You are on page 1of 61

รายงานการทดสอบหาค่าสัมประสิ ทธิ์ การซึมผ่านได้

และการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า

เสนอ
รศ.ดร.ธนันท์ ชุบอุปการ

นาเสนอโดย

1.นายณัฐวัฒน์ ศิ ริแสง 6310110159


2.นายดุรงค์ เกื้อเส้ง 6310110168
3.นายธีรธร มูงนั 6310110215
4.นายปกรณ์ ทองเหลือง 6310110260
5.นายพชรพล รังสฤษฏ์วีระโชติ 6310110298
6.นายพลกฤต รอดแก้ว 6310110310
กลุ่มที่ 2 ตอน 02

รายงานฉบับนี้ เป็ นส่วนหนึ่ งของการศึกษารายวิ ชา 221-322


คุณสมบัติของดิ นและการทดสอบ ( soil properties and testing )
ภาควิ ชาวิ ศวกรรมโยธา คณะวิ ศวกรรมศาสตร์
มหาวิ ทยาลัยสงขลานคริ นทร์
วันที่ 31 สิ งหาคม พ.ศ.2565
Project report for property on coefficient of permeability
And Consolidation Test

Present
Asst.Prof.Dr. Tanan Chub-uppakarn

Submitted by
1. Mr.Natthawat Sirisang Student ID 6310110159
2. Mr.Durong Kueaseng Student ID 6310110168
3. Mr.Teerathon Moongan Student ID 6310110215
4. Mr.Pakorn Tonglueang Student ID 6310110260
5. Mr.Pachalapon Rangsaritwirachot Student ID 6310110298
6. Mr.Phonlakrit Rotkaeo Student ID 6310110310
Group 2 Section 02

This report is part of the course study 221-322


Soil properties and testing
Department of Civil Engineering Faculty of Engineering
Prince of Songkhla University
Date. 31 August 2022
รับรองรายงาน

ข้าพเจ้าคณะผู้จดั ทารายงาน ขอรับรองว่ารายงานฉบับนี้เ ป็ นรายงานที่มีค วามเป็ น


เอกลักษณ์โดยข้อมูลทีข่ า้ พเจ้าได้นามาสรุปในผลการทดลองนัน้ เป็ นข้อมูลทีไ่ ด้จากการทดลอง
ของคณะผูจ้ ดั ทารายงานฉบับนี้ และถ้ามีการคัดลอกข้อความใดข้อความหนึ่งมา ข้าพเจ้าได้ทา
การอ้างอิงถึงต้นฉบับไว้อย่างเหมาะสม

ผูจ้ ดั ทา
นายณัฐวัฒน์ ศิรแิ สง
นายดุรงค์ เกือ้ เส้ง
นายธีรธร มูงนั
นายปกรณ์ ทองเหลือง
นายพชรพล รังสฤษฏ์วรี ะโชติ
นายพลกฤต รอดแก้ว

คำนำ

รายงานการทดสอบนี้เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา 221-322 คุณสมบัตขิ องดินและการ


ทดสอบ (Soil Properties and Testing) จัดทาขึน้ เพื่อแสดงให้เห็นถึงวัตถุประสงค์และวิธกี าร
ทดสอบคุณสมบัตขิ องดินในทางวิศวกรรมเบือ้ งต้น ซึง่ ประกอบด้วยการทดสอบหาค่า
สัมประสิทธิการซึ
์ มผ่านได้และการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้าซึง่ ทางคณะผูจ้ ดั ทา
ได้รวบรวมวิธกี ารทดลอง หลักการและทฤษฎีรวมถึงตัวอย่างการทดลองและการคานวณผลการ
ทดลองไว้อย่างละเอียด
คณะผูจ้ ดั ทาหวังว่า รายงานการทดสอบเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์ต่อผูท้ ส่ี นใจ หากรายงาน
การทดสอบนี้มขี อ้ ผิดพลาดประการใด คณะผูจ้ ดั ทาต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ดว้ ย

ผูจ้ ดั ทา
นายณัฐวัฒน์ ศิรแิ สง
นายดุรงค์ เกือ้ เส้ง
นายธีรธร มูงนั
นายปกรณ์ ทองเหลือง
นายพชรพล รังสฤษฏ์วรี ะโชติ
นายพลกฤต รอดแก้ว

บทคัดย่อ

การทดสอบหาค่าสัมประสิทธิการซึ ์ มผ่านได้ ( Coefficient Of Permeability ) เป็ นการ


ทดสอบหาปริมาณของเหลว(น้า)ทีส่ ามารถไหลผ่านตัวอย่างดิน มีวตั ถุประสงค์เพือ่ หาค่า
สัมประสิทธิการซึ
์ มผ่าน (k) ของตัวอย่างดินซึง่ เป็ นทรายหยาบสีขาวเทาโดยไม่ทาการบดอัด
ตัวอย่างดิน จากการทดสอบด้วยวิธคี วามดันคงที่ (Constant Head) ได้ค่าปริมาณความชื้นใน
มวลดิน (water content) เท่ากับ 14.40% ค่าความหนาแน่นเปี ยก (Wet Density) เท่ากับ 1.88
gm./cc. ค่าความหนานแน่นแห้ง (Dry Density) เท่ากับ 1.64 gm./cc. และค่าสัมประสิทธิการซึ ์ ม
-3
ผ่าน (KT) เฉลีย่ ทีอ่ ุณหภูมิ 26ºC เท่ากับ 149.68x10 cm./sec เมื่อทาการปรับแก้ทอ่ี ุณหภูมิ
20ºC จะทาให้ได้ค่าสัมประสิทธิการซึ์ มผ่าน (KT) เฉลีย่ ทีอ่ ุณหภูมิ 20ºC เท่ากับ 129.81x10-3
cm./sec ซึง่ ค่าเฉลีย่ สัมประสิทธิการซึ
์ มผ่านทีไ่ ด้อยู่ในช่วง 1.0 ถึง 0.01 ซึง่ มีระดับของการซึม
ผ่านของน้าในดินปานกลาง (medium) จะได้ว่าตัวอย่างดินจัดอยู่ในชนิดของทรายหยาบ
(Coarse sand)

การทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้ า ( Consolidation Tests ) เป็ นกระบวนการ


ทีเ่ มื่อดินอิม่ ตัวได้รบั ความดันน้ า จะรับความดันนัน้ ในทันทีท่ ถ่ี ูกกระทา เมื่อเวลาผ่านไปน้าทีม่ ี
ความดันสูงกว่าปกติจะไหลออกจากดิน ทาให้ปริมาตรของมวลดินลดลง จึงเกิดการทรุดตัว โดย
มีวตั ถุประสงค์เพือ่ หาค่าสัมประสิทธิการอั
์ ดตัวคายน้า ค่าดัชนีการทรุดตัว และค่าการทรุดตัวของ
มวลดิน โดยการทดสอบใช้ดนิ ตัวอย่างเป็ นดินเหนียวสีเทาแกมเขียว จาก อ.ปากพนัง จ.
นครศรีธรรมราช ทีม่ คี ่าความถ่วงจาเพาะ (Gs) เท่ากับ 2.65 ซึ่งมีระยะเวลาในการทดสอบ
ทัง้ หมด 16 วัน ความสูงของดินก่อนการทดสอบ เท่ากับ 2 cm หลังกดทดสอบเท่ากับ 1.2546
cm. และค่า water content, wet density, dry density, void ratio มีค่าลดลงเช้นกันหลังการกด
ทดสอบ และเมื่อทาการหาค่าอัตราส่วนหน่วยระหว่างแรงกดทับในอดีตเท่ากับ 42.5 kN/m และ
หน่วยแรงกดทับทีด่ นิ ได้รบั ในปั จจุบนั มีค่าเท่ากับ 28 kN/m ซึง่ มีค่า ค่าอัตราส่วนเกิน (over
consolidation ratio หรือ OCR) เท่ากับ 1.517 OCR > 1 แสดงว่าดินทีน่ ามาทาการทดสอบนี้เป็ น
ดินทีอ่ ดั แน่นเกินปกติ

กิ ตติ กรรมประกำศ

รายงานการทดลองฉบับนี้สาเร็จลงได้ดว้ ยดีเนื่องจากได้รบั ความกรุณาอย่างสูงจาก


รศ.ดร.ธนันท์ ชุบอุปการ อาจารย์ผสู้ อนรายวิชา 221-322 คุณสมบัตขิ องดินและการทดสอบ
ประจาภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต
หาดใหญ่ ทีก่ รุณาให้คาแนะนาปรึกษา ตลอดจนปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆด้วยความเอาใจ
ใส่อย่างดียงิ่ ผูจ้ ดั ทาตระหนักถึงความตัง้ ใจจริงและความทุ่มเทของอาจารย์และขอกราบ
ขอบพระคุณเป็ นอย่างสูงไว้ ณ ทีน่ ้ี
อนึ่ง ผูจ้ ดั ทาหวังว่า รายการทดลองฉบับนี้จะมีประโยชน์อยู่ไม่น้อย จึงขอมอบส่วนดี
ทัง้ หมดนี้ใหแก่เหล่าคณาจารย์ทไ่ี ด้ประสิทธิประสาทวิชาจนทาให้รายงานการทดลองสาเร็จเป็ น
ประโยชน์ต่อผูท้ เ่ี กีย่ วข้องและขอมอบความกตัญญูกตเวทิตาคุณ แด่บดิ า มารดา และผูม้ พี ระคุณ
ทุกท่าน สาหรับข้อบกพร่องต่างๆทีอ่ าจจะเกิดขึน้ นัน้ ผูจ้ ดั ทาขอน้อมรับผิดเพียงผูเ้ ดียว และยินดี
ทีจ่ ะรับฟั งคาแนะนาจากทุกท่านทีไ่ ด้เข้ามาศึกษา เพือ่ เป็ นประโยชน์ในการพัฒนารายงานต่อไป

ผูจ้ ดั ทา
นายณัฐวัฒน์ ศิรแิ สง
นายดุรงค์ เกือ้ เส้ง
นายธีรธร มูงนั
นายปกรณ์ ทองเหลือง
นายพชรพล รังสฤษฏ์วรี ะโชติ
นายพลกฤต รอดแก้ว

สำรบัญ

บทที่ 1 บทนา......................................................................................................................1
1.1 ทีม่ าและความสาคัญ................................................................................................1
1.2 วัตถุประสงค์การทดสอบ............................................................................................2
1.3 ขอบเขตการทดสอบ..................................................................................................2
1.4 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั .........................................................................................2
บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีทเ่ี กีย่ วข้อง...................................................................................3
2.1 การหาความสามารถซึมผ่านน้ าของดิน (Permeability test).......................ง...............3
2.2 การทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า (Consolidation test).............ง.............9
บทที่ 3 วิธดี าเนินการทดสอบ.............................................................................................15
3.1 การหาความสามารถการซึมผ่านน้าของดิน (Permeability test).........................ง.....15
3.2 การทดสอบการอัดตัวคายน้า(CONSOLIDATION)..........................................ง.......18
บทที่ 4 ผลการทดลองและอภิปรายผล................................................................................21
4.1 การหาค่าสัมประสิทธิการซึ ์ มผ่านของน้ าในมวลดิน (Permeability Test)....................21
4.2 การทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า ( Consolidation test )...............ง.......25
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ..........................................................................................49
5.1 การหาค่าสัมประสิทธิการซึ ์ มผ่านของน้าในมวลดิน (Permeability Test)................ง.49
5.2 การทดสอบการอัดตัวคายน้าของดิน (Consolidation test).................................ง....49
บรรณานุกรม ....................................................................................................................51

