You are on page 1of 11

บทที่ 1

บทนำ

1.1 ความเป็ นมาและความสำคัญ

ไม้เป็ นวัสดุแข็งที่ โดยแบ่งเป็ นไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้เต็ง ไม้แดง และไม้


เนื้ออ่อน ไม้สามารถใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย บางครัง้ ก็ใช้ในงานศิลปะ
ทำเฟอร์นิเจอร์ หรือเป็ นวัสดุก่อสร้าง ไม้ยังคงเป็ นส่วนประกอบสำคัญใน
การก่อสร้าง ไม้โดยสภาพแล้ว ไม่เหมาะที่จะนำมาใช้ในการก่อสร้าง
โดยตรง เนื่องจากอาจจะมีการแตกหักในโครงสร้าง จึงต้องนำไปแปรรูป
เป็ นอย่างอื่นก่อน จึงมีการสร้างเลื่อยขึน
้ มาเพื่อสะดวกในการทำไม้อัด
หรือแปรรูปขึน
้ มาก่อน โดยในสมัยก่อนจะใช้เลื่อยมือในการแปรรูปไม้
โดยจะกินแรงเป็ นอย่างมากในการแปรรูปและใช้เวลานานหากไม้มีจำนว
นเยอะๆ

ในปั จจุบันเลื่อยมีการพัฒนาขึน
้ มามากตามกาลเวลาโดยจะมีเลื่อย
มือที่คนจะใช้อยู่เเล้วและเลื่อยไฟฟ้ าทีพ
่ ึ่งมีมาไม่นานในปั จจุบัน โดยเลื่อย
ไฟฟ้ าจะสะดวกกว่าเลื่อยมือโดยจะใช้ไฟฟ้ าแทนการเลื่อยมือ โดยเลื่อย
ไฟฟ้ าจะมีประโยชน์มากในการเลื่อยไม้ที่มีจำนวนมากและเร็วกว่าเลื่อย
มือ คนจึงนิยมใช้เลื่อยไฟฟ้ ามากขึน
้ ในปั จจุบัน

จากปั ญหาข้างต้น คณะผู้จัดทำจึงมีแนวคิดที่จะสร้างเลื่อยวงเดือน


แทนการเลื่อยมือ ทัง้ นีเ้ พื่อความสะดวกและประหยัดเวลาและเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการใช้งาน จึงมีแนวคิดที่จะสร้างเลื่อยวงเดือนตัง้ โต๊ะเพื่อ
ให้ใช้งานได้สะดวกมากขึน
้ และลดค่าใช้จ่ายลง

1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1.เพื่อหาประสิทธิภาพของเลื่อยวงเดือนตัง้ โต๊ะ

2 เพื่อหาค่าความพึงพอใจของผู้ใช้งาน

3.สร้างเครื่องเลื่อยวงเดือน

1.3 ขอบเขตของการวิจัย

1.ไม่สามารถตัดไม้ที่มีขนาดไม่เกิน 5 นิว้

2.ใช้ไฟฟ้ าในการใช้งาน

1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1.ลดงบประมาณค่าใช้จ่ายลง

2.สามารถสร้างอาชีพได้
บทที่ 2

แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ในการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องในการวิจัย เรื่องเครื่องเลื่อยวงเดือนตัง้
โต๊ะผู้วิจัยได้ศึกษาทัง้ ด้านทฤษฎี ด้านปฏิบัติและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดัง
หัวข้อต่อไปนี ้

2.1 แนวความคิดหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องที่นำมาใช้ในงานวิจัย

2.2 ผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่นำมาใช้ในการแก้ปัญหา

2.1 แนวความคิดหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องที่นำมาใช้ในงานวิจัย

2.1.1 ใบเลื่อย
ใบเลื่อยเป็ นชิน
้ ส่วนเครื่องมือที่มีรูปร่างแบนรูปวงกลมตรงขอบจะมี
ลักษณะเป็ นฟั น ซึ่งจะมีจำนวนฟั นที่แตกต่างกัน และถูกออกแบบมาให้ใช้
กับวัสดุที่แตกต่างกัน สิ่งที่ควรรู้ก่อนที่จะเลือกใบเลื่อยที่เหมาะกับวัสดุที่
เราจะตัดคือ ชื่อเรียกส่วนประกอบต่างๆ เพราะส่วนประกอบเหล่านีเ้ องที่
เป็ นตัวบ่งชีว้ ่า ใบเลื่อยนัน
้ ๆเหมาะจะใช้ตัด

