You are on page 1of 5

ใบงาน PRE-323 : การตรวจสอบด้ วยสารแทรกซึม (PT) และ การตรวจสอบด้ วยผงแม่ เหล็ก (MT)

ให้ ทำในแบบฟอร์ มที่ผมได้ เตรี ยมไว้ ให้ ท้ ายเอกสารนี ้ โดยขอให้ นศ. ทำเป็ นกลุม่ 5 หรื อ 6 คน หรื อเดี่ยวก็ได้
1. ให้ นศ. เขียนขันตอนการตรวจสอบ
้ สันๆ
้ ทังของ
้ PT และ MT ในลักษณะเป็ น Flow diagram โดยในแต่ละขันตอน

ให้ ระบุถึง ปั จจัย หรื อ จุด หรื อ การตรวจเช็คสำคัญ ที่ต้องเน้ นย้ำ และควบคุม
2. ให้ นศ. ค้ นหารูปภาพ และคำบรรยาย ถึงตัวอย่างงาน ที่มีการนำ PT และ MT ไปใช้ โดยค้ นหาจากอินเตอร์ เน็ท เช่น
ใส่รูปการทำ PT ขณะทดสอบท่อ และเขียนบรรยายเป็ นภาษาไทยว่า “ใช้ PT ทดสอบแนวเชื่อมต่อท่อ” พร้ อมทังลิ ้ ้ง
ของหน้ าเวปที่ค้นเจอ เป็ นต้ น โดยรูปที่หามาจะต้ องไม่ซ้ำกัน
3. กำหนดส่งงานก่อนวันที่ 6 ธันวาคม 2564 ทาง chalermkiat.j@mail.kmutt.ac.th ส่งเป็ นไฟล์ PDF นะครับ

อาจารย์ผ้ สู อน: ผศ.เฉลิมเกียรติ จิระรุ่งเสถียร 0868382128 LINE ID.: chalermkiat osk112

PRE 323 : การตรวจสอบด้ วยสารแทรกซึม (Liquid Penetrant Testing : PT) PT page 1/2

ชื่อและรหัส นศ. >>


1.นางสาวศินินาฏ บัวงาม 62070500831 4.นางสาวสุดารั ตน์ สุขะ 62070500835
2.นางสาวศิวนาถ รุ่ งอรุ ณฉายแสง 62070500832 5.นางสาวอมริ ศา โกมลไสย 62070500836
3.นายศุภธัช สังข์ ทอง 62070500833 6.นายสมลักษณ์ อุบลวัตร์ 62070500859

ขัน้ ตอนการทดสอบด้ วย PT (แบบล้ างออกด้ วย Solvent)

ขัน
้ ตอนการทดสอบด้วย สิ่งที่ต้องเน้นย้ำ / ต้องระวัง / ต้องควบคุม /

ตรวจวัดความเข้ มแสงบริ เวณชิ ้นงาน พื ้นผิวทดสอบต้ องมีความสว่าง 1000 lux หากแสงสว่างไม่ถึง


สามารถนำไฟฉายมาช่วยส่องในขณะทำการทดสอบได

เตรี ยมผิวชิ ้นงาน โดยใช้ Solvent ขันตอนการทำความสะอาดสำคั


้ ญมากเพราะเป็ นการเปิ ดพื ้นผิวของ
ฉีดพ่นชิ ้นงาน และใช้ ผ้าแห้ งเช็ด ความไม่ตอ่ เนื่องได้ และควรควบคุมอุณหภูมิชิ ้นงานไม่เกิน

ฉีดสารแทรกซึม Liquid Penetrant สามารถฉีดพ่นเป็ นสเปรย์หรื อทาก็ได้ โดยฉีดพ่นบนรอยเชื่อมและ