สำรบัญรูปภำพ

รูปที่ 2.1 ความสาพันธ์ระหว่างไฮดรอลิก เกรเดียนและความเร็วในการไหล………………..…..3


รูปที่ 2.2 การทดสอบแบบความดันน้ าคงที่ (Constant head)………………………………..….6
รูปที่ 2.3 การทดสอบแบบความดันน้ าคงที่ (Constant head)..................................................7
รูปที่ 2.4 ความสัมพันธ์ระหว่างการยุบอัดตัวของดินกับเวลา (Deformation – Time Graph)...10
รูปที่ 2.5 ทฤษฎีการอัดตัวคายน้ าของดินเหนียวทีอ่ มิ่ ตัวด้วยน้า.............................................10
รูปที่ 2.6 เปรียบเทียบพฤติกรรมในสนาม และในห้องปฏิบตั กิ าร............................................11
รูปที่ 2.7 กราฟความสัมพันธ์ต่าง ๆ ในการทดสอบการอัดตัวคายน้า.....................................11
รูปที่ 2.8 หน่วยแรงดันสถิตของน้ าในชัน้ ดินเหนียวเมื่อน้ าหนักของฐานรากกระทาเป็ นคร้ังแรก
...........................................................................................................................................12
รูปที่ 2.9 หน่วยแรงดันสถิตย์ของน้ าในชัน้ ดินเหนียวภายใต้การเกิดคอนโซลิเดชัน100%........13 ่
รูปที่ 3.1.1 ประกอบกระบอกเข้ากับฐานพร้อมตักทรายใส่กระบอก........................................16
รูปที่ 3.1.2 ต่อสายจากแผงควบคุมแรงดันเข้ากับชุดทดสอบ ................................................16
รูปที่ 3.1.3 นากระบอกทีม่ สี เกลไปรองน้าเพือ่ หาอัตราการไหล..............................................17
รูปที่ 3.1.4 ชังน ่ ้ าหนักเพือ่ หาปริมาตรน้ าทีไ่ หลซึมออกมา......................................................17
รูปที่ 3.1.5 ชังน ่ ้ าหนักตัวอย่างทรายเพือ่ นาไปอบหาความชืน้ ................................................18
รูปที่ 3.2.1 กด cutting ring บนดินปาดหัวท้ายให้ดนิ เสมอขอบ.............................................19
รูปที่ 3.2.2 นาตัวอย่างทีเ่ ตรียมไว้ใส่ใน consolidation cell....................................................19
รูปที่ 3.2.3 นาไปติดตัง้ บน loading frame ติดตัง้ Dial gauge...............................................20
รูปที่ 3.2.4 นาดินตัวอย่างไปชังน ่ ้ าหนักเพือ่ หาความชืน้ ........................................................20

สำรบัญตำรำง

ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงข้อมูลและการหาค่า water content................................................21


ตารางที่ 4.2 ตารางแสดงข้อมูลและการหาค่า Wet Density , Dry Density............................21
ตารางที่ 4.3 ตารางแสดงข้อมูลและการหาค่าสัมประสิทธิการซึ ์ มผ่านของน้ าในมวลดิน...........22
ตารางที่ 4.4 ตารางแสดงข้อมูลและการหาค่าสัมประสิทธิการซึ ์ มผ่านทีอ่ ุณหภูมิ 20 ° K..........23
ตารางที่ 4.5 แสดงข้อมูลและการหาค่าปริมาณความชืน้ ในดิน(water content %)...................25
ตารางที่ 4.5 แสดงข้อมูลและการหาค่าความหนาแน่น ( Density )..........................................25
ตารางที่ 4.6 ข้อ มู ล การทดสอบความสามารถในการอัด ตัว คายน้ า น้ า หนั ก 0.25 lb วัน ที่
31/8/2565...........................................................................................................................26
ตารางที่ 4.7 ข้อ มู ล การทดสอบความสามารถในการอัด ตัว คายน้ า น้ า หนั ก 0.50 lb วัน ที่
1/9/2565.............................................................................................................................27
ตารางที่ 4.8 ข้อ มู ล การทดสอบความสามารถในการอัด ตัว คายน้ า น้ า หนั ก 1.00 lb วัน ที่
2/09/2565...........................................................................................................................28
ตารางที่ 4.9 ข้อ มู ล การทดสอบความสามารถในการอัด ตัว คายน้ า น้ า หนั ก 2.00 lb วัน ที่
3/09/2565...........................................................................................................................29
ตารางที่ 4.10 ข้อ มูล การทดสอบความสามารถในการอัด ตัว คายน้ า น้ า หนัก 4.00 lb วัน ที่
4/09/2565...........................................................................................................................30
ตารางที่ 4.11 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 8.00 lb วันที่
/09/2565.............................................................................................................................31
ตารางที่ 4.12 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 16.00 lb วันที่
5/09/2565...........................................................................................................................32
ตารางที่ 4.13 ข้อ มูล การทดสอบความสามารถในการอัด ตัว คายน้ า น้ า หนัก 10.00 lb วัน ที่
7/09/2565...........................................................................................................................33
ตารางที่ 4.14 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 3.00 lb วันที่
08/09/2565.........................................................................................................................34
ตารางที่ 4.15 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 1.00 lb วันที่
09/09/2565.........................................................................................................................35

ตารางที่ 4.16 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 4.00 lb วันที่


10/09/2565.........................................................................................................................36
ตารางที่ 4.17 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 8.00 lb วันที่
11/09/2565.........................................................................................................................37
ตารางที่ 4.18 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 16.00 lb วันที่
12/09/2565.........................................................................................................................38
ตารางที่ 4.19 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 32.00 lb วันที่
13/09/2565.........................................................................................................................39
ตาราง 4.20 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 64.00 lb วันที่
14/09/2565.........................................................................................................................40
ตารางที่ 4.21 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 128.00 lb วันที่
15/09/2565.........................................................................................................................41
ตารางที่ 4.22 ข้อมูลการทดสอบและการหาค่า Hdr................................................................42
ตารางที่ 4.23 ข้อมูลการทดสอบและการหาค่าสัมประสทธิการอั ์ ดตัวคายน้า(Cv).....................43
ตารางที่ 4.24 หาค่าสัมประสิทธิความสามารถการยุ
์ บตัว (mv) และและค่าสัมประสิทธิการซึ ์ ม
ผ่านของน้าในดิน (Kv).........................................................................................................44
1

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ที่มำและควำมสำคัญ
1.1.1การทดสอบหาค่าสัมประสิทธิการซึ ์ มผ่านได้(coefficient of permeability)
การทดสอบหาค่ า สัม ประสิท ธิก์ ารซึ ม ผ่ า น (coefficient of permeability) เป็ น การ
ทดสอบหาปริมาณของเหลวทีส่ ามารถไหลผ่านตัวอย่างดิน ของเหลวทีก่ ล่าวนี้โดยทัวไปจะเป็ ่ น
น้ า ค่าสัมประสิทธิการซึ
์ มผ่านมีความสาคัญในงานออกแบบระบบระบายน้ า เขื่อนทึบน้ า และ
ศึกษาการเคลื่อนตัวของระดับน้ าใต้ดนิ เป็ นต้น ค่าสัมประสิทธิการซึ
์ มผ่านทีท่ ดสอบได้อาจมีค่า
แตกต่างกันมาก (10-100 เท่า) ในดินชนิดเดียวกัน เนื่องจากผลการทดสอบจะขึ้นอยู่กบั สภาพ
และวิธกี ารทดสอบ ในการทดสอบและรายงานผลจึงต้องระมัดระวังและทาการทดสอบให้ใกล้
สภาพความเป็ นจริงที่สุด การทดสอบสามารถทาได้ทงั ้ ในสนามและ ในห้องปฏิบตั กิ าร ซึ่งมี 2
วิธี คือ การทดสอบแบบวิธรี ะดับน้าคงที่ (constant head test) และการทดสอบแบบวิธรี ะดับน้ า
แปรเปลี่ยน (variable head test) โดยตัว อย่างที่นามาทดสอบอาจเป็ นตัว อย่างดินคงสภาพ
(Undisturbed Sample) สาหรับดินเม็ดละเอียดหรือดินแปลงสภาพ สาหรับดินทรายทีไ่ ม่สามารถ
เก็บตัวอย่างคงสภาพได้ ตัวอย่างดินแปลงสภาพต้องนามาบดอัดใหม่ให้ได้ค่าความหนาแน่ น
ใกล้เคียงในธรรมชาติจงึ ทาการทดสอบ นอกจากนี้ยงั มีการทดสอบแบบพิเศษ เช่น การทดสอบ
ตัวอย่างดินบดอัด (Compacted Sample) ตัวอย่างดินถมแกนเขือ่ น เป็ นต้น
1.1.2 การทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า (Consolidation tests)
การอัดตัวคายน้ า (Consolidation) เป็ นกระบวนการที่เมื่อดินอิม่ ตัวได้รบั ความดันน้ า
จะรับความดันนัน้ ในทันที่ท่ถี ูกกระทา เมื่อเวลาผ่านไปน้ าที่มคี วามดันสูงกว่าปกติจะไหลออก
จากดิน ทาให้ปริมาตรของดินลดลง จึงเกิดการทรุดตัว ซึง่ ระยะเวลาของการทรุดตัวจะขึน้ อยู่กบั
ประเภทของดิน ดินที่มคี ่าสัมประสิทธิข์ องการซึมผ่าน (Coefficient of Permeability) สูง เช่น
กรวดและทราย จะเกิดขึน้ เร็วมากจนไม่สามารถแยกการทรุดตัวนี้ออกจากการทรุดตัวเนื่องจาก
การเสียรูปทันทีทนั ใดได้ แต่ดนิ ที่มคี ่าสัมประสิทธิของการซึ
์ มผ่านต่า เช่น ดินเหนียว จะใช้เวลา
ในการทรุดตัวนานมากกว่ากระบวนการนี้จะเสร็จสิน้ ซึง่ อาจแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ
1) การอัดตัวเริม่ แรก (Initial Compression) เกิดจากคุณสมบัติ elastic ของดิน ปกติ
มักจะเกิดขึน้ ทันทีทม่ี นี ้ าหนักกดทับ และมีปริมาณไม่มากนัก
2) การอัดตัวหลัก (Primary Consolidatiion) เกิดจากปริมาณน้ าหรืออากาศที่ถูกบีบ
ออกจากมวลดิน ทาให้ ปริมาตรรวมของดินลดลง ซึง่ จะใช้เวลานานในการทรุดตัว อาจจะต้องใช้
ระยะเวลาหลายปี ในการทรุดตัวสิน้ สุด ดังนัน้ ความเสียหายของอาคารจะปรากฎให้ เห็นหลังจาก
การก่อสร้างแล้วเสร็จ
2

3) การอัด ตัว รอง (Secondary Consolidation) กล่ า วกัน ว่ า มีส าเหตุ จ าก Plastic
deformation และการจัดเรียงตัวของเม็ดดิน เกิดขึน้ ภายหลังจาก Primary Consolidation

1.2 วัตถุประสงค์กำรทดสอบ
1.2.1 การทดสอบหาค่าสัมประสิทธิการซึ
์ มผ่านได้ (coefficient of permeability)
เพือ่ หาค่าสัมประสิทธิการซึ
์ มผ่าน (k) ตัวอย่างดินทรายหยาบปานกลางเพือ่ หาปริมาณ
ความชื้นสูงสุด (Optimum Water Content) ที่ทาให้เกิดความหนาแน่ นแห้งสูงสุ ด (Maximum
Dry Density) ในห้ อ งปฏิ บั ติ ก า รเพื่ อ หาความหนาแน่ น ( Density) ของดิ น ที่ บ ดอั ด ใน
ห้องปฏิบตั กิ าร
1.2.2 การทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า (Consolidation tests)
เพื่อหาค่าสัมประสิทธิก์ ารอัดตัวคายน้ า (Coefficient of Consolidation) ค่าดัชนีการ
ทรุดตัว (Compression Index) และค่ าการทรุดตัว ของมวลดิน รวมไปถึงพารามิเ ตอร์ต่างที่
เกีย่ วข้อง