ภาพที่ 1 ใบเลื่อยวงเดือน

ภาพที่2 เครื่องเลื่อยวงเดือน
2.1.2 เครื่องเลื่อยวงเดือน

เป็ นเลื่อยไฟฟ้ า ใช้สำหรับเลื่อยหรือตัดชิน


้ งานที่เป็ นวัสดุต่างๆ เช่น
ไม้ อลูมิเนียม เหล็ก เป็ นต้น เลื่อยวงเดือนมีส่วนประกอบสำคัญ 2 ส่วน
คือ ตัวเครื่องและใบเลื่อย ตัวเครื่องสามารถใช้งานได้หลายแบบ เช่น
สามารถถือหรือประกอบเข้ากับโต๊ะก็ได้ ส่วนใบเลื่อยมีลักษณะเป็ นวงกลม
รอบๆ มีซฟ
ี่ ั นคมจำนวนหลายซี่ เลื่อยวงเดือนสามารถนำไปติดตัง้ เข้ากับ
โต๊ะงาน หรือเครื่องจักร สามารถตัดแบบเข้ามุมเข้าองศา และตัดชิน
้ งาน
ได้อย่างต่อเนื่องและแม่นยำมากกว่าเลื่อยชนิดทั่วไป เลื่อยวงเดือนเป็ นที่
นิยมใช้ในงานช่างเป็ นอย่างมาก เช่น ใช้ตัดชิน
้ งานไม้เพื่อนำประกอบเป็ น
เฟอร์นิเจอร์ หรืองานอลูมิเนียมเพื่อนำไปประกอบเป็ นโครงสร้างต่างๆ
เป็ นต้น เนื่องจากเลื่อยวงเดือนมีหลากหลายรูปแบบให้เลือกใช้งาน ดังนัน

ผู้ใช้จึงควรเลือกรูปแบบให้เหมาะกับประเภทงาเพื่อป้ องกันอันตราย
ระหว่างใช้งานและช่วยในการตัดชิน
้ งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ภาพที่2 เหล็กฉาก
2.1.3 เหล็กฉาก

เหล็กฉาก หากได้มาตรฐานและคุณภาพดีนน
ั ้ ฉากต้องตัง้ ตรง 90 องศา
น้ำหนักจะต้องมีค่า +/- ไม่เกิน 3% จากสเปคที่กำหนดไว้ เนื้อเรียบ มี
ความยืดหยุ่น และต้องมีด้านเท่ากันทัง้ สองด้าน และที่สำคัญที่สุดคือ ต้อง
มีใบรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรม หรือ มอก. กำกับไว้อย่างชัดเจน

บทที่ 3

วิธีการดำเนินงานวิจัย

การวิจัยครัง้ นีเ้ ป็ นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)


เรื่อง เลื่อยวงเดือนตัง้ โต๊ะ
รายละเอียดขัน
้ ตอนการวิจัยดังนี ้

3.1 ขัน
้ ตอนการทำเลื่อยวงเดือนตัง้ โต๊ะ

3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างการวิจัย

3.3 เครื่องมือที่ใช้ในวิจัย

3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล

3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล
3.1 ขัน
้ ตอนการทำเลื่อยวงเดือนตัง้ โต๊ะ

ขัน
้ ตอนการการทำเลื่อยวงเดือนตัง้ โต๊ะ พิจารณาส่วนประกอบ

1. ด้านส่วนประกอบโครงสร้าง

2. ด้านประสิทธิภาพ

ศึกษาข้อมูลส่วนโครงสร้างเครื่องเลื่อยวง

รวบรวมแหล่งข้อมูล

ประเมินความสำคัญของโครงสร้าง

วิเคราะห์โครงสร้าง

กำหนดคุณสมบัติ

สิน
้ สุด
3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

3.2.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครัง้ นีค


้ ือ ช่างไม้ ที่อาศัยอยู่ในเขต
อำเภอหาดใหญ่และอำเภอเมืองจังหวัดสงขลา

3.2.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ ช่างไม้ จำนวน 10 คน ที่อาศัยอยู่ในเขต