ลงบนชิ ้นงาน ด้ านข้ างรอยเชื่อมประมาณด้ านละ 1 นิ ้ว

รอเวลา Dwell time รอประมาณ 5 นาที

ใช้ Solvent ฉีดพ่นบนผ้ าสีขาว และ ห้ ามใช้ Solvent ฉีดเหนือชิ ้นงานและฉีดบนชิ ้นงานโดยตรงโดยเด็ด
เช็ดทรายแทรกซึมที่ผิวชิ ้นงานอออก ขาด ขณะเช็ดใช้ ผ้าใหม่ทกุ ครัง้ ระมัดระวังการเช็ดที่ weld toe

พ่น Developer และรอ Developer ควรตรวจสอบวันหมดอายุของ Developer ใต้ กระป๋ องให้ ดี และ
ระเหยจนแห้ ง ประมาณ 10 นาที ระยะห่างระหว่างหัวฉีดกับชิ ้นงานประมาณ 6 นิ ้ว

ตรวจสอบรอยเชื่อมและวัดขนาด ควรตรวจสอบให้ ดีวา่ รอยที่เกิดขึ ้นเป็ นรอย Defect งานเชื่อม หรื อ


Defect เกิดจาดความผิดพลาด(False) หรื อเป็ นรูปร่ างของชิ ้นงานเอง

การฉีดล้ างกำจัดน้ำยา ใช้ ผ้าแห้ งเช็ดชิ ้นงาน ตามด้ วยการฉีด solvent ล้ าง

PT page 2/2
ตัวอย่ างงาน ที่ตรวจด้ วย PT
ตัวอย่ างงานที่ 1 ตัวอย่ างงานที่ 2 ตัวอย่ างงานที่ 3
รูป (2 – 3 รุป) รูป (2 – 3 รุป) รูป (2 – 3 รุป)

ใช้ PT ตรวจ : Knuckle of head ใช้ PT ตรวจ : tubesheet ใช้ PT ตรวจ : Head spin hole plug
weld

Link : Link : Link :


https://www.nationalboard https://www.nationalboard https://www.nationalboard
.org/index.aspx?pageID= .org/index.aspx?pageID= .org/index.aspx?pageID=
164&ID=374 164&ID=374 164&ID=374

หลักการเลือกวิธี PT มาใช้ 1. สามารถตรวจสอบได้ กบ


ั วัสดุเกือบทุกชนิด
2. รอยตำหนิที่ตรวจพบจะต้ องเปิ ดสูผ
่ ิวเท่านัน้ รอยแตกผิว
3. รู ปร่ างชิ ้นงานไม่มีข้อจำกัดในการตรวจสอบ ( กลม เอียง โค้ ง ได้ หมด )

4. ใช้ อป
ุ กรณ์น้อยและมีราคาไม่แพง
5. ต้ องทำความสะอาดผิวชิ ้นงานที่จะตรวจสอบมากกว่าการตรวจสอบอื่น

6. ต้ องมีการรอระยะเวลาให้ น้ำยาทำงาน

PRE 323 : การตรวจสอบด้ วยสารผงแม่ เหล็ก (Magnetic Particle Testing : MT) MT page 1/2

ชื่อและรหัส นศ. >>


1. 4.
2. 5.
3. 6.

ขัน้ ตอนการทดสอบด้ วย MT

ขัน
้ ตอนการทดสอบด้วย สิ่งที่ต้องเน้นย้ำ / ต้องระวัง / ต้องควบคุม /

MT page 2/2
ตัวอย่ างงาน ที่ตรวจด้ วย MT
ตัวอย่ างงานที่ 1 ตัวอย่ างงานที่ 2 ตัวอย่ างงานที่ 3
รูป (2 – 3 รุป) รูป (2 – 3 รุป) รูป (2 – 3 รุป)

ใช้ MT ตรวจ : ใช้ MT ตรวจ : ใช้ MT ตรวจ :

Link : Link : Link :

หลักการเลือกวิธี MT มาใช้ 1. …………………………………………………………………………………………………

2. …………………………………………………………………………………………………
3. …………………………………………………………………………………………………
4. …………………………………………………………………………………………………
5. …………………………………………………………………………………………………

You might also like