1.3 ขอบเขตกำรทดสอบ
1.3.1 การทดสอบหาค่าสัมประสิทธิการซึ
์ มผ่านได้ (coefficient of permeability)
ทดสอบหาค่าสัมประสิทธิความซึ
์ มผ่าน (hydraulic conductivity) โดยมี การทดสอบ 2
แบบ ได้แ ก่ การทดสอบแบบระดับ น้ า คงที่ (constant head) และ แบบระดับน้ าแปรเปลี่ย น
(falling head) อ้า งอิง มาตรฐาน ASTM D 2434-68 Standard Test Method for Permeability
of Granular Soils
1.3.2 การทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า (Consolidation tests)
ทดสอบการอัดตัว คายน้ าของตัว อย่ างดิน ในห้อ งปฏิบัติก าร โดยอ้างอิงมาตรฐาน
ASTM D2435 One - Dimensional Consolidation Properties of Soils Using Incremental
Loading References

1.4 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รบั
1.4.1 การทดสอบหาค่าสัมประสิทธิการซึ
์ มผ่านได้ (coefficient of permeability)
ใช้ในการหาขอบเขตความซึมน้ าของดิน สามารถนาข้อมูลที่ได้จากการทดสอบมาใช้
วิเคราะห์ดนิ ในการก่อสร้างออกแบบระบบระบายน้าของดินทีใ่ ช้ก่อสร้างสิง่ ต่างๆ
1.4.2 การทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า (Consolidation tests)
ทราบถึงอัตราการทรุดตัวของดิน ในการสร้างอาคารบ้า นเรือน เพื่อจะสามารถสร้าง
อาคารให้ได้ความปลอดภัยมากทีส่ ุด
3

บทที่ 2
แนวคิ ดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

2.1 กำรหำควำมสำมำรถซึมผ่ำนน้ำของดิ น (Permeability test)


2.1.1 ทฤษฎีและหลักการ
การไหลซึมของน้าผ่านมวลดิน เป็ นแบบ “Laminar Flow” ผ่านช่องคดเคีย้ วระหว่าง
เม็ดดิน ในขณะเดียวกันแรงดันของน้ าก็จะเสียไปเพราะแรงเสียดทานของผิวช่องเม็ดดิน Darcy
นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรังเศสได้ ่ เสนอกฎแห่งการไหลซึมไว้ว่า “ความเร็วของการไหลซึมของ
ของเหลวผ่านตัวกลางพรุน (เช่นมวลดิน) จะเป็ นปฏิภาคกับไฮดรอลิคเกรเดียน (Hydraulic
Gradient) มวลดินเป็ นวัสดุทม่ี ชี ่องว่างต่อเนื่องในระหว่างเม็ดดินซึง่ น้าสามารถทีจ่ ะไหลซึมผ่าน
ได้มวลดินทีน่ ้าไหลซึมผ่านได้งา่ ย ได้แก่ดนิ จาพวกกรวดทราย ส่วนมวลดินทีน่ ้ าไหลซึมผ่านได้
ยาก ได้แก่ดนิ ทีม่ ดี นิ เหนียวปนอยู่หรือดินเหนียวล้วน ถ้าน้าไหลผ่านมวลดินได้งา่ ยค่า
สัมประสิทธิจะมี
์ มาก นันคื ่ อดินจะมีช่องว่างมาก หรือดินอยู่ในสภาพหลวม และถ้าค่าสัมประสิทธิ ์
มีค่านอ้ยเท่าใดก็แสดงว่า ดินนัน้ มีความหนาแน่นมาก ดังนัน้ ค่าสัมประสิทธิของการซึ ์ มได้น้ี
สามารถวัดความหนาแน่นของดินได้อกี วิธหี นึ่ง

รูปที่ 2.1 ความสาพันธ์ระหว่างไฮดรอลิก เกรเดียนและความเร็วในการไหล


การทีน่ ้าสามารถไหลผ่านมวลดินจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อคุณสมบัตทิ างวิศวกรรม
ของมวลดิน จึงต้องมีการพิจารณาผลกระทบในงานวิศวกรรมโยธาทีเ่ กี่ยวข้อง เช่น งาน
เสถียรภาพของเขือ่ น งานทรุดตัวในระยะยาว งานขุดเพือ่ ก่อสร้างฐานรากหรืออาคารใต้ดนิ การ
4

ป้ องกันและควบคุมการเคลื่อนทีข่ องของเหลวทีเ่ ป็ นมลพิษ หรือการออกแบบและคัดเลือกมวล


ดินคละสาหรับใช้เป็ นวัสดุระบายน้า
การทดสอบเพือ่ ประเมินค่า Coefficient of Permeability (k) ของมวลดิน ทาได้หลาย
วิธี ขึน้ อยู่กบั ชนิดและคุณสมบัตทิ างกายภาพมวลดินนัน้ ๆ ซึง่ มีทงั ้ การทดสอบในห้องปฏิบตั กิ าร
และการทดสอบในสนาม โดยการ ทดสอบในห้องปฏิบตั กิ าร ก็มที งั ้ วิธกี ารโดยตรง ใช้อุปกรณ์
ทดสอบ เรียกว่า permeameter ได้แก่การทดสอบโดย วิธคี วามดันคงที่ (constant head) เหมาะ
สาหรับมวลดินทีน่ ้าไหลผ่านได้สะดวก มีค่า k สูงถึงปานกลาง เช่น กรวด ทราย และวิธคี วามดัน
เปลีย่ นแปลง (falling head) เหมาะสาหรับมวลดินทีม่ คี ่า k ปานกลาง ถึง ค่อนข้างต่า เช่น ทราย
ละเอียด หรือ ดินปนทราย เป็ นต้น
ในการคานวนวณค่าสัมประสิทธิความซึ
์ มผ่านได้ของดิน จะใช้ความสัมพันธ์จาก
สมการของ Darcy เป็ นทฤษฎีพน้ื ฐานในการทดสอบ โดยทฤษฎีน้คี อื อัตราการไหลของน้าผ่าน
ทรายจะเป็ นสัดส่วนโดยตรงกับความลาดชันทางชลศาสตร์ (Hydraulic Gradient) น้าไหลผ่าน
ดินด้วยความเร็วทีช่ า้ มากทางด้านวิศวกรรมปฐพีมกั จะพิจารณาอยู่ในลักษณะ 1 มิตหิ รือ 2 มิติ
คือทิศทางของความเร็วของการไหลอาจอยู่ในทิศทางเดียว หรือแยกออกมา 2 ทิศทางตัง้ ฉากกัน
Darcy ได้เขียนเป็ นสมการว่า
v α i หรือ v = ki (2.1)
เมื่อ
v = ความเร็วของการไหลซึม
Δh
i = hydraulic gradient =
Δy

k = ความซึมน้าของตัวกลาง ซึง่ เป็ นค่าคงที่


Δh = ความต่างของระดับน้ า (Head Difference) ในช่วงความยาวของการซึม L
ΔL = ช่วงความยาวของการไหล
และปริมาณอัตราการไหลq หาได้จากสมการ
q = vA= kiA (2.2)
เมื่อ
5

A = พืน้ ทีห่ น้าตัดของดินทีน่ ้ าไหลผ่านในทิศทางตัง้ ฉากกับทิศทางของการไหลของน้า


การทดสอบในห้องปฏิบตั กิ ารจะมีอยู่ 2 วิธกี าร คือ การทดสอบแบบความดัน
น้าคงที(่ Constant head) สาหรับทดสอบกับดินเม็ดหยาบ และการทดสอบแบบความดันน้ า
เปลีย่ นแปลง(Variable head) สาหรับทดสอบกับดินเม็ดละเอียด ถ้าหากสภาพดินทีแ่ ตกต่างกัน
หลายชัน้ ก็สามารถจะหาค่าสัมประสิทธิการซึ
์ มผ่านของน้าโดยการนาค่าดังกล่าวของแต่ละชัน้ มา
ใช้ในการแทนค่าสมการซึง่ พิจารณาได้ 2 ทิศทางคือ ทิศทางตัง้ ฉากกับชัน้ ดิน และทิศทางขนาน
กับชัน้ ดิน
1) Constant head method เป็ นการทดสอบตามวิธกี ารทดลองดาร์ซี โดยปล่อยให้น้า
ไหลผ่านมวลดินภายใต้ค่า total head difference คงทีค่ ่าหนึ่ง แล้ววัดปริมาตรน้าทีไ่ หลผ่าน
ตัวอย่างดินทดสอบในระยะเวลาทีก่ าหนด วิธนี ้เี หมาะกับตัวอย่างดินทีม่ คี ่า k สูง
2) Falling head method เป็ นการทดสอบกับตัวอย่างดินทีม่ คี ่า k ต่า หลักการ น้าจะ
ไหลผ่านตัวอย่างดินทีบ่ รรจุอยู่ใน standpipe ทีม่ สี เกลระบุปริมาตร เพือ่ สามารถคานวณหา
พืน้ ทีห่ น้าตัดภายในได้ เมื่อเริม่ การทดลองระดับน้าใน standpipeอยู่ทร่ี ะดับ h1 ทาการทดลอง
โดยปล่อยน้ าไหลผ่านตัวอย่างดิน แล้วจับเวลาทีร่ ะดับน้าใน standpipe ลดลงจนถึงระดับ h2
หลังจากนัน้ นาข้อมูลทีไ่ ด้ไปคานวณหาค่า (Coefficient of Permeability, k) ของตัวอย่างดิน
ตัวประกอบทีม่ ผี ลกระทบต่อสัมประสิทธิของการซึ
์ มค่าสัมประสิทธิของการซึ
์ มขึน้ อยู่
กับตัวประกอบหลายอย่างดังนี้
1) ความหนืดและความหนาแน่นของของเหลวทีไ่ หล
2) ขนาดและความต่อเนื่องของช่องว่างระหว่างเม็ดดิน ซึง่ น้ าจะต้องไหลผ่าน
สิง่ เหล่านี้
2.1) ขนาดและรูปร่างเม็ดดิน เมื่อดินมีขนาดเม็ดละเอียดมากขึน้ ค่า k จะ
ลดลง
2.2) อัตราส่วนช่องว่างและความหนาแน่นของดิน
2.3) การอิม่ ตัวด้วยน้ า
2.4) โครงสร้างการเรียงตัวของเม็ดดิน
2.5) เมื่อมีปริมาณของดินเมด็ละเอียดเพิม่ ขึน้ ค่า k จะลดลง
6

3) การต่อเนื่องและการเป็ นเนื้อเดียวกันของชนิดของดินในธรรมชาติโดยถ้าชัน้ ดินมี


ดินชนิดอื่นปนแทรกอยู่ ดินทีแ่ ทรกนี้จะจะมีสว่ นเข้าไปส่งผลกระทบต่อค่าสัมประสิทธิของการซึ
์ ม
ของมวลดินทัง้ หมด
การหาสัมประสิทธิแบบความดั
์ นน้าคงที่ (Constant head)

รูปที่ 2.2 การทดสอบแบบความดันน้ าคงที่ (Constant head)


วิธคี านวณการทดลองแบบความดันน้าคงที่ (Constant head)
𝑄𝐿
k= (2.3)
𝐴ℎ𝑡

เมื่อ
k = สัมประสิทธิความซึ
์ มผ่านน้ าในดิน
Q = ปริมาณน้าทีไ่ หลซึมผ่านตัวอย่างดิน ในเวลา(t)
L = ความยาวของการไหลซึม
h = การสูญเสียความดัน หรือระดับน้า
t = ช่วงเวลา (ปริมาณน้า Q ไหลผ่าน)
7

การหาสัมประสิทธิแบบความดั
์ นน้าเปลีย่ นแปลง (Variable head)

รูปที่ 2.3 การทดสอบแบบความดันน้ าคงที่ (Constant head)


วิธคี านวณการทดลองแบบความดันน้าคงที่ (Constant head)
𝑎𝐿 ℎ1
k = 2.303 log10 (2.4)
𝐴𝑡 ℎ2

