุดไฟที่มีระยะเวลานานๆ เช่นการตั้งแคมป์ตอนกลางคืน สร้างความอบอุ่นให้ร่างกาย เนื่องจากอยู่
ได้นาน อุณหภูมิคงที่ไม่สูงเกินไป ส่วนถ่านที่มีความหนาแน่นต่ามักใช้ในงานที่ก่อไฟความร้อนสูง การปิ้งย่าง แทน

ตอนที่ 2 เพื่อศึกษาศึกษามวลของถ่านที่ใช้ในการเผาไหม้ว่าส่งผลต่อประสิทธิภาพการเผาไหม้

มวลของถ่าน ระยะเวลาที่ อุณหภูมิเฉลี่ย ระยะเวลา เถ้า กลิ่นเผา ควัน ความ


(ถ่านโกงกาง) จุดติด (kcal/kg) การเผา ไหม้ หนาแน่น
ของถ่าน
(kg/m3)
300 g. 2-3 นาที 1360-2240 1 ชม. ปกติ กลิ่นปกติ ควันปกติ 180-190
600 g. 2-3 นาที 1360-2240 1 ชม. + มากขึ้น กลิ่นปกติ ควันมาก 180-190
ขึ้น

จากการทดลองพบว่าถ่านที่มีมวลมากจะมีระยะเวลาการเผาที่นานมากยิ่งขึ้น และมีเถ้ามากขึ้นจากเดิม ซึ่ง


สรุปผลได้ว่าการที่ใช้ถ่านที่มีมวลมากกว่าส่งผลต่อประสิทธิภาพในการเผาไหม้ ช่วยเพิ่มระยะเวลาการเผาไหม้ให้นาน
กว่าเดิ
10

บทที่ 5
สรุปผลการทดลอง
การจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง การศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการเผาไหม้ของถ่านไม้โกงกาง
ลิ้นจี่ มะขามและถ่านยางพารา ซึ่งสามารถสรุปผลการทดลอง 2 ขั้นตอนและข้อเสนอแนะได้ดังนี้

สรุ ปผลการทดลอง
การทดลองที่ 1
การทดลองนี้ พบว่า ความหนาแน่นของถ่านน้อย = จุดไฟติดง่าย, มีอุณหภูมิสูง เถ้า กลิ่น ควันมาก และมี
ระยะเวลาทนทานที่น้อยตาม เป็นจริง ซึ่งสามารถทาให้พิสูจน์ได้แน่ชัดว่า ถ่านที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดคือ ถ่านไม้
โกงกาง รองลงมาคือ ถ่านไม้ยางพาราอัดแท่ง ถ่านไม้ลิ้นจี่ และถ่านไม้มะขาม ตามล าดับ ส่วนใหญ่ถ่านที่มีความ
หนาแน่นสูงมักจะมีประสิทธิภาพของการเผาไหม้ไม่ดี อุณหภูมิไม่สูงมาก แต่คงที่ คงทาน หากจุดติดจะมีระยะเวลาใน
การเผาไหม้ที่ยาวนาน ส่วนถ่านที่มีความหนาแน่นต่าจะจุดติดไฟง่าย และอุณหภูมิสูงกว่าถ่านที่มีความหนาแน่นสูง แต่
จะมีปัญหาในระยะเวลาของการเผาไหม้แทน ถ่านแต่ละชนิดมีคุณสมบัติและประสิทธิภาพแตกต่างกัน ราคา ความหา
ยากก็ย่อมมีแตกต่างกัน จึงเกิดการเลือกใช้ถ่านในงานต่างๆ หากพูดให้เหมาะสมถ่านที่ความหนาแน่นสูง ควรใช้ในการ
ก่อฝืน ก่อไฟ หรือจุดไฟที่มีระยะเวลานานๆ เช่นการตั้งแคมป์ตอนกลางคืน สร้างความอบอุ่นให้ร่างกาย เนื่องจากอยู่ได้
นาน อุณหภูมิคงที่ไม่สูงเกินไป ส่วนถ่านที่มีความหนาแน่นต่ามักใช้ในงานที่ก่อไฟความร้อนสูง การปิ้งย่าง แทน

การทดลองที่ 2
จากการทดลองพบว่าถ่านที่มีมวลมากจะมีระยะเวลาการเผาที่นานมากยิ่งขึ้น และมีเถ้ามากขึ้นจากเดิม ซึ่ง
สรุปผลได้ว่าการที่ใช้ถ่านที่มีมวลมากกว่าส่งผลต่อประสิทธิภาพในการเผาไหม้ ช่วยเพิ่มระยะเวลาการเผาไหม้ให้นาน
กว่าเดิม

ผลที่คาดวาจะได้รับ
1. ได้ทราบถึงประสิทธิภาพของถ่านไม้โกงกาง ลิ้นจี่ มะขาม และยางพาราอัดแท่ง
2. เพื่อให้คนที่อ่านได้เข้าใจและทราบเบื้องต้นเกี่ยวกับถ่านที่นามาทดลอง

ข้อเสนอแนะ
1. ควรมีเครื่องมือการทดลองให้มากยิ่งขึ้น
2. เพิ่มงบประมาณการใช้จ่ายให้มากกว่าเดิม เพื่ออุปกรณ์ที่คงทน
11

เอกสารอ้างอิง
Ukrfuel (2557). Physical properties of charcoal.
สืบค้นเมื่อ 12 พฤศจิกายน 2564, จาก
http://ukrfuel.com/news-physical-properties-of-charcoal-22.html

ฟิสิกส์ราชมงคล (2559). ถ่านไม้.


สืบค้นเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2564 จาก,
http://www.rmutphysics.com/teachingglossary/index.php?option=com
12

ภาคผนวก
13
14
15

You might also like