อำเภอหาดใหญ่ และอำเภอเมืองจังหวัดสงขลา โดยการเลือกแบบเจาะจง

3.3 เครื่องมือในการวิจัย

ประกอบด้วยแบบบันทึกผลการทดลองและแบบสอบถามความพึงพอใจ

ขัน
้ ตอนการสร้างและหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย มีขน
ั ้ ตอนดังนี ้

3.3.1 ขัน
้ ตอนการสร้างและหาคุณภาพของแบบบันทึกผลการ
ทดลอง

1) ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการสร้างแบบบันทึกผลการทดลอง

2) พิจารณาคุณลักษณะที่ต้องการบันทึกผลการทดลอง

3) จัดพิมพ์แบบบันทึกและให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพของ
เครื่องมือวิจัย

4) ปรับปรุงเครื่องมือวิจัยและจัดพิมพ์ฉบับจริง

3.3.2 ขัน
้ ตอนการสร้างและหาคุณภาพของแบบสอบถามความพึง
พอใจ โดยมีวิธีการดังนี ้
1) ศึกษาหลักการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจตามวิธี
ของลิเคอร์ท

2) สร้างแบบสอบถามค่าความพึงพอใจใช้การประมาณค่า ( Rating
scale ) แบ่งระดับคะแนนเป็ น ระดับ 5 คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง
น้อย และน้อยที่สุด มีความหมายดังต่อไปนี ้

5 หมายถึง อยู่ในระดับมากที่สุด

4 หมายถึง อยู่ในระดับมาก

3 หมายถึง อยู่ในระดับปานกลาง

2 หมายถึง อยู่ในระดับน้อย

1 หมายถึง อยู่ในระดับน้อยที่สุด

3) นำแบบสอบถามความพึงพอใจที่สร้างขึน
้ ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ

3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล

ในการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยแยกข้อมูลออกเป็ น 2 ส่วน คือ ข้อมูล


ด้านประสิทธิภาพของอุปกรณ์ และข้อมูลด้านความพึงพอใจของผู้ทดลอง
ใช้งานเลื่อยวงเดือนตัง้ โต๊ะโดยนำข้อมูลที่ได้จากการทดลองใช้เครื่องเลื่อย
วงเดือนตัง้ โต๊ะเปรียบเทียบการเลื่อยได้จากเครื่องเลื่อยมือแบบปกติเพื่อ
เปรียบเทียบหาประสิทธิภาพในการใช้งานแล้วบันทึกลงตารางเก็บ
รวบรวมข้อมูล และนำข้อมูลจากการที่นำไปให้โรงงานเป็ นผู้ทดลองใช้
แล้วบันทึกลงตารางเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อหาค่าความพึงพอใจของผู้
ทดลองใช้งานเครื่องเลื่อยวงเดือนตัง้ โต๊ะ

3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล

ในการศึกษางานวิจัยเรื่องเครื่องเลื่อยวงเดือนตัง้ โต๊ะเพื่อหา
ประสิทธิภาพการใช้งานผู้วิจัยได้ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลหาค่าเฉลี่ย
คะแนนจากการประเมิน ในแต่ละด้านดังนี ้

1. ด้านประสิทธิภาพการใช้งาน

ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลจากการนำไปทดลองใช้เครื่องเลื่อยวงเดือนตัง้ โต๊ะ
ด้วยตนเองจำนวน 15 ครัง้ เพื่อหาประสิทธิภาพการทำงานของเครื่อง
แล้วเก็บรวบรวมข้อมูลหาค่าเฉลี่ยด้านประสิทธิภาพของเครื่องเลื่อยวง
เดือนตัง้ โต๊ะ

2. ด้านความพึงพอใจ

ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลจากการนำไปให้กลุ่มตัวอย่างทดลองใช้เครื่องเลื่อย
วงเดือนตัง้ โต๊ะด้วยตนเอง จำนวน 5 คน แล้วเก็บรวบรวมข้อมูลหาค่า
เฉลี่ยความพึงพอใจจากผู้ทดลองใช้งานเครื่องเลื่อยวงเดือนตัง้ โต๊ะ

You might also like