เมื่อ
k = สัมประสิทธิความซึ
์ มผ่านน้ าในดิน
a = พืน้ ทีห่ น้าตัดของหลอดแก้ว
A = พืน้ ทีห่ น้าตัดตัวอย่างดิน
t = เวลา ณ จุดเริม่ ต้นถึงเวลาทีจ่ ุดสุดท้าย
h1 = ความต่างของระดับน้ า ณ จุดเวลาเริม่ ต้น
h2 = ความต่างของระดับน้ า ณ จุดเวลาสุดท้าย
8

2.1.2 สูตรการคานวณ
(1) การหาน้ าหนักของน้า
Wt. of water = (Wt. Wet soil + can) - ( Wt. dry soil + can) (2.5
(2) การหาน้ าหนักของดินแห้ง
Wt. of water = (Wt. dry soil + can) - ( Wt. can) (2.6)
(3) การหาค่าความชืน้ ในมวลดิน (Water content, w)
Ww
Water content = ×100 (2.7)
Ws
(4) การหาปริมาตรของโมลด์
πD2 h
Volume Of Mold = (2.8)
4
(5) การหาค่าน้าหนักของดินในโมลด์ทดสอบ (Wt. of soil in mold)
Wt. of soil in mold = (Wt. of mold + wet soil) – (Wt. of mold) (2.9)
(6) การหาความหนาแน่นเปี ยก (Wet density)
M
Wet density = (2.10)
V
(7) การหาความหนาแน่นแห้ง (Dry density)
ρ
Dry density = t (2.11)
1+w
(8) การหาค่าสัมประสิทธิของการซึ
์ มผ่าน (KT)
QLC
KT = (2.12)
A∆ht

(9) ปรับแก้ค่าสัมประสิทธิของการซึ
์ มผ่าน (KT) ทีอ่ ุณหภูมิ 20 ° C
𝑈26 °C
K20° C = x KT (2.13)
𝑈20 °C °
9

2.2 กำรทดสอบควำมสำมำรถในกำรอัดตัวคำยน้ำ (Consolidation test)


2.2.1 ทฤษฎีและหลักการ
การทรุดตัว หมายถึง การยุบตัวลงในแนวดิง่ เนื่องจากการเปลีย่ นแปลงปริมาตรของดิน
ซึง่ เป็ นสาเหตุสาคัญทีท่ าให้เกิดการทรุดตัวและเสียหายได้แบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภทคือ
1. การทรุดตัวทันทีทนั ใด (Immediate Settlement) เป็ นการทุดตัวเนื่องจากคุณสมบัติ
ยืดหยุ่นของดินซึง่ จะเกิดขึน้ ทันทีทม่ี กี ารรับน้ าหนักหรือมีแรงมากระทา
2. การทรุดตัวเนื่องจากการอัดตัวคายน้าของดิน (Consolidation Settlement) ในช่วง
การยุบอัดตัวครัง้ แรก (Primary Consolidation) จะเกิดขึน้ หลังจากการทรุดตัวทันที และจะ
เกิดขึน้ อย่างต่อเนื่อง ซึง่ ต้องใช้เวลานานมากกว่าจะสิน้ สุดการทรุดตัว ผลเนื่องมาจากการลดลง
ของปริมาตรของดินเมื่อน้าไหลออกมาจากมวลดิน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในชัน้ ดินเหนียวซึง่ ยอมให้
น้าไหลซึมผ่านได้ยากและช้า อาจต้องใช้เวลานานหลายปี ในการทีจ่ ะทาให้การทรุดตัวสิน้ สุด
ดังนัน้ ความเสียหายของอาคารทีเ่ กิดขึน้ กว่าจะปรากฏให้เห็นก็ภายหลังจากเสร็จสิน้ การก่อสร้าง
เป็ นระยะเวลานานแล้วได้
3. การทรุดตัวครัง้ ทีส่ อง (Secondary Settlement) จะเป็ นการทรุดตัวอันเนื่องจากการ
คืบตัว (Creep) หรือคุณสมบัตพิ ลาสติกของดินภายใต้การรับแรง ซึง่ จะเกิดหลังจากการทรุดตัว
เนื่องจากการยุบอัดตัวของดินสิน้ สุด ซึง่ มีปริมาณน้อยกว่ามาก
ในปี 1925 Terzaghi ได้นาเสนอทฤษฎีการอัดตัวคายน้ าของดินเหนียวทีอ่ มิ่ ตัวด้วยน้าโดยสรุปไว้
ว่า โครงสร้างดินถูกเชื่อมต่อกันด้วยระบบของเม็ดดินทีเ่ ปรียบได้กบั สปริงภายใต้แรงเค้นกระทา
และเมื่อแรงเค้นกระทากับตัวอย่างดินทีอ่ มิ่ ตัวด้วยน้า เริม่ แรกจะส่งถ่ายแรงเค้นไปยังส่วนทีเ่ ป็ น
น้าทาให้เกิดแรงดันน้าส่วนเกิน (excess pore water pressure) ขึน้ ทันที เมื่อเวลาผ่านไปน้าใน
มวลดินจะค่อยๆ ถูกระบายออก ทาให้แรงดันน้าส่วนเกินค่อยๆ ลดลง ส่งผลให้แรงเค้นถูก ถ่ายไป
ยังเม็ดดินเพิม่ ขึน้ จนกระทัง้ แรงดันน้าส่วนเกินลดลง เท่ากับศูนย์แรงเค้นทัง้ หมดทีเ่ กิดจากแรง
เค้นภายนอกจะถูกถ่ายไปยังเม็ดดินทัง้ หมด เม็ดดินทีร่ บั แรงเค้นไว้ทงั ้ หมดเรียกสถานะนี้ว่า
จุดสิน้ สุดช่วงการอัดตัวคายน้าแบบปฐมภูม(ิ primary consolidation stage) ซึง่ ทฤษฎีการอัดตัว
คายน้ าจะเป็ นจริงได้ถา้ พฤติกรรมของดินสอดคล้องกับสมมุตฐิ านดังนี้
1. มวลดินจะต้องเป็ นดินเนื้อเดียวกัน สม่าเสมอทัง้ หมดและอยู่ในสภาพอิม่ ตัวด้วยน้ า
2. การไหลของน้าในมวลดินจะเป็ นการไหลแบบราบเรียบและจะเกิดขึน้ เฉพาะใน
แนวดิง่ เท่านัน้
10

3. เม็ดดินและน้ าในมวลดินจะต้องเป็ นวัสดุทไ่ี ม่สามารถเปลีย่ นแปลงปริมาตรเนื่องจาก


แรงดันได้
4. ระหว่างเกิดการอัดตัวคายน้ าค่าสัมประสิทธิการซึ
์ มผ่านจะต้องคงที่ และเกิด
ความเครียดเพียงเล็กน้อย

รูปที่ 2.4 ความสัมพันธ์ระหว่างการยุบอัดตัวของดินกับเวลา (Deformation – Time Graph)


(ทีม่ า: https://www.ggu-software.com/en/glossary/degree-of-consolidation)
นอกจากนี้ Terzaghi ได้นาเสนอวิธกี ารทดสอบในห้องปฏิบตั กิ ารเพือ่ ประเมินการ
ระดับและระยะเวลาการทรุดตัว โดยหลักการสาคัญของทดสอบคือตัวอย่างดินทีท่ าการทดสอบ
และความเค้นภายนอกทีก่ ระทาจะต้องมีคุณสมบัตเิ หมือนในสนามทุกประการจึงจะสามารถ
ทานายพฤติกรรมในสนามได้ ดังนัน้ ความถูกต้องการทดสอบการอัดตัวคายน้าจะขึน้ กับสภาพ
ตัวอย่างดิน การประเมินสภาพแวดล้อมในสนาม และความละเอียดในการทดสอบ

รูปที่ 2.5 ทฤษฎีการอัดตัวคายน้ าของดินเหนียวทีอ่ มิ่ ตัวด้วยน้า


11

รูปที่ 2.6 เปรียบเทียบพฤติกรรมในสนาม และในห้องปฏิบตั กิ าร


ค่าความเค้น ระยะเวลา และการทรุดตัว ทีไ่ ด้จากการทดสอบ สามารถนามาแสดง
ความสัมพันธ์ในรูปกราฟต่างๆ ได้ซง่ึ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการทานายการทรุดตัว และ

ระยะเวลาได้
รูปที่ 2.7 กราฟความสัมพันธ์ต่าง ๆ ในการทดสอบการอัดตัวคายน้า

คุณสมบัตสิ าคัญทางการทรุดตัวมี 2 ประการ


1) อัตราความเร็วในการทรุดตัว คือ อัตราเร็วของน้าทีส่ ามารถไหลออกจากชัน้ ดิน
ขึน้ อยู่กบั มวลดิน มีความชุ่มน้ า มากน้อยเพียงใด ความสามารถในการซึมน้าของดิน ระยะทีน่ ้ า
จะต้องซึมผ่านไปสู่จุดสมดุลจาก Terzaghi’s Consolidation Theory ได้ดชั นีค่าซึ่งบ่งถึง
12

คุณสมบัตเิ กีย่ วกับการทรุดตัว เรียกว่า ดัชนีบ่งถึงสมบัตเิ กีย่ วกับการทรุดตัว (Coefficient of


Consolidation): cv โดยที่

𝑇𝐻 2
𝐶𝑣 = (2.14)
𝑡

เมื่อ
Cv = ดัชนีบ่งถึงสมบัตเิ กีย่ วกบัการทรุดตัว
T = Time Factor เป็ นค่าคงที่ (ดังตารางที่ 2.2)
t = เวลามีหน่วยเป็ นวินาที
H = ระยะไกลสุดทีน่ ้ าในมวลดินจะต้องไหลออกมาสู่จุดสมดุล
2) ปริมาณการทรุดตัวสูงสุดโดย ดัชนีของการทรุดตัว(Compressibility Index: Cc)

รูปที่ 2.8 หน่วยแรงดันสถิตย์ของน้ าในชัน้ ดินเหนียวเมื่อน้ าหนักของฐานรากกระทาเป็ นคร้ังแรก


13

รูปที่ 2.9 หน่วยแรงดันสถิตย์ของน้ าในชัน้ ดินเหนียวภายใต้การเกิดคอนโซลิเดชัน100%


2.2.2 สูตรการคานวณ
1.)การคานวณหาค่าปริมาณความชื้น (Water Content)
Ww
จากสูตร w = ×100 (2.15)
Ws
2.) การคานวณหาความหนาแน่นเปี ยก (Wet Density,γwet )
Wt. of wet soil
จากสูตร Wet Density = (2.16)
Mold Volume
3.) การคานวณหาความหนาแน่นแห้ง (Dry Density,γdry )
Wet Density
จากสูตร Dry Density = (2.17)
1+w
4.) หา cv จากวิธี square root time method
4.1) หาความสูงของดินตัวอย่าง (Havg )
H0 +H1
Havg = (2.18)
2
Havg
Hd = (2.19)
2
0.848Hd 2
Cv = (2.20)
t90
14

5.) หา cv จากวิธี log time method


0.197Hd 2
จาก Cv = (2.21)
t50

6.) หา cv,avg
Cv,t90 +Cv,t
50
Cv,avg = (2.22)
2

7.) ค่าความสูงเริม่ ต้นของช่องว่างตัวอย่างดินเหนียว(Hs )


Ms
Hs = (2.23)
A×Gs ×γw

8.)ค่าความสูงเริม่ ต้นช่องว่างตัวอย่างดิน(Hv )
Hv =Havg -Hs (2.24)
9.) อัตราส่วนช่องว่างในดินเริม่ ต้น (e0 )
Vv
e0 = (2.25)
Vs

10.) ค่าสัมประสิทธิการทรุ
์ ดตัว(coefficient of compressibility),av
∆e
av = (2.26)
∆ρ'

11.) ค่าสัมประสิทธิการอั
์ ดตัวของปริมาตร(coefficient of volume
compressibility),mv
av
mv = (2.27)
1+e0

12.) ค่าสัมประสิทธิการซึ
์ มผ่าน (k) วิธี square root time method ,(kv,t90 )
kv,t90 = Cv,t90 ×mv ×γw (2.28)
13.) ค่าสัมประสิทธิการซึ
์ มผ่าน (k) วิธี log time method ,(kv,t50 )
kv,t50 = Cv,t50 ×mv ×γw (2.29)
15

บทที่ 3
วิ ธีดำเนิ นกำรทดสอบ

3.1 กำรหำควำมสำมำรถกำรซึมผ่ำนน้ำของดิ น (Permeability test)


3.1.1 มาตรฐานทีใ่ ช้ทาการทดสอบ
ASTM D 2434-68(2000) Standard Test Method for Permeability of Granular Soils
3.1.2 ลักษณะตัวอย่างดินทีท่ าการทดสอบ
ทรายหยาบสีขาวเทา
3.1.3 อุปกรณ์และวัสดุทใ่ี ช้ในการทดสอบ
1. แผงควบคุมแรงดันน้ าหรือแผงวัดระดับน้ ามีสเกล
2. กระบอกทดสอบการซึมผ่านน้า
3. กระบอกตวง ปริมาตร 500 ml
4. ตะแกรงเบอร์ 4
5. เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ (Vernier Caliper)
6. กระดาษจีโอเทคไทด์
7. ตาชัง,่ ชังได้
่ ละเอียด 0.1 g
8. เตาอบ (Oven) ควบคุมความร้อนต่อเนื่องทีอ่ ุณหภูมิ 110 ± 5 °C
9. ถาดใส่ดนิ
10.ค้อนบดอัด (Compaction Hammer) แบบ standard น้าหนัก 5.5 lb ระยะยก12
inch
11. เครื่องมืออื่นๆ ได้แก่ นาฬิกาจับเวลา,ช้อนตักดิน, แปรงอ่อน, ปะแจ, ใบเลื่อย เป็ น
ต้น
3.1.4 สถานที่ สภาพแวดล้อม และช่วงเวลาทีท่ าการทดสอบ
ห้อ งปฏิบัติก ารปฐพีก ลศาสตร์ ภาควิช าวิศ วกรรมโยธา คณะวิศ วกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ตาบลคอหงส์ อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
3.1.5 ขัน้ ตอนการทดสอบ Constant Head
1. เตรียมกระบอกทดลองโดยวัดค่า Lc,L,diameter จดบันทึกค่า
16

2. ประกอบกระบอกทดสอบเข้ากับฐานโดยใช้แผ่นจีโอเทคไทด์รองก้นกระบอกพร้อม
ตัก
ทรายใส่ในกระบอกทีเ่ ตรียมไว้ให้เต็ม ใช้แผ่นจีโอเทคไทด์ทบั ไว้ดา้ นบน

รูปที่ 3.1.1 ประกอบกระบอกเข้ากับฐานพร้อมตักทรายใส่กระบอก


3. ต่ อ สายจากแผงควบคุ ม แรงดัน เข้า กับ ชุ ด การทดสอบ สัง เกตปริม าณน้ า ที่ไ หล
ออกมารอให้แรงดันน้าคงที่

รูปที่ 3.1.2 ต่อสายจากแผงควบคุมแรงดันเข้ากับชุดทดสอบ

4. เปิ ดวาล์วให้น้ าไหลซึมผ่านชัน้ ทรายในกระบอกทดสอบ น้ าจะไหลออกทางวาล์ว


ด้านล่างของกระบอกทดสอบ

5. เอากระบอกที่มสี เกลไปรองน้ าไว้ โดยทาการทดสอบ 5 ครัง้ จดค่าระดับน้ าที่ h1


และ h2 เมื่อระดับน้าคงที่ และเริม่ จับ 35 วินาที
17

รูปที่ 3.1.3 นากระบอกทีม่ สี เกลไปรองน้าเพือ่ หาอัตราการไหล

6. เอากระบอกสเกลทีม่ นี ้ าอยู่ไปชังน
่ ้าหนัก และเริม่ จับเวลา ทาการทดสอบซ้าอีก 5 ค่า
เพือ่ หาค่า Q สามารถนาไปหาค่า k

รูปที่ 3.1.4 ชังน


่ ้ าหนักเพือ่ หาปริมาตรน้ าทีไ่ หลซึมออกมา
7. นาตัวอย่างทรายหลังการทดสอบไปอบเพือ่ หาปริมาณความชื้น
18

รูปที่ 3.1.5 ชังน


่ ้ าหนักตัวอย่างทรายเพือ่ นาไปอบหาความชืน้

3.2 กำรทดสอบกำรอัดตัวคำยน้ำ (CONSOLIDATION)


3.2.1 มาตรฐานทีใ่ ช้ทาการทดสอบ
ASTM D2435/ D2435M – 11
3.2.2 ลักษณะตัวอย่างดินทีท่ าการทดสอบ
ดินเหนียวสีเทาแกมเขียว จาก อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช
3.2.3 อุปกรณ์และวัสดุทใ่ี ช้ในการทดสอบ
1. Load Device
2. กระบอกเก็บตัวอย่างดิน
3. consolidation cell
4. cutting ring
5. แผ่นหินพรุน 2 แผ่น
6. กระดาษกรอง 2 แผ่น
7. ตาชัง่ ชังได้
่ ละเอียด 0.1 g
8. Dial Gauge อ่านได้ละเอียด 0.0001 นิ้ว
9. เตาอบ ควบคุมความร้อนต่อเนื่องทีอ่ ุณหภูมิ 110 ± 5 °C
10. นาฬิกาจับเวลา
11. กระป๋ องเก็บตัวอย่างดิน
12. แผ่นเหล็กเพิม่ แรงกด
13. เหล็กปาดหน้าดิน เลื่อยตัดดิน
14. เวอร์เนียคาลิปเปอร์
15. น้ามันพืช
19

3.2.4 สถานที่ สภาพแวดล้อม และช่วงเวลาทีท่ าการทดสอบ


ห้องปฏิบตั กิ ารปฐพีกลศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ตาบลคอหงส์ อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
3.2.5 ขัน้ ตอนการทดสอบ
1. เตรียมดินเหนียว ใส่กระบอกเก็บดิน ให้สภาพดินเหมือนเดิมตามธรรมชาติมากทีส่ ุด
2. ชังน
่ ้ าหนัก วัดส่วนสูงและเส้นผ่านศูนย์กลาง cutting ring แล้วทาน้ามันพืชให้ทวั ่
3. กด cutting ring บนดิน ปาดหัวท้ายให้ดนิ เสมอขอบ นาดินทีเ่ หลือไปหาค่าความชืน้
ชังน
่ ้าหนัก cutting ring+ดิน

รูปที่ 3.2.1 กด cutting ring บนดินปาดหัวท้ายให้ดนิ เสมอขอบ


4. นากระดาษกรองแช่น้ า กับหินพรุนที่ต้มในน้ าเพื่อไล่ฟองอากาศเสร็จแล้ว วางบน
หน้าตัดทัง้ บนล่าง แล้วใส่ใน consolidation cell

รูปที่ 3.2.2 นาตัวอย่างทีเ่ ตรียมไว้ใส่ใน consolidation cell


5. นาไปติดตัง้ บน loading frame ติดตัง้ Dial gauge และใส่น้าใน cell ให้เลยหน้าดิน
20

รูปที่ 3.2.3 นาไปติดตัง้ บน loading frame ติดตัง้ Dial gauge


6. เตรียมคานกดให้อยู่ในสภาพพร้อมกด โดยใส่น้ าหนักเริม่ ต้นที่ 0.25 lb. ทีต่ วั แขวน
ปลายคาน หมุน Dial gauge ให้เข็มชีเ้ ลขศูนย์ และหมุนตัวรองคานให้รบั คานไว้
7. ปล่อยคานให้กดลง โดยหมุนตัวรองคานลง และจับเวลา อ่านค่าการยุบตัวจาก Dial
gauge ทีเ่ วลา 0.00, 0.25, 0.5, 1.00, 2.00, 4.00, 8.00, 15.00, 30.00, 60.00 นาที
2, 3, 4, 8, 16, และ24 ชัวโมง ่
8. ทุกครัง้ ทีว่ นครบ 24 ชัวโมง
่ หมุนตัวรองคานให้รบั คานไว้แล้วทาการเปลีย่ นโหลด
เป็ น 0.5, 1.0, 2.0, 4.0, 8.0, 16, 10, 3.0, 1.0, 4.0, 8.0, 16.0, 32.0, 64.0 และ128.0 lb. ทาซ้า
ตามขัน้ ตอนที่ 7 โดยเปลีย่ นโหลดเมื่อครบ24ชัวโมงตามล
่ าดับโหลดข้างต้น
9. นาดิน+cutting ring ไปชังน ่ ้าหนัก และนาดินไปอบหาความชืน้ หลังการทดสอบ

รูปที่ 3.2.4 นาดินตัวอย่างไปชังน


่ ้ าหนักเพือ่ หาความชืน้
21

บทที่ 4
ผลกำรทดลองและอภิปรำยผล

4.1 กำรหำค่ำสัมประสิ ทธิ์ กำรซึมผ่ำนของน้ำในมวลดิ น (Permeability Test)


4.1.1 ผลการทดลอง
จากการทดสอบ หาค่าสัมประสิทธิการซึ
์ มผ่านของน้าในมวลดิน (Permeability Test)
โดยวิธกี ารใส่ทรายแบบหลวมหรือไม่มกี ารบดอัด โดยจะหาค่าสัมประสิทธิการซึ
์ มผ่านของน้าใน
มวลดิน (KT) ปริมาณความชืน้ (w%) และ ความหน้าแนน่นของตัวอย่างดิน (ρ)
ผลการทดสอบ การหาค่า water content ได้ขอ้ มูลตามตาราง 4.1 การหาค่า Wet
Density , Dry Density ได้ขอ้ มูลตามตาราง 4.2 และ การหาค่าสัมประสิทธิการซึ
์ มผ่านของน้าใน
มวลดิน(KT)
ได้ขอ้ มูลตามตาราง 4.3
ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงข้อมูลและการหาค่า water content
WATER CONTENT DETERMINATION
Wt. of Wet Soil + Can gm. 127.23
Wt. of Dry Soil + Can gm. 113.09
Wt. of Can gm. 14.92
Wt. of Water gm. 14.14
Wt. of Dry Soil gm. 98.17
Water Content % 14.40

ตารางที่ 4.2 ตารางแสดงข้อมูลและการหาค่า Wet Density , Dry Density


DENSITY DETERMINATION
Wt. of Mold + Wet Soil gm. 3920
Wt. of Mold gm. 2167
22

Wt. of Wet Soil gm. 1753


Wet Density, 𝛄wet gm/cc. 1.880
Dry Density, 𝛄d𝐫𝐲 gm/cc. 1.643

ตารางที่ 4.3 ตารางแสดงข้อมูลและการหาค่าสัมประสิทธิการซึ


์ มผ่านของน้ าในมวลดิน( KT )
Sample no. unit 1 2 3 4 5

WT. Measuring Cylinder gm.


817.96 819.76 819.52 819.28 818.13
+ Water
WT. Measuring Cylinder gm. 366.68 366.68 366.68 366.68 366.68
Outflow Volume, Q = cm.3
451.28 453.08 452.84 452.60 451.45
Water
Piezometer, Lc cm. 9.45 9.45 9.45 9.45 9.45
Area, A cm.2 38.38 38.38 38.38 38.38 38.38
Elapsed Time, t sec 35 35 35 35 35
Total Head 1, h1 cm. 21.9 22.1 22.5 22.5 22.5
Total Head 2, h2 cm. 43.5 43.5 43.6 43.6 43.6
Head, h cm. 21.6 21.4 21.1 21.1 21.1
KT (x10−3 ) cm./sec 146.997 148.962 151.000 150.920 150.537
Average K T cm./sec
149.68
(x10−3 )
23

จากการคานวณหาค่าสัมประสิทธิของการซึ
์ มผ่าน (KT) ทาการทดสอบทีอ่ ุณหภูมิ 26 ° Cซึง่
จะต้องปรับแก้ค่าสัมประสิทธิการซึ
์ มผ่าน ( KT ) ทีอ่ ุณหภูมิ 20 ° C ตามมาตรฐานดังตารางที่ 4.4

์ มผ่านทีอ่ ุณหภูมิ 20 ° K
ตารางที่ 4.4 ตารางแสดงข้อมูลและการหาค่าสัมประสิทธิการซึ
Trial Number Unit 1 2 3 4 5
KT (𝐱𝟏𝟎−𝟑 ) cm/sec. 146.997 148.962 151.000 150.920 150.537
U26 °C - 0.8672 0.8672 0.8672 0.8672 0.8672
U20 °C °
K20 °C cm/sec. 127.4758 129.1798 130.9472 130.8778 130.5457

Average cm/sec.
129.805

4.1.2 อภิปรายผลการทดสอบ
จากการคานวณค่าทีไ่ ด้จากการทดลอง ได้ค่าปริมาณความชืน้ (water contant %)
เท่ากับ 14.40 % ค่าความหนาแน่นเปี ยก (wet density) เท่ากับ 1.88 gm/cc. ค่าความหนาแน่น
แห้ง (dry density ) เท่ากับ 1.50 gm/cc. ค่าสัมประสิทธิของการซึ
์ มผ่าน (KT) ทีอ่ ุณหภูมิ 26 ° C
มีค่าเฉลีย่ เท่ากับ 149.68 x 10-3 cm/sec. ซึง่ ได้ค่าปรับแก้ค่าสัมประสิทธิของการซึ
์ มผ่าน (KT) ที่
อุณหภูมิ 20 ° C มีค่าเฉลีย่ เท่ากับ 129.805 x 10-3 cm/sec.
4.1.2 ตัวอย่างการคานวณ
(1) การหาน้ าหนักของน้า
Wt. of water = (Wt. Wet soil + can) - ( Wt. dry soil + can)
= 127.23 – 113.09 = 14.14 gm.
(2) การหาน้ าหนักของดินแห้ง
Wt. of water = (Wt. dry soil + can) - ( Wt. can)
= 113.09 -14.92 = 98.17 gm.

(3) การหาค่าความชืน้ ในมวลดิน (Water content, w)


24

Ww
Water content = ×100
Ws
14.14
Water content = x100 = 14.40 %
98.17

(4) การหาปริมาตรของโมลด์
πD2 h
Volume Of Mold =
4
π ×(6.99)2 ×24.30
=
4
Volume Of Mold = 932.50 cc
(5) การหาค่าน้าหนักของดินในโมลด์ทดสอบ (Wt. of soil in mold)
Wt. of soil in mold = (Wt. of mold + wet soil) – (Wt. of mold)
Wt. of soil in mold = 3920 – 2167 = 1753 gm.
(6) การหาความหนาแน่นเปี ยก (Wet density)
M
Wet density =
V
1753
Wet density = = 1.88 gm/cc.
932.5
(7) การหาความหนาแน่นแห้ง (Dry density)
ρt
Dry density =
1+w
1.88
Dry density = 14.40 = 1.64 gm/cc.
1+ 100
(8) การหาค่าสัมประสิทธิของการซึ
์ มผ่าน (KT)
outflow volume, Q = 451.28 cm3
distance piezometer, Lc = 9.45 cm.
∆h = 21.6 cm.
Area, A = 38.375 cm2
Time, t = 35 s.
QLC
KT = จากสมการที่ (2.12)
A∆ht
451.28x9.45
=
38.375x35x21.6
= 146.9997 x 10-3 cm/sec.
(9) ปรับแก้ค่าสัมประสิทธิของการซึ
์ มผ่าน (KT) ทีอ่ ุณหภูมิ 20 ° C
KT = 146.9997 x 10-3 cm/sec.
25

𝑈26 °C
= 0.8672 จากตาราง
𝑈20 °C °
𝑈26 °C
K20° C = x KT จากสมการที(่ 2.13)
𝑈20 °C °
= 0.8672 x 146.9997 x 10-3
= 127.476 x 10-3 cm/sec.

4.2 กำรทดสอบควำมสำมำรถในกำรอัดตัวคำยน้ำ ( Consolidation test )


4.2.1 ผลการทดลอง
ตารางที่ 4.5 แสดงข้อมูลและการหาค่าปริมาณความชืน้ ในดิน(water content %)
Water Content Initial (ก่อนกดทดสอบ) Final(หลังกดทดสอบ)
Wt. of Can + Wet soil 115.20 88.32
(gm.)
Wt. of Can + Dry soil (gm.) 73.01 69.04
Wt. of Can (gm.) 15.05 14.78
Wt. of water (gm) 42.19 19.28
Wt. of Dry soil (gm.) 57.96 54.26
Water Content (%) 72.79 35.53

ตารางที่ 4.5 แสดงข้อมูลและการหาค่าความหนาแน่น ( Density )


Sample Soil Test Initial (ก่อนกดทดสอบ) Final(หลังกดทดสอบ)
Wt. of Ring + Wet Soil (gm.) 194.11 168.85
Wt. of Cutting Ring ( gm. ) 95.31 95.31
Wt. of Wet Soil ( gm. ) 98.80 73.54
Volume of Sample ( gm. ) 64.34 64.34
Wet Density, ( gm/cc. ) 1.54 1.14
Dry Density, ( gm/cc. ) 0.89 0.84
26

ตารางที่ 4.6 ข้อ มู ล การทดสอบความสามารถในการอัด ตัว คายน้ า น้ า หนั ก 0.25 lb วัน ที่
31/8/2565
Date 31/8/2565
Weight (lb) 0.25

Elapsed time ( min ) log Sqrt Dial Gauge Reading

0 - 0 0
0.25 -0.602 0.5 6.9
0.5 -0.301 0.707 8.1
1 0 1 9.9
2 0.301 1.414 12.2
4 0.602 2 15.4
8 0.903 2.828 17.9
15 1.176 3.873 21.8
30 1.477 5.477 23.8
60 1.778 7.746 28.8
120 2.079 10.954 29.1
180 2.255 13.416 29.2
240 2.38 15.492 29.2
480 2.681 21.909 30
960 2.982 30.984 31.9
1440 3.158 37.947 33.9
27

ตารางที่ 4.7 ข้อ มู ล การทดสอบความสามารถในการอัด ตัว คายน้ า น้ า หนั ก 0.50 lb วัน ที่
1/9/2565
Date 1/9/2565

Weight (lb) 0.50

Elapsed time ( min ) log Sqrt Dial Gauge Reading

0 - 0 33.9
0.25 -0.602 0.5 34.6
0.5 -0.301 0.707 35.7
1 0 1 37.3
2 0.301 1.414 39.7
4 0.602 2 42.8
8 0.903 2.828 46.6
15 1.176 3.873 50.2
30 1.477 5.477 57.7
60 1.778 7.746 63.2
120 2.079 10.954 65.6
180 2.255 13.416 66.4
240 2.38 15.492 66.7
480 2.681 21.909 69.7
960 2.982 30.984 72.8
1440 3.158 37.947 76.1
28

ตารางที่ 4.8 ข้อ มู ล การทดสอบความสามารถในการอัด ตัว คายน้ า น้ า หนั ก 1.00 lb วัน ที่
2/09/2565
Date 2/09/2565

Weight (lb) 1.00

Elapsed time ( min ) log Sqrt Dial Gauge Reading

0 - 0 76.1
0.25 -0.602 0.5 80.9
0.5 -0.301 0.707 83.3
1 0 1 87.0
2 0.301 1.414 91.9
4 0.602 2 99.1
8 0.903 2.828 109.2
15 1.176 3.873 120.0
30 1.477 5.477 133.0
60 1.778 7.746 146.9
120 2.079 10.954 160.8
180 2.255 13.416 165.5
240 2.38 15.492 168.8
480 2.681 21.909 174.6
960 2.982 30.984 182.8
1440 3.158 37.947 204.2
29

ตารางที่ 4.9 ข้อ มู ล การทดสอบความสามารถในการอัด ตัว คายน้ า น้ า หนั ก 2.00 lb วัน ที่
3/09/2565
Date 3/09/2565

Weight (lb) 2.00

Elapsed time ( min ) log Sqrt Dial Gauge Reading

0 - 0 204.2
0.25 -0.602 0.5 207.3
0.5 -0.301 0.707 211.7
1 0 1 217.9
2 0.301 1.414 226.8
4 0.602 2 240.0
8 0.903 2.828 260.0
15 1.176 3.873 283.0
30 1.477 5.477 311.9
60 1.778 7.746 346.1
120 2.079 10.954 371.2
180 2.255 13.416 387.8
240 2.38 15.492 395.2
480 2.681 21.909 409.2
960 2.982 30.984 422.1
1440 3.158 37.947 427.8
30

ตารางที่ 4.10 ข้อ มูล การทดสอบความสามารถในการอัด ตัว คายน้ า น้ า หนัก 4.00 lb วัน ที่
4/09/2565
Date 4/09/2565

Weight (lb) 4.00

Elapsed time ( min ) log Sqrt Dial Gauge Reading

0 - 0 427.8
0.25 -0.602 0.5 450.9
0.5 -0.301 0.707 458.5
1 0 1 470.3
2 0.301 1.414 485.9
4 0.602 2 509.2
8 0.903 2.828 542.1
15 1.176 3.873 582.0
30 1.477 5.477 640.0
60 1.778 7.746 698.9
120 2.079 10.954 734.4
180 2.255 13.416 760.9
240 2.38 15.492 771.0
480 2.681 21.909 791.0
960 2.982 30.984 806.1
1440 3.158 37.947 814.5
31

ตารางที่ 4.11 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 8.00 lb วันที่


/09/2565
Date 5/09/2565

Weight (lb) 8.00

Elapsed time ( min ) log Sqrt Dial Gauge Reading

0 - 0 814.5
0.25 -0.602 0.5 840.0
0.5 -0.301 0.707 851.0
1 0 1 867.0
2 0.301 1.414 889.7
4 0.602 2 920.9
8 0.903 2.828 966.0
15 1.176 3.873 1024.1
30 1.477 5.477 1089.5
60 1.778 7.746 1161.9
120 2.079 10.954 1210.8
180 2.255 13.416 1227.5
240 2.38 15.492 1239.0
480 2.681 21.909 1257.4
960 2.982 30.984 1274.5
1440 3.158 37.947 1288.1
32

ตารางที่ 4.12 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 16.00 lb วันที่


5/09/2565
Date 6/09/2565

Weight (lb) 16.00

Elapsed time ( min ) log Sqrt Dial Gauge Reading

0 - 0 1288.1
0.25 -0.602 0.5 1324.0
0.5 -0.301 0.707 1335.9
1 0 1 1354.9
2 0.301 1.414 1381.0
4 0.602 2 1418.5
8 0.903 2.828 1471.6
15 1.176 3.873 1535.2
30 1.477 5.477 1618.9
60 1.778 7.746 1694.1
120 2.079 10.954 1740.9
180 2.255 13.416 1759.9
240 2.38 15.492 1771.1
480 2.681 21.909 1791.2
960 2.982 30.984 1807.9
1440 3.158 37.947 1825.1
33

ตารางที่ 4.13 ข้อ มูล การทดสอบความสามารถในการอัด ตัว คายน้ า น้ า หนัก 10.00 lb วัน ที่
7/09/2565
Date 7/09/2565

Weight (lb) 10.00

Elapsed time ( min ) log Sqrt Dial Gauge Reading

0 - 0 1825.1
0.25 -0.602 0.5 1821.2
0.5 -0.301 0.707 1820.9
1 0 1 1819.5
2 0.301 1.414 1817.2
4 0.602 2 1814.9
8 0.903 2.828 1812.7
15 1.176 3.873 1811.1
30 1.477 5.477 1810.3
60 1.778 7.746 1809.8
120 2.079 10.954 1807.1
180 2.255 13.416 1806.7
240 2.38 15.492 1806.6
480 2.681 21.909 1806.0
960 2.982 30.984 1805.7
1440 3.158 37.947 1802.0
34

ตารางที่ 4.14 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 3.00 lb วันที่


08/09/2565
Date 08/09/2565
Weight (lb) 3.00
Dial Gauge
Elapsed time ( min ) log Sqrt
Reading
0 - 0 1802.0
0.25 -0.602 0.5 1783.0
0.5 -0.301 0.707 1778.5
1 0 1 1772.0
2 0.301 1.414 1762.5
4 0.602 2 1749.0
8 0.903 2.828 1731.0
15 1.176 3.873 1713.0
30 1.477 5.477 1694.0
60 1.778 7.746 1680.0
120 2.079 10.954 1670.0
180 2.255 13.416 1667.0
240 2.38 15.492 1665.0
480 2.681 21.909 1660.2
960 2.982 30.984 1655.2
1440 3.158 37.947 1649.5
35

ตารางที่ 4.15 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 1.00 lb วันที่


09/09/2565
Date 09/09/2565
Weight (lb) 1.00

Elapsed time ( min ) log Sqrt Dial Gauge Reading

0 - 0 1649.5
0.25 -0.602 0.5 1634.4
0.5 -0.301 0.707 1633.5
1 0 1 1631.1
2 0.301 1.414 1627.5
4 0.602 2 1621.2
8 0.903 2.828 1612.1
15 1.176 3.873 1600.1
30 1.477 5.477 1584.1
60 1.778 7.746 1563.8
120 2.079 10.954 1546.8
180 2.255 13.416 1540.6
240 2.38 15.492 1537.0
480 2.681 21.909 1524.2
960 2.982 30.984 1515.1
1440 3.158 37.947 1506.9
36

ตารางที่ 4.16 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 4.00 lb วันที่


10/09/2565
Date 10/09/2565
Weight (lb) 4.00

Elapsed time ( min ) log Sqrt Dial Gauge Reading

0 - 0 1506.9
0.25 -0.602 0.5 1509.1
0.5 -0.301 0.707 1511.1
1 0 1 1514.5
2 0.301 1.414 1518.9
4 0.602 2 1524.5
8 0.903 2.828 1531.8
15 1.176 3.873 1538.5
30 1.477 5.477 1544.2
60 1.778 7.746 1547.2
120 2.079 10.954 1552.7
180 2.255 13.416 1553.2
240 2.38 15.492 1555.0
480 2.681 21.909 1558.5
960 2.982 30.984 1559.2
1440 3.158 37.947 1560.0
37

ตารางที่ 4.17 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 8.00 lb วันที่


11/09/2565
Date 11/09/2565
Weight (lb) 8.00

Elapsed time ( min ) log Sqrt Dial Gauge Reading

0 - 0 1560.00
0.25 -0.602 0.5 1571.00
0.5 -0.301 0.707 1575.00
1 0 1 1581.10
2 0.301 1.414 1589.20
4 0.602 2 1601.00
8 0.903 2.828 1616.50
15 1.176 3.873 1632.50
30 1.477 5.477 1648.50
60 1.778 7.746 1658.10
120 2.079 10.954 1663.80
180 2.255 13.416 1668.20
240 2.38 15.492 1669.80
480 2.681 21.909 1672.40
960 2.982 30.984 1675.80
1440 3.158 37.947 1677.90
38

ตารางที่ 4.18 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 16.00 lb วันที่


12/09/2565
Date 12/09/2565
Weight (lb) 16.00

Elapsed time ( min ) log Sqrt Dial Gauge Reading

0 - 0 1677.90
0.25 -0.602 0.5 1703.30
0.5 -0.301 0.707 1710.00
1 0 1 1719.20
2 0.301 1.414 1733.30
4 0.602 2 1753.70
8 0.903 2.828 1778.70
15 1.176 3.873 1803.90
30 1.477 5.477 1827.00
60 1.778 7.746 1843.00
120 2.079 10.954 1853.90
180 2.255 13.416 1860.00
240 2.38 15.492 1861.80
480 2.681 21.909 1870.30
960 2.982 30.984 1878.80
1440 3.158 37.947 1884.10
39

ตารางที่ 4.19 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 32.00 lb วันที่


13/09/2565
Date 13/09/2565
Weight (lb) 32.00

Elapsed time ( min ) log Sqrt Dial Gauge Reading

0 - 0 1884.10
0.25 -0.602 0.5 1920.50
0.5 -0.301 0.707 1932.00
1 0 1 1951.00
2 0.301 1.414 1977.90
4 0.602 2 2015.90
8 0.903 2.828 2067.90
15 1.176 3.873 2126.90
30 1.477 5.477 2200.00
60 1.778 7.746 2260.00
120 2.079 10.954 2300.00
180 2.255 13.416 2316.70
240 2.38 15.492 2330.50
480 2.681 21.909 2340.20
960 2.982 30.984 2355.90
1440 3.158 37.947 2363.80
40

ตาราง 4.20 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 64.00 lb วันที่


14/09/2565
Date 14/09/2565
Weight (lb) 64.00

Elapsed time ( min ) log Sqrt Dial Gauge Reading

0 - 0 2363.80
0.25 -0.602 0.5 2403.20
0.5 -0.301 0.707 2416.80
1 0 1 2416.80
2 0.301 1.414 2436.50
4 0.602 2 2465.90
8 0.903 2.828 2506.20
15 1.176 3.873 2563.60
30 1.477 5.477 2631.20
60 1.778 7.746 2715.20
120 2.079 10.954 2783.90
180 2.255 13.416 2824.20
240 2.38 15.492 2848.70
480 2.681 21.909 2869.10
960 2.982 30.984 2886.20
1440 3.158 37.947 2897.90
41

ตารางที่ 4.21 ข้อมูลการทดสอบความสามารถในการอัดตัวคายน้า น้ าหนัก 128.00 lb วันที่


15/09/2565
Date 15/09/2565
Weight (lb) 128.00

Elapsed time ( min ) log Sqrt Dial Gauge Reading

0 - 0 2897.90
0.25 -0.602 0.5 2929.10
0.5 -0.301 0.707 2942.80
1 0 1 2962.10
2 0.301 1.414 2990.50
4 0.602 2 3029.90
8 0.903 2.828 3086.70
15 1.176 3.873 3151.30
30 1.477 5.477 3213.20
60 1.778 7.746 3293.10
120 2.079 10.954 3329.10
180 2.255 13.416 3343.80
240 2.38 15.492 3352.50
480 2.681 21.909 3368.80
960 2.982 30.984 3383.10
1440 3.158 37.947 3391.10

หลังจากที่เก็บข้อมูลมาครบแล้วทัง้ 16 วัน เราเอาค่าแต่ละวันไปพลอตได้กราฟ


log เพือ่ ทีจ่ ะหาค่า t50 พลอตกราฟ Sqrt จะได้ค่า t90 แล้วนาไปหาค่าตามตาราง 4.22
42

ตารางที่ 4.22 ข้อมูลการทดสอบและการหาค่า Hdr


Simpl
Final Final
Load Pressure e Hav Hdr
Date reading reading
(lb) (kN/cm2) height (cm) (cm)
(10-4 in ) (10-4 cm)
(cm)
31/8/6 33.9 86.10600 1.991 1.9957 0.9978
0.25 0.00003
5 4
76.1 193.2940 1.980 1.9882 0.9941
1/9/65 0.5 0.00007
7
204.2 518.6680 1.948 1.9682 0.9841
2/9/65 1 0.00014
1
427.8 1086.612 1.891 1.9297 0.9649
3/9/65 2 0.00028
0 3
814.5 2068.830 1.793 1.8614 0.9307
4/9/65 4 0.00055
0 1
1288.1 3271.774 1.672 1.7671 0.8836
5/9/65 8 0.00111
0 8
1825.1 4635.754 1.536 1.6518 0.8259
6/9/65 16 0.00221
0 4
1802.0 4577.080 1.542 1.5970 0.7985
7/9/65 10 0.00138
0 3
1649.5 4189.730 1.581 1.5890 0.7945
8/9/65 3 0.00041
0 0
1506.9 3827.526 1.617 1.6031 0.8016
9/9/65 1 0.00014
0 2
10/9/6 1560.0 3962.400 1.603 1.6034 0.8017
4 0.00055
5 0 8
11/9/6 1677.9 4261.866 1.573 1.5886 0.7943
8 0.00111
5 0 8
12/9/6 1884.1 4785.614 1.521 1.5550 0.7775
16 0.00221
5 0 4
43

13/9/6 2363.8 6004.052 1.399 1.4773 0.7387


32 0.00443
5 0 6
14/9/6 2897.9 7360.666 1.263 1.3706 0.6853
64 0.00885
5 0 9
15/9/6 3391.1 8613.394 1.138 1.2546 0.6273
128 0.01770
5 0 7

นาค่า Hdr ทีค่ านวณมาได้ กับ นาค่า t50 และ t90 ไปหาค่าสัมประสทธิการอั
์ ดตัวคายน้า(Cv) ดัง
ตาราง 4.23

ตารางที่ 4.23 ข้อมูลการทดสอบและการหาค่าสัมประสทธิการอั


์ ดตัวคายน้า(Cv)
Load Pressure Hdr Cv (cm2/min)
t90 t50 Cv,av (cm2/min)
(lb) ( kN/cm2) (cm) t90 t50
0.25 0.00003 0.9978 9 6 0.0938 0.0327 0.0633
0.5 0.00007 0.9941 44.9 10 0.0187 0.0195 0.0191
1 0.00014 0.9841 34.81 15.67 0.0236 0.0122 0.0179
2 0.00028 0.9649 94.1 26 0.0084 0.0071 0.0077
4 0.00055 0.9307 72.08 17.5 0.0102 0.0098 0.0100
8 0.00111 0.8836 51.37 14.75 0.0129 0.0104 0.0117
16 0.00221 0.8259 47.61 14 0.0121 0.0096 0.0109
10 0.00138 0.7985 7.29 3.2 0.0742 0.0393 0.0567
3 0.00041 0.7945 20.25 7 0.0264 0.0178 0.0221
1 0.00014 0.8016 100 32 0.0054 0.0040 0.0047
4 0.00055 0.8017 23.04 6.5 0.0237 0.0195 0.0216
8 0.00111 0.7943 25 6 0.0214 0.0207 0.0211
16 0.00221 0.7775 21.16 5 0.0242 0.0238 0.0240
32 0.00443 0.7387 28.41 12 0.0163 0.0090 0.0126
64 0.00885 0.6853 96.04 29 0.0041 0.0032 0.0037
128 0.01770 0.6273 27.04 11 0.0123 0.0070 0.0097
44

ตารางที่ 4.24 หาค่าสัมประสิทธิความสามารถการยุ


์ บตัว (mv) และและค่าสัมประสิทธิการซึ
์ ม
ผ่านของน้าในดิน (Kv)

Pressure Hs Void ratio av mv kv


( kN/cm^2) (cm) (e) (cm^2/kN) (cm^2/kN) (x10^-6 cm/min)
t90 t50
0.00003 0.6365 2.1355 196.5423 62.5474 57.5651 20.0595
0.00007 0.6365 2.1237 341.2419 108.5963 19.8832 20.7397
0.00014 0.6365 2.0923 454.0252 144.4884 33.4390 17.2567
0.00028 0.6365 2.0319 436.6739 138.9665 11.4374 9.6164
0.00055 0.6365 1.9246 387.8735 123.4363 12.3404 11.8080
0.00111 0.6365 1.7764 267.8604 85.2435 10.7769 8.7193
0.00221 0.6365 1.5952 163.7527 52.1124 6.2108 4.9067
0.00138 0.6365 1.5092 103.6257 32.9777 23.9953 12.6991
0.00041 0.6365 1.4966 13.0135 4.1414 1.0740 0.7218
0.00014 0.6365 1.5188 80.2497 25.5385 1.3650 0.9910
0.00055 0.6365 1.5193 1.2050 0.3835 0.0890 0.0733
0.00111 0.6365 1.4960 42.1130 13.4020 2.8137 2.7236
0.00221 0.6365 1.4432 47.7160 15.1851 3.6090 3.5482
0.00443 0.6365 1.3211 55.1717 17.5578 2.8051 1.5428
0.00885 0.6365 1.1535 37.8656 12.0503 0.4902 0.3771
0.01770 0.6365 0.9712 20.5934 6.5536 0.7934 0.4531
45

4.2.1 ตัวอย่างการคานวณ
1.)การคานวณหาค่าปริมาณความชื้น (Water Content)
Wt. of dry soil = 57.96 gm.
Wt. of water = 42.19 gm.
Ww
จากสูตร w = ×100
Ws
42.19
จะได้ w = ×100 = 72.79%
57.96
2.) การคานวณหาความหนาแน่นเปี ยก (Wet Density,γwet )
Wt. of wet soil = 98.8 gm.
Mold Volume = 64.34 cc.
Wt. of wet soil
จากสูตร Wet Density =
Mold Volume
98.8
จะได้ Wet Density = = 1.54 gm./cc.
64.34
3.) การคานวณหาความหนาแน่นแห้ง (Dry Density,γdry )
Wet Density = 1.54 gm./cc.
Water Content = 72.79%
Wet Density
จากสูตร Dry Density =
1+w
1.54
จะได้ Dry Density = = 0.89 gm/cc
1+0.7279
จากตัวอย่างโหลด 1 lb วันที่ 02/9/65
4.) หา cv จากวิธี square root time method
4.1) หาความสูงของดินตัวอย่าง (Havg )
H0 +H1
Havg = จากสมการที่ (2.18)
2
(1.9882+(2-0.05186))
=
2

Havg = 1.9682 cm.


Havg
Hd =
2
1.9682
=
2
46

Hd = 0.9841 cm.
0.848Hd 2
Cv = จากสมการที(่ 2.20)
t90
0.848(0.9841)2
=
34.81
2
Cv =0.0236 cm ⁄min

5.) หา cv จากวิธี log time method


0.197Hd 2
จากCv = จากสมการที(่ 2.21)
t50
0.197(0.9841)2
=
15.67
2
Cv =0.0122 cm ⁄min
6.) หา cv,avg
Cv,t90 +Cv,t
50
Cv,avg = จากสมการที(่ 2.22)
2
0.0236+0.0122
=
2
2
Cv,avg = 0.0179 cm ⁄min
7.) ค่าความสูงเริม่ ต้นของช่องว่างตัวอย่างดินเหนียว(Hs )
Ms
Hs = จากสมการที(่ 2.23)
A×Gs ×γw

54.26
=
32.17×2.65×1

Hs =0.6365 cm.
8.)ค่าความสูงเริม่ ต้นช่องว่างตัวอย่างดิน(Hv )
Hv =Havg -Hs จากสมการที(่ 2.24)
47

=1.9682-0.6365
Hv =1.3317 cm.

9.) อัตราส่วนช่องว่างในดินเริม่ ต้น (e0 )


Vv
e0 = จากสมการที(่ 2.25)
Vs
Hv ×A
=
Hs ×A
Hv
=
Hs
1.3317
=
0.6365

e0 =2.0923
10.) ค่าสัมประสิทธิการทรุ
์ ดตัว(coefficient of compressibility),av
∆e
av = จากสมการที(่ 2.26)
∆ρ'
|2.1237-2.0923|
=
|0.00007-0.00014|

av = 454.0252 cm2 / kN
11.) ค่าสัมประสิทธิการอั
์ ดตัวของปริมาตร(coefficient of volume compressibility),mv
av
mv = จากสมการที(่ 2.27)
1+e0
454.0252
=
1+2.1423

mv = 144.4884 cm2 / kN

12.) ค่าสัมประสิทธิการซึ
์ มผ่าน (k) วิธี square root time method ,(kv,t90 )

kv,t90 = Cv,t90 ×mv ×γw จากสมการที(่ 2.28)


48

=0.0236×144.4884×9.81×10-6
kv,t90 = 33.4390×10-6 cm/min
13.) ค่าสัมประสิทธิการซึ
์ มผ่าน (k) วิธี log time method ,(kv,t50 )
kv,t50 = Cv,t50 ×mv ×γw จากสมการที(่ 2.29)
= 0.0122×144.4884×9.81×10^(-6)
kv,t50 = 17.2567×10-6 cm/min
49

บทที่ 5
สรุปผลและข้อเสนอแนะ

5.1 กำรหำค่ำสัมประสิ ทธิ์ กำรซึมผ่ำนของน้ำในมวลดิ น (Permeability Test)


5.1.1 สรุปผลการทดลอง
จากการทดสอบการหาค่ า สัม ประสิท ธิ ก์ ารซึ ม ผ่ า นของน้ า ในมวลดิ น
(permeability test) ประเภทความดันคงที่ (constant head method) โดยการใส่ทรายแบบหลวม
หรือไม่ทาการบดอัด และใช้เงื่อนไขตัวอย่างดินแบบไม่ถูกรบกวน (undisturbed) ได้ค่าปริมาณ
ความชื้นในมวลดิน (water content) เท่ากับ 14.40% ค่ าความหนาแน่ นเปี ยก (wet density)
เท่ า กับ 1.88 gm./cc. ค่ า ความหนานแน่ น แห้ง (dry density) เท่ า กับ 1.64 gm./cc. และค่ า
์ มผ่าน (KT) เฉลีย่ ทีอ่ ุณหภูมิ 26ºC เท่ากับ 149.68x10-3 cm./sec และเมื่อนาค่า
สัมประสิทธิการซึ
สัม ประสิท ธิก์ ารซึม ผ่ า น (KT) ที่อุ ณ หภู มิ 26ºC มาปรับ แก้ท่ีอุ ณ หภู มิ 20ºC จะท าให้ไ ด้ค่ า
์ มผ่าน (KT) เฉลี่ยที่อุณหภูมิ 20ºC เท่ากับ 129.81x10-3 cm./sec ซึ่งจะพบว่า
สัมประสิทธิการซึ
ค่าเฉลีย่ สัมประสิทธิการซึ
์ มผ่านอยู่ในช่วง 1.0 ถึง 0.01 คือมีระดับของการซึมผ่านของน้ าในดิน
ปานกลาง (medium) ซึ่งดินจัดอยู่ในชนิดของทรายหยาบ (Coarse sand) โดยวิธที ดสอบแบบ
ใช้ระดับน้าคงที่ Constant Head เหมาะกับทรายทีไ่ ม่มดี นิ เม็ดละเอียดเจือปนไปจนถึงกรวด
5.1.2 ข้อเสนอแนะ
(1) สังเกตอย่าให้มฟี องอากาศอยู่ภายในมวลดินหรือระบบท่อสาหรับการวัด
แรงดันน้าในมวลดิน
(2) ตวรจสอบให้ระดับน้ าในถังรักษาแรงดันคงทีอ่ ยู่เสมอ

5.2 กำรทดสอบกำรอัดตัวคำยน้ำของดิ น (Consolidation test)


5.2.1 สรุปผลการทดลอง
จากการทดสอบการอัด ตัว คายน้ า ของตัว อย่ า งดิน เหนี ย วที่มีค่ า ความ
ถ่วงจาเพาะ (Gs) เท่ากับ 2.65 และมีความสูงของดินก่อนการทดสอบ (Initial) เท่ากับ 2 cm. ซึง่
เมื่อ นาตัว อย่างดินที่เ หลือจากการตัดแต่งไปคานวณหาค่าปริมาณความชื้นของตัว อย่างดิน
เหนียว (water content) ได้เท่ากับ 72.79% คานวณหาค่าความหนาแน่ นเปี ยก ( wet density)
ได้เ ท่ า กับ 1.54 gm./cc. ค านวณหาค่ า ความหนาแน่ น แห้ง ( dry density) ได้เ ท่ า กับ 0.89
50

gm./cc. และมีค่าอัตราส่วนช่องว่าง (void ratio) เท่ากับ 2.1423 และเมื่อนาตัวอย่างดินไปกด


ทดสอบแล้วนาตัวอย่างดินมาคานวณข้อมู ลทางกายภาพ (final) จะได้ค่าปริมาณความชื้นของ
ตัว อย่ า งดิน (water content) ได้เ ท่ า กับ 35.55%ค านวณหาค่ า ความหนาแน่ น เปี ย ก ( wet
density) ได้เท่ากับ 1.14 gm./cc. คานวณหาค่าความหนาแน่ นแห้ง ( dry density) ได้เท่ากับ
0.84 gm./cc. ค่าความสูงของตัวอย่างดินหลังกดทดสอบเท่ากับ 1.2546 cm. และมีค่าอัตราส่วน
ช่ อ งว่ า ง (void ratio) เท่ า กับ 0.9712......................................................................
จากการทดสอบจะพบว่าแรง หรือ Load ทีก่ ระทาต่อตัวอย่างดินทีท่ ดสอบจะ
มีค่าแปรผกผันกับค่าอัตราส่วนช่องว่างของดิน และเมื่อทาการพลอตกราฟระหว่างอัตราส่ว น
ช่องว่าง (void ratio) กับ ความดัน ( effective pressure) จะทาให้เราทราบค่าหน่ วยแรงกดทับ
สูงสุดในอดีตมีค่าเท่ากับ 42.5 และ หน่วยแรงกดทับที่ดนิ ได้รบั ในปั จจุบนั มีค่ามากกว่าเท่ากับ
28 kN/m ซึ่งจะสามารถนามาคานวณค่าอัตราส่วนเกิน (over consolidation ratio หรือ OCR)
เท่ากับ 1.517 ซึง่ ถ้าค่า OCR > 1 แสดงว่าดินทีน่ ามาทาการทดสอบนี้เป็ นดินทีอ่ ดั แน่นเกินปกติ
(over consolidated)
5.2.2 ข้อเสนอแนะ
(1) การอ่านค่าในช่วงแรกของการเปลี่ยน Load และการเปลี่ยน Load ต้อง
ทาด้วยความระมัดระวังและมีความแม่นยาสูง
(2) การพลอตกราฟด้วยมืออาจเกิดความผิดพลาดได้สงู เนื่องจากมีการหาค่า
หลายค่าจากเส้นที่ทาการสัมผัสหรือตัดกันดังนัน้ ควรเช็คค่ากับกลุ่มอื่นๆเพื่อความถูกต้องของ
ข้อมูล
51

บรรณำนุกรม
ผศ.ปิ ยะ รัตนสุวรรณ. ปฐพีกลศาสตร ( Soil Mechanics ). พิมพ์ครัง้ ที่ 5. กรุงเทพฯ: สถาบัน
ฝึ ก อบรมทางวิศ วกรรมและก่ อ สร้ า ง TumCivil.com Training Center / www.tumcivil.com ;
2561.

วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่. การทดลองความซึมน้ าของดิน (Soil Permeability Test). สืบค้น 18


กันยายน 2565. จากเว็บไซต์: http://krumanit.cmtc.ac.th/main/images/stories/ 11.pdf

วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่. การทดสอบการอัดตัวคายน้ าของดิน (Consolidation test). สืบค้น


18 กันยายน 2565. จากเว็บไซต์: http://krumanit.cmtc.ac.th/main/images/stories/ 12.pdf

มหาวิทยาลัยนเรศวร. ความสามารถในการยุบตัวได้ของดิน (Compressibility of Soil).สืบค้น


18 กันยายน 2565. จากเว็บไซต์:http://dcms.lib.nu.ac.th/dcms/TDC2552/0525/chapter12.pdf

You might also like